คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คูมือครูฝก 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็กระดับ 3
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 6 09207224 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คํา นํา
คูมือครูฝกสาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 6 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลัก สู ต ร ฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น เอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไป ตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถนําความรูเกี่ย วกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
สารบัญ
เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 6 09207224 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0920722401 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม
12
หัวขอวิชาที่ 2 0920722402 แนวตองานเชื่อม
33
คณะผูจัดทําโครงการ
41
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920162070803
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอและอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติใ นการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมื อ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริห าร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุลยพินิจของผูอํานวยการสภาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920162070803 2. ชื่อโมดูลการฝก ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม รหัสโมดูลการฝก 09207224 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. นําจุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง 2. นําการกําหนดคาพารามิเตอรของการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง 3. จําแนกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงานไดอยางถูกตอง 4. นําสัญลักษณงานเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง 5. จําแนกลักษณะเฉพาะของแนวตองานเชื่อม รวมทั้งชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิต ขนาดที่สัมพันธกับสัญลักษณงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. นําจุดมุงหมายตามขอกําหนด หัวขอที่ 1 : ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1:45 1:45 กรรมวิธีการเชื่อมไปใช ไดอยางถูกตอง 2. นําการกําหนดคาพารามิเตอร ของการเชื่อมไปใช ไดอยางถูกตอง 3. จําแนกลวดเชื่อมใหเหมาะกับ โลหะชิ้นงานไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4. นําสัญลักษณงานเชื่อมไปใช ไดอยางถูกตอง 5. จําแนกลักษณะเฉพาะของแนว หัวขอที่ 2 : แนวตองานเชื่อม ตองานเชื่อม รวมทั้ง ชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิ ต ขนาดที่สัม พันธกับสัญลั ก ษณ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0:15
-
0:15
2:00
-
2:00
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1
0920722401 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.
นําจุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง นําการกําหนดคาพารามิเตอรของการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง จําแนกการเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงานไดอยางถูกตอง นําสัญลักษณงานเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
จุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม พารามิเตอรของการเชื่อม การเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงาน สัญลักษณงานเชื่อม
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. 2560. การเขียนและอานสัญลักษณงานเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051211111542.pdf มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ศิริบงกช สมศักดิ์. 2560. การอานและเขียนแบบสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS : การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://rlms.vec.go.th/i/1337/4977
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1. จุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม มีจุดมุงหมายเพื่อกําหนดพารามิเตอรตาง ๆ ในกระบวนการเชื่อม (Welding Process) ถูกกําหนดเปนรหัสตามมาตรฐานสากล ISO4063 เชน 111 การเชื่อมอารกโลหะดวยมือ (Manual Metal Arc Welding) 12 การเชื่อมซับเมอรจ (Submerge Arc Welding) 131 การเชื่อมที่ใชแกสเฉื่อยเปนแกสปกปอง (Meteal Inert Gas) 135 การเชื่อมที่ใชแอคทีพแกสเปนแกสปกปอง (Metal Active Gas) 136 การเชื่อมฟลักซคอร (Flux Cored Arc Welding) 141 การเชื่อมโลหะโดยใชทังสเตน (Tungsten) เปนตัวอารก และใชแกสเฉื่อยเปนแกสปกปอง (Tungsten Inert Gas) 2. พารามิเตอรของการเชื่อม การกําหนดพารามิเตอรใ นการเชื่อมมีสวนเกี่ยวของในการควบคุม กระบวนการเชื่อม และคุณภาพงานเชื่อม ซึ่งตัวแปร ที่เกี่ยวของมี 3 ประเภท คือ 2.1 ตัวแปรสําคัญ (Essential Variable) ตัวแปรนี้จะถูกกําหนดขึ้นกอนการเชื่อม ประกอบไปดวย 1) ชนิดลวดเชื่อม โดยเลือกใชลวดเชื่อมเพื่อเชื่อมรอยตอใหมีสวนผสมทางเคมีเหมือนกับโลหะชิ้นงาน 2) ขนาดลวดเชื่อม ขนาดเสนผานศูนยกลางของลวดเชื่อมมีตั้งแต 0.6 มิลลิเมตร 0.8 มิลลิเมตร 0.9 มิลลิเมตร 1.0 มิลลิเมตร 1.2 มิลลิเมตร 1.6 มิลลิเมตร และ 3.2 มิลลิเมตร ซึ่งขนาดของลวดเชื่อมนั้นสงผลตอ ความกวางของรอยเชื่อม ระยะซึมลึก และอัตราเร็วในการเชื่อม ซึ่งลวดเชื่อมที่มีขนาดใหญจะใชกระแสสูง และใหอัตราเติม เนื้อโลหะมากกวา แตอัตราการหลอมเหลวของลวดเชื่อมจะแปรผันกับความหนาแนน กระแส ถาลวดเชื่อมขนาดใหญ และลวดเชื่อมขนาดเล็กใชกระแสเชื่อมเดียวกัน ลวดเชื่อมขนาดเล็กจะมี อัตราการเติม เนื้อโลหะมากกวา เพราะมีความหนาแนนกระแสสูงกวาจึงเกิดความรอนเขม ขนมากกวา และระยะซึม ลึกจะแปรผันกับความหนาแนนกระแสเช นกั น ลวดเชื่อมขนาดเล็กจึงมีความหนาแน น มากกวาทําใหมีการซึม ลึกไดม าก เพราะฉะนั้นการเลือกขนาดลวดเชื่อมจึงขึ้นอยูกับความหนาโลหะ ชิ้นงาน ระยะซึมลึกที่ตองการ อัตราการเติม โลหะ ตําแหนงแนวเชื่อม ลักษณะของรอยเชื่อม และราคา ลวดเชื่อม ซึ่ง ลวดเชื่อมขนาดเล็กจะมีราคาสูงกวาเมื่อ คิด ตอ น้ําหนัก ลวดเชื่อม สํา หรับลวดเชือ่ มที่มี 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขนาดเสนผานศูนยกลางขนาดเล็กคือ 0.6 มิลลิเมตร 0.8 มิลลิเมตร และ 0.9 มิลลิเมตร มีชื่อเรียกเฉพาะวา ไมโครไวร ใชไดผลดีที่สุดเมื่อเชื่อมโลหะบาง เพราะมีแนวโนมตอการซึมลึกไดมาก เนื่องจากมีความหนาแน น ของกระแสสูง เพิ่ม อัตราความเร็วการเชื่อมไดสูง สําหรับวัสดุงานหนาปานกลางจะใชลวดเชื่อมขนาด 1.0 มิลลิเมตร หรือ 1.6 มิลลิเมตร สวนโลหะชิ้นงานที่หนาควรเลือกใชข นาด 3.2 มิลลิเมตร นอกจากนี้ สิ่งที่ตองพิจารณาเพิ่มเติมคือ ตําแหนงแนวเชื่อม เชน แนวเชื่อมเหนือศีรษะหรือแนวตั้ง ควรเชื่อมดวย ลวดเชื่อมขนาดเล็กจะไดผลดีกวาลวดเชื่อมขนาดใหญ 3) ชนิดของแกสปกปอง มีผลตอระยะซึมลึก ลักษณะรอยเชื่อม อัตราการเติม โลหะ ปริม าณการเกิดควัน และไอ สะเก็ดโลหะ อัตราเร็วการเชื่อม คุณสมบัติทางกลที่จะไดรับ และชนิดการถายโลหะ การเชื่อมโลหะที่เปนเหล็กนิยมใชคารบอนไดออกไซด อารกอน-คารบอนไดออกไซด อารกอน-ออกซิเจน เนื่องจากการใชคารบอนไดออกไซดคลุมอยางเดียวไมผสมแกสอื่น ทําใหลวดเชื่อมมีอัตราสิ้นเปลืองสูง ระยะซึ ม ลึ ก มาก รอยเชื่ อ มกว า งและนู น สํ า หรั บ แก ส คาร บ อนไดออกไซด นั้ น มี ข อ ดี คื อ ราคาถู ก อัตราเร็วในการเคลื่อนที่หัวเชื่อมสูง แตกอใหเกิดควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นมากเพราะความรอ น เขาสูงานสูง สวนแกสอารกอน หรืออารกอน-ออกซิเจน ตรงขามกับคารบอนไดออกไซดเพราะอั ต รา สิ้นเปลืองต่ํา ระยะซึม ลึกตื้น รอยเชื่อมแคบและแบนราบ ปริม าณควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นนอย สวนแกสอารกอน-คารบอนไดออกไซดจะมีสมบัติผสมระหวางคารบอนไดออกไซดกับแกสผสมอารก อนออกซิเจน สําหรับการเชื่อมโลหะที่ไมใชเหล็กจะใชแกสอารกอน อารกอน-ฮีเลียม และฮีเลียม อารกอนจะให ระยะซึม ลึก ตื้น และอัต ราสิ้น เปลือ งต่ํา รอยเชื่อ มแคบและแบนราบ แตอ ารก อนจะมีร าคาถูกกวา และเกิดสะเก็ดโลหะกระเด็นในปริมาณที่นอย สวนฮีเลียมใหระยะซึมลึกมาก อัตราสิ้นเปลืองลวดเชื่ อมสูง รอยเชื่อ มกวา งและนูน โคง เพราะมีแ รงดัน อารก สูง ราคาแพง และอัต ราการไหลสูง กวา อารกอน สวนแกสอารกอน-คารบอนไดออกไซดจะมีสมบัติผสมระหวางอารกอนกับฮีเลียม
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.1 ลักษณะหนาตัดรอยเชื่อมและคุณสมบัติของการซึมลึกเมื่อใชแกสปกปองชนิดตาง ๆ 4) อัต ราการไหลของแกส ปกปอง เพื่อ ใหแ กสที่อ อกมาคลุม รอยเชื่อมไดผลดี แกส ที่อ อกมาจากหัวฉีด ควรมีการไหลแบบราบเรียบ คือ แนวการไหลเปนเสนตรง หากอัตราการไหลสูงเกินไปจะเกิดการปนปวน คือ มีการหมุนวนของแกส เมื่อแกสมีการหมุนวนผสมกับอากาศแลวรวมตัวเขากับเนื้อโลหะชิ้นงานจะทํ าให รอยเชื่อมสกปรกและเสียสมบัติที่ดีไป แตถาแกสเกิดการคลุมนอยเกินไปก็จะเกิดโพรงอากาศและความพรุ น ในเนื้อโลหะชิ้นงาน ดังนั้น ในการเชื่อมจึงควรเลือกอัตราการไหลของแกสปกปองใหเหมาะสม 2.2 ตัวแปรปรับปฐมภูมิ เปนตัวแปรที่ใชควบคุมกระบวนการเชื่อมหลังจากเลือกตัวแปรขั้นตนไดแลว ตัวแปรนี้จะควบคุมระยะซึมลึก ความกวาง รอยเชื่อม ความสูงรอยเชื่อม ความเสถียรของอารก อัตราการเติมเนื้อโลหะ ความเรียบของรอยเชื่อม และการเกิดสะเก็ดโลหะ ซึ่งเปนคาเฉพาะที่ตองปรับกอนปฏิบัติการเชื่อม และสามารถปรับแตงคาตอเนื่องเพื่อใหไดคาที่ดีที่สุดในขณะทํางานเชื่อมอยู ซึ่งตัวแปรปฐมภูมิประกอบดวย 1) อัตราเร็วปอนลวดเชื่อม มีผลกระทบตออัตราการเติมเนื้อโลหะ ขนาดและรูปทรงของรอยเชื่อม ระยะซึมลึก ในระบบแรงดันคงที่กระแสเชื่อมจะถูกควบคุมดวยปุมปรับอัตราปอนลวดเชื่อมบนชุดควบคุมการปอนลวด เมื่ออัตราเร็วปอนลวดเพิ่มขึ้น กระแสเชื่อมก็จะเพิ่มขึ้นเชนกัน การเพิ่ม ปริม าณกระแสเชื่อมจะทําใหอัตราการหลอมของลวดเชื่อมเพิ่ม ขึ้น และอัตราการเติม เนื้อโลหะรอยเชื่อมเพิ่มดวยเชนกัน ถาปริม าณกระแสเชื่อมที่ใชกับลวดเชื่อมมีคานอยเกินไปเปนผลให การถายโอนโลหะจากลวดเชื่อมสูรอยเชื่อมชา ทําใหระยะซึมลึกของรอยเชื่อมและการหลอมโลหะชิ้นงานไมดี รอยเชื่อ มขรุข ระและแข็งมาก ถา ใชก ระแสสูง เกิน ไประยะซึม ลึกของรอยเชื่อ มจะลึก มากอาจเกิด
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 รอยหลอมทะลุไปยังอีกดานหนึ่งของชิ้นงานและรอยกินลึกที่ขางรอยเชื่อมทําใหไมสวยงาม นอกจากนั้น กระแสเชื่อมยังเกี่ยวของกับความหนาแนนกระแสตอพื้นที่หนาตัดลวดเชื่อม ดังสูตรตอไปนี้ ความหนาแนนกระแส = จํานวนแอมแปร / พื้นที่หนาตัด
ภาพที่ 1.2 เปรียบเทียบระยะซึมลึกระหวางลวดเชื่อมขนาดตางกันเมื่อใชกระแสเชื่อมเทากัน การเลือกคากระแสเชื่อมตองเหมาะสมกับขนาดลวดเชื่อมดังแสดงในตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 ปริมาณกระแสเชื่อมที่ควรใชกับกระบวนการเชื่อมแม็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางลวดเชื่อม
ชวงปริมาณกระแสที่ควรใชในการเชื่อม
(มิลลิเมตร)
(แอมแปร)
0.8
50 - 140
0.9
65 - 160
1.0
100 - 220
1.2
105 - 375
2.4
210 - 550
3.2
375 - 600
ถาปริมาณกระแสสูงเกินไป ลวดเชื่อมที่อยูภายในทอนํากระแสอาจจะหลอมกับทอนํากระแส การอารก ไมเสถียรและการคลุมของแกสจะถูกรบกวนสงผลใหเกิดสะเก็ดโลหะมาก ลักษณะรอยเชื่อมนูนและกวาง ถาปริมาณกระแสต่ําเกินไปลวดเชื่อมอาจกลายเปนเพียงชิ้นสวนที่ทําหนาที่แ คตัวลัดวงจรจากเครื่องเชื่อม ไปยังชิ้นงานเทานั้น ลวดเชื่อมจะรอนแดงและการอารกจะดับลง แตก็ไมเสถีย รทําใหการหลอมของ เนื้อโลหะเชื่อมไมดี จะมีรอยเชื่อมเฉพาะผิวหนางานเชื่อมเทานั้น ไมซึมลึกลงไปหรือซึม ลึก ได น อยมาก และการใชปริม าณกระแสต่ําหรือ สูงเกิน ไปยัง สงผลกระทบตอสมบัติ ทางกายภาพของโลหะชิ้ น งาน 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ในสว นที่เ ปน เนื้อโลหะเชื่อมดวย โดยคา ความตานแรงดึงสูงสุด และความออ นตัวจะลดลง อาจเกิด ความพรุนในเนื้อโลหะชิ้นงาน มีออกไซดสวนเกิน และสารมลทินอื่นรวมเขากับเนื้อโลหะชิ้นงาน 2) แรงดั นอาร ก หาได จากความยาวอาร กระหว างปลายลวดเชื่ อมกั บโลหะชิ้ นงาน ในระบบแรงดั นคงที่ จะปรับแรงดันอารกที่ปุมดานหนาเครื่องเชื่อม และเครื่องเชื่อมจะรักษาแรงดันใหคงที่ตามจํานวนที่ตั้ง ไว การตั้งแรงดันอารกขึ้นอยูกับขนาดลวดเชื่อม ชนิดแกสปกปอง ตําแหนงแนวเชื่อม ชนิดรอยตอและ ความหนาโลหะชิ้นงาน การตั้งแรงดันอารกสูงจะทําใหไดรอยเชื่อมที่กวางและแบนราบ แตถาสูงเกินไป จะทําใหเกิดสะเก็ดโลหะ ความพรุน และรอยกินลึก ถาตั้งแรงดันอารกต่ําจะไดรอยเชื่อมที่แ คบและนูน แตถาต่ําเกินไปลวดเชื่อมจะหลอมติดชิ้นงาน เกิดความพรุนและรอยเกยที่ขอบรอยเชื่อม 3) อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม คือ อัตราการเคลื่อนที่ของหัวเชื่อมตอ 1 หนวยเวลา กรณีการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ จะควบคุมโดยผูปฏิบัติงาน แตถาเปนกรณีเชื่อมอัตโนมัติจะถูกควบคุมดวยกลไกจักรกล อัตราเร็วเคลื่ อ นที่ หัวเชื่อมมีผลกระทบตอระยะซึมลึกของรอยเชื่อม ขนาดรอยเชื่อม และลักษณะรอยเชื่อม การเพิ่ม หรือลดอัต ราเร็วเคลื่ อ นที่หัว เชื่อมมีผลกระทบต อระยะซึม ลึก เมื่ออัตราการเคลื่อ นที่ หัวเชื่อมลดลง อัตราการเติม เนื้อโลหะตอหนวยความยาวจะเพิ่มขึ้น ทําใหบอหลอมเหลวมี ข นาดใหญ และตื้น เนื้อโลหะเชื่อมจะล้ําหนาลวดเชื่อมไปเล็กนอยขณะเชื่อมสงผลใหระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวาง และนูนมาก แตถาอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกินไปจะเกิดรอยเกยของเนื้อโลหะที่ข อบรอยเชื่ อ ม การหลอมตัวของโลหะชิ้นงานไมดี มีระยะซึมลึกมากเกินไป ความพรุนในเนื้อโลหะชิ้นงานมาก และรอยเชื่อม ขรุขระ ถาอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมมากเกินไป การถายโอนความรอนเขาสูโลหะชิ้นงานลดลง ทําให การหลอมของโลหะชิ้นงานไดไมดี ระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวางและนูน ถาใชอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม เร็ว เกิน ไป จะเกิด รอยกิน ลึก ที่ข อบรอยเชื่อ มเพราะการเติม เนื้อโลหะหลอมเหลวไมเ ต็ม รองรอยตอ เกิดสะเก็ดโลหะมาก รอยเชื่อมไมสม่ําเสมอเพราะโลหะชิ้นงานหลอมไดนอยเกินไป 2.3 ตัวแปรปรับทุติยภูมิ เปนตัวแปรรองจากตัวแปรปรับปฐมภูมิ สามารถปรับเปลี่ย นไดอยางตอเนื่ องขณะปฏิบัติง านเชื่อม ตัวแปรนี้ ไมมีผลกระทบโดยตรงตอการเกิดรอยเชื่อม แตสงผลใหตัวแปรปรับทุติยภูมิเกิดการเปลี่ย นแปลง และมีผลใหรอยเชื่อม เปลี่ยนแปลงอีกทอดหนึ่ง ซึ่งตัวแปรเหลานี้ประกอบดวย 1) ระยะยื่นลวด คือ ระยะหางระหวางขอบลางของทอสัมผัสนํากระแสถึงปลายสุดของลวดเชื่อม
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.3 ระยะยื่นลวด ถา ระยะยื่น ยาวขึ้น จะทํา ใหเ กิด ความตา นทานที่ล วดเชื่อ มสูง ตาม สง ผลใหล วดเชื่อ มถูกอุน กอนที่จะหลอมเหลว และมีผลตอระยะซึม ลึกนอยลง แตถาหากระยะยื่นลวดลดลงการอุนลวดเชื่อม กอนหลอมเหลวก็ลดลงดวย เครื่องเชื่อมจายกระแสเชื่อมออกมาในปริมาณมาก รวมทั้งระยะซึมลึกก็จะมาก เชนกัน ตารางที่ 1.2 แสดงการเปรียบเทียบระยะยื่นหรือระยะทางจากทอสัมผัสนํากระแสถึงผิว หนาชิ้นงาน ที่มีขนาดความสั้นยาวตางกัน จะใหผลตอสมบัติของการเชื่อมที่แตกตางกัน
ระยะยื่นลวด
สั้นกวา
ปานกลางประมาณ 10 มม.
ยาวกวา
ตานทานความรอน
นอย
ปานกลาง
มาก
พลังงานการอารก
มาก
ปานกลาง
นอย
การหลอมลึก
ลึกกวา
ปานกลาง
ตื้นมาก
สะเก็ดเชื่อม
เล็กนอย
ปานกลาง
จํานวนมาก
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2) อัต ราการไหลของแกสปกปอง และระยะหางของหัวฉีด ควรเลือกใชใ หเหมาะสมโดยพิจารณาจาก คาตัวแปรตาง ๆ ที่ใ ชใ นการเชื่อม เนื่องจากมีผลตอการเกิดโพรงอากาศ และปริม าณไนโตรเจนในเนื้อ โลหะชิ้นงาน ดังแสดงในตาราง ตารางที่ 1.3 อิทธิพลของระยะหางหัวฉีดตอการเกิดโพรงอากาศและปริมาณไนโตรเจน ขนาดหัวฉีดและ
ระยะหางของ
อัตราการไหล
หัวฉีด (มิลลิเมตร)
เส น ผ า นศู น ย ก ลาง ภายนอก 20 มิลลิเมตร CO 2 25 ลิตรตอนาที
การเกิดโพรงอากาศ
ปริมาณ ไนโตรเจน 0.0034
15
0.0036 0.0045
20
0.0049 0.0086
25
0.0081 0.011
30
0.0099 0.019
35
0.023 0.024
40
0.031
3) มุมหัวเชื่อม ในการเชื่อมนั้นมุมเอียงหัวเชื่อมที่ใหระยะซึมลึกมากที่สุดคือ 15 - 20 องศา เมื่อใชการเคลื่ อนที่ หัวเชื่อมแบบถอยหลัง ถามุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมตางไปจากนี้ ระยะซึมลึกก็จะลดลง สําหรับมุมเชื่อมแบบ ถอยหลัง 15 องศา และมุม แบบเดินหนา 30 องศา ความสัม พันธระหวางระยะซึม ลึกกับมุม เคลื่อนที่ หัวเชื่อมเกือบจะเป นเส น ตรง ดังนั้น ถาจะควบคุม ระยะซึม ลึก จึง ควรให อยูใ นพิสัย นั้ น มุม เคลื่อ นที่ หัวเชื่อมที่เลือกใชจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงความสูงและความกวางรอยเชื่อม นอกจากนี้ยังมีผลกระทบ กับลักษณะรอยเชื่อมดวย เมื่อมุมเชื่อมแบบถอยหลังลดลง ความสูงของรอยเชื่อมจะลดลงแตความกวาง จะเพิ่มขึ้น สําหรับมุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมแบบเดินหนา จะใชเมื่อมีอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมสูง
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ในการเชื่อมรอยตอชน หากชิ้นงานหนาเทากันจะเชื่อมโดยใหลวดเชื่อมอยูบนเสนศูนยกลางรอยตอ แตถาชิ้นงานหนาไมเทากันมุมลวดควรเคลื่อนไปทางแผนหนา ในการเคลื่อนที่หัวเชื่อมอาจมีการสายลวด หรือไมมีก็ได
ภาพที่ 1.4 มุมหัวเชื่อมที่ถูกตองสําหรับการเชื่อมตอฉากและตอชน 3. การเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใ ชกับกระบวนการเชื่อมแม็กมีทั้ งชนิด ลวดตั นและลวดไสฟ ลั กซ ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะลวดตั นเทา นั้น ซึ่ง AWS (American Welding Society) ไดกําหนดมาตรฐานของลวดเชื่อมไวเพื่อใหสะดวกในการใชงาน โดยแบงเป น กลุมรหัสดังนี้ AWS Spec. A 5.7 A 5.9 A 5.10 A 5.14 A 5.16 A 5.18 A 5.19 A 5.24 A 5.28
โลหะ ทองแดงและทองแดงผสม เหล็กกลาไรสนิม อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมผสม นิกเกิลและนิกเกิลผสม ไทเทเนียมและไทเทเนียมผสม เหล็กกลาคารบอน แมกนีเซียมผสม เซอรโครเนียมและเซอรโครเนียมผสม เหล็กกลาผสมต่ํา 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 สําหรับลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 สามารถจําแนกตามการใชงานไดดังนี้ ER70S-1
ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนต่ํา
ER70S-2
ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนทุกเกรดกับเหล็กกลาผสมต่ําบางตัว
ER70S-3
ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาละมุน
ER70S-4
ใชสําหรับเชื่อมเหล็กกลาละมุน
ER70S-5
ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนทุกเกรดกั บเหล็ กกล าผสมต่ําบางตัว และสามารถใชกับการเชื่ อมบน เหล็กกลาที่ผิวเปนสนิม หรือผิวที่เปอนน้ํามันไดดี
ER70S-6
ใชสําหรับเหล็กที่มีออกซิเจนเจือปนสูง
ER70S-7
คุณสมบัติเหมือนกับ ER70S-6 แตมีแมงกานีสผสมอยู จึงใหรอยเชื่อมที่ดี
ER70S-G
เปนลวดเชื่อมที่ไมกําหนดรายละเอียดของสวนผสมทางเคมี ขึ้นอยูกับการตกลงของผูซื้อและผูผลิต
สวนลวดเชื่อมที่เปนเหล็กกลาผสมต่ําจะเปนไปตามมาตรฐาน A5.28 โดยการกําหนดรหัสมาตรฐานเหมือนกับ AWS A5.18 แตตางที่รหัสตัวเลขจะเปน 80 90 หรือ 100 ซึ่งอักษรยอและตัวเลขทายสุดจะเปนสวนผสมทางเคมี โดยยกตัวอยาง ไดดังนี้ ER80S-B2
ใชสําหรับเหล็กกลาโครเมียม-โมลิบดินัม (Cr-Mo)
ER80S-Ni1 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมนิกเกิล ER80S-D2 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมแมงกานีส-โมลิบดินัม 4. สัญลักษณงานเชื่อม สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลแบงออกเปน 2 แบบ ดังตอไปนี้ 4.1 สัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS มาตรฐานของสมาคมการเชื่อ มแหง อเมริ กา (AWS) เปนเครื่องหมายที่ใ ช เขีย นแทนข อ ความเพื่ อบอกข อ มู ล รายละเอียดและขอกําหนดตาง ๆ ของชิ้นงานเชื่อมแกผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหชิ้นงานนั้น มีลักษณะเปนไปตามที่ ผูออกแบบตองการ รวมทั้งเปนการกําหนดมาตรฐานที่ทุกคนสามารถนําไปใชและเขาใจรวมกัน สัญลักษณใ นการเชื่อมของ AWS นี้ กําหนดขึ้นโดยใชลักษณะของรอยเชื่อมเพื่อเปนตัวอางอิงสําหรับการเขียน สัญลักษณซึ่งจะประกอบดวย เสนแสดงบริเวณเชื่อมที่ใ หรายละเอีย ดวา การเชื่อมกระทําอยูดานใดที่ลูกศรชี้ หรืออาจ ทั้งสองดาน ซึ่งหัวลูกศรจะชี้ไปยังจุดที่เชื่อมหรือแนวเชื่อม
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 สวนประกอบตาง ๆ ที่สําคัญของสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS มี 3 สวน ไดแก 1) สวนหาง แสดงขอมูลของกระบวนการเชื่อมหรือลวดเชื่อม 2) เสนฐาน มีลักษณะเปนเสนตรงอยูแนวนอนเทานั้น การเขียนจะเขียนตอกับหัวลูกศรตอดวยหาง หรือไมก็ได ใชสําหรับตั้งสัญลักษณแสดงความหมายตาง ๆ 3) หัวลูกศร อยูหัวสุด ใชสําหรับบอกตําแหนงแนวเชื่อมหรือจุดที่จะเชื่อม อาจจะชี้ขึ้น ลง ซาย หรือขวาได
ภาพที่ 1.5 สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน AWS รายละเอียดสัญลักษณตาง ๆ จะเขียนแสดง ดังภาพ
ภาพที่ 1.6 รายละเอียดบนสัญลักษณงานเชื่อม
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ความหมายของสัญลักษณตาง ๆ ในงานเชื่อมแบบ AWS ไดแก 1) ความหมายสัญลักษณชนิดรอยตอ รอยตอชนแบบตาง ๆ ต อ ชนไม ตัววี
ครึ่งวี
ตัวยู
ตัวเจ
ปากผายตัววี
ปากผาย
บากงาน
ครึ่งวี
2) ความหมายสัญลักษณชนิดแนวเชื่อม ฟลเลท
เชื่อม
เชื่อมจุด
เชื่อมตะเข็บ
อุดรอง
เชื่อม
เชื่อม
หนาแปลน
ดานหลัง พอกผิว
เชื่อม
และ
หรือแผน
ขอบ
อุดรู
รองหลัง
เชื่อมมุม
3) ความหมายสัญลักษณแสดงลักษณะการเชื่อมและผิวแนวเชื่อม เชื่อมรอบชิ้นงาน เชื่อมในสนาม
เชื่อมซึมลึก ดานหลัง
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ลักษณะผิวรอยเชื่อม เรียบ
นูน
เวา
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4) ความหมายของสัญลักษณการตกแตงรอยเชื่อม สัญลักษณ
ความหมาย
C
ใชสกัด
G
ใชเจีย
M
ใชเครื่องมือกล
R
ใชเครื่องมวน
H
ใชคอนเคาะ
การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS 1) สัญลักษณของแนวเชื่อมแบบตาง ๆ แนวเชื่อม
สัญลักษณ
แนวเชื่อมตอฉาก (Fillet Welding)
แนวเชื่อมตอชนตัววี แนวเชื่อมตอชนตัวยู แนวเชื่อมตอขอบ
แนวเชื่อมตอชนตัวเจ
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
แนวเชื่อมที่ตองการ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 แนวเชื่อม
สัญลักษณ
แนวเชื่อมที่ตองการ
แนวเชื่อมตอขอบโดยมี การซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววีโดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววี เชื่อมทับดานหลัง โดยเชื่อมทับดานหนา กอน แนวเชื่อมตอฉากรอยตอ ตัวเจ เชื่อมทับดานหลัง
2) การบอกขนาดรอยเชื่อมในลักษณะตาง ๆ ขนาดแนวเชื่อม
สัญลักษณ
แนวเชื่อมที่ตองการ
แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดขาทั้ง 2 เทากัน แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดขาทั้ง 2 ไมเทากัน แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดแนวเชื่อมทั้ง 2 แนวไมเทากัน ขนาดความลึ ก ของ แนวเชื่อมตอตัววี 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขนาดแนวเชื่อม
สัญลักษณ
แนวเชื่อมที่ตองการ
ขนาดความลึกของ แนวเชื่อมตอตัววี ขนาดระยะหางรอยตอ แ ล ะ มุ ม บ า ก ข อ ง แนวเชื่อม 2 ดาน ขนาดความยาวรอย เชื่อมตอฉาก และขนาดระยะฟตซ 2 ดานตรงกัน ขนาดความยาวแนว เชื่อมตอฉาก และขนาดระยะเวน ของ 2 ดานสลับกัน 3) การแสดงลักษณะผิวงานแนวเชื่อมและการเชื่อม - การแสดงลักษณะผิวหนาแนวเชื่อมและวิธีการแตงรอยเชื่อม
- การแสดงการเชื่อมรอบชิ้นงาน
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4.2 สัญลักษณงานเชื่อมแบบ ISO 2553 สวนประกอบของสัญลักษณงานเชื่อมในระบบ ISO 2553 มีดังนี้ 1) หัวลูกศร (Arrow Line) ชี้บอกตําแหนงรอยตอที่จะทําการเชื่อม 2) เสนอางอิงหลัก (Reference Line) เสนลําตัวของหัวลูกศรมีลักษณะเปนเสนตรงอยูในแนวระดับ เปนที่สําหรับ ตั้งสัญลักษณงานเชื่อม 3) เสนอางอิงยอย (Indentification Line) มีลักษณะเปนเสนประอยูดานบนหรือดานลางของเสนอางอิง หลักใชประกอบกับสัญลักษณรอยตอของงานเชื่อม การบอกตําแหนงของรอยบากชิ้นงาน และการตกแตง ชิ้นงานเชื่อม - การเชื่อมดานตรงขามลูกศรชี้ (Other Side) เสนอางอิงยอยอยูดานเดียวกับสัญลักษณงานเชื่อม - การเชื่อมดานลูกศรชี้ (Arrow Side) เสนอางอิงยอยอยูคนละดานกับสัญลักษณงานเชื่อม 4) หาง (Tail) สวนทายของลูกศรที่ใชแสดงขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม ชนิดของลวดเชื่อม กระแสไฟ หรือขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม 5) สัญลักษณการเชื่อม (Symbol) แสดงชนิดของรอยตอ ชนิดของแนวเชื่อม ลักษณะการเชื่อม และผิวหนา ของแนวเชื่อม
ภาพที่ 1.7 สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน ISO
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน ISO กับ AWS จะแตกตางกันตรงที่วางตําแหนงสัญลักษณ ซึ่งสามารถแสดงเปรียบเทียบไดดังนี้ แนวเชื่อม
สัญลักษณ AWS
สัญลักษณ ISO
แนวเชื่อมตอฉาก (Fillet Welding)
แนวเชื่อมตอชนตัววี
แนวเชื่อมตอขอบ
แนวเชื่อมตอขอบ โดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยต อชน ตัววีโดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววี เชื่อมทับ ดานหลัง โดยเชื่อม ทับดานหนากอน
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
แนวเชื่อมที่ตองการ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. ขอใดกลาวถึงคุณสมบัติของแกสอารกอนไดถูกตอง ก. ใหระยะซึมลึกตื้นและอัตราสิ้นเปลืองต่ํา ข. ใหระยะซึมลึกมากและอัตราสิ้นเปลืองต่ํา ค. กอใหเกิดควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นมาก ง. กอใหเกิดควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นนอย 2. ตําแหนงใดระบุถึงกระบวนการเชื่อมของสัญลักษณงานเชื่อม ก. ตําแหนงเสนฐาน ข. ตําแหนงเสนอางอิง ค. ตําแหนงหัวลูกศร ง. ตําแหนงหางลูกศร 3. เพราะเหตุใ ด ลวดเชื่อมขนาดตางกันจึงใชกระแสเชื่อมเดียวกัน แตลวดเชื่อมที่มีขนาดเล็กจะมีอัตราการเติม เนื้อโลหะ มากกวา ก. เพราะลวดเชื่อมขนาดเล็กจุดเดือดต่ํากวา ข. เพราะลวดเชื่อมขนาดใหญใหระยะซึมลึกมากกวา ค. เพราะลวดเชื่อมขนาดเล็กมีความหนาแนนของกระแสสูงกวา ง. เพราะลวดเชื่อมขนาดใหญใหอัตราเร็วในการเชื่อมเร็วกวา 4. หากชางเชื่อมไมปฏิบัติงานตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมจะเกิดผลอยางไร ก. งานเชื่อมไมไดคุณภาพ ข. งานเชื่อมไมสวยงาม จึงไมเหมาะสมในการไปใชงานจริง ค. ทําใหพบกรรมวิธีการเชื่อมใหมที่สามารถนํามาใชทดแทนกันได ง. ตองเชื่อมซ้ํา ทําใหไดฝกฝนความชํานาญมากขึ้น
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 5. หากตองการลวดเชื่อมที่สามารถใชเชื่อมบนเหล็กกลาที่ผิวเปนสนิม หรือผิวเปอนน้ํามัน ควรเลือกใชลวดเชื่ อ มชนิ ด ใด ตามมาตรฐาน AWS A5.18 ก. ER70S-4 ข. ER70S-5 ค. ER70S-6 ง. ER70S-7
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0920722402 แนวตองานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - จําแนกลักษณะเฉพาะของแนวตองานเชื่อม รวมทั้งชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิต ขนาดที่สัมพันธกับสัญลักษณงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ
- แนวตองานเชื่อม
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. 2560. การเขียนและอานสัญลักษณงานเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051211111542.pdf มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ศิริบงกช สมศักดิ์. 2560. การอานและเขียนแบบสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS : การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://rlms.vec.go.th/i/1337/4977
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 แนวตองานเชื่อม 1. แนวตองานเชื่อมแบบพื้นฐาน แนวตองานเชื่อมจะมีลักษณะเฉพาะตามชิ้นสวนที่นํามาตอเขาดวยกัน ซึ่งโดยพื้นฐานมีดังนี้ 1.1 รอยตอชน เปนการนําขอบของชิ้นงานสองชิ้นมาวางใหข อบชนกัน โดยผิวของชิ้นงานทั้งสองอยูใ นระนาบเดีย วกัน ซึ่งลักษณะการตอแบงออกเปนหลายแบบขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงาน
ภาพที่ 2.1 รอยตอชน 1.2 รอยตอเกย เปนการนําชิ้นงานสองชิ้นมาวางซอนหรือเกยกัน ซึ่งใชกับการเชื่อมความตานทานแบบเชื่อมจุด แนวเชื่อมมุม และแนวเชื่อมอุด
ภาพที่ 2.2 รอยตอเกย 1.3 รอยตอขอบ เปนการนําขอบชิ้นงานสองชิ้ นมาชนกั น โดยผิวงานทั้งสองทาบแนบชิ ดและขนานกั นตลอดแนว แลวเชื่อมที่ขอบใหติดกัน
ภาพที่ 2.3 รอยตอขอบ
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.4 รอยตอมุม เปนการนําขอบของชิ้นงานสองชิ้นมาชนกันโดยผิวของชิ้นงานทํามุมประมาณ 90 องศา ซึ่งการนําขอบ มาชนกันมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงานและการออกแบบ
ภาพที่ 2.4 รอยตอมุม 1.5 รอยตอรูปตัวที เปนการนําขอบของชิ้นงานชิ้นหนึ่งตั้งบนผิวงานอีกชิ้นหนึ่งในลักษณะรูปตัวที ซึ่งการตอลักษณะนี้ จะตอ งมีก ารเติม ลวดเชื่อมเพื่อใหชิ้น งานเกิดความแข็งแรง จึง นิย มใชกนั มากในการเชื่อ มประกอบโครงสราง ของการสรางอาคาร
ภาพที่ 2.5 รอยตอฉาก 1.6 รอยตอ งานเชื่อ มและสัญลัก ษณ ในการเขีย นแบบงานเชื่อ ม รอยตอ อาจถูก ออกแบบใหแ ตกตางกันไปตาม ความเหมาะสมของตัวแปรตาง ๆ สัญลักษณที่ใชแสดงรอยตอในงานเชื่อมเพื่อเขียนแสดงในแบบจึงมีความแตกตางกั น ดังตอไปนี้ สัญลักษณ
ชื่อรอยตอ
ชิ้นงานหลังเชื่อม
ตอชนหนาฉาก
ตอชนรูปวีดานเดียว
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 สัญลักษณ
ชื่อรอยตอ
ชิ้นงานหลังเชื่อม
ตอชนรูปวีสองดาน ตอชนหนาเฉียงดาน เดียว ตอชนหนาเฉียงสอง ดาน ตอชนรูปยูดานเดียว
ตอชนรูปยูสองดาน
ตอชนรูปเจดานเดียว
ตอชนรูปเจสองดาน
รอยเชื่อมฉากดานเดียว
รอยเชื่อมฉากสองดาน
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 สัญลักษณ
ชื่อรอยตอ
ชิ้นงานหลังเชื่อม
รอยเชื่อมผายวี
รอยเชื่อมขอบหนา แปลน รอยเชื่อมตะเข็บ รอยเชื่อมอุด
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. ขอใดคือมาตรฐานที่นิยมใชในการแสดงสัญลักษณงานเชื่อม ก. ISO และ DIN ข. ISO และ JIS ค. AWS และ JIS ง. AWS และ ISO 2. รหัส 131 ตามมาตรฐาน ISO 4063 หมายถึงขอใด ก. กระบวนการเชื่อมทิก ข. กระบวนการเชื่อมแม็ก ค. กระบวนการเชื่อมมิก ง. การเชื่อมอารกโลหะดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซ 3. ถากําหนดสัญลักษณงานเชื่อม
ดังภาพ จะไดชิ้นงานหลังเชื่อมเปนอยางไร
ก.
ข.
ค.
ง. 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6
คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช 4. นายสุรพล
เบญจาทิกุล พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 พระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน