คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 5

Page 1

ข



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คูมือการประเมิน 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09207214 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 5 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง ฉบั บ นี้ ได พั ฒ นาขึ้ น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรม ตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและ ตลาดแรงงานได อยางเหมาะสมมากยิ่ง ขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับ รองมาตรฐานฝมื อแรงงานแหงชาติแ ละระบบ การรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใ หแ กกําลังแรงงานกลุม เปาหมายตา ง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

3

แบบทดสอบกอนฝก

4

แบบทดสอบหลังฝก

8

กระดาษคําตอบ

12

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

13

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

14 21

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 5 09207214 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง 1. อธิบายการเลือกชนิดของลวดเชื่อม ขนาด ความสามารถใชไดของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการเก็บรักษา การใชลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอกําหนดตามมาตรฐานของลวดเชื่อม สําหรับเหล็กกลาคารบอนและเหล็กกลาผสมต่ํา เหล็กกลาเกรนละเอียด ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตั้งกระแสไฟใหเหมาะสมกับขนาดของลวดและทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการกําหนดขั้วเชื่อมเปน DC+ ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายชนิดมาตรฐานของแกสปกปองและการเลือกใชไดอยางถูกตอง 7. อธิบายผลกระทบของการเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนาและถอยหลังไดอยางถูกตอง 8. อธิบายผลกระทบของการใชปริมาณของแกสปกปองมากหรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง 9. อธิบายแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใชไดอยางถูกตอง

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 5 09207214 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง 1. หากตองการเชื่อมระบบทออุณหภูมิสูงหรือภาชนะรับแรงดัน ตองเลือกใชลวดเชื่อมชนิดใด ก. ลวดเชื่อมนิกเกิลผสม

ค. ลวดเชื่อมแมงกานีส-โมลิบดินัม

ข. ลวดเชื่อมเหล็กกลา

ง. ลวดเชื่อมโครเมียม-โมลิบดินัม

2. ขอใดคือแกสที่นํามาผสมเพื่อใหงานเชื่อมแม็กมีรอยซึมลึกกวางและลึก ก. อารกอน ข. คารบอนไดออกไซด

ค. ออกซิเจน ง. ฮีเลียม

3. การขับลวดเชื่อมออกจากปลายทอนํากระแสไมคงที่ จะมีผลเสียตอการเชื่อมอยางไร ก. การอารกไมสม่ําเสมอ

ค. ลวดเชื่อมเกิดสนิมหรือออกไซด

ข. ลวดเชื่อมอาจแตกหักได

ง. ทําใหรอยเชื่อมไมสมบูรณ

4. อิทธิพลของแกสปกปองมีผลตอชิ้นงานเชื่อมอยางไร ก. สงผลตอความเร็วในการสงถายน้ําโลหะสูชิ้นงานเชื่อม ข. สงผลตอลักษณะและขนาดของรอยเชื่อม ค. สงผลตอความสะอาดของชิ้นงานเชื่อม ง. สงผลตอสีของชิ้นงานเชื่อม 5. การใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสปกปองในการเชื่อมการอารกจะไมเสถียร และมีสะเก็ดโลหะมาก หากตองการ ใหการอารกเสถียรมากขึ้น และมีสะเก็ดโลหะจากการเชื่อมลดลงตองทําอยางไร ก. ใชแกส CO 2 + O 2 เปนแกสปกปอง ข. ใชแกส CO 2 + N เปนแกสปกปอง ค. ใชแกส CO 2 + Ar เปนแกสปกปอง ง. ใชแกส CO 2 + He + O 2 เปนแกสปกปอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 6. การใชแ กสปกปองชนิดใด ที่ทําใหการอารกรุนแรง ความรอนเขาสูชิ้นงานมาก เหมาะกับการเชื่อมที่ตองการอัตราเร็ว การเชื่อมสูง ก. ฮีเลียม

ค. ไนโตรเจน

ข. อารกอน

ง. ไฮโดรเจน

7. ขอใดคือลักษณะเฉพาะของการเชื่อมแบบผลักลวด ก. ระยะซึมลึกนอย

ค. สะเก็ดโลหะเชื่อมนอย

ข. มองเห็นแนวเชื่อมยาก

ง. ตะเข็บเชื่อมสูงนูนและแคบ

8. การเชื่อมเหล็กแผนบางในแนวราบ ควรใชการเชื่อมแบบใด ก. แบบดันลวด

ค. แบบลากลวด

ข. แบบผลักลวด

ง. แบบเอียงลวด

9. ถาใหอตั ราการไหลของแกสปกปองสูงเกินไปจนทําใหรอยเชื่อมสกปรกและเกิดรูพ รุนที่เนื้อโลหะ ขอใดคือสาเหตุข อง การเกิดผลกระทบเหลานี้ ก. เกิดจากชนิดของแกสที่ใช ข. เกิดจากแกสปกปองที่หมุนวนผสมกับอากาศ ค. เกิดจากคุณสมบัติทางกายภาพของแกส ง. เกิดจากการกัดกรอนของแกสกับเนื้อโลหะ 10. แกสปกปองแนวรากที่กําหนดใหใชกับเหล็กกลาไรสนิมคือขอใด ก. แกสฮีเลียม

ค. แกสไฮโดรเจน

ข. แกสอารกอน

ง. แกสไนโตรเจน

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 11. เพื่อเปนการยืดอายุการใชงานของลวดเชื่อม ผูปฏิบัติงานควรเก็บรักษาลวดเชื่อมอยางไร ก. เก็บไวกลางแจง เพื่อปองกันความชื้น ข. ไมควรวางซอนลวดเชื่อมไวบนพาเลทไมมากกวา 1 ชั้น ค. ควรวางลวดเชื่อมบนพาเลทไม และหางจากกําแพงไมเกิน 10 เซนติเมตร ง. เก็บลวดเชื่อมไวในสถานที่ ที่ระบายอากาศไดดี 12. ขอใดกลาวผิด เกี่ยวกับการใชงานลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 ก. ER70S-G สวนผสมทางเคมีของลวดเชื่อม ขึ้นอยูกับการตกลงของผูซื้อและผูผลิต ข. ER80S-Ni1 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมนิกเกิล ซึ่งมีนิกเกิลผสมอยู 1% ค. ER80S-D2 ใชสําหรับเหล็กกลาโครเมียม-โมลิบดีนัม ง. ER70S-4 ใชสําหรับเหล็กกลาละมุน 13. ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ ถาความหนาของ วัสดุงานเทากับ 19.1 มิลลิเมตร ควรใชกระแสไฟเชื่อมกี่แอมแปร ก. 400 - 450 แอมแปร ข. 325 - 375 แอมแปร

ค. 170 - 180 แอมแปร ง. 650 - 700 แอมแปร

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 5 09207214 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง 1. อิทธิพลของแกสปกปองมีผลตอชิ้นงานเชื่อมอยางไร ก. สงผลตอความเร็วในการสงถายน้ําโลหะสูชิ้นงานเชื่อม ข. สงผลตอลักษณะและขนาดของรอยเชื่อม ค. สงผลตอความสะอาดของชิ้นงานเชื่อม ง. สงผลตอสีของชิ้นงานเชื่อม 2. การใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสปกปองในการเชื่อมการอารกจะไมเสถียร และมีสะเก็ดโลหะมาก หากตองการ ใหการอารกเสถียรมากขึ้น และมีสะเก็ดโลหะจากการเชื่อมลดลงตองทําอยางไร ก. ใชแกส CO 2 + O 2 เปนแกสปกปอง ข. ใชแกส CO 2 + N เปนแกสปกปอง ค. ใชแกส CO 2 + Ar เปนแกสปกปอง ง. ใชแกส CO 2 + He + O 2 เปนแกสปกปอง 3. การใชแ กสปกปองชนิดใด ที่ทําใหการอารกรุนแรง ความรอนเขาสูชิ้นงานมาก เหมาะกับการเชื่อมที่ตองการอัตราเร็ว การเชื่อมสูง ก. ฮีเลียม

ค. ไนโตรเจน

ข. อารกอน

ง. ไฮโดรเจน

4. ขอใดคือลักษณะเฉพาะของการเชื่อมแบบผลักลวด ก. ระยะซึมลึกนอย

ค. สะเก็ดโลหะเชื่อมนอย

ข. มองเห็นแนวเชื่อมยาก

ง. ตะเข็บเชื่อมสูงนูนและแคบ

5. การเชื่อมเหล็กแผนบางในแนวราบ ควรใชการเชื่อมแบบใด ก. แบบดันลวด

ค. แบบลากลวด

ข. แบบผลักลวด

ง. แบบเอียงลวด 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 6. ขอใดคือแกสที่นํามาผสมเพื่อใหงานเชื่อมมีรอยซึมลึกกวางและลึก ก. อารกอน

ค. ออกซิเจน

ข. คารบอนไดออกไซด

ง. ฮีเลียม

7. การขับลวดเชื่อมออกจากปลายทอนํากระแสไมคงที่ จะมีผลเสียตอการเชื่อมอยางไร ก. การอารกไมสม่ําเสมอ

ค. ลวดเชื่อมเกิดสนิมหรือออกไซด

ข. ลวดเชื่อมอาจแตกหักได

ง. ทําใหรอยเชื่อมไมสมบูรณ

8. ถาใหอัตราการไหลของแกสปกปองสูงเกินไปจนทําใหรอยเชื่อมสกปรกและเกิดรูพ รุนที่เนื้อโลหะ ชอใดคือสาเหตุข อง การเกิดผลกระทบเหลานี้ ก. เกิดจากชนิดของแกสที่ใช ข. เกิดจากแกสปกปองที่หมุนวนผสมกับอากาศ ค. เกิดจากคุณสมบัติทางกายภาพของแกส ง. เกิดจากการกัดกรอนของแกสกับเนื้อโลหะ 9. แกสปกปองแนวรากที่กําหนดใหใชกับเหล็กกลาไรสนิมคือขอใด ก. แกสฮีเลียม

ค. แกสไฮโดรเจน

ข. แกสอารกอน

ง. แกสไนโตรเจน

10. หากตองการเชื่อมระบบทออุณหภูมิสูงหรือภาชนะรับแรงดัน ตองเลือกใชลวดเชื่อมชนิดใด ก. ลวดเชื่อมนิกเกิลผสม

ค. ลวดเชื่อมแมงกานีส-โมลิบดินัม

ข. ลวดเชื่อมเหล็กกลา

ง. ลวดเชื่อมโครเมียม-โมลิบดินัม

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 11. ขอใดกลาวผิด เกี่ยวกับการใชงานลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 ก. ER70S-G สวนผสมทางเคมีของลวดเชื่อม ขึ้นอยูกับการตกลงของผูซื้อและผูผลิต ข. ER80S-Ni1 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมนิกเกิล ซึ่งมีนิกเกิลผสมอยู 1% ค. ER80S-D2 ใชสําหรับเหล็กกลาโครเมียม-โมลิบดีนัม ง. ER70S-4 ใชสําหรับเหล็กกลาละมุน 12. ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ ถาความหนาของ วัสดุงานเทากับ 19.1 มิลลิเมตร ควรใชกระแสไฟเชื่อมกี่แอมแปร ก. 400 - 450 แอมแปร

ค. 170 - 180 แอมแปร

ข. 325 - 375 แอมแปร

ง. 650 - 700 แอมแปร

13. เพื่อเปนการยืดอายุการใชงานของลวดเชื่อม ผูปฏิบัติงานควรเก็บรักษาลวดเชื่อมอยางไร ก. เก็บไวกลางแจง เพื่อปองกันความชื้น ข. ไมควรวางซอนลวดเชื่อมไวบนพาเลทไมมากกวา 1 ชั้น ค. ควรวางลวดเชื่อมบนพาเลทไม และหางจากกําแพงไมเกิน 10 เซนติเมตร ง. เก็บลวดเชื่อมไวในสถานที่ ที่ระบายอากาศไดดี

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12. 13.

6.

13.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10. 11.

4.

11.

12.

12. 13.

หมายเหตุ

13.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 80 สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 = 0.331 242

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบ ายการเลื อกชนิด ของ 13 9 กอนฝก ลวดเชื่อม ขนาด ความสามารถ ใชไดข องลวดเชื่ อม ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการเก็บรักษา การใช ลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอกําหนดตามมาตรฐาน ของลวดเชื่ อมสํา หรั บ เหล็กกลา คารบ อน และ เหล็ กกล าผสมต่ํา เหล็กกลาเกรนละเอียด ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตั้งกระแสไฟ ใหเหมาะสมกับขนาดของลวด และทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการกําหนดขั้วเชื่อม เปน DC+ ไดอยางถูกตอง 6. อธิบ ายชนิ ดมาตรฐานของ แกสปกปองและการเลือกใช ไดอยางถูกตอง 7. อธิบายผลกระทบของการเอียง หัวเชื่อมแบบเดินหนาและ ถอยหลังไดอยางถูกตอง

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู 8. อธิบายผลกระทบของการใช ปริมาณของแกสปกปองมาก หรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง 9. อธิบายแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใช ไดอยางถูกตอง

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ หลังฝก

1. อธิบ ายการเลื อกชนิด ของ ลวดเชื่อม ขนาด ความสามารถ ใชไดข องลวดเชื่ อม ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการเก็บรักษา การใช ลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอกําหนดตามมาตรฐาน ของลวดเชื่ อมสํา หรั บ เหล็กกลา คารบ อน และ เหล็ กกล าผสมต่ํา เหล็กกลาเกรนละเอียด ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตั้งกระแสไฟ ใหเหมาะสมกับขนาดของลวด และทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการกําหนดขั้วเชื่อม เปน DC+ ไดอยางถูกตอง 6. อธิบ ายชนิ ดมาตรฐานของ แกสปกปองและการเลือกใช ไดอยางถูกตอง 7. อธิบายผลกระทบของการเอียง หัวเชื่อมแบบเดินหนาและ ถอยหลังไดอยางถูกตอง 8. อธิบายผลกระทบของการใช ปริมาณของแกสปกปองมาก หรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง

13

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 9

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได

9. อธิบายแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใช ไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

7.692

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 5

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.