คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 1

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือการประเมิน 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน และความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 1 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน และความปลอดภัย ในการเชื่อมและตัด ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้นภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบ การฝ กอบรมตามความสามารถ สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 เพื่ อให ต อบสนองความต องการของกํ าลั ง แรงงานและ ตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับ ระบบการรับ รองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบ การรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้งเพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของการใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และ ผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

3

แบบทดสอบกอนฝก

4

แบบทดสอบหลังฝก

9

กระดาษคําตอบ

14

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

15

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ บันทึกผลการประเมินความสามารถ

16 23

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วิธีการประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

3. การวัดและประเมินผล การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน และความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1. วิเคราะหประเภทของอุบัติเหตุตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในสภาพแวดลอมของการทํางาน การรู สาเหตุ และขั้นตอนตาง ๆ จะสามารถนํามาใชปองกันอุบัติเหตุไดอยางถูกตอง 2. วิเ คราะหสาเหตุของการเกิด อัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกัน การเกิดอัคคีภัย ชนิด ของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใชไดอยางถูกตอง 3. จําแนกวิธีการใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน แวนนิรภัย แวนตาเชื่อม หนากากเชื่อม ถุงมือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทา นิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณปองกันศีรษะไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบที่สัมพันธกับภาวการณทํางาน ความปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และสิ่งแวดลอมภายในและรอบ ๆ พื้นที่ทํางานไปใชไดอยางถูกตอง 5. นําการตรวจสอบสถานที่ทํางานสําหรับความปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 6. นําหลักการในการใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือกล (Power Tools) อยางปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนจากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัสไปใชไดอยางถูกตอง 8. นํ าหลั กการปฐมพยาบาลเบื้ องต นในการดู แลบุ คคลที่ บาดเจ็ บจากไฟฟ าดู ดซึ่ งจะรวมถึงการป มหั วใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนสําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษไปใชไดอยางถูกตอง 10. นํามาตรการปองกันสวนบุคคลสําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจาก โลหะรอน สะเก็ด จากการตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมาจากการเผาไหมของไอระเหยของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อมไปใชไดอยาง ถูกตอง 11. นํามาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุติดไฟไปใชไดอยางถูกตอง 12. จําแนกชนิดของแกสพิษที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมและการตัดเหล็กกลาคารบอนดวยแกส การบาดเจ็บของชางเชื่อม จากแกสพิษที่เกี่ยวของกับการเชื่อม และการตัดเหล็กกลาคารบอนดวยแกสไดอยางถูกตอง 13. นํามาตรการปองกันในการใชขวดแกส (Cylinder) ความดันสูงไปใชไดอยางถูกตอง 14. นํามาตรการปองกันการเกิดอันตราย ขณะทํางานใกลเครื่องมืออุปกรณที่อยูในพื้นที่ทําการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1. หากเกิดอุบัติเหตุในที่ทํางานโดยมีสาเหตุมาจาก การใชเครื่องมืออุปกรณ เครื่องจักรที่ชํารุดและใชไมถูกวิธี สงผลใหเกิด ความสูญเสียทั้งทางตรงและทางออม ในฐานะผูจัดการควรมีวิธีการปองกันอยางไร เพื่อไมใหเกิดเหตุดังกลาวอีก ก. สั่งซื้อเครื่องมือและเครื่องจักรใหมทั้งหมดแทนการซอมแซม ข. กําหนดวิธีการทํางานอยางปลอดภัย ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางจริงจังและเขมงวด ค. ใหพนักงานซื้ออุปกรณปองกันสวนบุคคลดวยตนเองเพื่อใหพรอมใชตลอดเวลา ง. เดินตรวจตราบริเวณเครื่องจักรที่ชํารุดตลอดเวลาจะไดแกปญหาไดทัน 2. อัคคีภัยที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของเหลวและแกสตาง ๆ ในบริเวณสถานที่ทําการผลิต การเกิดไฟในลักษณะนี้ จัดอยูในไฟประเภทใด และตองใชเครื่องดับเพลิงชนิดใดในการดับเพลิง ก. ไฟประเภท A และใชเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง ข. ไฟประเภท B และใชเครื่องดับเพลิงชนิดสารสะอาด ค. ไฟประเภท C และใชเครื่องดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา ง. ไฟประเภท K และใชเครื่องดับเพลิงชนิดแกสคารบอนไดออกไซด 3. หากตองการป องกัน ใบหนาและดวงตาจากการกระเด็ นของสะเก็ ดโลหะ ความรอน แสงจา และรังสีจากการเชื่ อ ม ในขณะตรวจสอบการปฏิบัติงานของชางเชื่อม ผูต รวจสอบควรใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลในขอใด ก. แวนตานิรภัย

ค. หนากากเชื่อมแบบมือถือ

ข. หนากากนิรภัย

ง. แวนตากันแดด

4. การชวยเหลือผูบาดเจ็บจากไฟดูดดวยการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ขั้นตอนของการนวด หัวใจภายนอกเพื่อชวยใหมีการไหลเวียนของโลหิต ในการกดหนาอกตองกดหนาอกดวยอัตราความเร็วเทาใด ก. 70 - 80 ครั้ง/นาที

ค. 90 - 110 ครั้ง/นาที

ข. 80 - 90 ครั้ง/นาที

ง. 100 - 120 ครั้ง/นาที

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. หลักการปฐมพยาบาลผูที่ประสบภัยจากควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษในพื้นที่ปฏิบัติงาน ถาผูประสบภัยหมดสติแลว ควรทําอยางไร ก. นําผูปวยสงโรงพยาบาลที่อยูใกลสถานที่เกิดเหตุมากที่สุด ข. รีบนําผูปวยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่ ๆ มีอากาศบริสุทธิ์ ค. ประเมินการหายใจและการเตนของหัวใจ หากไมมีใหผายปอดและนวดหัวใจ ง. กลั้นหายใจและรีบเปดประตูหนาตางเพื่อใหอากาศถายเท และขจัดตนเหตุของพิษนั้น 6. มาตรการปองกันสวนบุคคลใด ที่สามารถปองกันการเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจากโลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมาจากการเผาไหมของไอระเหยของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อมไดถูกตองและ เหมาะสม ก. ใสชุดปองกันสวนบุคคล พรอมอุปกรณนิรภัยกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง ข. ศึกษาการใชงานของอุปกรณและสวมใสถุงมือหนังปองกันทั้ง 2 ขาง ค. สวมใสถุงมือหนังทัง้ 2 ขาง และใชหนากากเชื่อมเพื่อปองกันใบหนาและดวงตา ง. ไมเลนหยอกลอกันขณะทํางาน และศึกษาการใชงานของอุปกรณ พรอมตรวจเช็คทุกครั้ง 7. ขอใดคือลําดับการใชถังดับเพลิงที่ถูกตอง A. ดึงสลักที่วาลวออก B. บีบไกเปดวาลวใหแกสพุงออกมา C. ฉีดไปตามทางยาว และสายสายฉีดไปซาย - ขวาชา ๆ D. ยกหัวฉีดปากกรวยชี้ไปที่ฐานของไฟ ใหทํามุม 45 องศา ก. A, D, B, C

ค. A, B, D, C

ข. A, B, C, D

ง. A, C, B, D

8. ในการปฏิบัติงานเชื่อมนอกจากจะทําใหเกิดแกสพิษขึ้นแลวยังมีรังสีที่เปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานเชื่อมที่เราเรียกวา “แสงอารก” เมื่อไดรับเขาตาจะมีอาการปวดนัยนตา และมีผิวหนังแดงไหม รังสีนั้นมีชื่อวาอะไร ก. รังสีแกมมา

ค. รังสีอินฟราเรด

ข. รังสีเบตา

ง. รังสีอัลตราไวโอเล็ต

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. แกสคารบอนมอนอกไซด ที่เกิดจากการเชื่อมดวยแกสคารบอนไดออกไซด เมื่อไดรับเขาสูรางกายจะมีอาการอยางไร ก. เกิดอาการไอ และหมดสติไดโดยไมรูตัว

ค. ระคายเคืองตา จมูก และลําคอ

ข. ระคายเคืองทางเดินหายใจ

ง. มีอาการมึนงง เวียนศีรษะ และหมดสติ

10. การใชงานตูเชื่อมชนิดเคลื่อนยายได ในบริเวณที่ทําการเชื่อมสายไฟตองมีลักษณะอยางไร ก. สายไฟตองมีความยาวมากกวา 1.5 เมตร ข. การเก็บสายไฟตองแขวนไวขางแทนรองตูเชื่อม ค. สายไฟตองไมมีรอยชํารุดของฉนวน ง. เมื่อใชงานเสร็จสายไฟตองมวนเก็บไวและวางไวบนตูเชื่อม 11. ในการปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟไหม ถาผูไดรับบาดเจ็บเกิดแผลในชั้นผิวหนัง ผูชวยเหลือควรปฏิบัติอยางไร ก. ไมทายาลงบนบาดแผล ข. เจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พองออก ค. ประเมินการหายใจ ถาผิดปกติตองชวยหายใจโดยเร็ว ง. ถาแผลไหมบริเวณกวาง หรืออวัยวะที่สําคัญตองรีบนําสงโรงพยาบาล 12. บุคคลในขอใด ปฏิบัติตามมาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัยขณะทํางานใกลวัตถุติดไฟไดอยางถูกตอง ก. สมปองจัดระเบียบทางเขาตูควบคุมใหเดินเขาออกสะดวก ซึ่งมีบริเวณอยางนอย 0.5 เมตร และรอบ ๆ ตูไมมีวัสดุ วางเกะกะ ข. สมชายตั้งเครื่องเชื่อมอยูบนพื้นที่แหงหางจากจุดที่จะเปรอะเปอนน้ําหรือโคลน ค. สมพรใชเชือกรัดตูควบคุมวงจรเขากับเสาเหล็กเพื่อความมั่นคงและปลอดถัย ง. สมานมวนเก็บสายไฟ แลวแขวนไวบนแทนรองตูเชื่อม

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

13. ขอใดไมใชสิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติขณะใชขวดแกส (Cylinder) ความดันสูง ก. ปดวาลวเมื่อไมไดใชงาน ไมปลอยใหแรงดันลมคางอยูในสายขณะเก็บ ข. ตองอยูหางจากประกายไฟ วัสดุไวไฟ หรือสะเก็ดไฟจากการเชื่อม ค. ตองตั้งไวกับกระบะหรือวัตถุที่มั่นคง รัดดวยเชือกหรือเหล็กรัด ง. หัวตัดตองมีสภาพดี ปลายตองสะอาด และจุดไฟติดดวยอุปกรณจุดไฟ 14. ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติตามกฏระเบียบที่เกี่ยวของกับพื้นที่ทํางานอยางไร เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด ก. หัวหนางานสามารถสั่งหยุดงานได หากเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ข. ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ถาไมทราบและไมเขาใจใหถามเพื่อนรวมงาน ค. เมื่อพบวาเครื่องมือเชื่อมชํารุด ใหรีบดําเนินการแกไขโดยทันที ง. หากไดรับบาดเจ็บตองนําสงโรงพยาบาลทันที 15. ถาอาทิตยตองการตัดชิ้นงานดวยเครื่องมือกลใหไดตามขนาดที่กําหนด ขอใดตอไปนี้ เปนสิ่งที่อาทิตยไมควรปฏิบัติขณะ ตัดชิ้นงาน ก. สวมอุปกรณปองกันอันตรายกอนปฏิบัติงาน ข. ใชเครื่องมือวัดชิ้นงานขณะทําการตัด เพื่อใหไดขนาดตามที่กําหนด ค. หลังจากตัดเสร็จ อาทิตยตองยืนเฝาเครื่องจนกวาเครื่องจะปดสนิท ง. ไมชะโงกเขาใกลบริเวณที่เครื่องมือกลทํางาน

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1. หากตองการปองกันใบหนาและดวงตาจากการกระเด็นของสะเก็ดโลหะ ความรอน แสงจา และรังสีจากการเชื่อม ในขณะตรวจสอบการปฏิบัติงานของชางเชื่อม ผูตรวจสอบควรใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลในขอใด ก. แวนตานิรภัย

ค. หนากากเชื่อมแบบมือถือ

ข. หนากากนิรภัย

ง. แวนตากันแดด

2. การใชงานตูเชื่อมชนิดเคลื่อนยายได ในบริเวณที่ทําการเชื่อมสายไฟตองมีลักษณะอยางไร ก. สายไฟตองมีความยาวมากกวา 1.5 เมตร ข. การเก็บสายไฟตองแขวนไวขางแทนรองตูเชื่อม ค. สายไฟตองไมมีรอยชํารุดจากฉนวนปองกันภายนอก ง. เมื่อใชงานเสร็จสายไฟตองมวนเก็บไวและวางไวบนตูเชื่อม 3. มาตรการปองกันสวนบุคคลใดที่สามารถปองกัน การเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจากโลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมาจากการเผาไหมของไอระเหยของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อมได ก. ใสชุดปองกันสวนบุคคล พรอมอุปกรณนิรภัยกอนปฏิบัติงานทุกครั้ง ข. ศึกษาการใชงานของอุปกรณและสวมใสถุงมือหนังปองกันทั้ง 2 ขาง ค. สวมใสถุงมือหนังทัง้ 2 ขาง และใชหนากากเชื่อมเพื่อปองกันใบหนาและดวงตา ง. ไมเลนหยอกลอกันขณะทํางาน และศึกษาการใชงานของอุปกรณ พรอมตรวจเช็คทุกครั้ง 4. หากเกิดอุบัติเหตุในที่ทํางานโดยมีสาเหตุมาจาก การใชเครื่องมืออุปกรณ เครื่องจักรที่ชํารุดและใชไมถูกวิธี สงผลใหเกิด ความสูญเสียทั้งทางตรงและทางออม ในฐานะผูจัดการควรมีวิธีการปองกันอยางไร เพื่อไมใหเกิดเหตุดังกลาวอีก ก. สั่งซื้อเครื่องมือและเครื่องจักรใหมทั้งหมดแทนการซอมแซม ข. กําหนดวิธีการทํางานอยางปลอดภัย ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางจริงจังและเขมงวด ค. ใหพนักงานซื้ออุปกรณปองกันสวนบุคคลดวยตนเองเพื่อใหพรอมใชตลอดเวลา ง. เดินตรวจตราบริเวณเครื่องจักรที่ชํารุดตลอดเวลาจะไดแกปญหาไดทัน

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. แกสคารบอนมอนอกไซด ที่เกิดจากการเชื่อมดวยแกสคารบอนไดออกไซด เมื่อไดรับเขาสูรางกายจะมีอาการอยางไร ก. เกิดอาการไอ และหมดสติไดโดยไมรูตัว

ค. ระคายเคืองตา จมูก และลําคอ

ข. ระคายเคืองทางเดินหายใจ

ง. มีอาการมึนงง เวียนศีรษะ และหมดสติ

6. ในการปฏิบัติงานเชื่อมนอกจากจะทําใหเกิดแกสพิษขึ้นแลวยังมีรังสีที่เปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานเชื่อมที่เราเรียกวา “แสงอารก” เมื่อไดรับเขาตาจะมีอาการปวดนัยนตา และมีผิวหนังแดงไหม รังสีนั้นมีชื่อวาอะไร ก. รังสีแกมมา

ค. รังสีอินฟราเรด

ข. รังสีเบตา

ง. รังสีอัลตราไวโอเล็ต

7. อัคคีภัยที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของเหลวและแกสตาง ๆ ในบริเวณสถานที่การผลิต การเกิดไฟในลักษณะนี้จัด อยูในไฟประเภทใด และตองใชเครื่องดับเพลิงชนิดใดในการดับเพลิง ก. ไฟประเภท A และใชเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง ข. ไฟประเภท B และใชเครื่องดับเพลิงชนิดสารสะอาด ค. ไฟประเภท C และใชเครื่องดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา ง. ไฟประเภท K และใชเครื่องดับเพลิงชนิดแกสคารบอนไดออกไซด 8. หลักการปฐมพยาบาลผูที่ประสบภัยจากควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษในพื้นที่ปฏิบัติงาน ถาผูประสบภัยหมดสติแลว ควรทําอยางไร ก. นําผูปวยสงโรงพยาบาลที่อยูใกลสถานที่เกิดเหตุมากที่สุด ข. รีบนําผูปวยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่ ๆ มีอากาศบริสุทธิ์ ค. ประเมินการหายใจและการเตนของหัวใจ หากไมมีใหผายปอดและนวดหัวใจ ง. กลั้นหายใจและรีบเปดประตูหนาตางเพื่อใหอากาศถายเท และขจัดตนเหตุของพิษนั้น

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. ขอใดคือลําดับการใชถังดับเพลิงที่ถูกตอง A. ดึงสลักที่วาลวออก B. บีบไกเปดวาลวใหแกสพุงออกมา C. ฉีดไปตามทางยาว และสายสายฉีดไปซาย - ขวาชา ๆ D. ยกหัวฉีดปากกรวยชี้ไปที่ฐานของไฟ ใหทํามุม 45 องศา ก. A, D, B, C

ค. A, B, D, C

ข. A, B, C, D

ง. A, C, B, D

10. การชวยเหลือผูบาดเจ็บจากไฟดูดดวยการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ขั้นตอนของการนวด หัวใจภายนอกเพื่อชวยใหมีการไหลเวียนของโลหิต ในการกดหนาอกตองกดหนาอกดวยอัตราความเร็วเทาใด ก. 70 - 80 ครั้ง/นาที

ค. 90 - 110 ครั้ง/นาที

ข. 80 - 90 ครั้ง/นาที

ง. 100 - 120 ครั้ง/นาที

11. ขอใดไมใชสิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติขณะใชขวดแกส (Cylinder) ความดันสูง ก. ปดวาลวเมื่อไมไดใชงาน ไมปลอยใหแรงดันลมคางอยูในสายขณะเก็บ ข. ตองอยูหางจากประกายไฟ วัสดุไวไฟ หรือสะเก็ดไฟจากการเชื่อม ค. ตองตั้งไวกับกระบะหรือวัตถุที่มั่นคง รัดดวยเชือกหรือเหล็กรัด ง. หัวตัดตองมีสภาพดี ปลายตองสะอาด และจุดไฟติดดวยอุปกรณจุดไฟ 12. ถาอาทิตยตองการตัดชิ้นงานดวยเครื่องมือกลใหไดตามขนาดที่กําหนด ขอใดตอไปนี้ เปนสิ่งที่อาทิตยไมควรปฏิบัติขณะ ตัดชิ้นงาน ก. สวมอุปกรณปองกันอันตรายกอนปฏิบัติงาน ข. ใชเครื่องมือวัดชิ้นงานขณะทําการตัด เพื่อใหไดขนาดตามที่กําหนด ค. หลังจากตัดเสร็จ อาทิตยตองยืนเฝาเครื่องจนกวาเครื่องจะปดสนิท ง. ไมชะโงกเขาใกลบริเวณที่เครื่องมือกลทํางาน

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

13. ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติตามกฏระเบียบที่เกี่ยวของกับพื้นที่ทํางานอยางไร เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด ก. หัวหนางานสามารถสั่งหยุดงานได หากเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ข. ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ถาไมทราบและไมเขาใจใหถามเพื่อนรวมงาน ค. เมื่อพบวาเครื่องมือเชื่อมชํารุด ใหรีบดําเนินการแกไขโดยทันที ง. หากไดรับบาดเจ็บตองนําสงโรงพยาบาลทันที 14. บุคคลในขอใด ปฏิบัติตามมาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัยขณะทํางานใกลวัตถุติดไฟไดอยางถูกตอง ก. สมปองจัดระเบียบทางเขาตูควบคุมใหเดินเขาออกสะดวก ซึ่งมีบริเวณอยางนอย 0.5 เมตร และรอบ ๆ ตูไมมีวัสดุ วางเกะกะ ข. สมชายตั้งเครื่องเชื่อมอยูบนพื้นที่แหงหางจากจุดที่จะเปรอะเปอนน้ําหรือโคลน ค. สมพรใชเชือกรัดตูควบคุมวงจรเขากับเสาเหล็กเพื่อความมั่นคงและปลอดถัย ง. สมานมวนเก็บสายไฟ แลวแขวนไวบนแทนรองตูเชื่อม 15. ในการปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟไหม ถาผูไดรับบาดเจ็บเกิดแผลในชั้นผิวหนัง ผูชวยเหลือควรปฏิบัติอยางไร ก. ไมทายาลงบนบาดแผล ข. เจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พองออก ค. ประเมินการหายใจ ถาผิดปกติตองชวยหายใจโดยเร็ว ง. ถาแผลไหมบริเวณกวาง หรืออวัยวะที่สําคัญตองรีบนําสงโรงพยาบาล

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………......... คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12.

13.

13.

14.

14.

15.

15.

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

11.

11.

12.

12.

13.

13.

14.

14.

15.

15.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบัติที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242 80 = 0.331 242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. วิเคราะหประเภทของอุบัติเหตุ 15 11 กอนฝก ตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได ทั่วไปในสภาพแวดลอมของการ ทํางาน การรู สาเหตุและขั้นตอน ตาง ๆ จะสามารถนํามาใช ปองกันอุบัติเหตุไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหสาเหตุของการเกิด อัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใชไดอยาง ถูกตอง 3. จําแนกวิธีการใชอุปกรณปองกัน สวนบุคคล เชน แวนนิรภัย แวนตาเชื่อม หนากากเชื่อม ถุงมือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทา นิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณ ปองกันศีรษะไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบที่สัมพันธกับ ภาวการณทํางาน ความปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และ สิ่งแวดลอมภายในและรอบ ๆ พื้นที่ทํางานไปใชไดอยางถูกตอง

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 5. นําการตรวจสอบสถานที่ทํางาน สําหรับความปลอดภัยไปใชได อยางถูกตอง 6. นําหลักการในการใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือ กล (Power Tools) อยาง ปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน จากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัสไปใชไดอยาง ถูกตอง 8. นําหลักการปฐมพยาบาล เบื้องตนในการดูแลบุคคลที่ บาดเจ็บจากไฟฟาดูดซึ่งจะ รวมถึงการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษไปใชไดอยาง ถูกตอง 10. นํามาตรการปองกันสวนบุคคล สําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสี ไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บ จาก โลหะรอนสะเก็ดจากการ ตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมา จากการเผาไหมของไอระเหย ของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อม ไปใชไดอยางถูกตอง

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู 11. นํามาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุติด ไฟไปใชไดอยางถูกตอง 12. จําแนกชนิดของแกสพิษที่ เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมและ การตัดเหล็กกลาคารบอนดวย แกส การบาดเจ็บของชางเชื่อม จากแกสพิษที่เกี่ยวของกับการ เชื่อม และการตัดเหล็กกลา คารบอนดวยแกสไดอยาง ถูกตอง 13. นํามาตรการปองกันในการใช ขวดแกส (Cylinder) ความดัน สูงไปใชไดอยางถูกตอง 14. นํามาตรการปองกันการเกิด อันตราย ขณะทํางานใกล เครื่องมืออุปกรณที่อยูในพื้นที่ ทําการเชื่อมไปใชไดอยาง ถูกตอง

คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70

ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ หลังฝก

1. วิเคราะหประเภทของอุบัติเหตุ ตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได ทั่วไปในสภาพแวดลอมของการ ทํางาน การรู สาเหตุและ ขั้นตอนตาง ๆ จะสามารถ นํามาใชปองกันอุบัติเหตุได อยางถูกตอง 2. วิเคราะหสาเหตุของการเกิด อัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใชไดอยาง ถูกตอง 3. จําแนกวิธีการใชอุปกรณปองกัน สวนบุคคล เชน แวนนิรภัย แวนตาเชื่อม หนากากเชื่อม ถุงมือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทา นิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณ ปองกันศีรษะไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบที่สัมพันธกับ ภาวการณทํางาน ความปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และ สิ่งแวดล อมภายใน และรอบ ๆ พื้นที่ทํางานไปใช ไดอยางถูกตอง 5. นําการตรวจสอบสถานที่ทํางาน สําหรับ ความปลอดภัย ไปใช ไดอยางถูกตอง

15

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 11

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

6. นําหลักการในการใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือ กล (Power Tools) อยาง ปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน จากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัสไปใชไดอยาง ถูกตอง 8. นําหลักการปฐมพยาบาล เบื้องตนในการดูแลบุคคลที่ บาดเจ็บจากไฟฟาดูดซึ่งจะ รวมถึงการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษไปใชไดอยาง ถูกตอง 10. นํามาตรการปองกันสวนบุคคล สําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสี ไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บ จาก โลหะรอนสะเก็ดจากการ ตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมา จากการเผาไหมของไอระเหย ของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อม ไปใชไดอยางถูกตอง 11. นํามาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุติด ไฟไปใชไดอยางถูกตอง 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70

คะแนนที่ได

12. จําแนกชนิดของแกสพิษที่ เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมและ การตัดเหล็กกลาคารบอนดวย แกส การบาดเจ็บของชางเชื่อม จากแกสพิษที่เกี่ยวของกับการ เชื่อม และการตัดเหล็กกลา คารบอนดวยแกสไดอยาง ถูกตอง 13. นํามาตรการปองกันในการใช ขวดแกส (Cylinder) ความดัน สูงไปใชไดอยางถูกตอง 14. นํามาตรการปองกันการเกิด อันตราย ขณะทํางานใกล เครื่องมืออุปกรณที่อยูในพื้นที่ ทําการเชื่อมไปใชไดอยาง ถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (100 คะแนน)

คะแนนที่ได

คะแนนภาคทฤษฎีที่ไดคูณคา Factor

คา Factor

ผลการ ทดสอบ ผาน ไมผาน (C) (NYC)

6.667

* หมายเหตุ คะแนนภาคทฤษฎีที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบนั ทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.