คู่มือการประเมิน ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 8

Page 1



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือการประเมิน 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09207226 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา คูมือการประเมิน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 8 การตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม ฉบับนี้ ไดพัฒนาขึ้น ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปใชเปนระบบการฝกอบรมตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 เพื่อใหตอบสนองความตองการของกําลังแรงงานและตลาดแรงงานไดอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น และเพื่อรองรับระบบการรับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติและระบบการรับรองความรูความสามารถในอนาคต อีกทั้ง เพื่อสงมอบระบบการฝกอบรมนี้ใหแกกําลังแรงงานกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ทั้งในแงของขอบเขตของ การใหบริการและจํานวนผูรับบริการ ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปน รายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับ การฝกอบรมจําเปน ตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกวาจะสามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดย ผูรับ การฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลา ในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูปแบบการฝกที่มีความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตาม ความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบ อาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนํา

1

ผลลัพธการเรียนรู

5

แบบทดสอบกอนฝก

6

แบบทดสอบหลังฝก

9

กระดาษคําตอบ

12

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนฝก-หลังฝก

13

แบบทดสอบภาคปฏิบัติ หัวขอวิชาที่ 2 0920722602 การตรวจสอบงานเชื่อม

14

หัวขอวิชาที่ 3 0920722603 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม

47

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ

60

บันทึกผลการประเมินความสามารถ

67

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนํา ขอแนะนํา คือ คําอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใชคูมือการประเมิน เพื่อนําไปใชในการประเมินผลผานการฝกโมดูลของผูรับการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ผังการฝกอบรม

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วิธีการประเมินผล 2.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของคูมือการประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) หรือบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล กรณีที่ทําบนแอปพลิเคชันระบบจะตรวจและประเมินผลอัตโนมัติ 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อ ดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 2.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบเครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงราง หลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัตแิ กผูรับการฝก

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนและการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ผลลัพธการเรียนรู โมดูลการฝกที่ 8 09207208 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. 2. 3. 4.

จําแนกระดับคุณภาพของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลไดอยางถูกตอง ตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอกอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง ตรวจสอบพินิจตัวแปรของงานโดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อมไดอยางถูกตอง ตรวจสอบพินิจ ความนูนดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนวเชื่อม ความสม่ําเสมอของแนวเชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 6. ซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและหลังการเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง 7. ปฏิบัติการตรวจสอบงานเชื่อมและซอมจุดบกพรองไดอยางถูกตอง

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบกอนฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบกอนฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207226 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. ตามมาตรฐานสากลอางอิงจาก มอก. 2722-2559 การพิจารณาระดับคุณภาพรอยเชื่อมจะไมใชกับชิ้นงานที่มีลักษณะใด ก. ชิ้นงานที่มีความหนานอยกวา 0.4 มิลลิเมตร ข. ชิ้นงานที่มีความหนามากกวา 0.5 มิลลิเมตรขึ้นไป ค. ชิ้นงานที่มีการเชื่อมแบบตอชนซึมลึกอยางสมบูรณ ง. ชิ้นงานที่มีรอยเชื่อมฟลเลท 2. ขอใดแสดงถึงสิ่งที่ตองมีในการตรวจสอบดวยสายตากอนการเชื่อมไดถูกตอง ก. ผูตรวจสอบจะตองมีประสบการณที่จะดูถึงเทคนิคการเชื่อม ข. ผูตรวจตองดูขนาดลักษณะรูปรางของรอยเชื่อมและชิ้นงาน ค. ผูตรวจสอบจะตองมีประสบการณที่จะดูถึงเทคนิคการเติมลวดเชื่อม ง. ผูตรวจจะตองตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของกับการเชื่อมทั้งหมด 3. ถาเราตองการจะตรวจสอบดวยสายตาหลังทําการเชื่อม จะตองใชเครื่องมือใดตรวจสอบขนาดรอยเชื่อม ก. ไมโครมิเตอร

ค. แวนขยาย

ข. เกจวัด

ง. ไฟฉาย

4. จากภาพขอใดตอไปนี้เปนสาเหตุการเกิดขอบกพรอง

ก. อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกินไป

ค. ระยะเวนที่รอยฐานกวางเกินไป

ข. กระแสเชื่อมสูงเกินไป

ง. เตรียมรอยเชื่อมไมดี

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. สาเหตุการราวโดยทั่วไปมาจากการแทรกตัวของธาตุชนิดใด ก. ออกซิเจน

ค. ไฮโดรเจน

ข. ไนโตรเจน

ง. คารบอนไดออกไซด

6. สิ่งใดที่ผูตรวจสอบไมจําเปนตองมีในการตรวจสอบขณะเชื่อมดวยสายตา ก. เทคนิคการใชอุปกรณจับยึด

ค. เทคนิคการจัดลําดับการเชื่อม

ข. เทคนิคการเชื่อม

ง. เทคนิคการดูชั้นของรอยเชื่อม

7. รอยกัดแหวงขางขอบรอยเชื่อมนําไปสูการเกิดสิ่งใดตอไปนี้ ก. รอยราว

ค. รอยบุม

ข. ความพรุน

ง. การหลอมทะลุ

8. หลังการปรับแตงชิ้นงานเบื้องตนแลว การเชื่อมเติมเปนกระบวนการที่ชวยแกไขจุดบกพรองใด ก. การบิดตัว

ค. การหลอมทะลุ

ข. รอยบุม

ง. รอยราว

9. การราวขณะรอนไมไดเกิดมาจากสาเหตุใด ก. เกิดเมื่ออุณหภูมิงานเชื่อมยังสูงอยู

ค. เกิดหลังจากเนื้อโลหะเชื่อมแข็งตัวขณะรอน

ข. เกิดไดในงานเชื่อมที่มีระยะซึมลึกมาก

ง. เกิดจากชิ้นงานมีการตานแรง

10. ขอใดไมใชลักษณะการทําเครื่องหมายรอยเชื่อมที่จะซอม ก. มีรูปรางชัดเจน ข. เครื่องหมายที่ทําตองเปนที่เขาใจของผูตรวจสอบทุกคน ค. วัสดุที่ใชทําเครื่องหมายตองไมมีผลเสียตอรอยเชื่อม ง. เครื่องหมายตองลางออกไมไดในทุกกรณี

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก คําชี้แจง : 1. 2. 3. 4. 5.

ผูรับการฝกสามารถรับแบบทดสอบหลังฝกไดจากครูฝก อานคําชี้แจงหรือคําสั่งใหเขาใจกอนทําแบบทดสอบทุกครั้ง หามนําแบบทดสอบออกนอกบริเวณหองสอบ ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว เมื่อทําแบบทดสอบเสร็จแลว ใหสงครูฝกเพื่อตรวจประเมินผล

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

แบบทดสอบหลังฝก โมดูลการฝกที่ 8 09207226 การตรวจสอบงานเชื่อม 1. การราวขณะรอนไมไดเกิดจากสาเหตุใด ก. เกิดเมื่ออุณหภูมิงานเชื่อมยังสูงอยู

ค. เกิดหลังจากเนื้อโลหะเชื่อมแข็งตัวขณะรอน

ข. เกิดไดในงานเชื่อมที่มีระยะซึมลึกมาก

ง. เกิดจากชิ้นงานมีการตานแรง

2. ขอใดไมใชลักษณะการทําเครื่องหมายรอยเชื่อมที่จะซอม ก. มีรูปรางชัดเจน ข. เครื่องหมายที่ทําตองเปนที่เขาใจของผูตรวจสอบทุกคน ค. วัสดุที่ใชทําเครื่องหมายตองไมมีผลเสียตอรอยเชื่อม ง. เครื่องหมายตองลางออกไมไดในทุกกรณี 3. จากภาพขอใดตอไปนี้เปนสาเหตุการเกิดขอบกพรอง

ก. อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกินไป

ค. ระยะเวนที่รอยฐานกวางเกินไป

ข. กระแสเชื่อมสูงเกินไป

ง. เตรียมรอยเชื่อมไมดี

4. สาเหตุการราวโดยทั่วไปมาจากการแทรกตัวของธาตุชนิดใด ก. ออกซิเจน

ค. ไฮโดรเจน

ข. ไนโตรเจน

ง. คารบอนไดออกไซด

5. สิ่งใดที่ผูตรวจสอบไมจําเปนตองมีในการตรวจสอบขณะเชื่อมดวยสายตา ก. เทคนิคการใชอุปกรณจับยึด

ค. เทคนิคการจัดลําดับการเชื่อม

ข. เทคนิคการเชื่อม

ง. เทคนิคการดูชั้นของรอยเชื่อม

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. ตามมาตรฐานสากลอางอิงจาก มอก. 2722-2559 การพิจารณาระดับคุณภาพรอยเชื่อมจะไมใชกับชิ้นงานที่มีลักษณะใด ก. ชิ้นงานที่มีความหนานอยกวา 0.4 มิลลิเมตร ข. ชิ้นงานที่มีความหนามากกวา 0.5 มิลลิเมตรขึ้นไป ค. ชิ้นงานที่มีการเชื่อมแบบตอชนซึมลึกอยางสมบูรณ ง. ชิ้นงานที่มีรอยเชื่อมฟลเลท 7. ขอใดแสดงถึงสิ่งที่ตองมีในการตรวจสอบดวยสายตากอนการเชื่อมไดถูกตอง ก. ผูตรวจสอบจะตองมีประสบการณที่จะดูถึงเทคนิคการเชื่อม ข. ผูตรวจตองดูขนาดลักษณะรูปรางของรอยเชื่อมและชิ้นงาน ค. ผูตรวจสอบจะตองมีประสบการณที่จะดูถึงเทคนิคการเติมลวดเชื่อม ง. ผูตรวจจะตองตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของกับการเชื่อมทั้งหมด 8. ถาเราตองการจะตรวจสอบดวยสายตาหลังทําการเชื่อม จะตองใชเครื่องมือใดตรวจสอบขนาดรอยเชื่อม ก. ไมโครมิเตอร

ค. แวนขยาย

ข. เกจวัด

ง. ไฟฉาย

9. รอยกัดแหวงขางขอบรอยเชื่อมนําไปสูการเกิดสิ่งใดตอไปนี้ ก. รอยราว

ค. รอยบุม

ข. ความพรุน

ง. การหลอมทะลุ

10. หลังการปรับแตงชิ้นงานเบื้องตนแลว การเชื่อมเติมเปนกระบวนการที่ชวยแกไขจุดบกพรองแบบใด ก. การบิดตัว ข. รอยบุม ค. การหลอมทะลุ ง. รอยราว

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

กระดาษคําตอบ

คะแนนที่ได คะแนนเต็ม

ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………........ คําสั่ง จงทําเครื่องหมายกากบาท

ทับขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

แบบทดสอบกอนฝก ก

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยคําตอบ แบบทดสอบกอนฝก ก

หมายเหตุ

แบบทดสอบหลังฝก ก

1.

1.

2.

2.

3.

3.

4.

4.

5.

5.

6.

6.

7.

7.

8.

8.

9.

9.

10.

10.

ใหครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ แลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.1 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยอนุภาคแมเหล็ก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบหาความไมสมบูรณบนผิวเนื้อโลหะดวยกระบวนการการตรวจสอบดวยอนุภาคแมเหล็ก (Magnetic Particle Inspection : MT) ของชิ้นงานเชื่อมที่กําหนดให วาดภาพและบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชิ้นงานที่ 1

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรองที่พบ

ลักษณะผงเหล็กที่เกาะบนชิ้นงาน

ขนาดจุดบกพรอง

ระยะหางจากเสนอางอิง

(มิลลิเมตร × มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ชิ้นงานที่ 2

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรองที่พบ

ลักษณะผงเหล็กที่เกาะบนชิ้นงาน

ขนาดจุดบกพรอง

ระยะหางจากเสนอางอิง

(มิลลิเมตร × มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ชิ้นงานที่ 3

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรองที่พบ

ลักษณะผงเหล็กที่เกาะบนชิ้นงาน

ขนาดจุดบกพรอง

ระยะหางจากเสนอางอิง

(มิลลิเมตร × มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.1 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยอนุภาคแมเหล็ก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หนากากนิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. หัว YOKE

จํานวน 1 เครื่อง

2. อุปกรณตรวจสอบทิศทางสนามแมเหล็ก (Pie Shaped Indicator)

จํานวน 1 อัน

3. แทงน้ําหนัก (Test Bar)

จํานวน 1 อัน

4. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

5. ไฟฉาย

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สเปรยผงแมเหล็ก (Black Magnetic Ink)

จํานวน 1 กระปอง

2. น้ํายาทําความสะอาด (Cleaner)

จํานวน 1 กระปอง

3. น้ํายาสรางพื้นหลัง (White Contrast Paint)

จํานวน 1 กระปอง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4. ผาทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

5. ชิ้นงานเชื่อมตอชน

จํานวน 3 ชิ้น

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบงานเชื่อมดวยอนุภาคแมเหล็ก ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่ใชใน ควรตรวจสอบเครื่องมือ การตรวจสอบงานเชื่อม

และอุ ป กรณ ให พ ร อ ม กอนการใชงาน

หัว YOKE

อุปกรณตรวจสอบทิศทางสนามแมเหล็ก

แปรงลวด

แทงน้ําหนัก

ไฟฉาย

สเปรยผงแมเหล็ก

น้ํายาทําความสะอาด

น้ํายาสรางพื้นหลัง

ผาทําความสะอาด

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มตอชน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 2. ทําความสะอาดดวยผาและแปรงลวด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทําความสะอาดชิ้น งานตรวจสอบด ว ยผ า และแปรงลวด เพื่อกําจัดสิ่งสกปรกออกจาก ผิวงานที่จะตรวจสอบ เชน สีเคลือบที่หนาม น้ํามัน จาระบี สนิมโลหะ สแลก สะเก็ดเชื่อม ที่กระเด็นติดอยูบนผิวงาน เปนตน

3. ทําความสะอาดดวย Cleaner

ทํ า ความสะอาดชิ ้น งานดว ย Cleaner แลวใชผาเช็ด

4. ตรวจสอบความเพียงพอของสนามแมเหล็ก

ใช Yoke ยกแท ง น้ํ า หนั ก เพื่ อ ตรวจสอบ หากไมส ามารถยกแทง ความเพียงพอของสนามแมเหล็ก โดยใหขา น้ําหนักขึ้น ได แสดงวา Yoke กางมากที่สุด

ส น า ม แ ม เ ห ล็ ก ข อ ง Yoke ไม เ พี ย งพอ ควร ตรวจสอบหรื อ เปลี่ ย น เครื่องใหม

5. พนน้ํายาสรางพื้นหลังบนชิ้นงาน

พนน้ํายาสรางพื้นหลังสีขาว (White

พน ไมห นา และไมบ าง

Contrast Paint) ลงบนผิวชิ้นงานบริเวณที่ จนเกินไป ตองการตรวจสอบ

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

6. ตรวจสอบทิศทางและความแรงของ

ทําชิ้นงานใหเปนแมเหล็กดวย YOKE แลว ควรวาง Pie Shaped

สนามแมเหล็ก

ตรวจสอบทิ ศ ทางและความแรงของ Indicator ใ ห อ ยู ต ร ง สนามแมเหล็กดวย Pie Shaped Indicator กลางระหว า งขาของ วางเครื่องมือดังภาพ

7. พิจารณาเสนของ Pie Shaped Indicator

Yoke

พนน้ํายาสรางพื้นหลังลงบน Pie Shaped Indicator เล็กนอย แลวพิจารณาเสนของ เครื่องมือ ถามองไมเห็นเสนตรงกลาง แสดง วามีสนามแมเหล็กเพียงพอ ดังภาพ

8. วาง Yoke บนชิน้ งาน แลวจายกระแสไฟ

วาง Yoke บนผิวชิ้นงานทดสอบ แลวเปด การสรางสนามแมเหล็ก จายกระแสไฟตอเนื่องประมาณ 5 วินาที

จ ะ ต อ ง ใ ห เ ส น แ ร ง แมเหล็กทําแนวตั้งฉาก หรื อ ตั ด กั บ ทิ ศ ทางของ ขอบกพรอง

9. พนผงแมเหล็กลงบริเวณทดสอบ

พ น ผงแม เ หล็ ก ลงบริ เ วณทดสอบ แล ว ถามีขอบกพรอง ผงเหล็ก พิ จ ารณาว า มี ผ งเหล็ ก เกาะรวมตั ว อยู บ น จะเกาะรวมตั ว อยู บ น ผิวชิ้นงานหรือไม แลวปดการจายกระแสไฟ ขอบกพรอง และมีรูปราง เหมือนขอบกพรอง

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ตรวจสอบตลอดชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทํ า ตามขั้ น ตอนที่ 8 - 9 ตลอดพื้ น ที่ ตรวจสอบชิ้นงาน

11. บันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบลงในตารางบันทึกผล ถามีรอยแตก ผงเหล็กจะ เกาะรวมตั ว กั น อยู บ น เสนรอยแตกเปนเสนยาว

12. ทําความสะอาดดวย Cleaner

ทําความสะอาดชิ้นงานหลังการตรวจสอบ ดวย Cleaner

13. ตรวจสอบใหครบทั้ง 3 ชิ้น และบันทึกผลลง ตรวจสอบชิ้นงานที่ 2 และ 3 แลวบันทึกผล ในตาราง

การตรวจสอบลงในตาราง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได

2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 3

การทําความสะอาดชิ้นงาน

ทําความสะอาดชิ้นงานเรียบรอย

2

ให 2 คะแนน ทําความสะอาดชิ้นงาน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดชิ้นงาน ให 0 คะแนน 4

การยกแทงน้ําหนักตรวจสอบความเพียงพอของ สนามแมเหล็ก

มีการตรวจสอบความเพียงพอของสนามแมเหล็ก

1

ให 1 คะแนน ไมมีการตรวจสอบความเพียงพอของสนามแมเหล็ก ให 0 คะแนน

5

การพนน้ํายาสรางพื้นหลัง

มีการพนน้ํายาสรางพื้นหลัง ให 1 คะแนน

1

ไมมีการพนน้ํายาสรางพื้นหลัง ให 0 คะแนน 6

การตรวจสอบทิศทางและความแรงของสนามแมเหล็ก

มีการใช Pie Shaped Indicator ตรวจสอบ ให 1 คะแนน

1

ไมมีการใช Pie Shaped Indicator ตรวจสอบ ให 0 คะแนน 7

การพนผงแมเหล็กลงบริเวณทดสอบ

พนผงแมเหล็กลงบนชิ้นงานไดถูกตอง เหมาะสม ให 1 คะแนน พนผงแมเหล็กลงบนชิ้นงานไดไมถูกตอง และไม เหมาะสม ให 0 คะแนน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่ 8

รายการประเมิน ชิ้นที่ 1 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ

3

ทุกจุด ให 3 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน

การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน

5

บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน 9

ชิ้นที่ 2 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ ทุกจุด ให 3 คะแนน

3

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน 10

ชิ้นที่ 3 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ

3

ทุกจุด ให 3 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน

การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน

5

ให 5 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน 11

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่ 12

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

40

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.2 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยสารแทรกซึม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ตรวจสอบหาความไมสมบูรณบนพื้นผิวแนวเชื่อมรอยตอแบบตัวที (Fillet Weld) รอยตอชน (Butt Weld) ดวยสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing)

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ 1) ชิ้นงานเชื่อมตอชน

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรองที่พบ

ลักษณะจุดบกพรองที่พบบนชิ้นงาน

ขนาดจุดบกพรอง

ระยะหางจากเสนอางอิง

(มิลลิเมตร × มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2) ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรองที่พบ

ลักษณะจุดบกพรองที่พบบนชิ้นงาน

ขนาดจุดบกพรอง

ระยะหางจากเสนอางอิง

(มิลลิเมตร × มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.2 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยสารแทรกซึม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

2. ไฟฉาย

จํานวน 1 อัน

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํายาแทรกซึม (ประกอบดวย Cleaner, Penetrant และ Developer)

จํานวน 1 ชุด

2. ผาทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

3. ชิ้นงานเชื่อมตอตัวที

จํานวน 1 ชิ้น

4. ชิ้นงานเชื่อมตอชน

จํานวน 1 ชิ้น

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบงานเชื่อมดวยสารแทรกซึม ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

คําอธิบาย เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่ใชใน การตรวจสอบงานเชื่อม

แปรงลวด

ชุดน้ํายาแทรกซึม

ไฟฉาย

ผาทําความสะอาด

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ ม

2. ทําความสะอาดชิ้นงานดวยผาและแปรงลวด

ทําความสะอาดชิ้นงานดวยแปรงลวดและ ผาสะอาด

3. ทําควาสะอาดดวย Cleaner

ใช ก ระป อ ง Cleaner ฉี ด ทํ า ความสะอาด รอยเชื่อม แลวเช็ดดวยผา

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 4. ฉีดสารแทรกซึมลงบนรอยเชื่อม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชสารแทรกซึม (Penetrant) ฉีดลงบนรอย ไ ม ฉี ด ห น า ห รื อ บ า ง เชื่อม ฉีดทิ้งไวประมาณ 5 – 10 นาที

จนเกินไป

5. เช็ดสารแทรกซึมออก

ใชผาเช็ดสารแทรกซึม (Penetrant) ออก

6. ฉีดตัวดูดซับสารแทรกซึมลงบนรอยเชื่อม

ฉีดตัวดูดซับสารแทรกซึม (Developer) ลง ไ ม ฉี ด ห น า ห รื อ บ า ง บนรอยเชื่อม

7. สังเกตและบันทึกผลลงในตาราง

จนเกินไป

ตรวจสอบให ค รบทั้ ง 2 ชิ้ น สั ง เกตรอยที่ ถามีจุดบกพรองประเภท ปรากฏขึ้น แลวบันทึกผลลงในตาราง

รอยแตก จะปรากฎเป น เส น สี แดงอย า งเด น ชั ด ในแนวยาว

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 8. ทําความสะอาดชิ้นงานหลังการตรวจสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชผาหรือแปรงลวด ทําความสะอาดชิ้นงาน ถามีคราบที่ ไ ม อ อก ให หลังการตรวจสอบ

ใช Cleaner ฉี ด ลงบน ผาแลว เช็ดที่ผิว ชิ้นงาน ใหสะอาด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 3

การทําความสะอาดชิ้นงาน

ทําความสะอาดชิ้นงานเรียบรอย ให 2 คะแนน

2

ทําความสะอาดชิ้นงาน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดชิ้นงาน ให 0 คะแนน 4

การฉีดสารแทรกซึม (Penetrant)

มีการฉีดสารแทรกซึมไดถูกตอง เหมาะสม ให 1 คะแนน

1

ไมมีการฉีดสารแทรกซึม ให 0 คะแนน 5

การเช็ดสารแทรกซึมออก

เช็ดสารแทรกซึมตามเวลาที่เหมาะสม ให 1 คะแนน

1

ไมเช็ดสารแทรกซึมตามเวลาที่เหมาะสม ให 0 คะแนน 6

การฉีดตัวดูดซับสารแทรกซึม (Developer)

ฉีดตัวดูดซับสารแทรกซึมไดถูกตอง เหมาะสม ให 1 คะแนน ไมมีการฉีดตัวดูดซับสารแทรกซึม ให 0 คะแนน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่ 7

รายการประเมิน ชิ้นที่ 1 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ

3

ทุกจุด ให 3 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน

การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน

5

บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน 8

ชิ้นที่ 2 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ ทุกจุด ให 3 คะแนน

3

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน 9

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

3

ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 10

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

31

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 2 0920720802 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยคลื่นอัลตราโซนิค 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบหาความไมสมบูรณภายในเนื้อโลหะดวยกระบวนการการตรวจสอบดวยคลื่นอัลตราโซนิค (Ultrasonic Inspection)

ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ 1) ชิ้นงานเชื่อมตอชน

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

จุดบกพรอง ลักษณะจุดบกพรอง ที่พบ

ที่พบบนชิ้นงาน

ระยะหางจาก

ความลึกจาก

ความยาว

ความหนาของ

เสนอางอิง

ผิวชิ้นงาน

จุดบกพรอง

ชิ้นงาน

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

2) ชิ้นงานเชื่อมทอตอชน

ลักษณะจุดบกพรองที่พบ จุดบกพรอง ลักษณะจุดบกพรอง ที่พบ

ที่พบบนชิ้นงาน

ระยะหางจาก

ความลึกจาก

ความยาว

ความหนาของ

เสนอางอิง

ผิวชิ้นงาน

จุดบกพรอง

ชิ้นงาน

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

(มิลลิเมตร)

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 2.3 การตรวจสอบงานเชื่อมดวยคลื่นอัลตราโซนิค 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรับการฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องกําเนิดคลื่นอัลตราโซนิค (Ultrasonic Inspection)

จํานวน 1 ชุด

2. หัวตรวจสอบตรง (Probe)

จํานวน 1 อัน

3. แทนปรับมาตรฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. บรรทัดออน

จํานวน 1 อัน

5. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สารนําคลื่น (Couplant)

จํานวน 1 อัน

2. ผาทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

3. ชิ้นงานเชื่อมตอชน

จํานวน 1 ชิ้น

4. ชิ้นงานเชื่อมทอตอชน

จํานวน 1 ชิ้น

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การตรวจสอบงานเชื่อมดวยคลื่นอัลตราโซนิค ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่ใชใน ตรวจสอบความพรอม

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

การตรวจสอบงานเชื่อม

ข อ ง เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป กรณ ก อ นการใช งาน

เครื่องกําเนิดคลืน่ อัลตราโซนิค

หัวตรวจสอบตรง

บรรทัดออน

สารนําคลืน่

แทนปรับมาตรฐาน

แปรงลวด

ผาทําความสะอาด

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ ม

2. ทําความสะอาดชิ้นงานดวยผาและแปรงลวด

ทําความสะอาดชิ้นงานดวยแปรงลวดและ ผาสะอาด

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

3. ปรับชนิดวัสดุในตัวเครื่อง ใหตรงกับวัสดุที่ใชใน

นํ า เครื่ อ ง UTM มาปรั บ เที ย บกั บ แท น ในการทํางานทุกครั้ง

การทดสอบ

มาตรฐาน

จะตองปรับเทียบ

ปรับชนิดวัสดุในตัวเครื่อง ใหตรงกับวัสดุที่ คาของเครื่องทุกครั้ง ใชในการทดสอบ

4. ตรวจสอบความแบตเตอรี่ และเปดสวิตชทํางาน ตรวจสอบความพรอมของแบตเตอรี่ และ เปดสวิตชเครื่องทํางาน

5. ทาสารนําคลื่นบริเวณหัวตรวจสอบและแทนปรับ ใชสารนําคลื่น (Couplant) ทาบริเวณหัว ตรวจสอบ และบริเวณแทนปรับมาตรฐาน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

6. อ า นค า ที่ ตั ว เครื่ อง และปรั บ ให ตรงกั บ ค า ของ อานคาที่ตัวเครื่องวามีคาตรงตามที่ระบุไว แทนมาตรฐาน

ในแทนมาตรฐานหรือไม หากไมตรง ใหปรับคาที่ตัวเครื่องใหตรง

7. ทาสารนําคลื่น (Couplant) ลงบนชิ้นงานทดสอบ นํ า ชิ้ น งานทดสอบมาทํ า การตรวจหา ปรับชนิดวัสดุ ความหนา และจุดบกพรองที่เกิดขึ้นบน ในตัวเครื่อง ใหตรงกับ ชิ้นงาน

วัสดุที่ใชในการทดสอบ

ทาสารนําคลื่น (Couplant) ลงบนบริเวณ ชิ้นงานที่ตองการทดสอบ

8. ทดสอบหาความหนาและจุดบกพรองในชิ้นงาน

ทดสอบหาความหนาและจุ ดบกพร องใน ชิ้นงาน พรอมบันทึกผล

9. ทดสอบตามขั้นตอนที่ 7 และ 8

ทําการทดสอบตามขั้นตอนที่ 7 - 8 ใหทั่ว ถา พ บ จุด บ ก พ ร อ ง บริเวณแนวเชื่อม

ต ัว เ ล ข ที่ แ ส ด ง บ น หน า จอจะน อ ยกว า ตัวเลขที่ปรับเทียบกับ แทนมาตรฐาน

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการทดสอบ 10. ตรวจสอบใหครบทั้ง 2 ชิ้น

คําอธิบาย ตรวจสอบใหครบทั้ง 2 ชิ้นงาน แลวบันทึก ผลการตรวจสอบลงในตาราง

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได

คะแนนเต็ม 2

ถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของได ถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุที่เกีย่ วของไม ถูกตอง ให 0 คะแนน 2

การปรับเทียบแทนมาตรฐาน

ปรับเทียบแทนมาตรฐานไดถูกตอง ให 2 คะแนน

2

ปรับเทียบแทนมาตรฐานไมถูกตอง ให 0 คะแนน 3

การทําความสะอาดชิ้นงาน

ทําความสะอาดชิ้นงานเรียบรอย ให 2 คะแนน ทําความสะอาดชิ้นงาน แตไมสะอาดเรียบรอย

2

ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดชิ้นงาน ให 0 คะแนน 4

ชิ้นที่ 1 การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ

3

ทุกจุด ให 3 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน

การบันทึกผลการตรวจสอบ

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่ 5

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

ชิ้นที่ 2

วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองไดถูกตอง และครบ

3

การวาดภาพลักษณะของจุดบกพรองทีพ่ บ

ทุกจุด ให 3 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 2 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 1 คะแนน วาดภาพลักษณะของจุดบกพรองผิดพลาดมากกวา 2 ตําแหนง ให 0 คะแนน

การบันทึกผลการตรวจสอบ

6

บันทึกผลการตรวจสอบถูกตอง ครบถวน ให 5 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 1 ตําแหนง ให 4 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 2 ตําแหนง ให 3 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 3 ตําแหนง ให 2 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาด 4 ตําแหนง ให 1 คะแนน บันทึกผลการตรวจสอบผิดพลาดมากกวา 4 ตําแหนง ให 0 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

5

3

ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 7

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

27

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.1 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรูพรุน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรูพรุน (Porosity) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการ แกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

รูพรุน

................................................................... ...................................................................

(Porosity)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.1 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรูพรุน 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรูพรุน (Porosity)

จํานวน 1 ชิ้น

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรูพรุน ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่มีรูพรุน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี ูพรุน

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สังเกตลักษณะของรูพรุนบริเวณรอยเชื่อม

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี ูพรุน

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยแตก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยแตก (Cracking) ใหผูรับการฝกอธิบายสาเหตุ และวิธีการ แกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

ลักษณะจุดบกพรอง

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

รอยแตก

................................................................... ...................................................................

(Cracking)

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.2 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยแตก 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยแตก (Cracking)

จํานวน 1 ชิ้น

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทรอยแตก ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่มีรอยแตก

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยแตก

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สั ง เกตลั ก ษณะของรอยแตกบริ เ วณรอย เชื่อม

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มรี อยแตก

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

หัวขอวิชาที่ 3 0920720803 แบบทดสอบภาคปฏิบัตทิ ี่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทการหลอมไมสมบูรณ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง จากลักษณะจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทการหลอมไมสมบูรณ (Incomplete Fusion) ใหผูรับการฝก อธิบายสาเหตุ และวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง แลวบันทึกผลลงในตาราง

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลักษณะจุดบกพรอง การหลอมไมสมบูรณ

สาเหตุ

วิธีแกปญหา

................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ................................................................... ...................................................................

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการทดสอบ ใบขั้นตอนการทดสอบที่ 3.3 การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทการหลอมไมสมบูรณ 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานเชื่อมที่มีการหลอมไมสมบูรณ (Incomplete Fusion)

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จํานวน 1 ชิ้น


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการทดสอบ การซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมประเภทการหลอมไมสมบูรณ ขั้นตอนการทดสอบ 1. เตรียมชิ้นงานเชื่อม

คําอธิบาย เตรียมตัวอยางชิ้นงานเชื่อมที่มีการหลอมไม สมบูรณ

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มกี ารหลอมไมสมบูรณ

2. สังเกตลักษณะจุดบกพรอง

สั ง เกตลั ก ษณะของการหลอมไม ส มบู ร ณ บริเวณโดยรอบชิ้นงาน

ตัวอยางชิ้นงานเชือ่ มที่มกี ารหลอมไมสมบูรณ

3. บันทึกผลลงในตาราง

อธิ บ ายสาเหตุ และวิ ธี ก ารแก ป ญ หา จุดบกพรอง ลงในตารางบันทึกผล

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………… เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรอง

อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 5

ให 5 คะแนน อธิบายสาเหตุการเกิดจุดบกพรองไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรอง

อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไดถกู ตอง

5

ให 5 คะแนน อธิบายวิธีการแกปญหาจุดบกพรองไมถกู ตอง ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

10

หมายเหตุ การประเมินผลภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบใหม จนกระทั่งผานเกณฑ

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตัวอยางบันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 10 กอนฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ 17 12 หลังฝก ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนได 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลได 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนว เชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงาได 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดได 5. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอน และสกัดได 6. บอกการใชดอกสวานและเครื่อง เจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรง ยกของ การใชแปรงลวดได 7. บอกการใชใบหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ได 8. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือทั่วไปได 9. บอกการใชเครื่องเจียระไนได 10. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะได 11. บอกการใชเครื่องกดไฮดรอลิกส ได 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได 15


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาคทฤษฎี

ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 12. บอกการใชเครื่องทดสอบการ ดัดงอได 13. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและ เครื่องเลื่อยได 14. บอกการใชอุปกรณจับยึดได 15. บอกการใชเครื่องดูดควันได 16. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือกลได ประเมินผลภาคทฤษฎี

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)

/

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกตอบถูกลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) หากผูรับการฝกผานการประเมินผลภาคทฤษฎีแลว สามารถขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝก ในโมดูลถัดไปได

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 1.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

45

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 32

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

33

23

25

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดได

40

28

40

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

30

21

23

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

18

13

12

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได

16

11

17

ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

20

14

18

20

14

16

20

14

17

242

170

198

ประเมินผลภาคปฏิบัติ

คะแนนที่ได 30

ผาน (C)

* หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย การประเมินผลภาคปฏิบัติ ใหครูฝกบันทึกคะแนนที่ผูรับการฝกไดจากการปฏิบัติลงในชองคะแนนที่ได แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ในแตละใบทดสอบ ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผานเกณฑ ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผานเกณฑ หากไมผานเกณฑ ผูรับการฝกตองขอทดสอบภาคปฏิบัติในใบทดสอบนั้นใหม จนกระทั่งผานเกณฑ 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ไมผาน (NYC)

/


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ครูฝกรวมคะแนนที่ไดบันทึกลงในคะแนนรวมภาคปฏิบัติ แลวเปรียบเทียบคะแนนที่ไดกับคะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 ในแถวคะแนนรวมภาคปฏิบัติ ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 และผานเกณฑทุกใบทดสอบ ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนรวมนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC) การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

15

1.176

17.64

198

0.331

65.538

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC) 83.178

/

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําอธิบาย 1. ครูฝกบันทึกคะแนนภาคทฤษฎีที่ผูรับการฝกทดสอบครั้งลาสุด ไมตองนําคะแนนแบบทดสอบกอนฝกและ หลังฝกมารวมกัน 2. ครูฝกบันทึกคะแนนรวมภาคปฏิบตั ิที่ผูรับการฝกทดสอบ 3. นําคะแนนที่ไดคูณคา Factor โดยมีตัวอยางการคิดดังนี้ สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคทฤษฎี คือ

17

ดังนั้น คา Factor ของภาคทฤษฎี คือ

20 17

∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

15 × 1.176 = 17.64

คือ

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

= 1.176


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สูตรการคํานวณคา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ

80 ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ

ผลรวมของคะแนนเต็มภาคปฏิบัติ คือ

242 80 = 0.331 242

ดังนั้น คา Factor ของภาคปฏิบัติ คือ ∴ คะแนนที่ไดคูณคา Factor

คือ

198 × 0.331 = 65.538

4. รวมคะแนนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor คือ 17.64 + 83.178 = 83.178 5. ประเมินผลการผานโมดูล ถาผูรับการฝกไดคะแนนมากกวาหรือเทากับคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ผาน (C) ถาผูรับการฝกไดคะแนนนอยกวาคะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 ถือวา ไมผาน (NYC)

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

บันทึกผลการประเมินความสามารถ ชื่อ-นามสกุลผูเขารับการฝก …………………………………………………….............. เลขประจําตัวประชาชน ………………………………. คําชี้แจง ใหครูฝกบันทึกคะแนนและประเมินความสามารถของผูเขารับการฝก การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 คะแนนที่ได แบบทดสอบ 1. จําแนกระดับคุณภาพ 10 7 กอนฝก ของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล ไดอยางถูกตอง 2. ตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอ กอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. ตรวจสอบพินิจตัวแปรของงาน โดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 4. ตรวจสอบพินิจ ความนูน ดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนว เชื่อม ความสม่ําเสมอของแนว เชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและหลัง การเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี ผลลัพธการเรียนรู คะแนนเต็ม คะแนนที่ผานเกณฑรอยละ 70 แบบทดสอบ 1. จําแนกระดับคุณภาพ 10 7 หลังฝก ของงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล ไดอยางถูกตอง 2. ตรวจสอบพินิจ (Visual Inspection) การเตรียมแนวตอ กอนการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. ตรวจสอบพินิจตัวแปรของงาน โดยชางเชื่อมในระหวางการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 4. ตรวจสอบพินิจ ความนูน ดานหนาแนวเชื่อมและดานราก ภายหลังจากการเชื่อมเสร็จ (รวมทั้งแนวกัดแหวง รูพรุน สารฝงใน (Inclusion) การหลอมไมสมบูรณ รอยราว ความกวาง ความสูง รูปรางแนว เชื่อม ความสม่ําเสมอของแนว เชื่อม) ไดอยางถูกตอง 5. ซอมจุดบกพรอง (Defects) ของชิ้นงานกอนและหลัง การเชื่อมเสร็จไดอยางถูกตอง ประเมินผลภาคทฤษฎี * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน ไมผาน (C) (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลภาคปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ

ผลลัพธการเรียนรู

คะแนนเต็ม

แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 2.3 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.1 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.2 แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติที่ 3.3

ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการวัดขนาดแนวเชื่อมและตรวจสอบ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง ปฏิบัติการซอมจุดบกพรองของชิ้นงานเชื่อมได อยางถูกตอง คะแนนรวมภาคปฏิบัติ

40

คะแนนที่ผานเกณฑ รอยละ 70 28

31

22

27

19

10

7

10

7

10

7

128

90

ประเมินผลภาคปฏิบัติ * หมายเหตุ คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70 ถือวาผานเกณฑ

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได

ผาน (C)

ไมผาน (NYC)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การประเมินผลผานโมดูล สัดสวนการคิด คะแนน ภาคทฤษฎี (20 คะแนน) ภาคปฏิบัติ (80 คะแนน)

คะแนนที่ได

คา Factor

คะแนนที่ไดคูณ คา Factor

ผลการ ทดสอบ รวมคะแนนภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor ผาน ไมผาน (C) (NYC)

10 0.625

* หมายเหตุ คะแนนรวมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่คูณคา Factor มากกวาหรือเทากับ 70 คะแนน ถือวาผานเกณฑ คําแนะนํา .................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... …………………………………………….. ( ตําแหนง …………………………… วัน……..เดือน………………….ป……… หมายเหตุ: ใหบันทึกผลการฝกใหผูรับการฝกแตละคนหลังจากจบการฝกและการประเมิน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

)


คู มื อ การประเมิ น สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.