คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 8

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือการประเมิน 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 8 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม ฉบั บนี้ ได พั ฒ นาขึ้ น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรม ตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับ รองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบ การรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวา จะสามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการ ไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผ านสื่ อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝ ก สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความ สะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับ หนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการ ทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการ เดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝก ที่มีความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมา ใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

10

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 2 0920721702 การตรวจสอบงานเชื่อม

16

หัวขอวิชาที่ 3 0920721703 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม

36

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

48

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

55

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1. 2. 3. 4.

อธิบายระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลไดอยางถูกตอง อธิบายการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายการตรวจสอบพินิจตัวแปรของงานโดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง อธิบายการตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอ ของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและหลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง 7. ปฏิบัติการตรวจสอบงานเชื่อมและซอมจุดบกพรองไดอยางถูกตอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1. ระดับคุณภาพงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO 5817) ขอใดกลาวถูกตอง ก. A = ดีมาก, B = ดี, C = พอใช

ค. B = ดีมาก, C = ดี, D = พอใช

ข. B = แข็งแรง, C = ปานกลาง, D = พอใช

ง. A = แข็งแรง, B = ปานกลาง, C = พอใช

2. สัญลักษณ h ในสัญลักษณที่ใชในการประเมินคุณภาพของรอยเชื่อมมีความหมายวาอยางไร ก. ความยาวของความไมสมบูรณตามยาวของแนวเชื่อม ข. ความยาวของรอยเชื่อม ค. ความสูงหรือความกวางของความไมสมบูรณ ง. ความกวางของรอยเชื่อม 3. ขอใดเปนสิ่งที่ไมตองตรวจสอบในขณะปฏิบัติงานเชื่อม ก. อุณหภูมิชิ้นงานขณะเชื่อม

ค. มุมในการเชื่อม

ข. ความเร็วในการปอนลวดเชื่อม

ง. ความตองการในการตานแรงของชิ้นงาน

4. ขอใดเปนการตรวจสอบขณะเชื่อม ก. ตรวจสอบคุณภาพของชางเชื่อม ข. ตรวจสอบผิวการเซาะดานหลัง (Back Gouged Surfaces) ค. ตรวจสอบคุณภาพและความถูกตองของการเตรียมรอยตอเชื่อม ง. ตรวจสอบความสามารถในการประกอบและแนวการวางชิ้นสวน 5. การตรวจสอบดวยการพินิจตัวแปรในการเชื่อมสวนใหญจะควบคุมตัวแปรอะไรบางขณะทําการเชื่อม ก. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม การปอนลวด ข. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ชนิดของวัสดุชิ้นงาน ค. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ความยาวลวดเชื่อม ง. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ขนาดลวดเชื่อม 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. ขอใดตอไปนี้ สามารถเรียกอีกอยางวาฟองอากาศที่เกิดในเนื้อรอยเชื่อม ก. รอยราว

ค. ความพรุน

ข. รอยบุม

ง. รอยเกย

7. การเกิดรอยบุมมีสาเหตุจากขอใดตอไปนี้ ก. กาซคลุมปองกันบอหลอมไมได ข. การใชกระแสเชื่อมสูงเกินไป ค. การหดตัวของรอยเชื่อมขณะเย็นตัว ง. อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมเร็วเกินไป

8. จากรูป

ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณชนิดนี้

ก. เกจวัดขนาดแนวเชื่อมตอชน

ค. เกจวัดระยะจุดบกพรองงานเชื่อม

ข. เกจวัดขนาดแนวเชื่อมฟลเลท

ง. เกจวัดมุมองศาของแนวเชื่อม

9. จากรูป เปนการตรวจสอบอะไร

ก. การตรวจสอบขนาดจุดบกพรอง

ค. การตรวจสอบความนูนสวนเสริมความแข็งแรง

ข. การตรวจสอบขนาดรอยเชื่อมฟลเลท

ง. การตรวจสอบระยะคอรอยเชื่อมฟลเลท

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

10. การซอมรอยเชื่อมที่เกิดรอยเกยกระทําโดยวิธีใด ก. เชื่อมทับรอยเกย

ค. ไมตองกระทําใด ๆ เพราะรอยเกยไมมีผลตอความแข็งแรง

ข. ขจัดรอยเกยดวยการเจีย

ง. ขจัดรอยเจียดวยการเซาะรอง (Gouging)

11. ในการตรวจสอบวัสดุและชิ้นงานกอนการเชื่อม ขอใดตอไปนี้ ไมใช สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรตรวจสอบ ก. ชนิดและคุณภาพของชิ้นงานเชื่อม ข. ชนิดและคุณภาพของวัสดุชวยงาน ค. ลักษณะรูปทรงชิ้นงาน ง. เทคนิคในการเชื่อม

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207217 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม

1. จากรูป

ขอใดตอไปนี้คือชื่ออุปกรณชนิดนี้

ก. เกจวัดขนาดแนวเชื่อมตอชน

ค. เกจวัดระยะจุดบกพรองงานเชื่อม

ข. เกจวัดขนาดแนวเชื่อมฟลเลท

ง. เกจวัดมุมองศาของแนวเชื่อม

2. จากรูป เปนการตรวจสอบอะไร

ก. การตรวจสอบขนาดจุดบกพรอง

ค. การตรวจสอบความนูนสวนเสริมความแข็งแรง

ข. การตรวจสอบขนาดรอยเชื่อมฟลเลท

ง. การตรวจสอบระยะคอรอยเชื่อมฟลเลท

3. การซอมรอยเชื่อมที่เกิดรอยเกยกระทําโดยวิธีใด ก. เชื่อมทับรอยเกย

ค. ไมตองกระทําใด ๆ เพราะรอยเกยไมมีผลตอความแข็งแรง

ข. ขจัดรอยเกยดวยการเจีย

ง. ขจัดรอยเจียดวยการเซาะรอง (Gouging)

4. ระดับคุณภาพงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO 5817) ขอใดกลาวถูกตอง ก. A = ดีมาก, B = ดี, C = พอใช

ค. B = ดีมาก, C = ดี, D = พอใช

ข. B = แข็งแรง, C = ปานกลาง, D = พอใช

ง. A = แข็งแรง, B = ปานกลาง, C = พอใช

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขอใดตอไปนี้ สามารถเรียกอีกอยางวาฟองอากาศที่เกิดในเนื้อรอยเชื่อม ก. รอยราว

ค. ความพรุน

ข. รอยบุม

ง. รอยเกย

6. การเกิดรอยบุมมีสาเหตุจากขอใดตอไปนี้ ก. กาซคลุมปองกันบอหลอมไมได ข. การใชกระแสเชื่อมสูงเกินไป ค. การหดตัวของรอยเชื่อมขณะเย็นตัว ง. อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมเร็วเกินไป 7. ขอใดเปนการตรวจสอบขณะเชื่อม ก. ตรวจสอบคุณภาพของชางเชื่อม ข. ตรวจสอบผิวการเซาะดานหลัง (Back Gouged Surfaces) ค. ตรวจสอบคุณภาพและความถูกตองของการเตรียมรอยตอเชื่อม ง. ตรวจสอบความสามารถในการประกอบและแนวการวางชิ้นสวน 8. การตรวจสอบดวยการพินิจตัวแปรในการเชื่อมสวนใหญจะควบคุมตัวแปรอะไรบาง ขณะทําการเชื่อม ก. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม การปอนลวด ข. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ชนิดของวัสดุชิ้นงาน ค. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ความยาวลวดเชื่อม ง. กระแสเชื่อม แรงดันเชื่อม อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม ขนาดลวดเชื่อม 9. ในการตรวจสอบวัสดุและชิ้นงานกอนการเชื่อม ขอใดตอไปนี้ ไมใช สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรตรวจสอบ ก. ชนิดและคุณภาพของชิ้นงานเชื่อม ข. ชนิดและคุณภาพของวัสดุชวยงาน ค. ลักษณะรูปทรงชิ้นงาน ง. เทคนิคในการเชื่อม

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

10. สัญลักษณ h ในสัญลักษณที่ใชในการประเมินคุณภาพของรอยเชื่อมมีความหมายวาอยางไร ก. ความยาวของความไมสมบูรณตามยาวของแนวเชื่อม ข. ความยาวของรอยเชื่อม ค. ความสูงหรือความกวางของความไมสมบูรณ ง. ความกวางของรอยเชื่อม 11. ขอใดเปนสิ่งที่ไมตองตรวจสอบในขณะปฏิบัติงานเชื่อม ก. อุณหภูมิชิ้นงานขณะเชื่อม ข. ความเร็วในการปอนลวดเชื่อม ค. มุมในการเชื่อม ง. ความตองการในการตานแรงของชิ้นงาน

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920721702 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดแนวเชื่อมฟลเลท จากชิ้นงานเชื่อมตอตัวทีที่กําหนดให แลวบันทึกผลลงในตาราง บันทึกผล

ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ขนาด (มิลลิเมตร)

บริเวณที่วัด

ชิ้นที่ 1

ชิ้นที่ 2

ชิ้นที่ 3

ความยาวของขาแนวเชื่อม (Leg) - L1

................. ................. .................

- L2

................. ................. .................

ระยะคอแนวเชื่อมตามความเปนจริง (Actual Throat)

................. ................. .................

ผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Convexity or Concavity)

................. ................. .................

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

2. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

3. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที

จํานวน 3 ชิ้น

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การวัดขนาดแนวเชื่อม ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเกจวัดแนวเชื่อม และชิ้นงานเชื่อมตอ ศึกษาวิธีการใช เกจวัด ตัวที จํานวน 3 ชิ้น

แนวเชื่ อ ม ทั้ ง 2 แบบ กอนวัดชิ้นงาน

Automatic Weld Gauge Bridge Cam Weld Gauge เกจวัดแนวเชื่อม

แปรงลวด ผาทําควาสะอาด

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอตัวที

2. ทําความสะอาดชิ้นงาน

ทําความสะอาดชิ้น งานเชื่อม โดยขัดดว ย แปรงลวดแลวเช็ดดวยผาสะอาด

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 3. วัดความยาวของขาแนวเชื่อม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชเกจวัดแนวเชื่อมวัดความยาวของขาแนว ตรวจสอบสเกลและ เชื่อม (Leg) ทั้ง 2 ดาน

อานคาสเกลใหถูกตอง เพื่อปองกันคาที่ได คลาดเคลื่อน

4. วัดระยะคอแนวเชื่อม

ใชเกจวัดแนวเชื่อ มวัดระยะคอแนวเชื่ อ ม (Throat)

5. วัดขนาดของผิวแนวเชื่อมนูนหรือผิวแนวเชื่อม ใชเกจวัดแนวเชื่อมวัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน เวา

(Convexity) หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Concavity)

6. บันทึกผลลงในตาราง

วัดขนาดของชิ้นงานเชื่ อมตอตัวที ใหครบ ตรวจสอบความถูกต อง ทั้ง 3 ชิ้น แลวบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ของคาที่อานได กอนสง ตรวจ 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได

คะแนนเต็ม 2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 2

การวัดความยาวของขาแนวเชื่อม (Leg)

วัดความยาวของขาแนวเชื่อมไดถูกตอง

3

ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความยาวของขาแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 3

การวัดขนาดคอแนวเชื่อม (Throat)

วัดระยะคอแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน

3

วัดระยะคอแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 4

การวัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา (Convexity or Concavity)

วัดขนาดของผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชื่อมเวา ไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน

3

วัดขนาดผิวแนวเชื่อมนูน หรือผิวแนวเชือ่ มเวา ไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน 5

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

13

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920721702 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดแนวเชื่อมตอชนบากรองวี จากชิ้นงานเชื่อมที่กําหนดให แลวบันทึกผลลงในตาราง บันทึกผล

ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ขนาด (มิลลิเมตร)

บริเวณที่วัด

ชิ้นที่ 1

ชิ้นที่ 2

ชิ้นที่ 3

ความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width) - สูงสุด

............. ............. .............

- ต่ําสุด

............. ............. .............

ความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height) - สูงสุด

............. ............. .............

- ต่ําสุด

............. ............. .............

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขนาด (มิลลิเมตร)

บริเวณที่วัด

ชิ้นที่ 1

ชิ้นที่ 2

ชิ้นที่ 3

ความกวางแนวราก (Root Bead Width) - สูงสุด

............. ............. .............

- ต่ําสุด

............. ............. .............

ความนูนแนวราก (Excess Root Penetration) - สูงสุด

............. ............. .............

- ต่ําสุด

............. ............. .............

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การวัดขนาดแนวเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

2. เกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge

จํานวน 1 อัน

3. เวอรเนียคาลิปเปอร

จํานวน 1 อัน

4. แปรงลวด

จํานวน 1 อัน

1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ชิ้นงานเชื่อมตอชนบากรองวี

จํานวน 3 ชิ้น

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การวัดขนาดแนวเชื่อม ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรี ยมเครื่ องมื อวั ดแนวเชื่ อม และชิ้ นงาน ศึกษาวิธีการใช เชื่อมตอตัวที จํานวน 3 ชิ้น

เครื่ อ งมื อ วั ด ก อ นการ ปฏิ บั ติ ง าน และควร เลือกใชเครื่องมื อวั ด ให

Automatic Weld Gauge Bridge Cam Weld Gauge เกจวัดแนวเชื่อม

ตรงกับวัตถุประสงคของ การใชงาน

เวอรเนียคาลิปเปอร

แปรงลวด

ผาทําความสะอาด

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี

2. ทําความสะอาดชิ้นงาน

ทําความสะอาดชิ้น งานเชื่อม โดยขัดดว ย แปรงลวดแลวเช็ดดวยผาสะอาด

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 3. วัดความกวางของแนวเชื่อม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วัดความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width) หาจุดที่มีความกวาง ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด

ต่ําสุดและสูงสุดของ ชิ้นงานใหถูกตอง

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี

4. วัดความนูนของแนวเชื่อม

วัดความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height) หาจุดที่มีความนูนต่ําสุด ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด

และสูงสุดของชิ้นงานให ถูกตอง

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี

5. วัดความกวางแนวราก

วัดความกวางแนวราก (Root Bead Width) หาจุ ด ที่ มี ค วามกว า ง ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด

แ น ว ร า ก ต่ํ า สุ ด แ ล ะ สู ง สุ ด ของชิ้ น งานให ถูกตอง

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี

6. วัดความนูนแนวราก

วัดความนูนแนวราก (Excess Root

หาจุดที่มีความนูน แนว

Penetration) ที่จุดสูงสุด และจุดต่ําสุด

รากต่ําสุดและสูงสุดของ ชิ้นงานใหถูกตอง

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชนบากรองวี

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 7. บันทึกผลลงในตาราง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วัดชิ้นงานเชื่อมใหครบทั้ง 3 ชิ้น แลวบันทึก ตรวจสอบความถูกต อง ผลลงในตารางบันทึกผล

ของคาที่อานได กอนสง ตรวจ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่

รายการตรวจ

1

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

2

วัดความกวางแนวเชื่อม (Weld Cap Width)

3

วัดความนูนแนวเชื่อม (Excess Cap Height)

4

วัดความกวางแนวราก (Root Bead Width)

5

วัดความนูนแนวราก (Excess Root Penetration)

6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ขอกําหนดการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน วัดความกวางแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความกวางแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน วัดความนูนแนวเชื่อมไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความนูนแนวเชื่อมไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน วัดความกวางแนวรากไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความกวางแนวรากไมถูกตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน วัดความนูนแนวรากไดถูกตอง ใหชิ้นละ 1 คะแนน วัดความนูนแนวรากไมถกู ตอง ใหชิ้นละ 0 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน

2

คะแนนเต็ม

3 3 3 3 2

16

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920721702 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธีการหัก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธีการหัก (Fracture Test) ในชิ้นงานเชื่อมตอตัวที เพื่อดูความสมบูรณ ในการหลอมเหลวของเนื้อลวดเชื่อมกับเนื้อโลหะงาน

บันทึกผลการตรวจสอบแนวเชื่อม ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธกี ารหัก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือหนัง - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องอัดไฮดรอลิกส

จํานวน 1 ตัว

2. เครื่องเจียมือ

จํานวน 1 ตัว

3. ใบเจียผาเซาะรอง

จํานวน 1 ใบ

4. คอนหัวกลม

จํานวน 1 อัน

5. ปากกาจับชิ้นงาน

จํานวน 1 ตัว

6. แวนขยาย

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที

จํานวน 2 ชิ้น

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบงานเชื่อมดวยวิธีการหัก ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือทดสอบการตีหัก และชิ้นงาน ตรวจสอบเครื่องมือและ เชื่อมตอตัวที จํานวน 2 ชิ้น

อุป กรณใหอยูในสภาพ พรอมใชงาน

เครื่องอัดไฮดรอลิกส

เครื่องเจียมือ

ใบเจียผาเซาะรอง

คอนหัวกลม

ปากกาจับชิ้นงาน

แวนขยาย

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอตัวที

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 2. เจียเซาะรองโดยใชเครื่องเจียมือ ทั้ง 2 ชิ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

นําชิ้นงานเชื่อมตอตัวทีเจียเซาะผิวใหเปน ขณะเจี ย เซาะร อ งควร รองตลอดแนว โดยใชเครื่องเจีย มือ ใบผ า สวมอุ ป กรณ ป อ งกั น เซาะรอง

3. ทดสอบการตีหักดวยคอน

อันตรายทุกครั้ง

ทดสอบการตี หั ก ด ว ยค อ นหั ว กลม ของ ควรเซาะแนวเชื่อมให ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 1

เปนรองกอนตีดวยคอน เพื่อใหงายตอการ ทดสอบ

ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 1

4. ล็อกชิ้นงานเขากับปากกาจับชิ้นงาน

ล็อกชิ้น งานเขากับ ปากกาจับชิ้นงาน โดย ล็อกชิ้นงานใหแนน เพื่อ วางชิ้นงานดังภาพ

ป อ ง กั น ชิ้ น ง า นหลุ ด ขณะตี

5. ตีหักชิ้นงานดวยคอนหัวกลม

ใชคอนหัวกลมตีชิ้นงานใหหัก ตามทิศทาง ไมใหผูที่ไมเกี่ยวของอยู ดังภาพ

บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 6. สังเกตและบันทึกผล

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

สั ง เกตและบั น ทึ ก ผลการตรวจสอบลงใน อาจใช เ ครื่ อ งมื อ ช ว ย สวนบันทึกผล

เช น แว น ขยาย เพื่ อ ดู ก า ร ห ล อ ม เ ห ล ว ที่ ผิวชิ้นงาน

7. ทดสอบการหักชิ้นงานดวยเครื่องอัดไฮดรอลิกส

ทดสอบการหั กด ว ยเครื่ อ งอัด ไฮดรอลิ ก ส ควรเซาะแนวเชื่ อ มให ของชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 2

เปนรองกอนหักชิ้น งาน เพื่อใหงายตอการทดสอบ

ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ชิ้นที่ 2

8. วางชิ้นงานบนเครื่องอัดไฮดรอลิกส

วางชิ้นงานเชื่อมตอตัวที ลงบนแทนรองของ ค ว ร ว า ง ชิ้ น ง า น ใ น เครื่องอัดไฮดรอลิกส ดังภาพ

ตําแหนงตรงกลางของ หัวกด

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 9. หักชิ้นงานดวยเครื่องอัดไฮดรอลิกส

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช เ ครื่ อ งอั ด ไฮดรอลิก สใ นการหัก ชิ้น งาน ไมใหผูที่ไมเกี่ยวของอยู ออกเปน 2 สวน เพื่อดูความสมบูรณในการ บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน หลอมเหลวของเนื้อลวดเชื่อมกับเนื้อโลหะ งาน

10. สังเกตและบันทึกผล

สั ง เกตและบั น ทึ ก ผลการตรวจสอบลงใน อาจใช เ ครื่ อ งมื อ ช ว ย สวนบันทึกผล

เช น แว น ขยาย เพื่ อ ดู ก า ร ห ล อ ม เ ห ล ว ที่ ผิวชิ้นงาน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได

2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 3

การเจียเซาะผิวแนวเชื่อม

เจียเซาะผิวแนวเชื่อมไดถูกตอง เรียบรอย

6

ใหชิ้นละ 3 คะแนน เจียเซาะผิวแนวเชื่อม ถูกตองบางสวน ใหชิ้นละ 1 คะแนน ไมเจียเซาะผิวแนวเชื่อม ใหชิ้นละ 0 คะแนน 4

การตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธกี ารหัก (ชิน้ ที่ 1)

ใชคอนหัวกลมตีหักชิ้นงานไดถกู ตอง ให 3 คะแนน

3

ใชคอนหัวกลมตีหักชิ้นงานไมถกู ตอง ให 0 คะแนน 5

การตรวจสอบชิ้นงานดวยวิธกี ารหัก (ชิน้ ที่ 2)

ใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสหักชิ้นงานไดถูกตอง ให 3 คะแนน

3

ใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสหักชิ้นงานไมถูกตอง ให 0 คะแนน 6

การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ทั้ง 2 ชิ้น ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบถูกตองเพียงชิ้นเดียว ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบไมถูกตอง ทั้ง 2 ชิ้น ให 0 คะแนน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่ 7

รายการประเมิน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

3

ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 7

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

24

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คํ า ชี้ แ จง จากลั ก ษณะจุ ด บกพร อ งของชิ้ น งานเชื่ อ มประเภทรอยเกย (Overlap) ให ผู รั บ การฝ ก อธิ บ ายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

รอยเกย

................................................................... ...................................................................

(Overlap)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย (Overlap)

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จํานวน 1 ชิ้น


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเกย ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรอง ประเภทรอยเกย

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตลักษณะของรอยเกยบริเวณโดยรอบ ชิ้นงาน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่เกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยเติมไมเต็ม (Underfill) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

รอยเติมไมเต็ม

................................................................... ...................................................................

(Underfill)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยเติมไมเต็ม (Underfill)

จํานวน 1 ชิ้น

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของแนวชื่อมประเภทเติมไมเต็มรองบาก ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่เกิดจุดบกพรอง ประเภทรอยเติมไมเต็ม

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยเติมไมเต็ม

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตลักษณะของชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยเติม ไมเต็ม โดยรอบชิ้นงาน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยเติมไมเต็ม

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คํ า ชี้ แ จง จากลั ก ษณะจุ ด บกพร อ งของชิ้ น งานเชื่ อ มที่ มี ร อยกั ด แหว ง (Undercut) ให ผู รั บ การฝ ก อธิ บ ายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

รอยกัดแหวง

................................................................... ...................................................................

(Undercut)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยกัดแหวง (Undercut)

จํานวน 1 ชิ้น

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยกัดแหวง ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยกัดแหวง

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยกัดแหวง

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สั ง เกตลั ก ษณะของรอยกั ด แหว ง บริ เ วณ โดยรอบชิ้นงาน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยกัดแหวง

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี แบบทดสอบ กอนฝก

1.

2.

3.

4. 5.

6.

7. 8.

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 10


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242 80 = 0.331 242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบายระดับคุณภาพของงาน 11 8 กอนฝก เชื่อมตามมาตรฐานสากล ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียม แนวตอกอนการเชื่อมไดอยาง ถูกตอง 3. อธิบายการตรวจสอบพินิจตัว แปรของงานโดยชางเชื่อมใน ระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและ ดานราก ภายหลังจากการเชื่อม เสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนว เชื่อม ความสม่ําเสมอของแนว เชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและ หลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. อธิบายระดับคุณภาพของงาน 11 8 หลังฝก เชื่อมตามมาตรฐานสากล 2. ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายการตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียม แนวตอกอนการเชื่อมไดอยาง ถูกตอง 4. อธิบายการตรวจสอบพินิจตัว แปรของงานโดยชางเชื่อมใน ระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและ ดานราก ภายหลังจากการเชื่อม เสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนว เชื่อม ความสม่ําเสมอของแนว เชื่อม) ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและ หลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

13

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 9

16

11

24

17

10

7

10

7

10

7

83

58

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

1.818 0.964

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.