คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 7

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คูมือครูฝก 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็กระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตน ที่สัมพันธกับงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 7 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม ฉบับ นี้ เปน สว นหนึ่ง ของหลัก สูต รฝก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใช เปน เอกสารประกอบการจัดการฝ กอบรมกับชุด การฝ กตามความสามารถ โดยไดดําเนิน การภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริ ห ารจั ด การการฝ ก อบรมให เ ป น ไปตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ อบรมผู รั บ การฝ ก ให ส ามารถนํ า ความรู เ กี่ ย วกั บ คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนาของผูรับ การฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 7 09207225 คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0920722501 คณิตศาสตรประยุกตที่สัมพันธกับการรางแบบงานเชื่อม

12

หัวขอวิชาที่ 2 0920722502 วิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม

46

คณะผูจัดทําโครงการ

67

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรีย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัสหั วขอวิช าเป นตั วกําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เ กิ ดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝกอบรมออนไลน ระบบการฝกอบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชงานระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนา ที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับ การฝก เรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝกเปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (. pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของ คูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของ คูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ กทรอนิ กส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070803

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอและอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหาร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสภาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070803 2. ชื่อโมดูลการฝก คณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับ รหัสโมดูลการฝก งานเชื่อม 09207225 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก การบวก ลบ คูณ หาร การหารอยละไปใชไดอยางถูกตอง 2. นําการวัดและการคํานวณความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใช ไดอยางถูกตอง 3. นําการแปลงหนวยของมาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใช ไดอยางถูกตอง 4. นําเครื่องคํานวณไปใชไดอยางถูกตอง 5. วิเคราะหสาเหตุและการปองกันการกัดกรอนและการสึกหรอไดอยางถูกตอง 6. วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธกับงานเชื่อม อิทธิพลของความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่ อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และการใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ความสามารถของ 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว ผูรับการฝก 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ผลลัพธการเรียนรู 1. นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก การบวก ลบ คูณ หาร การหา รอยละไปใชไดอยางถูกตอง

ชื่อหัวขอวิชา หัวขอที่ 1 : คณิตศาสตรประยุกตที่สัมพันธกับ การรางแบบงานเชื่อม

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1:00 1:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. นําการวัดและการคํานวณ ความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใช ไดอยางถูกตอง 3. นําการแปลงหนวยของ มาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใชไดอยางถูกตอง 4. นําเครื่องคํานวณไปใช ไดอยางถูกตอง 5. วิเคราะหสาเหตุและการ หัวขอที่ 2 : วิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับ ปองกันการกัดกรอนและ งานเชื่อม การสึกหรอไดอยางถูกตอง 6. วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธ กับงานเชื่อม อิทธิพลของ ความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และ การใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

-

1:00

2:00

-

2:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920722501 คณิตศาสตรประยุกตที่สัมพันธกับการรางแบบงานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

นําคณิตศาสตรพื้นฐาน ไดแก การบวก ลบ คูณ หาร การหารอยละไปใชไดอยางถูกตอง นําการวัดและการคํานวณความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดันไปใชไดอยางถูกตอง นําการแปลงหนวยของมาตรวัด มาตรฐานตาง ๆ ไปใชไดอยางถูกตอง นําเครื่องคํานวณไปใชไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

การบวก ลบ คูณ หาร การหารอยละ การวัดความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดัน การแปลงหนวย การใชเครื่องคํานวณ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม นิรนาม (นามแฝง). 2558. 1.4 การแปลงหนวย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=2827&pageid=8&read=true&count=true วัง สมพิทักษ. 2556. การวัดมุม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.youtube.com/watch?v=9UiQWer 7EPY สํานักงานสถิติแหงชาติ. 2547. 1.12 การคํานวณทางสถิติ [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://service.nso.go.th /nso/nsopublish/know/estat1_12.html สมสนิท ศรีมงคล. 2556. การวัดความยาว.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://school3.rmutp.ac.th/blog/donyor school/wp-content/uploads/sites/20/2013/11/หนังสือเลมเล็กการวัดความยาว-1.pdf 13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

Civill1779 (นามแฝง). 2553. หนวยทางวิศวกรรมและการแปลงหนวย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. civilclub.net/หนวยทางวิศวกรรมและการแปลงหนวย-units-conversions.html

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 คณิตศาสตรประยุกตที่สัมพันธกับการรางแบบงานเชื่อม 1. การบวก ลบ คูณ หาร 1.1 การบวก คือ การนําจํานวนตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปมารวมกัน ซึ่งจํานวนที่ไดจากการรวมจํานวนตาง ๆ เขาดวยกัน เรียกวา “ผลรวม” หรือ “ผลบวก” และใชเครื่องหมาย + เปนสัญลักษณแสดงการบวก ซี่งจํานวนที่มี 0 จะมีหลักการบวก ดังนี้ 1) จํานวน 0 บวก 0 ไดผลบวกเปน 0 2) จํานวนใด ๆ บวก 0 จะไดผลบวกเทากับเลขจํานวนนั้น เชน 5 + 0 ได 5 หรือ 0 + 5 ได 5 การบวกจํานวนสองจํานวน หรือสามจํานวนที่ไมมีการทด เปนการนําจํานวนเลขสองจํานวนหรือสามจํานวนมาบวกกัน แลวผลบวกของตัวเลขแตละหลักจะมีคาไมเกิน 9 ซึ่งการหาผลบวกในแนวตั้งมี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 โดยการกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ตัวอยาง

423 + 215 มีคาเทาไร

วิธีทํา

423

400 + 20 + 3 +

+

215

200 + 10 + 5 600 + 30 + 8 = 638

ตอบ

638

วิธีที่ 2 โดยใชวิธีลัด ตัวอยาง

147 + 720 มีคาเทาไร

วิธีทํา

147 + ตั้งตัวเลขแตละตัวใหมีหลักตรงกันแลวบวกทีละหลัก 720 867

ตอบ

867

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การบวกจํานวนสองจํานวนและสามจํานวนที่มีการทด มีวิธีทําและวิธีคิดเชนเดียวกับการบวกที่ไมมีทด แตเมื่อ ผลบวกของตัวเลขในแตละหลักไดจํานวนรวมตั้งแต 10 ขึ้นไป จะตองทดเลขตัวหนาขึ้นไปบวกกับตัวเลขในหลักที่สูงกวา ถัดไปขางหนา ซึ่งการหาผลบวกในแนวตั้งมี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 โดยการกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ตัวอยาง

665 + 257 มีคาเทาไร

วิธีทํา

665

600 + 60 + 5 +

+

257

200 + 50 + 7 800 +110 +12 = 800+100+10+10+2 = 922

ตอบ

922

วิธีที่ 2 โดยใชวิธีลัด ตัวอยาง

562 + 975 มีคาเทาไร

วิธีทํา

562 + 975 15 3 7

ตอบ

1,537

สมบัติการสลับที่ของการบวก จํานวนสองจํานวนที่นํามาบวกกันสามารถสลับที่กันได โดยที่ผลบวกยังคงเทาเดิม เชน 12 + 36 = 36 + 12 234 + 641 = 641 + 234

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวก ในการบวกจํานวนสามจํานวน ตองบวกทีละสองจํานวนกอน โดยจะบวก สองจํานวนใดกอนก็ได แลวจึงไปบวกกับจํานวนที่เหลือ ผลบวกที่ไดก็จะเทากัน เชน 41 + 12 + 34 = (41 + 12) + 34 = 53 + 34 = 87 หรือ

41 + 12 + 34 = 41 + (12 + 34) = 41 + 46 = 87

โดยทั่วไปนิยมนําสมบัติการเปลี่ยนหมูของการบวกไปใชบวกจํานวนสองจํานวนที่มีคานอยกอน แลวจึงนําไปบวก กับจํานวนที่มากที่สุด หรือถามีสองจํานวนใดที่บวกกันแลวไดผลบวกลงทายดวย 0 จะบวกสองจํานวนนั้นกอน แลวจึง บวกดวยจํานวนที่เหลือ ซึ่งชวยใหคิดเลขงายขึ้น 1.2 การลบ คือ การนําจํานวนหนึ่งหักออกจากอีกจํานวนหนึ่ง และอาจเปนการเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวน ซึ่งจํานวนที่เหลือ หรือจํานวนที่เปนผลตางของสองจํานวนนี้เรียกวา “ผลลบ” และใชเครื่องหมาย – เปนสัญลักษณแสดงการลบ ซึ่งการลบ จํานวนที่มีเลข 0 จะมีหลักการ ดังนี้ 1) จํานวน 0 ลบกับ 0 ไดผลลบเปน 0 2) จํานวนใด ๆ ที่มีตัวลบเปน 0 จะไดผลลบเทากับเลขจํานวนนั้น เชน 5 – 0 = 5 การลบที่ไมมีการกระจาย เปนการลบกันของจํานวนสองจํานวน ซึ่งตัวเลขในแตละหลักของตัวลบไมเกินตัวตั้งซึ่งอยู ในหลักเดียวกัน การหาผลลบในแนวตั้ง ตัวตั้งตองอยูขางบนตัวลบเสมอ และตัวเลขแตละหลักตองตรงกันซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 โดยการกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ตัวอยาง

756 - 302 มีคาเทาไร

วิธีทํา

756

700 + 50 + 6 -

-

302

300 + 0 + 2 400 + 50 + 4 = 454

ตอบ

454 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีที่ 2 โดยใชวิธีลัด ตัวอยาง

578 - 453 มีคาเทาไร

วิธีทํา

578 453 125

ตอบ

125

การลบที่มีการกระจาย ใชเมื่อตัวเลขในแตละหลักของตัวตั้งนอยกวาตัวลบซึ่งอยูในหลักเดียวกัน จึงตองมีการ กระจายตัวตั้งขามหลัก โดยกระจายตัวตั้งในหลักที่สูงกวา ซึ่งอยูถัดไปขางหนาหนึ่งหลักมารวมกับตัวตั้งตัวที่นอยกวานี้ แลวจึงนําตัวลบมาหักออก การหาผลลบในมี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 โดยการกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ตัวอยาง

724 - 467 มีคาเทาไร

วิธีทํา

724

700 + 20 + 4 -

467

600 + 110 + 14 -

-

400 + 60 + 7

400 + 60 + 7 200 + 50 + 7 = 257

ตอบ

257

วิธีคิด

724

700 + 20 + 4 -

467

400 + 60 + 7

เนื่องจากหลักหนวยตัวตั้งคือ 4 นอยกวาตัวลบคือ 7 จึงตองกระจายจากหลักสิบมา 1 สิบ หรือ 10 รวมกันเปน 14 ดังนี้ 700 + 20 + 4

700 + 10 + 14 -

400 + 60 + 7

400 + 60 + 7

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สําหรับหลักสิบ ตัวตั้งถูกกระจายไปเสีย 10 เหลืออีก 10 ซึ่งนอยกวาตัวลบ คือ 60 จึงตองกระจายจากหลักรอย มา 1 รอย หรือ 100 รวมเปน 110 แลวจึงลบกัน ดังนี้ 700 + 10 + 14

600 + 110 + 14 -

400 + 60 + 7

400 + 60 + 7 200 + 50 + 7

= 257

ในการลบของจํานวนที่มีเลขเกินหลักรอยขึ้นไป การกระจายจากหลักอื่น ๆ ก็ใชวิธีเดียวกันกับการกระจายจาก หลักรอยมาหลักสิบ หรือจากหลักสิบมาหลักหนวย วิธีที่ 2 โดยใชวิธีลัด ตัวอยาง

7,151 – 6,249 มีคาเทาไร

วิธีทํา

6 11 4 11

7 1 5 1

6 2 4 9 9 0 2 ตอบ

902

ความสัมพันธระหวางการบวกและการลบ เนื่องจากการลบ คือ การนําจํานวนหนึ่งออกจากอีกจํานวนหนึ่ง จึงเปน การกระทําที่กลับ กันกับการบวก หรือตรงขามกับ การบวก กลาวคือ การบวกเปน การนําจํานวนสองจํานวน มารวมกัน ผลบวกจะมีคามากขึ้น แตการลบเปนการนําจํานวนสองจํานวนมาหักออกจากกัน ผลลบจะมีคานอยลง ตัวตั้ง – ตัวลบ = ผลลบ ในทางกลับกัน

ผลลบ + ตัวลบ = ตัวตั้ง

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ดังนั้น จากความสัมพันธระหวางการบวกและลบนี้ เราสามารถนําไปใชตรวจสอบผลลบวาถูกตองหรือไมโดยวิธีการบวก ดังนี้

1.3 การคูณ คือ การบวกจํานวนที่เทา ๆ กัน หรือเปนการนับเพิ่มจํานวนครั้งละเทา ๆ กัน ซึ่งสามารถแสดงไดโดยการคูณจํานวน เพียง 2 จํานวน กลาวคือ จํานวนที่เทากันกับจํานวนครั้งที่บวกกันและใชเครื่องหมาย × เปนสัญลักษณแสดงการคูณ ใชเขียนอยูระหวางตัวเลข 2 จํานวนที่นํามาคูณกัน เชน

2 + 2 + 2 + 2 เขียนไดเปน 2 × 4

โดยจํานวนที่ไดจากการคูณ 2 จํานวนเขาดวยกัน เรียกวา “ผลคูณ” การคูณจึงเปนวิธีลัดของการบวกและประโยคที่แสดงการคูณเรียกวา ประโยคสัญลักษณของการคูณ เชน 2 × 9 = 18 เปนประโยคสัญลักษณของการคูณ อานวา 2 คูณ 9 เทากับ 18

ดังนั้น

2

เรียกวา ตัวตั้ง

9

เรียกวา ตัวคูณ

18

เรียกวา ผลคูณ

ตัวตั้ง × ตัวคูณ = ผลคูณ

เนื่องจากการคูณเปนวิธีลัดของการบวก จึงไดมีการนํามาสรางเปนตารางการคูณ หรือที่เรียกวา สูตรคูณ เพื่อชวย ใหบวกจํานวนเลขที่เทา ๆ กัน ไดรวดเร็ว และสะดวกขึ้น

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สําหรับจํานวนที่คูณกับ 0 0 คือ 0 × 1 = 0 0 + 0 คือ 0 × 2 = 0 0 + 0 + 0 คือ 0 × 3 = 0 0 + 0 + 0 + 0 คือ 0 × 4 = 0 ดังนั้น ทุกจํานวนที่คูณกับ 0 จะมีผลคูณเทากับ 0 การหาผลคูณระหวางจํานวนที่ไมเกิน 3 หลัก เมื่อตัวคูณเปนตัวเลขหลักเดียว เปนการคูณของจํานวน 2 จํานวน ซึ่งตัวตั้งอาจเปนตัวเลขหลักเดียว สองหลัก หรือสามหลักก็ได แตตัวคูณเปนจํานวนหลักเดียว ซึ่งสามารถหาผลคูณได ดังนี้ วิธีที่ 1 วิธีคูณอยางงาย เหมาะสําหรับตัวตั้งที่เปนตัวเลขหลักเดียว สามารถหาผลคูณไดโดยการเปดตาราง การคูณ หรือทองสูตรคูณแลวตอบไดทันที ตัวอยาง

5 × 7 เทากับเทาไร

วิธีทํา

5 × 7 = 35

ตอบ

35

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีที่ 2 วิธีกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ใชกับตัวตั้งที่เปนตัวเลขตั้งแต 2 หลักขึ้นไป ตัวอยาง

37 × 4 เทากับเทาไร

วิธีทํา

37

30 + 7 ×

×

4

4 120 + 28 = 148

ตอบ

148

วิธีที่ 3 วิธีลัด ตัวอยาง

45 × 9 เทากับเทาไร

วิธีทํา

45 × 9 405

ตอบ

405

แนวคิด คือ คูณทีละหลักโดยเริ่มจากหลักหนวย ดังนี้ หลักหนวย

5 × 9 = 45

ใส 5 ลงในหลักหนวย สวน 4 ซึ่งเปนหลักสิบใหทดขึ้นไปไว บวกกับตัวเลขในหลักสิบตอไป

หลักสิบ

4 × 9 = 36

บวก 4 ที่ทดไวรวมเปน 40 ใส 0 ลงในหลักสิบ และ 4 ลงในหลักรอย

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เมื่อตัวคูณเปนตัวเลขสองหลัก ซึ่งตัวตั้งอาจเปนตัวเลขหลักเดียว สองหลัก หรือสามหลัก แตตัวคูณเปนตัวเลขสองหลัก สามารถหาผลคูณไดดังนี้ วิธีที่ 1 โดยวิธีลัด แบบที่ 1

234 × 36 เทากับเทาไร

วิธีทํา

234 × 36

30 + 6

1404

234 × 6 +

7020

234 × 30

8,4 2 4 ตอบ

8,424

แบบที่ 2

234 × 36 เทากับเทาไร

วิธีทํา

234 × 36 1404 + 702 8,4 2 4

ตอบ

8,424

แนวคิด คือ วิธีนี้ตัวเลขหลักสุดทายของผลคูณแตละตัว จะอยูตรงหลักเดียวกันกับตัวคูณตัวนั้น แลวจึงนํา ผลคูณแตละตัวมาบวกกัน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีที่ 2 โดยการแยกเปนตัวประกอบของตัวคูณ ตัวประกอบของตัวคูณ คือ การเปลี่ยนตัวคูณใหเปนเลขหลักเดียว โดยแยกตัวคูณใหเปนผลคูณของจํานวน เลขหลักเดียว เชน 21 = 3 × 7 เราเรียก 3 และ 7 วาเปนตัวประกอบของ 21 เปนตน ตัวอยาง

274 × 21 เทากับเทาไร

วิธีทํา

274

274 ×

×

21

3 822 × 7 5,754

ตอบ

5,754

วิธีคิด 1) แยกตัวคูณ คือ 21 ออกเปน 3 × 7 2) นํา 3 ซึ่งเปนตัวคูณที่นอยกวา คูณกับ 274 กอน จะได 822 (การนําตัวเลขที่นอยกวาไปคูณกอน เพื่อจะไดผลคูณเปนจํานวนนอย ๆ งายตอการคูณเลขตัวตอไป) 3) นํา 7 ไปคูณ 822 จะไดผลคูณเปน 5,754 วิธีที่ 3 โดยการแยกตัวคูณที่เปนพหุคูณของ 10 ซึ่งวิธีนี้จะใชเมื่อตัวคูณเปนพหุคูณของ 10 คือ ตัวคูณที่ลงทาย ดวย 0 ตัวอยาง วิธีทํา

ตอบ

324 × 30 เทากับเทาไร 324 × 3 972 × 10 9,720 9,720 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีที่ 4 วิธีการกระจายจํานวนตามคาประจําหลัก ตัวอยาง

382 × 23 เทากับเทาไร

วิธีทํา

382

300 + 80 + 2 ×

×

23

23 6,900 + 1,840 + 46 = 8,786

ตอบ

8,786

สมบัติการสลับที่ของการคูณ คือ จํานวนสองจํานวนที่มาคูณกันสามารถสลับที่กันได กลาวคือ ตัวตั้งและตัวคูณ สลับที่กันได โดยที่ผลคูณยังคงเทาเดิม เชน 3×2=2×3 10 × 9 = 9 × 10 สมบัติการเปลี่ยนหมูของการคูณ คือ การนําจํานวนสามจํานวนมาคูณกัน จะคูณสองจํานวนใดกอนแลวไปคูณกับ จํานวนที่เหลือผลคูณจะเทากันเสมอ เชน 3×5×6

= (3 × 5) × 6

3×5×6

= 3 × (5 × 6)

= 15 × 6

= 3 × 30

= 90

= 90

ดังนั้น

(3 × 5) × 6 = 3 × (5 × 6)

สมบัติการแจกแจงของการคูณ การนําจํานวนใด ๆ ไปคูณกับผลบวกของจํานวนอีกสองจํานวน จะมีผลคูณเทากับ การนําจํานวนนั้นไปคูณทีละจํานวนแลวบวกกัน เชน (5 + 10) × 4 = 15 × 4

(5 + 10) × 4 = (5 × 4) + (10 × 4)

= 60

= 20 + 40 = 60

ดังนั้น

(5 + 10) × 4 = (5 × 4) + (10 × 4)

สมบัติการแจกแจงของการคูณ นิยมนําไปใชในการคูณจํานวน 2 จํานวนที่เปนจํานวนตั้งแต 2 หลักขึ้นไป

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.4 การหาร คือ การแบงของออกเปนกลุมยอยเทา ๆ กัน หรือเปนการนับลดครั้งละเทา ๆ กัน ซึ่งสามารถแสดงไดโดยการหาร ของจํานวนเพีย ง 2 จํานวน จํานวนที่ไดจ ากการหารกัน ของ 2 จํานวน เรีย กวา “ผลหาร” และใชเครื่องหมาย ÷ เปนสัญลักษณแสดงการหาร ใชเขียนอยูระหวางตัวเลข 2 จํานวนที่นํามาหารกัน ตัวอยาง

15 ถาลบออก ครั้งละ 3 จะตองลบกี่ครั้ง จึงจะหมด ครั้งที่ 1

15 – 3 เหลือ 12

ครั้งที่ 2

12 – 3 เหลือ 9

ครั้งที่ 3

9 – 3 เหลือ 6

ครั้งที่ 4

6 – 3 เหลือ 3

ครั้งที่ 5

3 – 3 เหลือ 0

จะเห็นวา 15 ลบออกครั้งละ 3 ได 5 ครั้ง จึงจะหมด นั่นคือ

15 ÷ 3 = 5

การหารเปนวิธีลัดของการลบ และประโยคที่แสดงการหาร เชน 15 ÷ 3 = 5 เรียกวา ประโยคสัญลักษณแสดงการหาร 15

เรียกวา

ตัวตั้ง

3

เรียกวา

ตัวหาร

5

เรียกวา

ผลหาร

ดังนั้น ตัวตั้ง ÷ ตัวหาร = ผลหาร ความสัมพันธของการคูณและการหาร ตัวอยาง

10 ÷ 2 เทากับเทาไร

วิธีทํา

10 ÷ 2 = 5

ตรวจคําตอบ

5 × 2 = 10

จากตัวอยางจะเห็นไดวา การคูณและการหารมีความสัมพันธกันคือ ตัวตั้ง ÷ ตัวหาร = ผลหาร

ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตั้ง

จากความสัมพันธนี้ทําใหหาผลหารไดงายขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีที่ 1 วิธีหารยาว ตัวอยาง

184 ÷ 8 เทากับเทาไร

แนวคิด 1) 20 เปนจํานวนมากที่สุดที่คูณกับ 8 แลวไดไมเกิน 184 2) นําผลคูณ 8 × 20 คือ 160 ไปลบออกจาก 184 เหลือ 24 3) 3 เปนจํานวนที่คูณกับ 8 แลวได 24 พอดี นํา 24 ไปลบออกจาก 24 ซึ่งเปนตัวตั้งได 0 วิธีที่ 2 วิธีหารสั้น ตัวอยาง

184 ÷ 8 เทากับเทาไร

แนวคิด ใชวิธีคิดเหมือนวิธีหารยาวแตการหารสั้นทําใหหาผลหารไดรวดเร็วขึ้น วิธีที่ 3 วิธีหารสั้น (แยกตัวหารใหเปนตัวประกอบ) ตัวอยาง

1,218 ÷ 21 เทากับเทาไร

แนวคิด 1) นํา 3 ไปหาร 1,218 ได 406 2) นํา 7 ไปหาร 406 ได 58 ลงตัวพอดี 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. การหารอยละ เศษสวนที่ตัวสวนเปน 100 สามารถเขียนแสดงในรูปรอยละ หรือเปอรเซ็นตได เชน

12

100 2

100

เขียนเปน รอยละ 12 เขียนเปน รอยละ 2

รอยละ 30 หรือ 30 เปอรเซ็นต เขียนเปน

รอยละ 7 หรือ 7 เปอรเซ็นต เขียนเปน 2.1 การหารอยละที่ตัวสวนเปน 100

30

100 7

100

2.2 การหารอยละที่ตัวสวนหารดวย 100 ลงตัว

3. การวัดความยาว มุม พื้นที่ ปริมาตร น้ําหนัก ความดัน การวัด คือ การหาคาของระยะทาง ความยาว น้ําหนัก ซึ่งการวัดสิ่งตาง ๆ นั้นก็มีวิธีการที่แตกตางกัน ดังนี้ 3.1 การวัดความยาว ใชในการหาความยาว ความกวาง หรือความสูงของสิ่งตาง ๆ โดยเครื่องมือพื้นฐานที่ใชสําหรับ การวัดความยาว เชน ไมบรรทัด ไมเมตร ตลับเมตร สายวัด เปนตน ซึ่งหนวยของการวัดความยาวที่ใชในปจจุบัน มีดังนี้

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หนวยวัดความยาวในมาตราไทย 12 นิ้ว

เทากับ

1 คืบ

2 คืบ

เทากับ

1 ศอก

4 ศอก

เทากับ

1 วา

20 วา

เทากับ

1 เสน

400 เสน

เทากับ

1 โยชน

หนวยการวัดความยาวในระบบเมตริก 10 มิลลิเมตร

เทากับ

1 เซนติเมตร

100 เซนติเมตร

เทากับ

1 เมตร

1,000 เมตร

เทากับ

1 กิโลเมตร

หนวยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ 12 นิ้ว

เทากับ

1 ฟุต

3 ฟุต

เทากับ

1 หลา

1,760 หลา

เทากับ

1 ไมล

3.2 การวัดมุม ในการวัดมุมนั้น เครื่องมือที่ใชในการวัดขนาดของมุม ไดแก โปรแทรกเตอร ซึ่งมีเสนบอกองศา ดังภาพ

ภาพที่ 1.1 โปรแทรกเตอร วิธีวัดขนาดของมุม 1) ใหจุดกึ่งกลางของโปรแทรกเตอรทับตรงจุดยอดมุมของมุมที่จะวัด 2) ใหเสนศูนยองศาของโปรแทรกเตอรทาบไปบนแขนขางหนึ่งของมุม 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3) อานขนาดของมุม เริ่มจากเสนศูนยองศาดานที่ทาบบนแขนของมุมไปจนถึงแขนอีกขางหนึ่ง ก็จะทราบ ขนาดของมุมที่ตองการ

ภาพที่ 1.2 แสดงการวัดมุม 3.3 การวัดขนาดพื้นที่ การวัดขนาดของพื้นที่จะนิยมใชสูตรในการหาขนาดตามความแตกตางของลักษณะพื้นที่ โดยสูตรพื้นฐานในการหาพื้นที่ มีดังนี้ 1) สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส = ดาน × ดาน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2) สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา = กวาง × ยาว

1

3) สูตรการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = x ฐาน x สูง 2

4) สูตรการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนาน

= ฐาน x สูง หรือ 1

= x ความยาวเสนทแยงมุม x ผลบวกเสนกิ่ง 2

โดย เสนทแยงมุม คือ เสนตรงที่ลากจากมุมหนึ่งไปยังมุมตรงขาม

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5) สูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน

= ฐาน x สูง หรือ 1

= x ผลคูณของเสนทแยงมุม 2

1

6) สูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมรูปวาว = x ผลคูณของเสนทแยงมุม 2

1

7) สูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = x สูง x ผลบวกของความยาวของดานคูขนาน 2

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1

8) สูตรการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมดานไมเทา = x ความยาวของเสนทแยงมุม x ผลบวกความยาวเสนกิ่ง 2

9) สูตรการหาพื้นที่วงกลม = πr2 โดย r = ความยาวรัศมี

10) สูตรพื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่ผิวหนาตัด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3.4 การวัดปริมาตร ปริมาตร คือ ขนาดของรูปทรงสามมิติ โดยแตละรูปทรงมีสูตรในการหาปริมาตรแตกตางกันดังนี้ 1) สูตรการหาปริมาตรทรงลูกบาศก = ดาน × ดาน × ดาน

2) สูตรการหาปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = กวาง × ยาว × สูง

4

3) สูตรการหาปริมาตรทรงกลม = × π × r3 3

4) สูตรการหาปริมาตรทรงกระบอก = π × r2 × h โดย h = ความสูง

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1

5) สูตรการหาปริมาตรทรงกรวย = × π × r2 × h 3

6) สูตรการหาปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง

ซึ่งหนวยการวัดปริมาตรในระบบเมตริก มีดังนี้ 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

เทากับ 1,000 หรือ 103 ลูกบาศกมิลลิเมตร

1 ลูกบาศกเมตร

เทากับ 1,000,000 หรือ 106 ลูกบาศกเซนติเมตร

1 ลูกบาศกเซนติเมตร

เทากับ 1 มิลลิลิตร

1 ลิตร

เทากับ 1,000 หรือ 103 มิลลิลิตร

1 ลิตร

เทากับ 1,000 หรือ 103 ลูกบาศกเซนติเมตร

1,000 ลิตร

เทากับ 1 ลูกบาศกเมตร

3.5 การวัดน้ําหนัก ใชในการหาน้ําหนักของสิ่งของตาง ๆ โดยเครื่องมือพื้นฐานที่ใชสําหรับวัดน้ําหนัก เชน เครื่องชั่งสปริง เครื่องชั่งสองแขน เครื่องชั่งแบบตุมถวง เปนตน ซึ่งหนวยของการวัดน้ําหนัก มีดังนี้ หนวยการวัดน้ําหนักในระบบเมตริก 1 กรัม

เทากับ 1,000 หรือ 103 มิลลิกรัม

1 กิโลกรัม

เทากับ 1,000 หรือ 103 กรัม

1 เมตริกตัน (ตัน)

เทากับ 1,000 หรือ 103 กิโลกรัม 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หนวยการวัดแบบไทยเทียบกับระบบเมตริก 1 ถัง

เทากับ 15 กิโลกรัม

1 กระสอบ

เทากับ 100 กิโลกรัม

3.6 ความดัน เปนปริมาณชนิดหนึ่งในทางฟสิกส หมายถึง อัตราสวนระหวางแรงที่กระทําตั้งฉาก ซึ่งทําโดยของแข็ง ของเหลว หรือแกส ตอพื้นที่ของสารใด ๆ (ของแข็ง ของเหลว หรือแกส) ความดันเปนปริมาณสเกลาร ซึ่งเปนปริมาณที่มี แตขนาดไมมีทิศทาง สามารถเขียนเปนสูตรโดยทั่วไปไดดังนี้ หรือ กําหนดให P

คือ

ความดัน (Pressure)

F

คือ

แรงที่กระทําตั้งฉากกับพื้นผิวนั้น ๆ (Normal Force)

A

คือ

พื้นที่ (Area) — หรืออาจใช S (Surface; พื้นผิว)

เนื่องจาก F มีหนวยเปน "นิวตัน" (N) และ A มีหนวยเปน "ตารางเมตร" (m2) ความดันจึงมีหนวยเปน "นิวตัน ตอตารางเมตร" (N/m2) นอกจากหนว ย “นิว ตัน ตอตารางเมตร” แลว หนว ยของความดัน ยังมีห นว ยอื่น ๆ ซึ่งใช แตกตางกันไปในแตละสถานการณ ดังนี้ ตารางที่ 1.1 แสดงหนวยของความดัน ปอนดตอ ตารางนิ้ว

ปาสกาล

บาร

บรรยากาศเทคนิค

บรรยากาศมาตรฐาน

ทอร

หนวย

(Pa)

(bar)

(at)

(atm)

(Torr)

1 Pa

≡ 1 N/m2

≡106 dyn/cm2 = 10-5

≈ 1.0197×10-5

≈9.8692×10-6 ≈ 0.98692

≡ 1 mm Hg

≈ 1.450377×10-4

≈ 1.0197

≡ p0

≈7.5006×10-3

=1

≡ 1 kp/cm2

≈750.06

≈ 14.50377

1 at

= 0.980665×105

= 0.980665

=1

≈ 0.9678411

≈ 735.5592

≈ 14.22334

1 atm

= 1.01325×105

=1.01325

≈ 1.0332

=1

≈ 14.69595

1 Torr

≈ 133.3224

≈1.333224×10-3

≈ 1.359551×10-3

≈ 1.315789×10-3

1 psi

≈ 6.8948×103

≈ 6.8948×10-2

≈ 7.03069×10-2

≈ 6.8046×10-2

≡ 760

1 bar

=1

= 105

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

(psi) ≡ 1 lb F /in2

=1

≈ 1.933678×10-2

≈ 51.71493

=1


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. การแปลงหนวย การทํางานในบางครั้งมีความจําเปนที่ตองเปลี่ยนหนวยวัดจากระบบหนวยวัดคาหนึ่งไปสูระบบหนวยวัดอีกคาหนึ่ง หรือการแปลง ระบบภายในเพื่อใหเปนหนวยที่ใหญขึ้นหรือยอยลง ดังตัวอยาง การแปลงหนวยเอสไอ (ระบบเมตริก) กับหนวยอังกฤษ ดังนี้ ตารางที่ 1.2 แสดงการแปลงหนวย

1 เมตร (m)

หนวยเอสไอ

หนวยสหรัฐ หรือหนวยอังกฤษ

ระยะทาง

ระยะทาง

= 10 เดซิเมตร (dm)

12 นิ้ว (in) = 1 ฟุต (ft)

= 100 เซนติเมตร (cm)

3 ฟุต

= 1,000 มิลลิเมตร (mm)

5,280 ฟุต = 1 ไมล (mile)

1 เดกาเมตร (dam) = 10 เมตร

= 1 หลา (yd)

1,760 หลา = 1 ไมล

1 เฮกโตเมตร (hm) = 100 เมตร 1 กิโลเมตร (km)

= 1,000 เมตร

การแปลงหนวย: 1 นิ้ว = 25.4 มิลลิเมตร 1 ฟุต = 30.48 เซนติเมตร 1 ไมล = 1.61 กิโลเมตร 1 หลา = 0.914 เมตร 1 เมตร = 3.28 ฟุต พื้นที่

พื้นที่

1 ตารางเมตร (m2) = 10,000 ตารางเซนติเมตร (cm2)

1 ตารางฟุต (ft2)

= 1,000,000 ตารางมิลลิเมตร (mm2) 1 ตารางหลา (yd2) 1 ตารางเฮกโตเมตร (hm2) = 10,000 ตารางเมตร (m2)

= 144 ตารางนิ้ว = 9 ตารางฟุต

1 ตารางไมล (sq mile) = 640 เอเคอร

= 1 เฮกตาร (Hectare (ha))

= 1 ตอน

1 ตารางกิโลเมตร (km2) = 1,000,000 ตารางเมตร (m2) การแปลงหนวย: 1 ตารางนิ้ว

= 6.45 ตารางเซนติเมตร = 645 ตารางมิลลิเมตร 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หนวยเอสไอ

หนวยสหรัฐ หรือหนวยอังกฤษ

1 ตารางเมตร = 10.8 ตารางฟุต 1 เอเคอร

= 0.405 เฮกตาร

1 ตารางไมล = 2.59 ตารางกิโลเมตร ปริมาตร

ปริมาตร

1 ลูกบาศกเมตร (m3)

1 ลูกบาศกฟุต (ft3) = 1,728 in3

= 1,000,000 ลูกบาศกเซนติเมตร (cm3)

1 ลูกบาศกหลา (yd3) = 27 ลูกบาศกฟุต

= 1 × 109 ลูกบาศกมิลลิเมตร (mm3)

1 แกลลอนสหรัฐ (U.S.gallon)(ของเหลว)

1 ลูกบาศกเดซิเมตร (dm3) = 1 ลิตร (litre)

= 231 in3

1 ลิตร

= 4 ควอรต (Quarts) (ของเหลว)

= 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร

1 มิลลิลิตร (mL) = 1 ลูกบาศกเซนติเมตร

1 U.S. barrel (bbl) (บารเรลสหรัฐฯ)

1 ลูกบาศกเมตร

= 42 U.S. gallon

= 1,000 ลิตร

1 imperial gallon (อิมพิเรียลแกลลอน) = 1.2 U.S. gallon การแปลงหนวย: 1 in3

= 16.4 cm3

1 m3

= 35.3 ft3

1 litre

= 61 in3

1 U.S. barrel (bbl) = 159 litres 1 litre/s

= 15.9 U.S. gallon/min

มวล และน้ําหนัก

มวล และน้ําหนัก

1 กิโลกรัม (kilogram: kg) = 1,000 กรัม (g)

2,240 ปอนด (lb) = 1 ตัน (ton)

1,000 กิโลกรัม (kg) = 1 ตัน (ton) การแปลงหนวย: 1 kg (บนโลก) = น้ําหนัก 2.2 lb

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หนวยเอสไอ

หนวยสหรัฐ หรือหนวยอังกฤษ

ความหนาแนน

ความหนาแนน

ความหนาแนนมวล = มวล/ปริมาตร

ความหนาแนนน้ําหนัก = น้ําหนัก/ปริมาตร

r = m/V (kg/m3)

r = m/V (lb/ft3)

การแปลงหนวย: (บนโลก) ความหนาแนนมวล 1 kg/m3= ความหนาแนนน้ําหนัก 0.0623 lb/ft3 5. การใชเครื่องคํานวณ เครื่องคํานวณเปนสิ่งสําคัญในการคํานวณคาตาง ๆ เชน ระยะทาง น้ําหนัก คาทางไฟฟา เปนตน ซึ่งการใชเครื่องคํานวณ เบื้องตนมีหลักการ ดังนี้ หมายเหตุ เครื่องคํานวณที่นํามาอางอิง คือ Casio Fx-350 MS

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ตารางที่ 1.3 แสดงปุมฟงกชันของเครื่องคํานวณรุน Casio Fx-350 MS ปุม

ฟงกชัน เปดเครื่อง ปรับคาการคํานวณ ใชกับปุมที่มีคําสั่งสีแดง ใชกับปุมที่มีคําสั่งสีเหลือง ใชสําหรับการยกกําลัง �

+

ใชในการคํานวณรากที่สอง cos-1 + tan-1 + 10�

กําหนดคาติดลบ กําหนดวงเล็บ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ปุม

ฟงกชัน ตัวเลข

เครื่องหมายคํานวณ ใชลบ ลบหนาจอ ปดเครื่อง + ตัวอยางการใชเครื่องคํานวณ ตัวอยางที่ 1 5 × (9 + 7) เทากับเทาไร วิธีทํา กดปุม ผลลัพธที่ไดคือ 80 ตอบ 80 ตัวอยางที่ 2

√3 + √2 × √5 เทากับเทาไร

วิธีทํา กดปุม ผลลัพธทไี่ ดคือ 4.89432... ตอบ ประมาณ 4.89

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ตัวอยางที่ 3 567+252 เทากับเทาไร วิธีทํา กดปุม ผลลัพธที่ไดคือ 1,192 หรือ กดปุม ผลลัพธที่ไดคือ 1,192 ตอบ 1,192 ตัวอยางที่ 4

102 5K

เทากับเทาไร

วิธีทํา K = Kilogram = 103 กดปุม ผลลัพธที่ไดคือ 0.02 หรือ กดปุม

ผลลัพธที่ไดคือ 0.02 ตอบ 0.02

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. จากโลหะกลมมีข นาดเสน ผา นศูน ยก ลาง 500 มิล ลิเ มตร และหนา 70 มิล ลิเ มตร ถา ความหนาแนน คือ 7,850 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร จงหาน้ําหนักในหนวยของปอนด (1 kg = 2.205 lb) ก. 138 lb ข. 238 lb ค. 283 lb ง. 328 lb

2.

จากรูป ขอใดคือขนาดของปริมาตรของถังใบนี้ และถามีน้ําอยูครึ่งถัง น้ําจะมีน้ําหนักกี่กิโลกรัม (ความถวงจําเพาะน้ํา = 1,000 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร) ก. 0.196 ลูกบาศกเมตร มีปริมาณน้ําอยู 196 กิโลกรัม ข. 0.196 ลูกบาศกเมตร มีปริมาณน้ําอยู 1.96 กิโลกรัม ค. 1.26 ลูกบาศกเมตร มีปริมาณน้ําอยู 1,260 กิโลกรัม ง. 1.26 ลูกบาศกเมตร มีปริมาณน้ําอยู 126 กิโลกรัม

3. ณัฐพลตองการเชื่อมทอเหล็กใหยาว 18 เมตร จํานวน 9 ชิ้น โดยโรงงานขายทอเหล็กยาว 6 เมตร ราคา 950 บาท ดังนั้น ณัฐพลตองจายเงินคาทอทั้งหมดเทาไร ก. 8,550 บาท ข. 17,100 บาท ค. 25,650 บาท ง. 51,300 บาท

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. ในการใชเครื่องคิดเลข ยี่หอ CASIO หากตองการหาคา 4sin(30º) ตองกดปุมบนเครื่องคิดเลขอยางไร ก. กด 4 กด sin กด 30 กด ^ กด 0

ค. กด 4 กด × กด sin กด 30 กด 0

ข. กด 4 กด shift กด ( กด sin กด 30 กด )

ง. กด 4 กด ( กด sin กด 30 กด )

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920722502 วิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเคราะหสาเหตุและการปองกันการกัดกรอนและการสึกหรอไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหโลหะวิทยาที่สัมพันธกับงานเชื่อม อิทธิพลของความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) และการใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat) ไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

การกัดกรอนและการสึกหรอ โลหะวิทยาที่สัมพันธกับงานเชื่อม อิทธิพลของความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม การอุนชิ้นงาน (Preheat) การใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ฉัตรทอง ใสแสง วิทยา กอบตระกูลดี และอนุชาติ มากกลาง. 2556. โลหะวิทยาการเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://static.se-ed.com/ws/Storage/PDF/978616/080/9786160808120PDF.pdf บริ ษัท เลิ ศวิ ลั ย แอนด ซัน ส จํ า กั ด. 2554. การใหความรอนโลหะชิ้น งานกอนเชื่อม. [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก : http://www.lertvilai.com/knowledge-detail4.php วรวิ ท ย จั น ทร สุ ว รรณ. 2554. หน ว ยที่ 3 โลหะและการกั ด กร อ นของโลหะ. [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก : http://sc.sci.rmutp.ac.th/sctank/appchem/wcs-metal.pdf วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2555. ความดัน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ความดัน

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิจิตรา พุมไพจิตร. ม.ป.ป. ความหนาแนน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://indyteacher.wordpress.com/ หนวยการเรียนรู/unit1/density/ สุ ร สิ ท ธิ์ แก ว พระอิ น ทร . 2553. โลหะวิ ท ยาเบื้ อ งต น . [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก : https://static.seed.com/ws/Storage/Pdf/978616/080/9786160808694PDF.pdf

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 วิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1. การกัดกรอนและการสึกหรอ 1.1 การกัดกรอน การกั ด กร อนของโลหะ คื อ การที่ โ ลหะทํ าปฏิ กิ ริ ย ากั บ สารต าง ๆ ในสิ่ งแวดล อมรอบ ๆ แล ว ทํ าให โ ลหะนั้ น เปลี่ยนสภาพไปเปนสารประกอบประเภทออกไซดหรือไฮดรอกไซด สาเหตุของการกัดกรอนของโลหะในธรรมชาติ คือ เกิดจากผิวของโลหะสัมผัสกับน้ําและแกสออกซิเจน การกัดกรอน ของโลหะเกิด จากการที่อะตอมของโลหะถูกออกซิไดซเ ปน ไอออนแลว รวมตัว กับ ออกซิเ จนในอากาศไดผ ลิต ภั ณ ฑ เปนออกไซดของโลหะนั้น เชน สนิมเหล็ก (Fe 2 O 3 ) สนิมทองแดง (CuO) หรือสนิมอะลูมิเนียม (Al 2 O 3 ) การปองกันการกัดกรอนของโลหะมีหลายวิธี ดังนี้ 1) ทาผิวหนาของโลหะดวยสี น้ํามัน หรือเคลือบดวยพลาสติก หรือทาดวยสารปองกันการสึกกรอนชนิดตาง ๆ 2) เคลือบ เชื่อม หรือพันดวยโลหะที่เสียอิเล็กตรอนไดงายกวา 3) ชุบ หรือเคลือบผิวหนาของโลหะที่ตองการปองกันการผุกรอนดวยโลหะอื่น โลหะที่นิยมนํามาใชเคลือบ คือ โลหะที่เกิดสารประกอบออกไซดแลวสารประกอบออกไซดนี้สามารถเคลือบผิวหนาของโลหะไวไมให ผุกรอนลุกลามตอไป 4) ทําเปนโลหะผสม โดยการนําโลหะตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมาหลอมรวมกัน ทําใหทนตอการผุกรอน 5) วิ ธี อะโนไดซ คื อ การใช กระแสไฟฟาทําใหผิว หนาของโลหะกลายเปน โลหะออกไซด ซึ่งใชกับ โลหะ ที่มีสมบัติพิเศษ คือ เมื่อทําปฏิกิริยากับออกซิเจน เกิดเปนออกไซดของโลหะแลวออกไซดของโลหะนั้น จะเคลือบผิวของโลหะใหไมเกิดการกัดกรอนตอไป 6) วิธีแคโทดิก การกัดกรอนของโลหะ คือ การที่โลหะเสียอิเล็กตรอน จึงเปรียบไดกับขั้วแอโนด ดังนั้น ถาไมตองการใหโลหะเกิดการกัดกรอน จะตองทําใหโลหะนั้นมีสภาวะเปนแคโทด หรือคลายแคโทด โดยใชโลหะที่เสียอิเล็กตรอนไดงายกวา เชน การเชื่อมตอแมกนีเซียมตามทอเหล็ก เนื่องจากแมกนีเซียม เสียอิเล็กตรอนงายกวาเหล็ก แมกนีเซียมจึงเปนแอโนด สวนเหล็กเปนแคโทด 7) วิธีการรมดํา เปน การปองกันการผุกรอนและเพิ่มความสวยงามใหแกชิ้นงานโลหะ โดยการทําใหผิว ของโลหะเปลี่ยนเปนออกไซดของโลหะนั้น ซึ่งมีลักษณะเปนฟลมสีดําเกาะติดแนนบนผิวของชิ้นงานโลหะ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 การสึกหรอ การสึ ก หรอ เป น การหลุ ด ของผิ ว วั ส ดุ จ ากการถูก แรงกระทํา ขณะผิว เคลื่อ นที่สัม ผัส กับ อีก ผิว หนึ่ง ซึ่ง เปน การเปลี่ยนแปลงบริเวณผิวของชิ้นงานในลักษณะที่ไมพึงประสงค เนื่องจากการแยกหลุดของอนุภาคบนผิวชิ้นงาน หรือ มีการเสียดสีกันระหวางการใชงานในชวงระยะเวลาหนึ่งมีผลทําใหขนาด รูปราง น้ําหนักชิ้นงานเกิดการเปลี่ยนแปลง สาเหตุของการสึกหรอเกิดขึ้นไดหลายสาเหตุ ดังนี้ 1) ปฏิกิริยาทางเคมี เชน เปนสนิม ผุกรอน เปนตน 2) การถูกกระแทกจากวัส ดุซึ่งมีความแข็ง ทําใหชิ้นสวนนั้นเกิดการเปลี่ยนขนาดและรูป รางไปจากเดิม หรือแตกหัก 3) การสัมผัสหรือเสียดสีกับวัสดุอื่น ทําใหอนุภาคบนชิ้นงานหลุด เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดหรือรูปราง การปองกันการสึกหรอสามารถปองกันไดหลายวิธี ดังนี้ - การเคลือบผิวหนาดวยโลหะชนิดทนการสึกกรอน และตานการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เชน นิกเกิล เหล็กกลาไรสนิม ตะกั่ว สังกะสี เปนตน - การพอกผิวแข็งเพื่อเพิ่มอายุการใชงานใหยาวนานกวาเดิม - การใชวัสดุเคลือบเพื่อลดการเสียดสี เชน โครเมียมคารไบด ทังสเตนคารไบด เปนตน 2. โลหะวิทยาที่สัมพันธกับงานเชื่อม ภายในของโลหะเกิ ดจากอะตอมรวมตั ว กั น จนมีขนาดใหญเปน เกรน ซึ่งเกรนของโลหะจะมีขนาดแตกตางกัน เชน เหล็กกลาเกรนละเอียดจะมีความแข็งแรงมากกวาเหล็กกลาเกรนหยาบ เปนตน ในการเชื่อมแม็ก จะมีความรอนเกิดขึ้นสูงมากซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโลหะ เมื่อลวดเชื่อมสัมผัสกับทอนํากระแส กระแสเชื่อมจะไหลเขาสูลวดเชื่อม และปลายลวดเชื่อมแตะผิวโลหะชิ้นงานจะเกิดการอารก เกิดการหลอมโลหะชิ้นงาน จากนั้นปลายลวดเชื่อมเปนหยดโลหะถายโอนสูบอหลอมเหลวของรอยเชื่อม และแกสจากทอบรรจุจะไหลเขาทอจายสูหัวฉีด พุงออกมาปกคลุมบอหลอมเหลวรวมถึงบริเวณรอบเปลวอารก ซึ่งความรอนสวนนี้จะสงผลกระทบโดยตรงตอการเปลี่ยนแปลง สมบัติทางกล นอกจากการใหความรอนในขณะเชื่อมแลว ในโลหะบางชนิดอาจจะต องใหความรอนกอนเชื่อมหรือหลังเชื่อ ม เพิ่มเติมตามความเหมาะสมกับสมบัติโลหะชิ้นงาน เพื่อใหชิ้นงานเชื่อมมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด 3. อิทธิพลของความรอนที่มีตอชิ้นงานเชื่อม ในกระบวนการเชื่อมแม็ก เมื่อปลายลวดเชื่อมเปลี่ยนเปนหยดโลหะถายโอนสูบอหลอมเหลวของรอยเชื่อมแลว ความรอน ที่หลอมเหลวลวดเชื่อมและโลหะชิ้นงานที่ไดจากการอารกระหวางปลายลวดเชื่อมเปลือยกับชิ้นงาน ทําใหเกิดกระแสไฟฟา 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ไหลผานกลุมอะตอมของแกสที่ประจุไฟฟา โมเลกุลและอะตอมของแกสจะแตกตัวออกทําใหมีสภาพไมเปนกลาง เพราะสูญเสีย อิเล็กตรอนไปจากประจุไฟฟาบวก อิออนแกสที่เปนบวกจะไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ สวนอิเล็กตรอนไหลจากขั้วลบไปยัง ขั้วบวก ปริมาณความรอนจากการอารกจะหลอมโลหะชิ้นงาน และปลายลวดเชื่อมจะถูกปกคลุมใหพนจากบรรยากาศ รอบนอกโดยแก ส ที่ ไ หลพุ ง ออกจากหั ว ฉี ด ปริ ม าณความร อ นที่ ไ ด รับ จากการอาร ก ของกระบวนการเชื่ อ มนี้ จ ะสู ง กว า กระบวนการเชื่อมแบบอื่น บริเวณรอยตอชนกอนการเชื่อม สําหรับรูปแบบของเกรนโลหะหลักจะมีลักษณะเกรนที่ยาว ซึ่งเกิดจากขั้นตอนการผลิต คือ การรีด ทําใหเม็ดเกรนถูกดึ งและอั ดให มีขนาดที่ยาวขึ้น เมื่อทําการเชื่อมโดยทําใหบริเวณรอยตอของวัสดุส องแผน เกิด การหลอมเหลว และเติม เต็ม บริเ วณรอยตอ ดว ยการเติมลวดเชื่อม เมื่อ ปลอยใหเ กิดการเย็น ตัว โลหะหลอมเหลว บริเ วณรอยตอจะเกิดการหลอมเหลวและกอตัวใหมตามพื้นฐานการเกิดการแข็งตัวของโลหะ เกิดเปนโครงสรางเดนไดรท บริเ วณกึ ่ง กลางของแนวเชื ่อ ม บริเ วณพื ้น ที ่ข องการหลอมเหลว พื ้น ที่บ ริเ วณนี้น ับ วา เปน จุด บกพรอ งของแนวเชื ่อ ม เนื่องจากโครงสรางเดนไดรทที่เกิดขึ้นนี้มีความแข็งและเปราะสูงกวาโครงสรางเกรนยาวในโลหะหลัก เมื่อนําชิ้นงานไปใชอาจ เกิดการพังทลายได นอกจากนั้น บริเวณขอบของพื้นที่การหลอมเหลวและโลหะหลัก โครงสรางของโลหะดังกลาวจะเกิด การเปลี่ยนแปลงเพราะความรอนที่แผออกมาจากบริเวณการหลอมเหลว โครงสรางเกรนโลหะบริเวณนี้จึงมีความกลมมน มากกวาบริเวณอื่น ๆ ของแนวเชื่อม ซึ่งบริเวณนี้เรียกวา เขตอิทธิพลจากความรอน (Heat Affected Zone : HAZ)

ภาพที่ 2.1 เขตอิทธิพลจากความรอน 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. การอุนชิ้นงาน (Preheat) คือ การใหความรอนกับโลหะชิ้นงานที่จะเชื่อมเพื่อใหมีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยปกติจะอุนชิ้นงานเมื่อโลหะนั้นมีสมบัติใน การเชื่อมไมดี ไวตอการแตกราว หรือโลหะที่มีความหนามาก อุณหภูมิในการอุนชิ้นงานจะกําหนดใหมีอุณหภูมิที่ผิวของ ชิ้น งานหา งแนวเชื่อ มประมาณ 2 - 3 นิ้ว เมื่อ กอ นการเชื่อม หลัง การเชื่อม และกอ นที่จ ะเชื่อมในแนวเชื่อ มถัดไป ใน สว นของการใหความรอนกอนเชื่อมจําเปนจะตองใหความสําคัญกับปริมาณคารบอน ซึ่งสามารถแบงความจําเปนในการให ความรอนกอนเชื่อม โดยพิจารณาจากเปอรเซ็นตคารบอนดังนี้ - เหล็กกลาที่มีคารบอน 0.23% สามารถเชื่อมไดงาย - เหล็กกลาที่มีคารบอนประมาณ 0.23 - 0.35% สามารถเชื่อมได แตจะตองเพิ่มกระบวนการใหความรอน โลหะชิ้นงานกอนเชื่อมทุกครั้ง พรอมทั้งเลือกใชลวดเชื่อมใหถูกตองเหมาะสมกับงาน - เหล็กกลาที่มีเปอรเซ็นตคารบอนประมาณ 0.35 - 0.5% สามารถเชื่อมได แตจะตองปฎิบัติตามคําอธิบาย อยางถูกวิธี ในเหล็ ก กล า นอกจากธาตุ ค าร บ อนแล ว ยั ง มี อ งค ป ระกอบของธาตุ อื่ น ๆ ที่ มี ผ ลต อ ค า ความแข็ ง ของเหล็ ก กล า และความสามารถในการเชื่อมดวย ซึ่งจะกําหนดผลรวมออกมาในรูปคารบอนสมมูล (Carbon Equivalent : CE) ดังนี้ โดย CE เปนตัวเลขซึ่งไดจากการคํานวณองคประกอบของธาตุตาง ๆ ในเหล็กชนิดนั้น ๆ ซึ่งตัวเลขที่ไดจะบงบอกถึงความไว ในการเกิดความแข็งแตกราวในเหล็กกลา CE = %C +

%Mn 6

+

%Cr 5

+

%Ni 15

+

%Mo 4

+

%Cu 13

+

%P 2

หมายเหตุ สูตรนี้ใชไดกับเหล็กกลาที่มีสวนผสมของธาตุตาง ๆ ดังนี้ 0.5%C, 1.6%Mn, 1.0%Cr, 3.5%Ni, 0.6%Mo และ 1.0%Cu

ซึ่งจากสูตรสามารถนํามาแสดงในตารางไดดังนี้ ความหนาแผนโลหะ (มิลลิเมตร) /

ลวดเชื่อม CE

ดวยมือ 0.35

อุณหภูมิของการใหความรอนโลหะชิ้นงาน (องศาเซลเซียส)

อารกโลหะ

ตอชน

ฟลเลท

6

12

25

50

6

12

25

50

3.25

0

0

0

0

0

0

0

100

4

0

0

0

0

0

0

0

0

5

0

0

0

0

0

0

0

0

6

0

0

0

0

0

0

0

0

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ความหนาแผนโลหะ (มิลลิเมตร) /

ลวดเชื่อม CE

อุณหภูมิของการใหความรอนโลหะชิ้นงาน (องศาเซลเซียส)

อารกโลหะ ดวยมือ

ตอชน

ฟลเลท

6

12

25

50

6

12

25

50

3.25

0

0

0

150

0

0

100

200

4

0

0

0

0

0

0

0

150

5

0

0

0

0

0

0

0

100

6

0

0

0

0

0

0

0

100

3.25

0

0

150

250

0

100

250

300

4

0

0

100

200

0

0

200

250

5

0

0

0

150

0

0

100

200

6

0

0

0

100

0

0

0

150

3.25

0

0

250

350

0

150

350

(450)

4

0

0

150

300

0

100

250

400

0.50

5

0

0

100

200

0

0

200

350

(ตอ)

6

0

0

0

150

0

0

150

300

0.40

0.45

0.50

5. การใหความรอนหลังเชื่อม (Post Heat) คือ การใหความรอนดวยวิธีการตาง ๆ กับ แนวเชื่อมหลังจากการเชื่อม มีวัต ถุป ระสงคเพื่อชวยลดความเคนภายใน ของแนวเชื่อม โดยการใหความรอนหลังเชื่อมสามารถทําไดหลายวิธี ดังนี้ 5.1 การอบชุบโลหะ คือ การเปลี่ย นแปลงโครงสรางเหล็กกลาดวยความรอน ทําใหรอนแดงเกิน กวาจุด การเปลี่ย นแปลงของวัตถุ จากนั้นจึงทําใหเย็น เพื่อเปลี่ยนแปลงสมบัติและโครงสรางภายในเนื้อโลหะ การที่สมบัติของวัตถุเปลี่ยนไปจากเดิม อยางสมบูรณเรียกวา ทรานสฟอรเมชัน (Transformation) โดยเมื่ออุณหภูมิเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เหล็กจะเริ่มมีการยืดตัวขึ้น และยาวขึ้น จนเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากจุดหนึ่งแลวเหล็กนั้น จะหดลงทันที ซึ่งจุดที่กลาวถึงนี้คือ จุดวิกฤติ (Critical Point)

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 2.2 การเกิดการเปลี่ยนแปลง A คือ จุดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางสมบูรณ ซึ่งปรากฏการณในการอบชุบโลหะที่สําคัญมี 2 ปรากฏการณ คือ 1) อุณหภูมิวิกฤตเสน A 1 (723 องศาเซลเซียส) 2) อุณหภูมิ 723 - 910 องศาเซลเซียส (เสน A 3 ) ขึ้นอยูกับชนิดเหล็กกลาคารบอน กฎของการทําการชุบโลหะ คือ การทําใหเหล็กกลารอนแดง โดยการใหอุณหภูมิสูงกวาวิกฤต เสน A 1 เปนเสน ในการอบชุบโลหะ สามารถแบงกรรมวิธีได 2 อยางคือ 1) อุณหภูมิสูงเหนือเสน A 1 สามารถทํากระบวนการอบชุบไดหลายวิธี ไดแก - การทําแอนเนียลิ่งหรือการอบออน - การทํานอรมาไลซิ่ง (หรือการอบปกติ) - การชุบแข็ง 2) อุณหภูมิต่ํากวาเสน A 1 สามารถทํากระบวนการอบชุบไดคือ การอบคืนตัว อุณหภูมิวิกฤตที่เสน A1 คือ 723 องศาเซลเซียส เมื่อเผาเหล็กกลาใหรอนถึงอุณหภูมิดังกลาว โดยจะมองเห็นเหล็ก เปนสีแดงที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียสขึ้นไป สําหรับการทําใหเย็นนั้นตองลดอุณหภูมิในอัตราความเร็วที่กําหนดคือ ลดอุณหภูมิสีแดงลงมาที่ชิ้นงานจนเปลี่ยนเปนสีดํา ซึ่งอยูที่อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส ใหสัญลักษณวา อุณหภูมิในชวงนี้วา พื้นที่วิกฤติ (Critical Zone)

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ซึ่งเรียก


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5.1.1 การชุบแข็ง การชุบแข็ง คือ การใหความรอนชิ้นงานเกินกวาอุณหภูมิเสน A 3 แลวทําใหเย็นตัวอยางรวดเร็ว จะได โครงสรางมารเทนไซตที่มีความแข็ง ซึ่งมีจุดที่ตองคํานึงถึงใหมากคือ ชวงอุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส เรียกวา เขตอันตราย (Risk Zone) ใชสัญลักษณวา

หรือ MS

MS (Martensite Start) คือ เสนการเกิดมารเทนไซตเริ่มตน ถาหากปลอยใหมีการเย็นตัวอยางรวดเร็ว เลยชวงอุณหภูมินี้ลงไป มักจะเกิดการแตกราว เสียรูป บิดเบี้ยวอยูเสมอ แกไดโดยการทําใหเย็นตัวอยางชา ๆ

ภาพที่ 2.3 จุดการทําใหเย็น การทําใหเย็นในการอบชุบโลหะมี 3 แบบ คือ - วิธีที่ 1 เปนการเย็นตัวเรื่อย ๆ ตั้งแตตนจนจบ ไมเหมาะที่จะนํามาทําการชุบแข็ง - วิธีที่ 2 เปนวิธีที่ดีและอยูในกฎเกณฑของการทําเย็น - วิธีที่ 3 เปนวิธีที่ใหมที่สุด ทําใหอุณหภูมิคงที่และเกิดการสมดุลในการเย็น 5.1.2 การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของเหล็กกลาคารบอน เหล็กกลาคารบอนเมื่อผานการชุบแข็งแลว โครงสรางจะเปลี่ยนไปจากเดิมคือ เพิรลไลต (โครงสรางเฟอรไรต กับซีเมนไทตสลับกัน) ซึ่งมีความแข็งต่ํา เมื่อใหความรอนเตาอบเหนือเสน A 1 แลว โครงสรางก็จะเปลี่ยนมาเปน ออสเทนไนต (Austenite; A) แลวทําใหเย็นดวยวิธีตางกัน ซึ่งจะไดโครงสรางเพิร ลไลตที่มีความละเอีย ดขึ้ น รวมทั้งความแข็งก็เพิ่มขึ้นดวย และถาปลอยใหเย็นตัวในโครงสรางเตาก็จะไดโครงสรางเดิม (Course Pearlite=Pc) และหากเพิ่มอัตราการเย็น ตัว โดยการเปาลมจะไดโ ครงสรางเพิรล ไลตปานกลาง (Medium Pearlite=Pm) และทําใหเย็นตัวอยางรวดเร็วโดยการจุมน้ําหรือน้ํามันจะไดโครงสรางเพิรลไลตที่มีความละเอียด อีกสวนหนึ่ง ของออสเทนไนตก็จะเปลี่ยนเปนมารเทนไซตเริ่มตน (Martensite Start; MS) เมื่ออุณหภูมิลดลงจนถึงเสน A r’ 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

และถาเพิ่มอัตราการเย็นตัวอยางรวดเร็วโดยการจุมน้ํา ออสเทนไนต (A) เปลี่ยนเปนมารเทนไซต จุด A r’ ซึ่งเปน วิธีการชุบแข็ง (Quenching) ที่สมบูรณแบบเรียกวา Martensite Quenching

ภาพที่ 2.4 ความสัมพันธอัตราการเย็นตัวกับโครงสรางของเหล็กกลาคารบอน

ภาพที่ 2.5 กราฟแสดงการยืดและหดตัวของชิ้นงาน การยืดตัวและหดตัวของการชุบแข็ง โครงสรางแตละแบบของมารเทนไซตเมื่อผานการทําเทมเปอริ่งจะได ตามอุณหภูมิที่กระทําแตกตางกันคือ - ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส มารเทนไซตจะเปลี่ยนไปเปนเทมเปอรมาเทนไซต (MT) - ที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส มารเทนไซตจะเปลี่ยนไปเปนทรูสไทต (T) - ที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส มารเทนไซตจะเปลี่ยนไปเปนซอรไบต (S)

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 2.6 การเปลี่ยนแปลงโครงสรางของเหล็กกลาคารบอน ซึ่งเปนผลอันเนื่องมาจากความรอนและการทําใหเย็น จากภาพแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของเหล็กกลาคารบอน ซึ่งเปนผลอันเนื่องมาจากความรอน และการทําใหเย็นดวยวิธีการตาง ๆ ประเภทของการอบชุบโลหะ แบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1) การอบชุบ เพื่อเปลี่ย นเกรนภายใน (Grain Heat Treatment) วิธีนี้เ ปน การใหความรอนแกชิ้นงาน จนโครงสรางภายในเนื้อเปลี่ยนไปทั้งหมด 2) การอบชุบเฉพาะผิวหนา (Surface Heat Treatment) ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงเฉพาะผิวหนาเทานั้น แบงออกเปน 2 ประเภท คือ - การใหความรอนแกชิ้นงานทั้งกอน - การใหความรอนเฉพาะผิวเทานั้น 5.2 การทําการอบออน ตามมาตรฐานญี่ปุนกําหนดใหใชสัญลักษณ HA สําหรับการทําการอบออนเปนการลดความแข็งของเหล็กกลาคารบอน ใหออนตัวลง โดยการจัดระเบียบของโมเลกุลภายในเนื้อโลหะใหม เพื่อทําใหสามารถกลึง ไส และเจาะไดงาย สวนใหญ จะเปน เหล็กกลา ที่ผานการขึ้น รูป เย็น หรือผา นการหลอมาแลว ทําใหเ กิดความแข็งเพิ่มขึ้น แตไมส ม่ําเสมอจึงทําให กลึงไสไดยาก จุ ด สํา คั ญ สํา หรั บ การอบอ อ นคื อ ปล อ ยให ชิ้ น งานเย็ น ตั ว ในเตาอย า งช า ๆ โครงสร า งจะเปน ออสเทนไนต โดยความใหความรอนเหนือเสน A3 ขึ้นไปประมาณ 50 องศาเซลเซียส (800 องศาเซลเซียส) สวนระยะเวลาในการเผาแช ขึ้นอยูกับขนาดความโตของชิ้นงาน ใชสูตรวา ความโต 1 นิ้ว กวาง 1 นิ้ว ตอ 60 นาที วิธีการอบออนมีดวยกันหลายวิธีดังนี้ 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1) ฟลูแอนเนียลิ่ง ฟลูแอนเนียลิ่งหรือการอบออน 2 ขั้นตอน (Two-step Annealing) วิธีการทําคือ ใหความรอนแกชิ้น งาน เหนือเสน A 3 ขึ้นไปประมาณ 50 องศาเซลเซียส ซึ่งโดยทั่วไปจะอยูที่ประมาณ 800 องศาเซลเซียส แชทิ้ง ไวที่อุณหภูมินี้ระยะเวลาหนึ่งตามขนาดความโตของชิ้นงาน แลวปลอยใหเย็นตัวภายในเตาจนถึงอุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส จากนั้นเอาออกมาจากเตาและปลอยใหเย็นในอากาศ วิธีนี้เปนการทําใหเย็น 2 ขั้นตอน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางภายในก็จะกลับสูสภาพใกลสมดุลคือ จากโครงสรางมารเทนไซตจะกลับมาเปน เฟอรไรตและซีเมนไทต ทําใหมีความแข็งลดลง

ภาพที่ 2.7 วิธีการทําฟูลแอนเนียลิ่ง 2) การอบออนที่อุณหภูมิคงที่ มาตรฐานญี่ปุนกําหนดใหใชสัญลักษณ HAA สําหรับการอบออนที่อุณหภูมิคงที่ วิธีการทําคือ ใหความรอน เหนือเสน A3 ขึ้นไปประมาณ 50 องศาเซลเซียสเผาแชไว ณ อุณหภูมินี้ระยะเวลาหนึ่งแลวปลอยใหเ ย็ น ตั ว ภายในเตาจนถึงอุณหภูมิ 600 - 650 องศาเซลเซียส แลวรักษาไวที่อุณหภูมินี้ประมาณ 30 - 50 นาที จากนั้น จึงนําออกมาจากเตาและปลอยใหเย็นในอากาศ เหมาะสําหรับการทําพวกเหล็กเครื่องมือเหล็กกลาผสมต่ํา และผสมสูง

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 2.8 แสดงการทําอบออนที่อุณหภูมิคงที่ 3) การอบออนเพื่อใหไดโครงสรางกลม มาตรฐานญี่ปุน (JIS) กําหนดใหใชสัญลักษณ HAS สําหรับการอบออน เพื่อใหไดโครงสรางกลม วิธีน้ี ตามอุตสาหกรรมเรียกวา เกรนแอนเนียลิ่ง (Grain Annealing) ซึ่งเปนกระบวนการอบชุบสําหรับเหล็ กกล า คารบอนสําหรับทําเครื่องมือกอนที่จะทําการชุบแข็ง โดยกรรมวิธีนี้ยุงยากกวาการทําการอบออนแบบธรรมดา สิ่งสําคัญของการทําเกรนแอนเนียลิ่งอยูที่การใชอุณหภูมิที่คอนขางสูงประมาณ 750 - 760 องศาเซลเซียส แลวคงไวที่อุณหภูมินี้เปนเวลานานแลวจึงทําใหเย็นอยางชาที่สุด และบางครั้งอาจตองทําใหรอนและเย็น สลับกัน 2 - 3 ครั้ง เพื่อใหโครงสรางภายในเนื้อโลหะเกิดเปนเพิรลไลตกอนกลม ซึ่งเหมาะสมกับการใชงาน ลดความเปราะไดดี 4) การอบคลายตัวเพื่อลดความเครียดภายใน มาตรฐานญี่ ปุ น กํา หนดให ใ ช สัญ ลัก ษณ HAR สํา หรั บ การอบคลายตั ว เพื่ อ ลดความเครี ย ดภายใน ซึ่งไมจําเปนตองใชอุณหภูมิสูงมากนัก โดยใหความรอนต่ํากวาเสน A 1 แตตองไมต่ํากวา 450 องศาเซลเซียส เพราะความเครี ย ดจะถู ก ลดให ห มดไปที่ อุ ณ หภู มิ เ หนื อ 450 องศาเซลเซี ย ส และอุ ณหภู มิ ที่ เหมาะสม ในชวงระหวาง 450 - 650 องศาเซลเซียส และคงไว ณ อุณหภูมินี้ประมาณ 1 ชั่วโมงตอความหนาของชิ้นงาน 1 นิ้ว จากนั้นทําใหเย็นตัวดวยอัตราความเร็ว 200 องศาเซลเซียสตอ 1 ชั่ว โมงตอความหนา 1 นิ้ว วิธีน้ี จะชวยลดการบิดเบี้ยว การแตกราว และการเสียรูปรางที่เกิดจากการชุบแข็งมาแลวไดดี รวมทั้งการอบคลายตัว สําหรับเหล็กที่ใชทําเครื่องมือได

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 2.9 การลดความเครียดภายในเนื้อโลหะ 5) การอบออนโดยการจุมน้ํา วิธีการนี้คือ การใหความรอนอุณหภูมิต่ํากวาเสน A1 ประมาณ 100 องศาเซลเซียส แชไวระยะเวลา 10 นาที จากนั้น ทําใหเย็น ตัวโดยเร็วโดยการจุมในน้ํา วิธีนี้เ ปน วิธีที่สะดวก รวดเร็ว และประหยัด เพื่อเปนการลด ความแข็งของเหล็กคารบอนสําหรับงานกลึง ไส และตัดเจาะไดสะดวก

ภาพที่ 2.10 การอบออนโดยการจุมน้ํา

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5.3 การอบปกติ ตามมาตรฐานญี่ปุนกําหนดใหใชสัญลักษณ HNR ซึ่งเปนการอบเพื่อใหเกิดความเหนียว โดยการลดขนาดเกรนของโลหะ ชวยลดความเครียดภายใน วิธีการทําคือ เผาเหล็กกลาใหรอนเกินกวาเสน A 3 หรือเสน A cm ประมาณ 50 องศาเซลเซียส เพื่อใหโครงสรางเปนออสเทนไนต แลวปลอยใหเย็นตัวในอากาศ แตสําหรับเหล็กกลาที่ใชทําเครื่องมือจะใชอุณหภูมิคอนขางสูง คือ ประมาณ 900 - 950 องศาเซลเซียส เผาแชไวเปนระยะเวลา 60 นาทีตอพื้นที่ 1 ตารางนิ้ว โดยการอบปกติทําได หลายวิธี คือ 1) การอบปกติแบบธรรมดา การอบปกติแบบธรรมดา คือ การใหความรอนเกินกวาเสน A 3 หรือ A cm ประมาณ 50 องศาเซลเซียส โดยเผาแชไวระยะเวลาหนึ่ง แลวดึงออกมาปลอยไวใหเย็นตัวในอากาศ เพื่อใหขนาดของเม็ดเกรนของเหล็กมี สมบัติสม่ําเสมอและลดความเครียดภายในดวย เพราะเหล็กที่ผานการหลอและรีดจะมีโครงสรางภายใน เนื้อไมสม่ําเสมอ รวมทั้งมีขนาดและเกรนจะเล็กกวาการอบออน

รูปที่ 2.11 การอบปกติ 2) การอบปกติแบบ 2 ขั้นตอน คือ การใหความรอนเกินกวาเสน A3 หรือ Acm ประมาณ 50 องศาเซลเซียส และแชทิ้งไวระยะเวลาหนึ่ง แลวดึงออกมา จากนั้นปลอยไวใหเย็นตัวในอากาศจนถึงอุณหภูมิประมาณ 550 องศาเซลเซียส เหล็กกลา จะเปลี่ยนจากแดงเปนดํา หลังจากนั้นนําชิ้นงานมาทําใหเย็นในกลองเหล็ก เพื่อลดอัตราการเย็นตัวใหชาลง เปน 2 ขั้นตอน สําหรับการทําใหเย็นวิธีนี้มีประโยชนมาก สามารถปองกันการเกิดรอยราวขนาดเล็กไดในการทํา ชิ้นงานขนาดใหญที่มีความหนาตั้งแต 75 มิลลิเมตรขึ้นไป และโลหะที่มีคารบอนสูง โดยการทําใหเย็นอยางชา ๆ

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ที่อุณหภูมิประมาณ 550 องศาเซลเซียส เพื่อไลธาตุไฮโดรเจนออกจากชิ้นงาน ซึ่งวิธีการนี้ถูกนําไปใชงานกับ ลูกลอและเพรสลอรถไฟ

ภาพที่ 2.12 การอบปกติแบบ 2 ขั้นตอน 3) การอบปกติที่อุณหภูมิคงที่ วิธีการอบปกติที่อุณหภูมิคงที่คือ การใหความรอนเกินกวาเสน A 3 หรือ A cm ประมาณ 50 องศาเซลเซียส เผาแชไวระยะเวลาหนึ่งแลวดึงออกมา จากนั้นปลอยไวใหเย็นตัวที่อุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส และใชลมรอน เปาชิ้นงานประมาณ 30 นาที เหล็กจะกลายเปนสีดําแลวปลอยใหเย็นตัวในอากาศนิ่ง ซึ่งวิธีนี้นิยมใชทํากับ เหล็กผสมคารบอนต่ํา

ภาพที่ 2.13 การอบปกติที่อุณหภูมิคงที่ 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5.4 การชุบแข็ง ตามมาตรฐานญี่ปุนกําหนดใหใชสัญลักษณ HQ การชุบแข็งเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเหล็กกลาคารบอน ใหมีความแข็งเพิ่มขึ้น วิธีการคือ ใหความรอนเหนือเสน A 1 และ A 3 เปนอุณหภูมิวิกฤต ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง โครงสรางภายในจากโครงสรางเพิรลไลตเปนออสเทนไนต จากนั้นทําใหเกิดการเย็นตัวอยางรวดเร็วโดยการจุมน้ํา น้ํามัน หรือสารชุบ จะไดโครงสรางใหมเรียกวา มารเทนไซต ตั้งอยูในชวงบริเวณที่เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางพื้นที่วิกฤติ (Critical Zone) จนถึงอุณหภูมิ 550 องศาเซลเซียส และทําใหเย็นอยางชา ๆ ในชวงเขตอันตราย (Risk Zone) ตั้งแต อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียสลงไป การที่เหล็กกลาเปลี่ยนโครงสรางเปนมารเทนไซตโดยการทําใหเย็นชา ๆ ก็เพื่อปองกัน รอยราว และชิ้นงานที่ไดจะมีความแข็งตามตองการ

ภาพที่ 2.14 การชุบแข็ง ความแข็งของเหล็กกลาคารบอนที่ผานการชุบแข็งขึ้นอยูกับปจจัย 2 ประการ คือ 1) ปริมาณคารบอนที่ผสมในเหล็ก ถาในเหล็กมีธาตุคารบอนผสมอยูมาก โอกาสที่จะเปลี่ยนโครงสราง มารเทนไซตก็ยิ่งมีมากขึ้น และไดปริมาณของมารเทนไซตมาก 2) อัตราการเย็นตัว ความเร็วในการอบชุบคือ การทําใหเหล็กแดง ๆ เย็นตัวอยางรวดเร็ว จะทําใหโครงสราง ของมารเทนไซตไดมาก ในทางตรงกันขามถาปลอยใหเย็นตัวอยางชา ๆ ออสเทนไนตจะเปลี่ยนเฟอรไรต และซีเมนไทตหมด ไมเกิดมารเทนไซต เหล็กกลานั้นจะไมเกิดความแข็งตามตองการ 5.5 การทําเทมเปอริ่ง การทําเทมเปอริ่ง คือ การอบคืนตัว ตามมาตรฐานญี่ปุนใชสัญลักษณ HT เปนวิธีการชุบแข็งสุดทายอยางสมบูรณ เนื่องจากเมื่อผานการชุบแข็งมาแลว ชิ้นงานจะยังไมสามารถนําไปใชงานได แตตองผานกระบวนการอบคืนตัวเสียกอน เพื่อเพิ่มความเหนียว เพิ่มความสามารถใหทนตอการเสียดสีและการสึกกรอน 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

วิธีการอบคืนตัว คือ การทําใหรอนและเย็นพอดีกัน โดยใหอุณหภูมิความรอนแกชิ้นงานที่ผานการชุบแข็งมาแลว ซึ่งโครงสรางภายในเนื้อโลหะจะเปนโครงสรางมารเทนไซตที่มีความแข็งมาก หลังจากนั้นนํามาทําการอบคืนตัว โดยการให ความรอนแกชิ้นงานที่อุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมิเสนวิกฤต A 1 ซึ่งแบงออกเปน 2 ชวงคือ ชวงที่ 1 ใหความรอนประมาณ 200 องศาเซลเซียส แลวทําใหเย็นตัวในอากาศ ชวงที่ 2 ใหความรอนประมาณ 400-600 องศาเซลเซียส แลวทําใหเย็นตัวอยางรวดเร็วโดยการจุมน้ํา

ภาพที่ 2.15 แสดงพื้นที่การทําการอบชุบ การวั ด อุ ณ หภู มิ ใ นการทํ า การอบคื น ตั ว ควรใช เ ครื่ อ งมื อ วั ด ความร อ นภายในเตาเรี ย กว า เทอร โ มคั ป เป ล (Thermocouple) จะเห็น ไดวา การใหความรอนหลังเชื่อมมีห ลากหลายวิธี แตสิ่งสําคัญ คือ ตองกําหนดขอมูล กอนอบทุก ครั้ง เพื่อใหชิ้นงานหลังการอบมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งขอมูลที่ตองกําหนดทุกครั้งไดแก 1) อุณหภูมิที่จะทําการอบชิ้นงาน 2) ชวงเวลาที่จะรักษาอุณหภูมิในการอบ 3) อัตราการเพิ่มและลดอุณหภูมิ 4) การใหความรอนหลังเชื่อม ควรใหหลังการเชื่อมทันทีหรือภายในเวลาเทาไร

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมใชสมบัติทางฟสิกส ก. ความหนาแนน ข. จุดหลอมละลาย ค. จุดเดือด ง. ความยืดหยุน 2. ขอใดตอไปนี้ ไมใชสมบัติทางกลของโลหะ ก. ความแข็ง ข. ความเหนียว ค. ความเปราะ ง. สวนผสมของธาตุในโลหะ 3. เพราะเหตุใด การทําใหเย็นโดยจุมในน้ําจึงทําใหเกิดการชุบแข็งโดยสมบูรณ ก. เมื่อเย็นตัว จะไดโครงสรางเพิรลไลตที่ละเอียดขึ้น ข. เมื่อเย็นตัว โครงสรางออสเทนไนตเปลี่ยนเปนมารเทนไซตทั้งหมด ค. เมื่อเย็นตัว จะไดโครงสรางเพิรลไลตและมารเทนไซตอยางละครึ่ง ง. เมื่อเย็นตัว จะไดโครงสรางออสเทนไนตและเพิรลไลตอยางละครึ่ง 4. การใชกระแสไฟฟาทําใหผิวหนาของโลหะกลายเปนโลหะออกไซดเคลือบบนผิวของโลหะ เปนวิธีการใดในการปองกัน การกัดกรอน ก. ชุบ ข. เคลือบ ค. วิธีอะโนไดซ ง. วิธีแคโทดิก

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.