คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 3

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คูมือการประเมิน 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09207212 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 3 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิ ค การเชื่อม ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่ อ นํ าไปใชเ ป น ระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลัง แรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติแ ละ ระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตางๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่ม จํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

3

แบบทดสอบกอนฝก

4

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

16

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

17

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

19 26

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 3 09207212 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

อธิบายชนิดของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายขั้นตอนการติดตั้งเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายขั้นตอนการทํางานของระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณไดอยางถูกตอง อธิบายการปรับคาพารามิเตอรใ นการใชเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายความสัมพันธระหวางแรงดันและกระแสไฟฟา (Volt-Amperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง อธิบายวัฎจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายความตานทานของไฟฟาของสายเชื่อมและขอตอไดอยางถูกตอง อธิบายการตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงานไดอยางถูกตอง อธิบายการเลือกใช การบํารุงรักษา และการตรวจสอบอุปกรณ เชน หัวเชื่อม สายเชื่อม อุปกรณปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอสายเชื่อม ไดอยางถูกตอง 10. อธิบายชนิดของกระแสไฟฟาเชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. อธิบายขนาดและสัญลักษณสีของทอแกส อุปกรณปรับความดันและมาตรวัด อัตราการไหลของแกสไดอยางถูกตอง 12. อธิบายประเภทของการอารกแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (Spray-Arc Transfer) ไดอยางถูกตอง 13. อธิบายหลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 14. อธิบายคากระแสและแรงดันไฟฟา อัตราและความเร็วปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 15. อธิบายประเภท ขนาด สมบัติของหัวฉีด (Nozzle) ทอนํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษาไดอยางถูกตอง 16. อธิบายการปองกันและการแกไขการบิดตัวของความเคนตกคางไดอยางถูกตอง 17. อธิบายความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อมไดอยางถูกตอง 18. อธิบายผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 19. อธิบายหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 3 09207212 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส มีคุณสมบัติตางกันอยางไร ก. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหแรงดันคงที่มากกวาเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟส ข. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหกระแสคงที่มากกวาเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟส จึงถูกนํามาใชในการเชื่อมแม็ก ค. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหกระแสคงที่ สวนเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟสใหแรงดันคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหแรงดันคงที่ สวนเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟสใหกระแสคงที่ 2. ตามขั้นตอนการทํางานของระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณ แกสปกปองจะไหลผานหัวฉีดออกมารอบบริเวณอารกเมื่อใด ก. เมื่อลวดเชื่อมออกมาพนปากหัวฉีด ข. เมื่อลวดเชื่อมหยดเปนน้ําโลหะ ค. เมื่อโลหะชิ้นงานกําลังหลอมเหลว ง. กอนการจุดอารก 3. คาพารามิเตอรตัวใดที่ใชควบคุม อัตราของกระแสที่เพิ่มขึ้น เพื่อใหการลัดวงจรตอวินาทีลดลง และชวยใหเกิดการหลอม ไดดีขึ้น ก. กระแส

ค. ความชัน

ข. แรงดัน

ง. การเหนี่ยวนํา

4. เครื่องเชื่อมมีวัฎจักรการทํางาน 60% ที่กระแส 250 แอมแปร หมายความวาอยางไร ก. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 6 นาทีเทานั้นในเวลา 10 นาที ข. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 8 นาทีเทานั้นในเวลา 15 นาที ค. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 10 นาทีเทานั้นในเวลา 20 นาที ง. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 15 นาทีเทานั้นในเวลา 25 นาที

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. หากตองการเชื่อมงานที่มีความยาวถึง 13 เมตร ควรเลือกใชหัวเชื่อมแบบใด ก. หัวเชื่อมแบบปน

ค. หัวเชื่อมแบบคอหาน

ข. หัวเชื่อมแบบดึงตรง

ง. หัวเชื่อมแบบระบบปอนลวดในตัว (push - pull)

6. การอารกแบบใดที่ใชกระแสไฟเชื่อมต่ํา และเหมาะสําหรับการเชื่อมชิ้นงานบาง ก. อารกแบบฝอย

ค. อารกแบบสเปรย

ข. อารกแบบหยด

ง. อารกแบบลัดวงจร

7. ตามหลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็ก ในขณะเชื่อมจะตองควบคุมแรงดันใหคงที่อยูเสมอ ซึ่งแรงดันจะถูกควบคุมจากอะไร ก. ควบคุมโดยการสายหัวเชื่อม

ค. ควบคุมโดยเครื่องเชื่อม

ข. ควบคุมโดยความชัน

ง. ควบคุมโดยการเหนี่ยวนํา

8. ขอใดกลาวถึงความสัมพันธระหวางแรงดัน และกระแสไฟฟาของเครื่องเชื่อมไดถูกตอง ก. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ (CV) กระแสเชื่อมจะเพิ่มขึ้นตามแรงดัน ข. เครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ (CC) แรงดันต่ําสุดเมื่อกระแสไฟฟาอยูที่ศูนย ค. เครือ่ งเชื่อมแบบกระแสคงที่ (CC) เมื่อเพิ่มแรงดันถึงจุดหนึ่งกระแสเชื่อมจะเกิดความคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ (CV) จะใหกระแสเชื่อมสม่ําเสมอ 9. การเชื่อมลงในแนวตั้งควรสายหัวเชื่อมแบบใด จึงจะสามารถปองกันการซอนเกยของรอยเชื่อมได

ก.

ค.

ข.

ง.

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 10. ขอไดเปรียบของการเชื่อมดวยกระแสพัลส เมื่อเทียบกับการเชื่อมดวยการถายโอนน้ําโลหะแบบละออง ขอใดกลาว ถูกตอง ก. ความรอนในการเชื่อมสูงกวาทําใหเกิดการหลอมลึกของแนวเชื่อมมาก ข. ความรอนในงานเชื่อมต่ําจึงนําไปใชกับงานที่ไมตองมีความละเอียดมากได ค. ทําใหความรอนในการเชื่อม (Heat Input) ลดลง และลดการบิดตัวของโลหะ (Distortion) ง. การถายโอนน้ําโลหะมีขนาดเล็ก จึงเหมาะในการนําไปใชกับลวดเชื่อมขนาดเล็กมากกวา 11. ขอใดกลาวผิด เกี่ยวกับสายไฟเชื่อมและขั้วตอ ก. ขนาดของสายเชื่อมขึ้นอยูกับวัฏจักรการทํางานของเครื่องเชื่อม ข. สายเชื่อมที่ตอกับเครื่องเชื่อมและหัวเชื่อม เรียกวา Work Lead ค. มีหนาที่ตอหัวเชื่อมเขากับเครื่องเชื่อม ง. ทําจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม 12. การเชื่อมดวยกระแสตรงขั้วตรงและลวดเชื่อมเปนขั้วลบ สงผลอยางไรตอกระบวนการเชื่อมแม็ก ก. สิ้นเปลืองลวดเชื่อม ข. รอยเชื่อมเกิดการซึมลึกมาก ค. มีสะเก็ดโลหะกระเด็นนอยมาก ง. ผิวชิ้นงานหลังการเชื่อมสะอาด 13. ในการถายโอนโลหะแบบพัลส หากตองการกระแสพัลสสูงสุด ตองปรับตั้งกระแสอยางไร ก. ตั้งใหสูงกวาระดับกระแสชวงเปลี่ยนของการถายโอนโลหะแบบละออง ข. ตั้งในชวงการถายโอนแบบหยดขนาดใหญ ค. ตั้งในชวงการถายโอนโลหะแบบละออง ง. ตั้งในชวงการถายโอนหยดโลหะ

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 14. ทอแกสที่ใชในงานเชื่อมมีลักษณะอยางไร ก. ลักษณะเปนทอปลายเปดดานหนึ่ง ข. ระดับความดันที่ใชกันทั่วไป คือ 150 Bar ค. ระบุปริมาตรแกสเปนคิว หรือลูกบาศกเซนติเมตร ง. เปนทอความดันสูง ผลิตดวยการขึ้นรูปทอเหล็กในขณะรอน 15. ถากราฟของแรงดัน (แกนตั้ง) และกระแสไฟเชื่อม (แกนนอน) มีลักษณะของเสนกราฟเปนเสนตรงเอียงลงเล็กนอย แสดงถึงการทํางานของเครื่องเชื่อมแบบใด ก. เครื่องเชื่อมหมอแปลงไฟฟา ข. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ ค. เครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบอินเวอรเตอร 16. ในการติดตั้งเครื่องเชื่อม ขอใดตอไปนี้ ไมใช ขั้นตอนการประกอบชุดสายเชื่อมแม็ก ก. คลายสกรูยึดปลายสายเชื่อมแม็กที่ชุดลูกกลิ้งออก ข. เสียบปลายสายเชื่อมแม็กเขากับที่ยึด ขันสกรูยึดใหแนน ค. ตรวจสอบทอนําลวดที่ปลายหัวเชื่อม ใหมีขนาดเทากับขนาดลวดเชื่อม ง. ตรวจสอบขนาดรองบนลูกกลิ้งขับลวด ใหมีขนาดใหญกวาลวดเชื่อมเล็กนอย 17. ขอใด ไมใช วิธีการบํารุงรักษาหัวฉีดแกส (Gas Nozzle) ก. ทําความสะอาดหัวฉีด ข. ตรวจสอบหัวฉีดแกสเปนประจํา ค. ใชกระแสต่ําในการเชื่อม เพื่อลดสะเก็ดโลหะ ง. ฉีดสเปรยปองกันการเกาะติดของสะเก็ดโลหะ

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 18. การปองกันการบิดตัวของความเคนคงคาง โดยใหแนวเชื่อมอยูใกลกับแกนกลางของชิ้นงาน สงผลดีอยางไรตอการเชื่อม ก. ทําใหไมกินขอบชิ้นงานและประหยัดเวลาในการเชื่อม ข. ลดแรงดึง และลดการหดตัวของโลหะชิ้นงาน ค. หยดโลหะสะสมบริเวณรอยตอลดลง ง. ลดการสูญเสียโลหะชิ้นงาน 19. หากใชระยะยื่นลวดยาวมากกวา 10 มิลลิเมตร จะสงผลอยางไรตอการหลอมลึกชิ้นงาน ก. หลอมลึกนอย ข. หลอมลึกมาก ค. หลอมลึกปานกลาง ง. ไมเกิดการหลอมลึกบนชิ้นงาน

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 3 09207212 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1. การอารกแบบใดที่ใชกระแสไฟเชื่อมต่ํา และเหมาะสําหรับการเชื่อมชิ้นงานบาง ก. อารกแบบฝอย

ค. อารกแบบสเปรย

ข. อารกแบบหยด

ง. อารกแบบลัดวงจร

2. ตามหลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็ก ในขณะเชื่อมจะตองควบคุมแรงดันใหคงที่อยูเสมอ ซึ่งแรงดันจะถูกควบคุมจากอะไร ก. ควบคุมโดยการสายหัวเชื่อม

ค. ควบคุมโดยเครื่องเชื่อม

ข. ควบคุมโดยความชัน

ง. ควบคุมโดยการเหนี่ยวนํา

3. ขอใดกลาวถึงความสัมพันธระหวางแรงดัน และกระแสไฟฟาของเครื่องเชื่อมไดถูกตอง ก. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ (CV) กระแสเชื่อมจะเพิ่มขึ้นตามแรงดัน ข. เครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ (CC) แรงดันต่ําสุดเมื่อกระแสไฟฟาอยูที่ศูนย ค. เครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ (CC) เมื่อแรงดันถึงจุดหนึ่งกระแสเชื่อมจะเกิดความคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ (CV) จะใหกระแสเชื่อมสม่ําเสมอ 4. การเชื่อมลงในแนวตั้งควรสายหัวเชื่อมแบบใด จึงจะสามารถปองกันการซอนเกยของรอยเชื่อมได

ก.

ค.

ข.

ง.

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 5. ขอไดเปรียบของการเชื่อมดวยกระแสพัลส เมื่อเทียบกับการเชื่อมดวยการถายโอนน้ําโลหะแบบละออง ขอใดกลาว ถูกตอง ก. ความรอนในการเชื่อมสูงกวาทําใหเกิดการหลอมลึกของแนวเชื่อมมาก ข. ความรอนในงานเชื่อมต่ําจึงนําไปใชกับงานที่ไมตองมีความละเอียดมากได ค. ทําใหความรอนในการเชื่อม (Heat Input) ลดลง และลดการบิดตัวของโลหะ (Distortion) ง. การถายโอนน้ําโลหะมีขนาดเล็ก จึงเหมาะในการนําไปใชกับลวดเชื่อมขนาดเล็กมากกวา 6. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส มีคุณสมบัติตางกันอยางไร ก. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหแรงดันคงที่มากกวาเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟส ข. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหกระแสคงที่มากกวาเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟส จึงถูกนํามาใชในการเชื่อมแม็ก ค. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหกระแสคงที่ สวนเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟสใหแรงดันคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบ 1 เฟสใหแรงดันคงที่ สวนเครื่องเชื่อมแบบ 3 เฟสใหกระแสคงที่ 7. ตามขั้นตอนการทํางานของระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณ แกสปกปองจะไหลผานหัวฉีดออกมารอบบริเวณอารกเมื่อใด ก. เมื่อลวดเชื่อมออกมาพนปากหัวฉีด ข. เมือ่ ลวดเชื่อมหยดเปนน้ําโลหะ ค. เมื่อโลหะชิ้นงานกําลังหลอมเหลว ง. กอนการจุดอารก 8. คาพารามิเตอรตัวใดที่ใชควบคุม อัตราของกระแสที่เพิ่มขึ้น เพื่อใหการลัดวงจรตอวินาทีลดลง และชวยใหเกิดการหลอม ไดดีขึ้น ก. กระแส

ค. ความชัน

ข. แรงดัน

ง. การเหนี่ยวนํา

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 9. เครื่องเชื่อมมีวัฎจักรการทํางาน 60% ที่กระแส 250 แอมแปร หมายความวาอยางไร ก. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 6 นาทีเทานั้นในเวลา 10 นาที ข. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 8 นาทีเทานั้นในเวลา 15 นาที ค. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 10 นาทีเทานั้นในเวลา 20 นาที ง. เครื่องเชื่อม 250 แอมแปร สามารถอารกอยางตอเนื่องได 15 นาทีเทานั้นในเวลา 25 นาที 10. หากตองการเชื่อมงานที่มีความยาวถึง 13 เมตร ควรเลือกใชหัวเชื่อมแบบใด ก. หัวเชื่อมแบบปน

ค. หัวเชื่อมแบบคอหาน

ข. หัวเชื่อมแบบตรง

ง. หัวเชื่อมแบบระบบปอนลวดในตัว (push - pull)

11. ในการติดตั้งเครื่องเชื่อม ขอใดตอไปนี้ ไมใช ขั้นตอนการประกอบชุดสายเชื่อมแม็ก ก. คลายสกรูยึดปลายสายเชื่อมแม็กที่ชุดลูกกลิ้งออก ข. เสียบปลายสายเชื่อมแม็กเขากับที่ยึด ขันสกรูยึดใหแนน ค. ตรวจสอบทอนําลวดที่ปลายหัวเชื่อม ใหมีขนาดเทากับขนาดลวดเชื่อม ง. ตรวจสอบขนาดรองบนลูกกลิ้งขับลวด ใหมีขนาดใหญกวาลวดเชื่อมเล็กนอย 12. หากใชระยะยื่นลวดยาวมากกวา 10 มิลลิเมตร จะสงผลอยางไรตอการหลอมลึกชิ้นงาน ก. หลอมลึกนอย ข. หลอมลึกมาก ค. หลอมลึกปานกลาง ง. ไมเกิดการหลอมลึกบนชิ้นงาน 13. การเชื่อมดวยกระแสตรงขั้วตรงและลวดเชื่อมเปนขั้วลบ สงผลอยางไรตอกระบวนการเชื่อมแม็ก ก. สิ้นเปลืองลวดเชื่อม ข. รอยเชื่อมเกิดการซึมลึกมาก ค. มีสะเก็ดโลหะกระเด็นนอยมาก ง. ผิวชิ้นงานหลังการเชื่อมสะอาด

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 14. ขอใดกลาวผิด เกี่ยวกับสายไฟเชื่อมและขั้วตอ ก. ขนาดของสายเชื่อมขึ้นอยูกับวัฏจักรการทํางานของเครื่องเชื่อม ข. สายเชื่อมที่ตอกับเครื่องเชื่อมและหัวเชื่อม เรียกวา Work Lead ค. มีหนาที่ตอหัวเชื่อมเขากับเครื่องเชื่อม ง. ทําจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม 15. ขอใด ไมใช วิธีการบํารุงรักษาหัวฉีดแกส (Gas Nozzle) ก. ทําความสะอาดหัวฉีด ข. ตรวจสอบหัวฉีดแกสเปนประจํา ค. ใชกระแสต่ําในการเชื่อม เพื่อลดสะเก็ดโลหะ ง. ฉีดสเปรยปองกันการเกาะติดของสะเก็ดโลหะ 16. ในการถายโอนโลหะแบบพัลส หากตองการกระแสพัลสสูงสุด ตองปรับตั้งกระแสอยางไร ก. ตั้งใหสูงกวาระดับกระแสชวงเปลี่ยนของการถายโอนโลหะแบบละออง ข. ตั้งในชวงการถายโอนแบบหยดขนาดใหญ ค. ตั้งในชวงการถายโอนโลหะแบบละออง ง. ตั้งในชวงการถายโอนหยดโลหะ 17. ทอแกสที่ใชในงานเชื่อมมีลักษณะอยางไร ก. ลักษณะเปนทอปลายเปดดานหนึ่ง ข. ระดับความดันที่ใชกันทั่วไป คือ 150 Bar ค. ระบุปริมาตรแกสเปนคิว หรือลูกบาศกเซนติเมตร ง. เปนทอความดันสูง ผลิตดวยการขึ้นรูปทอเหล็กในขณะรอน

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 18. ถากราฟของแรงดัน (แกนตั้ง) และกระแสไฟเชื่อม (แกนนอน) มีลักษณะของเสนกราฟเปนเสนตรงเอียงลงเล็กนอย แสดง ถึงการทํางานของเครื่องเชื่อมแบบใด ก. เครื่องเชื่อมหมอแปลงไฟฟา ข. เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ ค. เครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบอินเวอรเตอร 19. การปองกันการบิดตัวของความเคนคงคาง โดยใหแนวเชื่อมอยูใกลกับแกนกลางของชิ้นงาน สงผลดีอยางไรตอการเชื่อม ก. ทําใหไมกินขอบชิ้นงานและประหยัดเวลาในการเชื่อม ข. ลดแรงดึง และลดการหดตัวของโลหะชิ้นงาน ค. หยดโลหะสะสมบริเวณรอยตอลดลง ง. ลดการสูญเสียโลหะชิ้นงาน

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12. 13.

6.

13. 14. 15.

14.

16.

16.

17.

17.

18.

18.

19.

19.

15.

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10. 11.

4.

11. 12. 13.

12.

14.

14.

15.

15.

16.

16.

17.

17.

18.

18.

19.

19.

13.

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 หมายเหตุ

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 80 สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 = 0.331 242

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบายชนิ ดของเครื่อ งเชื่อม 19 13 กอนฝก ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายขั้นตอนการติดตั้งเครื่อง เชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขั้นตอนการทํางานของ ระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการปรับคาพารามิเตอร ในการใชเครื่องเชื่อมไดอยาง ถูกตอง 5. อธิบายความสัมพันธระหวาง แรงดันและกระแสไฟฟา (VoltAmperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายวัฎจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อม ไดอยางถูกตอง 7. อธิบายความตานทานของไฟฟา ของสายเชื่อมและขอตอไดอยาง ถูกตอง 8. อธิบายการตอขั้วสายไฟเชื่อม กับชิ้นงานไดอยางถูกตอง

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. อธิบายการเลือกใช การ บํารุงรักษา และการตรวจสอบ อุปกรณ เชน หัวเชื่อม สาย เชื่อม อุปกรณปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอสายเชื่อม ไดอยางถูกตอง 10. อธิบายชนิดของกระแสไฟฟา เชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. อธิบายขนาดและสัญลักษณสี ของทอแกส อุปกรณปรับความ ดันและมาตรวัด อัตราการไหล ของแกสไดอยางถูกตอง 12. อธิบายประเภทของการอาร กแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (Spray-Arc Transfer) ไดอยางถูกตอง 13. อธิบายหลักการพื้นฐานของการ เชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 14. อธิบายคากระแสและ แรงดันไฟฟา อัตราและ ความเร็วปอนลวดสําหรับการ เชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 15. อธิบายประเภท ขนาด สมบัติ ของหัวฉีด (Nozzle) ทอ นํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษาไดอยาง ถูกตอง 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู 16. อธิบายการปองกันและการ แกไขการบิดตัวของความเคน ตกคางไดอยางถูกตอง 17. อธิบายความสัม พันธระหวาง ทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 18. อธิบายผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อมได อยางถูกตอง 19. อธิบายหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ หลังฝก

1. อธิบายชนิ ดของเครื่อ งเชื่อม ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายขั้นตอนการติดตั้งเครื่อง เชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขั้นตอนการทํางานของ ระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการปรับคาพารามิเตอร ในการใชเครื่องเชื่อมไดอยาง ถูกตอง 5. อธิบายความสัมพันธระหวาง แรงดันและกระแสไฟฟา (VoltAmperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายวัฎจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อม ไดอยางถูกตอง 7. อธิบายความตานทานของไฟฟา ของสายเชื่อมและขอตอไดอยาง ถูกตอง 8. อธิบายการตอขั้วสายไฟเชื่อม กับชิ้นงานไดอยางถูกตอง 9. อธิบายการเลือกใช การ บํารุงรักษา และการตรวจสอบ อุปกรณ เชน หัวเชื่อม สาย เชื่อม อุปกรณปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอสายเชื่อม ไดอยางถูกตอง

19

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 13

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

10. อธิบายชนิดของกระแสไฟฟา เชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. อธิบายขนาดและสัญลักษณสี ของทอแกส อุปกรณปรับความ ดันและมาตรวัด อัตราการไหล ของแกสไดอยางถูกตอง 12. อธิบายประเภทของการอาร กแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (Spray-Arc Transfer) ไดอยางถูกตอง 13. อธิบายหลักการพื้นฐานของการ เชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 14. อธิบายคากระแสและ แรงดันไฟฟา อัตราและความเร็ว ปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็ กไดอยางถูกตอง 15. อธิบายประเภท ขนาด สมบัติ ของหัวฉีด (Nozzle) ทอ นํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษาไดอยาง ถูกตอง 16. อธิบายการปองกันและการ แกไขการบิดตัวของความเคน ตกคางไดอยางถูกตอง 17. อธิบายความสัมพันธระหวางทา เชื่อมและเทคนิคการเชื่อมได อยางถูกตอง 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได

18. อธิบายผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อมได อยางถูกตอง 19. อธิบายหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

5.263

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 3

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.