คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 2 โมดูล 9

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

คูมือการประเมิน 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 9 09207218 ทอ และอุปกรณประกอบทอ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 9 ทอและอุปกรณประกอบทอ ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ นํ า ไปใช เ ป น ระบบการฝ ก อบรมตาม ความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการ รับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใ หแ กกําลังแรงงานกลุม เปา หมายต าง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

3

แบบทดสอบกอนฝก

4

แบบทดสอบหลังฝก

8

กระดาษคําตอบ

12

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

13

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

14 21

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 9 09207218 ทอ และอุปกรณประกอบทอ 1. อธิบายชนิดและขนาดของทอไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการวัดความกลม เสนผาศูนยกลาง ความหนาของผนัง ความเหลื่อม (Misalignment) การรวมศูนยเดีย วกัน ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอตอทอ หนาแปลนไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตอทอ การปรับแนวตอ ขอตอทอและหนาแปลนไดอยางถูกตอง 5. อธิบายคุณภาพของงานเชื่อมทอไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรองของแนวเชื่อมทอไดอยางถูกตอง

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบกอนฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 9 09207218 ทอ และอุปกรณประกอบทอ 1. คุณสมบัติเดนของทอเหล็กเหนียวไรตะเข็บคืออะไร ก. มีความแข็งแรง ทนแรงดันสูง และมีผิวที่คอนขางเรียบ ข. มีคาการนําความรอนสูง มีผิวเรียบ และเกิดตะกรันไดยาก ค. มีน้ําหนักเบากวาทอโลหะชนิดอื่น ๆ มีความเหนียว มีความแข็งแรงสูง และทนตอการกัดกรอนไดดี ง. มีน้ําหนักเบา ผิวทอราบลื่น และราคาถูก 2. ทอเหล็กหลอ และทอเหล็กหลอเหนียว มีลักษณะการใชงานที่คลายคลึงกัน แตมีคุณสมบัติบางประการที่แตกตางกันคืออะไร ก. ทอเหล็กหลอปองกันการกัดกรอนดีกวา และน้ําหนักเบากวาทอเหล็กหลอเหนียว ข. ทอเหล็กหลอมีคาการนําความรอนสูงกวา และมีผิวทอที่ราบรื่นกวาทอเหล็กหลอเหนียว ค. ทอเหล็กหลอแข็งแรงกวา และเปราะนอยกวาทอเหล็กหลอเหนียว ง. ทอเหล็กหลอเกิดตะกรันไดยาก และปองกันสนิมดีกวาทอเหล็กหลอเหนียว

3.

จากรูป ขอใดคือชื่อของขอตอทอชนิดนี้ และใชการเชื่อมขอตอแบบใด ก. ขอตอสามทางรูปตัวที ใชวิธีการเชื่อมแบบตอชน ข. ขอตองอฉากเกลียวใน ใชวิธีการเชื่อมแบบสวม ค. ขอตอตรง ใชวิธีการเชื่อมแบบตอเกลียว ง. ขอแยกรูปตัววาย ใชวิธีการเชื่อมแบบปลอกสวม

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 4. รูปใดตอไปนี้คือหนาแปลนประเภท Welding Neck Flange

ก.

ค.

ข.

ง. .

5. ในกระบวนการตอทอแบบชนเชื่อมนั้น จะปรากฏรอยเชื่อมนูนขึ้นมาบริเวณรอยตอของทอ ซึ่งจะสงผลดีหรือผลเสีย ตอกระบวนการไหลของของเหลว ก. ผลดี เพราะรอยนูนที่ปรากฏนั้นจะชวยเรื่องความสวยงามตอผิวทอ ข. ผลดี เพราะยิ่งหากมีรอยนูนที่มาก แสดงวารอยเชื่อมนั้นมีความแข็งแรง และทนทานมาก ค. ผลเสีย เพราะจะทําใหน้ําในเสนทอไหลไมสะดวก และอาจเกิดตะกอนสะสมบริเวณรอยเชื่อม ง. ผลเสีย เพราะจะทําใหพลังงานความรอนของของเหลวนั้นเกิดการสูญเสียมากขึ้น

6.

จากรูป เปนกระบวนการตอทอแบบใด ก. การตอแบบสวมเชื่อม

ค. การตอแบบขันเกลียว

ข. การตอแบบชนเชื่อม

ง. การตอหนาแปลน

7. การตอทอแบบสวมเชื่อมทําใหเกิดรอยเชื่อมแบบใด ก. รอยเกย

ค. รอยนูน

ข. รอยแยกชั้น

ง. รอยกัดแหวง

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 8. ขอเสียของการใชมาตรฐานการตรวจสอบรอยเชื่อมทอวิธีการทดสอบดวยคลื่นเสียงความถี่สูงคือขอใด ก. ตนทุนการตรวจสอบสูง

ค. ตองมีการสอบเทียบอุปกรณทุกครั้งกอนใชงาน

ข. ไมมีมาตรฐานในการตัดสินใจในบางครั้ง

ง. ตรวจสอบไดชา

9. ขอจํากัดของวิธีการทดสอบดวยอนุภาคแมเหล็กคือขอใด ก. สนามแมเหล็กที่ปอนตองอยูในทิศทางตั้งฉากกับรอย ข. สนามแมเหล็กที่ปอนตองอยูในทิศทางขนานกับรอย ค. ตรวจสอบไดเฉพาะรอยบกพรองที่ผิว ง. ทดสอบทิศทางเดียวก็สามารถใชได 10. ขอจํากัดของวิธีการทดสอบดวยสารแทรกซึม คือขอใด ก. รูปรางของชิ้นงาน ข. ไมสามารถตรวจสอบรอยความไมตอเนื่องที่อยูใตผิวเพียงเล็กนอยได ค. วัสดุเกือบทุกชนิดที่ไมมีรูพรุน ง. ตองทดสอบหลายทิศทาง 11. ขนาดและมิติของทอเหล็กกลาไรสนิมถูกระบุดวยคาใด ตามมาตรฐาน ASME B36.19 ก. Nominal Diameter (ND) ข. Diameter Nominal (DN) ค. Schedule Numbers (Sch.) ง. Nominal Pipe Size (NPS) 12. เมื่อเกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย ผูปฏิบัติงานควรมีวิธีการซอมจุดบกพรองอยางไร ก. อบชุบชิ้นงานหลังเชื่อม ข. ใชเทคนิคทางกลหรือเทคนิคทางความรอน ค. เจียบริเวณที่บกพรอง แลวเชื่อมทับบริเวณนั้น ง. เจียเนื้อโลหะเชื่อมที่เปนรอยเกยออก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบหลังฝก คําชีแ้ จง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 9 09207218 ทอ และอุปกรณประกอบทอ

1.

จากรูป เปนกระบวนการตอทอแบบใด ก. การตอแบบสวมเชื่อม

ค. การตอแบบขันเกลียว

ข. การตอแบบชนเชื่อม

ง. การตอหนาแปลน

2. การตอทอแบบสวมเชื่อมทําใหเกิดรอยเชื่อมแบบใด ก. รอยเกย

ค. รอยนูน

ข. รอยแยกชั้น

ง. รอยกัดแหวง

3. ขอเสียของการใชมาตรฐานการตรวจสอบรอยเชื่อมทอวิธีการทดสอบดวยคลื่นเสียงความถี่สูงคือขอใด ก. ตนทุนการตรวจสอบสูง

ค. ตองมีการสอบเทียบอุปกรณทุกครั้งกอนใชงาน

ข. ไมมีมาตรฐานในการตัดสินใจในบางครั้ง

ง. ตรวจสอบไดชา

4. ขอจํากัดของวิธีการทดสอบดวยอนุภาคแมเหล็กคือขอใด ก. สนามแมเหล็กที่ปอนตองอยูในทิศทางตั้งฉากกับรอย ข. สนามแมเหล็กที่ปอนตองอยูในทิศทางขนานกับรอย ค. ตรวจสอบไดเฉพาะรอยบกพรองที่ผิว ง. ทดสอบทิศทางเดียวก็สามารถใชได

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 5. ขอจํากัดของวิธีการทดสอบดวยสารแทรกซึม คือขอใด ก. รูปรางของชิ้นงาน ข. ไมสามารถตรวจสอบรอยความไมตอเนื่องที่อยูใตผิวเพียงเล็กนอยได ค. วัสดุเกือบทุกชนิดที่ไมมีรูพรุน ง. ตองทดสอบหลายทิศทาง 6. คุณสมบัติเดนของทอเหล็กเหนียวไรตะเข็บคืออะไร ก. มีความแข็งแรง แรงดัน และมีผิวที่คอนขางเรียบ ข. มีคาการนําความรอนสูง มีผิวเรียบ และเกิดตะกรันไดยาก ค. มีน้ําหนักเบากวาทอโลหะชนิดอื่นๆ มีความเหนียว มีความแข็งแรงสูง และทนตอการกัดกรอนไดดี ง. มีน้ําหนักเบา ผิวทอราบลื่น และราคาถูก 7. ทอเหล็กหลอ และทอเหล็กหลอเหนียว มีลักษณะการใชงานที่คลายคลึงกัน แตมีคุณสมบัติบางประการที่แตกตางกันคืออะไร ก. ทอเหล็กหลอปองกันการกัดกรอนดีกวา และน้ําหนักเบากวาทอเหล็กหลอเหนียว ข. ทอเหล็กหลอมีคาการนําความรอนสูงกวา และมีผิวทอที่ราบรื่นกวาทอเหล็กหลอเหนียว ค. ทอเหล็กหลอแข็งแรงกวา และเปราะนอยกวาทอเหล็กหลอเหนียว ง. ทอเหล็กหลอเกิดตะกรันไดยาก และปองกันสนิมดีกวาทอเหล็กหลอเหนียว

8.

จากรูป ขอใดคือชื่อของขอตอทอชนิดนี้ และใชการเชื่อมขอตอแบบใด ก. ขอตอสามทางรูปตัวที ใชวิธีการเชื่อมแบบตอชน ข. ขอตองอฉากเกลียวใน ใชวิธีการเชื่อมแบบปลอกสวม ค. ขอตอตรง ใชวิธีการเชื่อมแบบตอเกลียว ง. ขอแยกรูปตัววาย ใชวิธีการเชื่อมแบบปลอกสวม

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 9. รูปใดตอไปนี้คือหนาแปลนประเภท Welding Neck Flange

ก.

ค.

ข.

ง. .

10. ในกระบวนการตอทอแบบชนเชื่อมนั้น จะปรากฏรอยเชื่อมนูนขึ้นมาบริเวณรอยตอของทอ ซึ่งจะสงผลดีหรือผลเสีย ตอกระบวนการไหลของของเหลว ก. ผลดี เพราะรอยนูนที่ปรากฏนั้นจะชวยเรื่องความสวยงามตอผิวทอ ข. ผลดี เพราะยิ่งหากมีรอยนูนที่มาก แสดงวารอยเชื่อมนั้นมีความแข็งแรง และทนทานมาก ค. ผลเสีย เพราะจะทําใหน้ําในเสนทอไหลไมสะดวก และอาจเกิดตะกอนสะสมบริเวณรอยเชื่อม ง. ผลเสีย เพราะจะทําใหพลังงานความรอนของของเหลวนั้นเกิดการสูญเสียมากขึ้น 11. เมื่อเกิดจุดบกพรองประเภทรอยเกย ผูปฏิบัติงานควรมีวิธีการซอมจุดบกพรองอยางไร ก. อบชุบชิ้นงานหลังเชื่อม ข. ใชเทคนิคทางกลหรือเทคนิคทางความรอน ค. เจียบริเวณที่บกพรอง แลวเชื่อมทับบริเวณนั้น ง. เจียเนื้อโลหะเชื่อมที่เปนรอยเกยออก 12. ขนาดและมิติของทอเหล็กกลาไรสนิมถูกระบุดวยคาใด ตามมาตรฐาน ASME B36.19 ก. Nominal Diameter (ND) ข. Diameter Nominal (DN) ค. Schedule Numbers (Sch.) ง. Nominal Pipe Size (NPS)

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3. 4.

4. 5. 6.

5.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12.

6.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3. 4.

3.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10. 11.

10. 11.

12.

12.

4.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธกี ารใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคมี คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ทดสอบ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 80 สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 = 0.331 242

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. อธิบายชนิดและขนาดของทอ 12 8 กอนฝก ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการวัดความกลม เสนผาศูนยกลาง ความหนาของ ผนัง ความเหลื่อม (Misalignment) การรวมศูนย เดียวกัน ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอตอทอ หนาแปลน ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตอทอ การปรับแนวตอ ขอตอทอและหนาแปลน ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายคุณภาพของงานเชื่อมทอ ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรองของ แนวเชื่อมทอไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ หลังฝก

1. อธิบายชนิดและขนาดของทอ ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายการวัดความกลม เสนผาศูนยกลาง ความหนาของ ผนัง ความเหลื่อม (Misalignment) การรวมศูนย เดียวกัน ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายขอตอทอ หนาแปลน ไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตอทอ การปรับแนวตอ ขอตอทอและหนาแปลน ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายคุณภาพของงานเชื่อมทอ ไดอยางถูกตอง 6. อธิบายการซอมจุดบกพรองของ แนวเชื่อมทอไดอยางถูกตอง

12

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 8

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9 การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

8.333

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 9

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.