คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 1 โมดูล 8

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือการประเมิน 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09207208 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 8 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่ อม ฉบั บนี้ ได พั ฒ นาขึ้ น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรม ตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรอง ความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวาง มากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 การตรวจสอบงานเชื่อม

16

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม

26

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

38

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

45

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 8 09207208 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1. 2. 3. 4.

บอกระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลไดอยางถูกตอง บอกการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกการตรวจสอบพินิจตัวแปรของงานโดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกการตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอ ของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 6. บอกการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและหลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง 7. ปฏิบัติการตรวจสอบงานเชื่อมและซอมจุดบกพรองไดอยางถูกตอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207208 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1. ระดับคุณภาพงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO 5817) มีกี่ระดับ ก. 2 ระดับ

ค. 4 ระดับ

ข. 3 ระดับ

ง. 5 ระดับ

2. ในการตรวจสอบวัสดุและชิ้นงานกอนการเชื่อมไมตองตรวจสอบขอใด ก. คุณภาพของวัสดุชวยงาน ข. การเตรียมรอยตอ ค. ขนาด ง. ระยะเผื่อ 3. ขั้นตอนการตรวจสอบงานเชื่อมสามารถแบงไดเปนกี่ขั้นตอน อะไรบาง ก. 2 แบบ ไดแก กอนทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ข. 2 แบบ ไดแก ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ค. 3 แบบ ไดแก กอนทําการเชื่อม ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ง. 3 แบบ ไดแก ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อมซอมเสร็จ 4. ผูปฏิบัติงานตองเตรียมรอยตอใหเหมาะสมโดยคํานึงถึงสิ่งใด ในการเตรียมแนวตอกอนการเชื่อม ก. มุมในการปอนลวดเชื่อม ข. ชนิดลวดเชื่อม ค. ความสะอาด ง. ความหนา 5. การเกิดจุดบกพรองในงานเชื่อมซึ่งจะสงผลตอขอใดมากที่สุด ก. สิ้นเปลืองคาใชจายในการแกไขชิ้นงาน

ค. คุณภาพในงานเชื่อม

ข. เสียเวลาในการทําการเชื่อม

ง. ตองเพิ่มจํานวนคนงานในการทําการเชื่อม 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. จากภาพคือลักษณะของจุดบกพรองใด

ก. รอยบุม

ค. รอยราว

ข. รอยเกย

ง. การหลอมไมสมบูรณ

7. จากภาพคือลักษณะของจุดบกพรองใด

ก. การหลอมไมสมบูรณ

ค. รอยเกย

ข. ความพรุน

ง. รอยบุม

8. รอยราว (Crack) แบงออกเปนกี่ประเภท ไดแกอะไรบาง ก. 2 ประเภท ไดแก รอยราวตามยาวและรอยราวตามขวาง ข. 2 ประเภท ไดแก รอยราวขณะรอนและรอยราวขณะเย็น ค. 3 ประเภท ไดแก รอยราวขณะตน รอยราวขณะกลาง และรอยราวขณะปลาย ง. 3 ประเภท ไดแก รอยราวตามยาว รอยราวตามขวาง และรอยราวตั้งฉาก 9. รอยเกยในรอยเชื่อมสามารถซอมไดดวยวิธีใด ก. เชื่อมทับ

ค. เจียเซาะรอง

ข. ใชวิธีปฏิบัติทางความรอน

ง. เจียรอยเกยออก

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

10. การซอมโดยวิธีการเชื่อมพอกผิว อยูในการซอมแบบใด ก. การซอมหลังการเชื่อม

ค. การซอมขณะเชื่อม

ข. การซอมกอนการเชื่อม

ง. การซอมหลังการเชื่อมซอมเสร็จ

11. ขอใดไมใช สิ่งที่ชางเชื่อมควรตรวจสอบขณะปฏิบัติงานเชื่อม ก. เทคนิคการเชื่อม ข. ลําดับขั้นในการเชื่อม ค. จุดบกพรองของงานเชื่อม ง. อัตราเร็วในการปอนลวดเชื่อม

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207208 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1. รอยราว (Crack) แบงออกเปนกี่ประเภท ไดแกอะไรบาง ก. 2 ประเภท ไดแก รอยราวตามยาวและรอยราวตามขวาง ข. 2 ประเภท ไดแก รอยราวขณะรอนและรอยราวขณะเย็น ค. 3 ประเภท ไดแก รอยราวขณะตน รอยราวขณะกลาง และรอยราวขณะปลาย ง. 3 ประเภท ไดแก รอยราวตามยาว รอยราวตามขวาง และรอยราวตั้งฉาก 2. รอยเกยในรอยเชื่อมสามารถซอมไดดวยวิธีใด ก. เชื่อมทับ

ค. เจียเซาะรอง

ข. ใชวิธีปฏิบัติทางความรอน

ง. เจียรอยเกยออก

3. การซอมโดยวิธีการเชื่อมพอกผิว อยูในการซอมแบบใด ก. การซอมหลังการเชื่อม

ค. การซอมขณะเชื่อม

ข. การซอมกอนการเชื่อม

ง. การซอมหลังการเชื่อมซอมเสร็จ

4. ขั้นตอนการตรวจสอบงานเชื่อมสามารถแบงไดเปนกี่ขั้นตอน อะไรบาง ก. 2 แบบ ไดแก กอนทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ข. 2 แบบ ไดแก ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ค. 3 แบบ ไดแก กอนทําการเชื่อม ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม ง. 3 แบบ ไดแก ขณะทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อม หลังทําการเชื่อมซอมเสร็จ 5. ผูปฏิบัติงานตองเตรียมรอยตอใหเหมาะสมโดยคํานึงถึงสิ่งใด ในการเตรียมแนวตอกอนการเชื่อม ก. มุมในการปอนลวดเชื่อม ข. ชนิดลวดเชื่อม ค. ความสะอาด ง. ความหนา 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. การเกิดจุดบกพรองในงานเชื่อมซึ่งจะสงผลตอขอใดมากที่สุด ก. สิ้นเปลืองคาใชจายในการแกไขชิ้นงาน

ค. คุณภาพในงานเชื่อม

ข. เสียเวลาในการทําการเชื่อม

ง. ตองเพิ่มจํานวนคนงานในการทําการเชื่อม

7. ระดับคุณภาพงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO 5817) มีกี่ระดับ ก. 2 ระดับ

ค. 4 ระดับ

ข. 3 ระดับ

ง. 5 ระดับ

8. ในการตรวจสอบวัสดุและชิ้นงานกอนการเชื่อมไมตองตรวจสอบขอใด ก. คุณภาพของวัสดุชวยงาน ข. การเตรียมรอยตอ ค. ขนาด ง. ระยะเผื่อ 9. ขอใดไมใช สิ่งที่ชางเชื่อมควรตรวจสอบขณะปฏิบัติงานเชื่อม ก. เทคนิคการเชื่อม ข. ลําดับขั้นในการเชื่อม ค. จุดบกพรองของงานเชื่อม ง. อัตราเร็วในการปอนลวดเชื่อม 10. จากภาพคือลักษณะของจุดบกพรองใด

ก. รอยบุม

ค. รอยราว

ข. รอยเกย

ง. การหลอมไมสมบูรณ

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

11. จากภาพคือลักษณะของจุดบกพรองใด

ก. การหลอมไมสมบูรณ

ค. รอยเกย

ข. ความพรุน

ง. รอยบุม

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกระบุชื่อจุดบกพรองในแนวเชื่อม ตามตําแหนงและลักษณะของงานเชื่อมที่กําหนดใหตอไปนี้ แลวบันทึกผลลงในตาราง 1. ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมตอชนบากรองวีคู

2. ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอตัวทีเชื่อมแนวเดียวสองดาน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอชนบากรองบีเวลดานเดียวทาขนานนอน

ตารางบันทึกผล ขอที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ลักษณะของจุดบกพรอง

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - แบบภาพตัวอยางงานเชื่อมที่มีจุดบกพรอง จํานวน 1 ชุด

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบงานเชื่อม ขั้นตอนการทดสอบ 1. ภาพตัวอยางจุดบกพรองแนวเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมภาพตัวอยางจุดบกพรองของงานเชื่อม

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมตอชนบากรองวีคู

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอตัวทีเชื่อมแนวเดียวสองดาน

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอชนบากรองบีเวลดานเดียวทาขนานนอน ภาพตัวอยางงานเชื่อมทีม่ ีจุดบกพรอง

2. พิจารณาตําแหนง และลักษณะจุดบกพรอง

ดู แ บบตั ว อย า งงานเชื่ อ มที่ กํ า หนดให หาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก พิจารณาตําแหน งที่เ กิ ด และลักษณะของ ชุดการฝกชางเชื่อมแม็ก จุดบกพรอง

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมตอชนบากรองวีคู

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมฟลเลท รอยตอตัวทีเชื่อมแนวเดียวสองดาน

ตําแหนงจุดบกพรองแนวเชื่อมรอยตอชนบากรองบีเวลดานเดียวทาขนานนอน ภาพตัวอยางงานเชื่อมทีม่ ีจุดบกพรอง

3. บันทึกผลลงในตารางบันทึกผล

บันทึกตําแหนง และลักษณะของจุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 ระบุชื่อจุดบกพรอง 2

เกณฑการใหคะแนน ระบุชื่อจุดบกพรองไดถูกตอง ใหจุดละ 1 คะแนน ระบุชื่อจุดบกพรองไมถูกตอง ใหจุดละ 0 คะแนน ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรองไดถูกตอง ใหจุดละ 1 คะแนน ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ใหจุดละ 0 คะแนน

ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง

คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 18 18

36

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การวัดขนาดและตรวจสอบงานเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสังเกตจุดบกพรองงานเชื่อมจากชิ้นงานจริง พรอมระบุลักษณะที่พบ ตําแหนงที่เกิด และวัดขนาด ของจุดบกพรองนั้น ลงในตารางบันทึกผล

งานเชื่อมตอชนบากรองวี

งานเชื่อมตอตัวที

งานเชื่อมทอตอชน

ภาพตัวอยางชิ้นงานเชื่อม ตารางบันทึกผล 1) จุดบกพรองในงานเชื่อมตอชนบากรองวี ลักษณะของจุดบกพรอง

ตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขนาดของจุดบกพรอง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2) จุดบกพรองในงานเชื่อมตอตัวที ลักษณะของจุดบกพรอง

ตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง

ขนาดของจุดบกพรอง

ตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง

ขนาดของจุดบกพรอง

3) จุดบกพรองในงานเชื่อมทอตอชน ลักษณะของจุดบกพรอง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การวัดขนาดและตรวจสอบงานเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

2. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

3. บรรทัดเหล็ก

จํานวน 1 อัน

4. เวอรเนียคาลิปเปอร

จํานวน 1 อัน

1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ตัวอยางชิ้นงานเชื่อมตอชนบากรองวี

จํานวน 1 ชิ้น

2. งานเชื่อมตอตัวที

จํานวน 1 ชิ้น

3. งานเชื่อมทอตอชน

จํานวน 1 ชิ้น

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การวัดขนาดและตรวจสอบงานเชื่อม ขั้นตอนการทดสอบ 1. เครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และตัวอยางชิ้นงาน เชื่อมที่มีจุดบกพรอง

Automatic Weld Gauge Bridge Cam Weld Gauge เกจวัดแนวเชื่อม

บรรทัดเหล็ก

เวอรเนียคาลิปเปอร

งานเชื่อมตอชนบากรองวี

งานเชื่อมตอตัวที

งานเชือ่ มทอตอชน ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ ม

2. สังเกตชิ้นงานเชื่อมที่กําหนด

สังเกตและพิจารณาตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่ กําหนดให ระบุลักษณะที่พบ ตําแหนงที่เกิด และวัดขนาดของจุดบกพรองนั้น

งานเชื่อมตอชนบากรองวี

งานเชื่อมตอตัวที

งานเชือ่ มทอตอชน ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ ม

3. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกลงในตารางบันทึกผล

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

2

อธิบายลักษณะของจุดบกพรอง

3

ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรอง

4

วัดขนาดของจุดบกพรอง

5

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของ ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของ ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของ ไมถูกตอง ให 0 คะแนน อธิบายลักษณะของจุดบกพรองที่พบบนชิ้นงาน ไดถูกตอง ครบถวน ใหจุดละ 1 คะแนน อธิบายลักษณะของจุดบกพรองที่พบบนชิ้นงาน ไมถูกตอง ใหจุดละ 0 คะแนน ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรองของชิ้นงานไดถูกตอง ครบถวน ใหจุดละ 1 คะแนน ระบุตําแหนงที่เกิดจุดบกพรองของชิ้นงานไมถูกตอง ใหจุดละ 0 คะแนน วัดขนาดจุดบกพรองไดถูกตอง ใหจุดละ 1 คะแนน วัดขนาดจุดบกพรองไมถูกตอง ใหจุดละ 0 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 2

10

10

10 2

34

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานประเภทบิดตัว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทการบิดตัว (Distortion) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง การบิดตัว

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานประเภทบิดตัว 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมตอชนที่มีการบิดตัว

จํานวน 1 ชิ้น

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานประเภทบิดตัว ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้น งานเชื่ อมต อชนที่ มี การ บิดตัว

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนทีม่ ีการบิดตัว

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตลักษณะของการบิ ดตัว บริเวณรอย เชื่อม

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนทีม่ ีการบิดตัว

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

2

เกณฑการใหคะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 5

5

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของผิวแนวเชื่อมที่ไมสมบูรณ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทผิวแนวเชื่อมไมสมบูรณ ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

ลักษณะผิวแนวเชื่อม

................................................................... ...................................................................

ไมสมบูรณ

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของผิวแนวเชื่อมที่ไมสมบูรณ 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมประเภทผิวแนวเชื่อมไมสมบูรณ

จํานวน 1 ชิ้น

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของผิวแนวเชื่อมที่ไมสมบูรณ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมประเภทผิวแนว เชื่อมไมสมบูรณ

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มประเภทผิวแนวเชือ่ มไมสมบูรณ

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตตัวอยางชิ้นงานเชื่อมประเภทผิวแนว เชื่อมไมสมบูรณ

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มประเภทผิวแนวเชือ่ มไมสมบูรณ

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

2

เกณฑการใหคะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 5

5

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทสารมลทินฝงใน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทสารมลทินฝงใน (Slag Inclusion) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

สารมลทินฝงใน

................................................................... ...................................................................

(Slag Inclusion)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทสารมลทินฝงใน 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมประเภทสารมลทินฝงใน

จํานวน 1 ชิ้น

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทสารมลทินฝงใน ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมประเภทสารมลทิน ฝงใน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มประเภทสารมลทินฝงใน

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตตัวอยางชิ้นงานเชื่อมประเภทสารมลทิน ฝงใน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มประเภทสารมลทินฝงใน

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ รายการประเมิน 1 อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

2

เกณฑการใหคะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 5

5

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกบั คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบตั ิที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242 80 = 0.331 242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกระดับคุณภาพของงานเชื่อม 11 8 กอนฝก ตามมาตรฐานสากลไดอยาง ถูกตอง 2. บอกการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอ กอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกการตรวจสอบพินิจตัวแปร ของงานโดยชางเชื่อมในระหวาง การเชื่อมไดอยางถูกตอง 4. บอกการตรวจสอบพินิจ ความ นูนดานหนาแนวเชื่อมและดาน ราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอม ไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. บอกการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและ หลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกระดับคุณภาพของงานเชื่อม 11 8 หลังฝก ตามมาตรฐานสากลไดอยาง ถูกตอง 2. บอกการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอ กอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกการตรวจสอบพินิจตัวแปร ของงานโดยชางเชื่อมในระหวาง การเชื่อมไดอยางถูกตอง 4. บอกการตรวจสอบพินิจ ความ นูนดานหนาแนวเชื่อมและดาน ราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอม ไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. บอกการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและ หลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

36

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 25

34

24

10

7

10

7

10

7

100

70

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

1.818 0.8

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.