คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 5

Page 1

ใล



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คูมือผูรับการฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09215204 หลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและการเดินสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 5 หลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟามาตรฐาน สายไฟฟา ขอ กําหนดในการติดตั้ง และการเดินสายไฟฟาฉบับ นี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลัก สูตรฝก อบรมฝมือ แรงงานตาม ความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุด การฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการ ฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงานดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมให เปนไปตามหลักสูตร กล าวคื อ เกี่ ยวกั บ ชนิด คุ ณสมบัติ หลัก การทํางาน และขอ กําหนดของอุปกรณที่ใชในระบบไฟฟา อุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกิน หลักการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอน ชนิดและขนาดของสายไฟฟา รวมทั้งขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรมในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผรู ับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคั ญ ต อ การพัฒ นาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นัก เรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 5 09215204 หลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและการเดินสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921520401 อุปกรณในระบบไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921520402 อุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกิน หัวขอวิชาที่ 3 0921520403 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอน (Transfer switch) หัวขอวิชาที่ 4 0921520404 ชนิดและขนาดของสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 5 0921520405 ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

12 38 61 74 91 103



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150301

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้ง และการเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเปนการฝก ที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผูรับ การฝกแตล ะคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตอง บริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผูรับ การฝก ที่ผานการประเมิ นผลหรื อผานการฝก ครบทุก หนวยความสามารถ จะไดรับ วุฒิบัตร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก หลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐาน รหัสโมดูลการฝก สายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและการเดินสายไฟฟา 09215204 3. ระยะเวลาการฝก รวม 4 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 4 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายชนิด คุณสมบัติ หลักการทํางาน และขอกําหนดของอุปกรณที่ใช ในระบบไฟฟาได 2. อธิบายอุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกินได 3. อธิบายหลักการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอนได 4. อธิบายการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟาได 5. อธิบายขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรมได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับหลักการทํางาน ผูรับการฝก ของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและการเดิน สายไฟฟาจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายชนิด คุณสมบัติ หัวขอที่ 1 : อุปกรณในระบบไฟฟา 0:45 0:45 หลักการทํางาน และ ขอกําหนดของอุปกรณที่ใชใน ระบบไฟฟาได 2. อธิบายอุปกรณตัดตอนและ หัวขอที่ 2 : อุปกรณตัดตอนและ 1:00 1:00 เครื่องปองกันกระแสเกินได เครื่องปองกันกระแสเกิน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 3 : มอเตอรไฟฟากระแสสลับ มอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับและ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ สวิตชถายโอนได และสวิตชถายโอนได 4. อธิบายการเลือกชนิดและ หัวขอที่ 4 : ชนิดและขนาดของสายไฟฟา ขนาดของสายไฟฟาได 5. อธิบายขอกําหนดมาตรฐาน หัวขอที่ 5 : ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้ง การติดตั้งทางไฟฟา ทางไฟฟา ในโรงงานอุตสาหกรรมได รวมทั้งสิ้น

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:45

-

0:45

1:00

-

1:00

1:00

-

1:00

4:30

-

4:30


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921520401 อุปกรณในระบบไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายชนิด คุณสมบัติ หลักการทํางาน และขอกําหนดของอุปกรณที่ใชในระบบไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

หลอดไฟฟา โคมไฟฟา สวิตชและเตารับ ตัวนําไฟฟา (Busbar, Busway) แผงจายไฟ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ.

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 อุปกรณในระบบไฟฟา งานติดตั้ง ทางไฟฟาตอ งมีก ารเลือ กใชวัส ดุอุปกรณที่ไดม าตรฐานที่ก ารไฟฟานครหลวงยอมรับ เพื่อ ความปลอดภัย เชน มาตรฐานเกี่ยวกับไฟฟาแสงสวาง มาตรฐานสวิตชและเตารับ และมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) เปนตน โดยหัวขอนี้จะกลาวถึงอุปกรณในระบบไฟฟา 5 ชนิด คือ 1 หลอดไฟฟา หลอดไฟฟา เปนอุปกรณที่ใชไฟฟาทําใหเกิดแสงสวาง ตามอาคาร บานเรือน ตลอดจนโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามลักษณะการทํางาน ไดแก หลอดอินแคนเดสเซนต (หลอดเผาไส) และหลอดปลอย ประจุ โดยแตละประเภทรายละเอียดของหลอดไฟแตละชนิด มีดงั นี้ 1.1 หลอดอินแคนเดสเซนต (Incandescent Lamp) หลอดอิน แคนเดสเซนต หรือ หลอดเผาไส เปน หลอดที่มีป ระสิท ธิผ ลต่ํา และอายุก ารใชง านสั้น ประมาณ 1,000 - 3,000 ชั่วโมง แตสามารถติดตั้งงายและมีราคาถูก หลอดประเภทนี้มีอุณหภูมิสีประมาณ 2,800 องศาเคลวิน ไสหลอดทําจากขดลวดทังสเตนบรรจุในหลอดแกว ขั้วหลอดมี 2 แบบ คือ ขั้วหลอดเกลียว และขั้วหลอดเขี้ยว ขนาดมาตรฐาน คือ 25, 40, 60, 80, 100 และ 120 วัตต การทํางานจะอาศัยการกําเนิดแสงจากความรอน โดยการใหกระแสไหลผาน ไสหลอดที่ทําดวยทังสเตนจนรอนแลวเปลงแสงออกมา แตใหประสิทธิผลการสองสวางต่ําราว 5 - 12 ลูเมนตอวัตต ขึ้นอยูกับวัตตของหลอด

ภาพที่ 1.1 หลอดอินแคนเดสเซนต

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.2 หลอดทังสเตนฮาโลเจน (Tungsten Halogen Lamp) หลอดทังสเตนฮาโลเจน เปนหลอดเผาไสชนิดหนึ่ง ที่มีป ระสิทธิภาพการสองสวางสูงกวาหลอดเผาไสธรรมดา โดยภายในหลอดแกวประกอบดวยไสทังสเตน แกสเฉื่อย และสารฮาโลเจน เพื่อปองกันขั้วหลอดดํา มีขนาด 20, 30, 35, 40, 50, 100 และ 250 วัตต สําหรับ แรงดันไฟฟา 12 และ 24 โวลต และขนาด 150, 250, 300, 500, 1,000, 1,500 และ 2,000 วัตต สําหรับแรงดันไฟฟา 220 โวลต มีอายุการใชงานประมาณ 1,000 - 2,000 ชั่วโมง และสามารถ ทํางานไดภายใตอุณหภูมิที่สูงมากขึ้น

ภาพที่ 1.2 หลอดทังสเตนฮาโลเจน 1.3 หลอดแอลอีดี (LED) หลอดแอลอี ดี หรื อ หลอดไดโอดเปลงแสง (Light Emitting Diode) ผลิตจากสารกึ่งตัวนํา โครงสรางภายใน มีลักษณะเปนรอยตอของสาร P และสาร N (PN Junction) สีของแสงที่เปลงออกมานั้นขึ้นอยูกับองคประกอบทางเคมี ของสารกึ่งตัวนําที่ใช หลอดชนิดนี้ใชงานกับไฟฟากระแสตรง ดังนั้น หากจะนํามาใชในอาคาร ตองมีอุปกรณแปลงไฟฟา กระแสสลับใหเปนกระแสตรงกอ นการใชง าน หลอดแอลอีดี มีคาประสิทธิผลประมาณ 40 - 45 ลูเ มนตอวัตต ทั้งนี้ สามารถเพิ่มกําลังการสองสวางของหลอดแอลอีดีได โดยการตอหลอดแอลอีดีเล็ก ๆ หลาย ๆ หลอดไวบนแผงเดียวกัน โดย มัก จะนํามาใชแทนหลอดทัง สเตน - ฮาโลเจน หรือ นําไปใชเ ปนไฟสอ งเฉพาะจุด เนื่อ งจากไมมีก ารแผรัง สียูวีและ อินฟราเรด การทํางานหลอด LED หรือไดโอดเปลงแสง โครงสรางประกอบไปดวยสารกึ่งตัวนําสองชนิด (สารกึ่งตัวนํา ชนิด N และสารกึ่งตัวนําชนิด P) ประกบเขาดวยกัน มีผิวขางหนึ่งเรียบคลายกระจกเมื่อจายไฟฟากระแสตรงผานตัว LED โดยจายไฟบวกใหขาแอโนด (A) จายไฟลบใหขาแคโทด (K) ทําใหอิเล็กตรอนที่สารกึ่งตัวนําชนิด N มีพลังงานสูงขึน้ จนสามารถวิ่ง ขามรอยตอ จากสารชนิด N ไปรวมกับ โฮลในสารชนิด P การที่อิเ ล็ก ตรอนเคลื่อ นที่ผานรอยตอ PN ทําใหเกิดกระแสไหล เปนผลใหระดับพลังงานของอิเล็กตรอนเปลี่ยนไปและคายพลังงานออกมาในรูปคลื่นแสง 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.3 หลอดแอลอีดี (LED) 1.4 หลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Lamp) หลอดฟลูออเรสเซนต หรือหลอดเรืองแสง เปนหลอดปลอยประจุความดันไอต่ํา มีสีของหลอด 3 สี คือ Daylight, Cool White และ Warm White หลอดชนิดนี้ที่ใชงานกันทั่วไปคือ แบบ Linear ขนาด 18 และ 36 วัตต และ Circular 22, 32 และ 40 วัตต ซึ่งมีประสิทธิผลประมาณ 50 - 90 ลูเมนตอวัตต ซึ่งจัดวาสูงพอสมควร และประหยัดคาไฟฟา เมื่อ เทียบกับหลอดอินแคนเดสเซนต ซึ่งมีคาประมาณ 5 - 13 ลูเมนตอวัตต และมีอายุการใชงาน 9,000 - 12,000 ชั่วโมง นอกจากนี้ ในปจจุบันมีการพัฒนาหลอดฟลูออเรสเซนตรุนใหมที่มีการสองสวางสูงและมีขนาดเล็กมาก คือ มีเสนผาน ศูนยกลางเพียง 16 มิลลิเมตร มีรหัสเรียกวา หลอด T5 การทํางานจะอาศัยพลังงานจากแสงอัลตราไวโอเลต ซึ่งเกิดจาก การที่ไอปรอทที่บรรจุไวในกาชเฉื่อย เชน กาชอารกอน คริปตอน หรือ นีออนที่ความดันต่ํา ไดรับ การกระตุนจากแหลง ปลดปลอยพลังงานใหไอปรอทปลดปลอยพลังงานออกมา แสงอัลตราไวโอเลตที่เปลงออกมานี้จะกระทบเขากับผิวใน หลอดแกวที่อาบไวดวย สารเรืองแสงที่เรียกวา ฟอสเฟอร ตัวสารเรืองแสงนี้จะทําหนาที่เปลี่ยนแสงอัลตราไวโอเลตซึ่งไม สามารถมองเห็นดวยตาเปลาไดใหกลายมาเปนแสงสวางที่มนุษยมองเห็น

ภาพที่ 1.4 หลอดฟลูออเรสเซนต 1.5 หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต (Compact Fluorescent Lamp) หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต หรือหลอดตะเกียบ เปนหลอดปลอยประจุความดันไอต่ํา มีสีของหลอด 3 สี คือ Daylight, Cool White และ Warm White เชนเดียวกันกับหลอดฟลูออเรสเซนต หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต ที่ใชงานกันมากคือ หลอดเดี่ยว มีขนาดวัตต 5, 7, 9 และ 11 วัตต และหลอดคู มีขนาดวัตต 10, 13, 18 และ 26 วัตต โดย 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เปนหลอดที่พัฒนาขึ้นมาแทนที่หลอดอินแคนเดสเซนต มีประสิทธิผลสูงกวาหลอดอินแคนเดสเซนต คือ ประมาณ 35 - 80 ลูเมนตอวัตต และมีอายุการใชงานประมาณ 7,500 - 10,000 ชั่วโมง

ภาพที่ 1.5 หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต 1.6 หลอดโซเดียมความดันไอต่ํา (Low Pressure Sodium Lamp) หลอดโซเดียมความดันไอต่ํา มีสีเหลืองจัดและมีประสิทธิผลมากที่สุดคือ มีประสิทธิผลประมาณ 100 - 180 ลูเมนตอวัตต แตความถูก ตอ งของสีนอ ยที่สุด คือ มีความถูก ตอ งของสีเ ปน 0 - 20% ขอ ดีของแสงสีเหลือง คือ เปนสีที่มนุษย สามารถมองเห็น ไดดีที่สุด หลอดประเภทนี้จึง เหมาะที่จ ะใชเ ปน ไฟถนน และยัง มีอ ายุก ารใชง านนานประมาณ 22,000 - 24,000 ชั่วโมง มีขนาดวัตต 18, 35, 55, 90, 135 และ 180 วัตต

ภาพที่ 1.6 หลอดโซเดียมความดันไอต่ํา 1.7 หลอดโซเดียมความดันไอสูง (High Pressure Sodium Lamp) หลอดโซเดี ย มความดั นไอสู ง มี ป ระสิ ท ธิผ ลรองจากหลอดโซเดีย มความดันต่ํา คือ มีป ระสิท ธิผ ลประมาณ 70 - 130 ลูเ มนต อวั ตต แต มี ความถู กต องของสีดีกวาหลอดโซเดียมความดันไอต่ํา คือ 30 - 50% และมีอุณหภูมิสี ประมาณ 2,500 เคลวิน มีอายุการใชงานประมาณ 18,000 - 24,000 ชั่วโมง มีขนาดวัตต 50, 70, 100, 150, 250, 400 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

และ 1,000 วัตต โดยทั่วไปใชกับ งานระบบแสงสวางภายนอกอาคาร เชน ไฟบริเ วณลานจอดรถ ไฟถนน เป น ตน การทํา งานของหลอดชนิ ด นี้ถู ก พัฒ นามาจากหลอดแสงจั นทร ให แ สงในโทนสี เ หลือ งทองจาง ๆ มีประสิทธิภาพ การสอ งสวางสูง กว าเล็ ก น อ ย และเนื่ อ งจากรูป ทรงของ Arc Tube เล็ก เรียว ยาว ทําใหจุดหลอดไมส ามารถใช Starting Electrode ได จึง ใชวงจรอิเล็กทรอนิกสเขามาชวยในการจุดหลอด เรียกวา อิก ไนเตอร รวมกับบัลลาสต เพื่อจายแรงดันไฟฟาแรงสูง ทําใหเกิดการเบรกดาวนและจุดหลอดใหติด โดยใชเวลาประมาณ 3 – 7 นาที หลอดจึงสวางเต็มที่

ภาพที่ 1.7 หลอดโซเดียมความดันไอสูง 1.8 หลอดแสงจันทร (Mercury Vapor Lamp) หลอดแสงจัน ทร หรือ หลอดไอปรอทความดัน ไอสูง มีป ระสิท ธิผ ลใกลเ คีย งกับ หลอดฟลูอ อเรสเซนต คือ ประมาณ 30 - 60 ลูเมนตอวัตต แสงที่ออกมามีความถูกตองของสีประมาณ 60% สวนใหญใชแทนหลอดฟลูออเรสเซนต เมื่อตองการกําลังไฟ (วัตต) สูง ๆ ในพื้นที่ซ่ึงมีเพดานสูง มีอุณหภูมิสีประมาณ 4,000 - 6,000 เคลวิน และมีอายุการใชงาน ประมาณ 20,000 - 24,000 ชั่ วโมง มี ขนาดวั ตต 50, 80, 125, 250, 400, 700 และ 1,000 วั ตต การทํ างาน เมื่ อ จาย แรงดันไฟฟาใหกับหลอด จะตกครอม Starting Electrode และ Main Electrode โดยมี Starying Resistor ทําหนาที่ จํากัดกระแส จะเริ่มทําใหเกิดการแตกตัวของแกสที่อยูภายในเกิดความรอนขึ้นเรื่อย ๆ ปรอทบางสวนจะกลายเปนไอ จนกระทั่งความตานทานของแกสที่อยูระหวาง Main Electrode ต่ํากวาความตานทานของ Starting Electrode ก็จ ะเกิด การแตกตัว หรื อ เกิ ด การอาร ก ขึ้ นอยางตอ เนื่อ งระหวาง Main Electrode ขณะที่ Starting Electrode ก็จ ะคอย ๆ ถูกตัดออกไป และเมื่อเม็ดปรอทกลายเปนไอมากขึ้นอะตอมของปรอทจะคายรังสีอัลตราไวโอเลตออกมา กระทบกับสารเคลือบเรืองแสงหรือฟอสเฟอร ทําใหตาคนเรามองเห็นไดโดยใชเวลาประมาณ 2 – 4 นาที

ภาพที่ 1.8 หลอดแสงจันทร

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.9 หลอดเมทัลฮาไลด (Metal Halide Lamp) หลอดเมทัลฮาไลด จัดเปนหลอดความดันไอสูง มีลัก ษณะคลายหลอดแสงจันทร โดยหลอดชนิดนี้มีขอ ดี คือ ความถูก ตอ งของสีส ูง และมีส เปกตรัม แสงทุก สี ซึ่ง ทํา ใหส ีท ุก ชนิด เดน แสงที่อ อกมาอาจมีอ ุณ หภูม ิส ีตั ้ง แต 3,000 - 4,500 องศาเคลวิน (ขึ้นอยูกับขนาดของวัตต) สวนใหญนิยมใชกับ โชวรูมรถยนต หรือสนามกีฬา เปนตน มีอ ายุการใชงานประมาณ 8,000 - 15,000 ชั่วโมง และมีขนาดวัตต 100, 125, 250, 300, 400, 700 และ 1,000 วัตต การทํางานคลายกับหลอดแสงจันทร คือ การจุดติดหลอดตองใชชวงระยะเวลาหนึ่ง มีคาประสิทธิผลของการสองสวาง สูงกวามาก แตการจุดติดตองใชแรงดันไฟฟาที่สูงขึ้นอีกเชนกัน โดยใชเวลาประมาณ 4 – 6 นาที หลอดจึงจะสวางเต็มที่

ภาพที่ 19 หลอดเมทัลฮาไลด 2 โคมไฟฟา โคมไฟฟา เปนอุปกรณที่ใชจับยึดหลอดไฟฟา อุปกรณประกอบ และทอตอวงจรของหลอดไฟฟา เพื่อกระจาย กรอง หรือ สะทอ นแสงสวางจากหลอดไฟฟา รวมถึง ปอ งกันหลอดและบังคับทิศทางแสงของหลอดไฟฟาใหไปในทิศทางที่ตองการ โคมไฟฟามีหลากหลายชนิดขึ้นอยูกับการใชงาน โดยโคมไฟฟาที่ใชกันอยางแพรหลาย มีดังนี้ 2.1 โคมไฟฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Luminaire) มีหลายรูปแบบ ซึ่งเหมาะกับงานที่แตกตางกัน โดยรูปแบบที่นิยมใชกันมากไดแก 2.1.1 โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบเปลือย (Bare Type Luminaire) โคมไฟฟลูอ อเรสเซนตแบบเปลือ ย ใหแสงในลัก ษณะออกทางดานขาง เหมาะสําหรับติดตั้งเพดาน ที่สูง ไมเกิน 4 เมตร เชน หองเก็บของ ที่จอดรถ พื้นที่ใชงานไมบอยและไมตองการความสวยงาม เปนตน

ภาพที่ 1.10 โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบเปลือย

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.1.2 โคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง (Diffuser Luminaire) โคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง โดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ แบบเกร็ดแกว แบบขาวขุน และแบบผิวสม โคมประเภทนี้ มี ทั้ ง แบบติ ดตั้ ง ฝ ง ฝ า ติดลอย เหมาะกับ การใชง านที่ไมตอ งการแสงสวางมาก เชน ในพื้นที่ โรงพยาบาลที่ไมใหแสงรบกวนคนไข และมีประสิทธิภาพต่ํา ไมเหมาะกับการประหยัดพลังงาน

ภาพที่ 1.11 โคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง 2.1.3 โคมไฟฟลูออเรสเซนตตะแกรง (Louver Luminaire) โคมไฟฟลูออเรสเซนตตะแกรง ซึ่งตะแกรงโดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ แบบขวาง แบบชองถี่ และแบบพาราโบลิก โดยโคมไฟชนิดนี้มีทั้ง แบบติดลอยและแบบฝง ฝา มีสวนประกอบเปนตัวขวางซึ่ง ชวยลดแสงบาดตา และ แผนสะทอนแสงดานขางที่ชวยในการควบคุมการสะทอนแสงไปในทิศทางที่ตองการ โดยทั่วไปแผนสะทอนแสง และตัวขวางจะทําจากอะลูมิเนียม มีทั้งแบบกระจายและแบบเงา

ภาพที่ 1.12 โคมไฟฟลูออเรสเซนตตะแกรง 2.1.4 โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Type Luminaire) โคมไฟฟลู อ อเรสเซนต แ บบโรงงานอุ ต สาหกรรมเป น โคมที่ มี แ ผ น สะท อ นแสง เพื่ อ ควบคุ ม แสง ใหไปในทิ ศทางที่ ตอ งการ แผ นสะท อ นแสงอาจทําจากแผนอะลูมิเนียม แผนเหล็ก พนสีขาว หรือ วัส ดุอื่นที่ มีก ารสะทอนแสงสูง

ภาพที่ 1.13 โคมไฟฟลูออเรสเซนตโรงงานอุตสาหกรรม 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.2 โคมไฟดาวนไลท (Downlight Luminaire) โคมไฟดาวนไลทท หรือ โคมไฟสอ งลง ใชไ ดกับ หลอดไฟหลายชนิด เชน หลอดเผาไสธรรมดา หลอดเผาไส แบบสะทอนแสง หลอดฮาโลเจน เปนตน โดยติดตั้งบนพื้นผิวเพดานหรือติดตั้งแบบฝงฝาเพดาน แสงสวางจะสองใต ดวงโคมและมีการกระจายแสงดานขางเล็กนอย

ภาพที่ 1.14 โคมไฟดาวนไลท 2.3 โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง สามารถใชไดกับหลอดปลอยประจุความดันไอสูง เชน หลอดเมทัลฮาไลด และหลอดโซเดี ย มความดั น ไอสู ง เป น ต น โคมไฟประเภทนี้สว นใหญจ ะมีตัว สะทอ นแสงเปน แบบอะลูมิเ นียม หรือ ตัวหัก เหแสงพลาสติก ซึ่ง ขึ้นอยูกับการใชง านในแตละอุตสาหกรรม และระดับ ความสูงของการกระจายแสงที่ ตองการ ซึ่งการกระจายแสงของโคมไฟชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ โคมแบบลําแสงกวาง เหมาะสําหรับการติดตั้งที่ความ สูงระดับ 4 - 7 เมตร สวนโคมแบบลําแสงแคบ เหมาะสําหรับการติดตั้งที่ความสูงประมาณ 6 เมตร

ภาพที่ 1.15 โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง 2.4 โคมไฟสาดสอง (Floodlight Luminaire) โคมไฟสาดสอง หรือโคมไฟฟลัดไลท ใชกับหลอดกาซดิสชารจความดันสูง ตัวโคมสามารถกันน้ําได การกระจายแสง มีทั้ง แบบกวาง แบบแคบ และแบบปรับทิศทางไดตามการใชง าน สวนใหญใชสําหรับใหแสงสวางภายนอกอาคาร เชน สนามกีฬาทั้งสนามกลางแจงและในรม

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.16 โคมไฟสาดสอง 2.5 โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน (Emergency Light) โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เปนโคมที่มีอุปกรณสําหรับการใหแสงสวางฉุกเฉินในกรณีที่แสงปกติลมเหลว หรือ เมื่อเครื่องปองกันกระแสเกินเปดวงจร ใหแสงสวางที่เพียงพอตอการหนีภัยอยางปลอดภัย ทั้งนี้ วงจรไฟฟาสําหรับโคม ชนิด นี้จ ะตอ งแยกเป น อิ ส ระจากอุ ป กรณ ไ ฟฟา อื่น ๆ สํา หรับ แบตเตอรี่ที่ใ ชจ ะเป น ชนิ ด ป ด ผนึ ก และไมต อ งมี การบํารุง รัก ษา สามารถจายไฟฟาสํารองฉุกเฉินสําหรับทางเดิน หองโถง และบันได ไดตอเนื่องไมนอยกวา 120 นาที

ภาพที่ 1.17 โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน 2.6 โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน (Emergency Exit Sign) โคมไฟฟาปายทางออกฉุก เฉิน เปนโคมไฟฟาชุดสําเร็จ ที่ใหความสวางกับ ปายทางออกฉุก เฉินหรือ ทางหนีไฟ ไปยัง ภายนอกอาคาร เพื่ อ ใหเ ห็ นได อ ย างชัดเจนทั้ง ในสภาวะปกติและสภาวะฉุก เฉิน มีแ หลง จา ยไฟสํารองในตัว ซึ่งตองจายไฟสําหรับปายทางออกฉุกเฉินไดตอเนื่องไมนอยกวา 120 นาที

ภาพที่ 1.18 โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3 สวิตชและเตารับ 3.1 สวิตช สวิตช เปนอุปกรณสําหรับตอหรือตัดกระแสไฟฟาในวงจรเดียวหรือหลายวงจร ซึ่งตามมาตรฐาน มอก. 824-551 ครอบคลุม สวิต ชสํา หรับ จุด ประสงคทั่ว ไปใหทํ า งานดว ยมือ เฉพาะไฟฟา กระแสสลับ เทา นั ้น โดยกํ า หนดใหมี แรงดันไฟฟาที่ไมเกิน 440 โวลต และกระแสไฟฟาไมเกิน 63 แอมแปร ใชในที่อยูอาศัยและสิ่งติดตั้งทางไฟฟายึดกับที่ ซึ่ง คลายกันทั้ง ภายในและภายนอกอาคาร ทั้ง นี้ส วิตชที่มีขั้วตอ แบบไรห มุดเกลียวตอ งมีก ระแสไฟฟาสูง สุดไมเกิน 16 แอมแปร การทํางานของสวิตชจะตัดตอวงจรไฟฟาเพื่อ ใหมีการจายแรงดันเขาวงจรหรืองดจายแรงดันเขา วงจร โดยมีแรงดันจายเขาวงจรเมื่อสวิตชตอวงจร (Close Circuit) และไมมีแรงดันจายเขาวงจรเมื่อสวิตชตัดวงจร (Open Circuit)

ภาพที่ 1.19 ตัวอยางสวิตช 3.2 เตารับ (Receptacle) มาตรฐานที่เกี่ยวของ คือ มอก. 166-2549, มอก. 2162-2547, IEC 60884-1 โดยมีพิกัดแรงดันมาตรฐานมากกวา 50 V ไมเ กิน 440 V และมีพิกัดกระแสมาตราฐาน 2.5, 6, 10, 16 และ 32 A ซึ่ง ขอ มูล โดยทั่วไปของมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมดัง กลาว จะครอบคลุม เตาเสียบและเตารับ ยึดกับ ที่หรือ เตารับ หยิบยกได ใชสําหรับ ไฟฟา กระแสสลับ ที่ม ีแ รงดัน ไฟฟา ที่กํา หนดมากกวา 50 V ไมเ กิน 440 V และมีก ระแสไฟฟา ที่กํา หนดไมเ กิน 32 A ดังภาพที่ 1.20 เหมาะสําหรับการใชในที่อยูอาศัยและงานทัว่ ไปที่มีจุดประสงคคลายกัน ทั้งภายในอาคารและภายนอกอาคาร ที่ม ีอ ุณ หภูมิโ ดยรอบตามปกติ ไ มเ กิน 40 องศาเซลเซีย ส ในกรณีเ ปน เตา รับ ยึด กับ ที่มีขั้วตอ แบบไรหมุดเกลียว กระแสไฟฟาที่กําหนดสูงสุดจํากัดไวที่ 16 แอมแปร

ภาพที่ 1.20 ตัวอยางเตารับ

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4 ตัวนําไฟฟา 4.1 บัสเวย (Busway) หรือบัสดักต (Busduct) คือ บริภัณฑไฟฟาที่ใชในการนําพลังงานไฟฟาปริมาณมาก ๆ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง บัสเวยประกอบดวย ตัว นํา บัส บารบ รรจุ ภ ายในกล อ งหุ ม พร อ มบริภัณ ฑชว ยอีก หลายอยา ง เพื่อ ใหส ามารถสง พลัง งานไฟฟา ไปยัง จุด ที่ตองการได บัสเวยทําหนาที่คลายสายไฟฟาแตมันจะมีความคลองตัวสูงกวา เพราะสามารถตอแยก (Tap) ออกไปใชงานได ตลอดความยาวของบัสเวย โดยสามารถแบงรูปแบบของบัสเวยได ดังนี้ แบงตามลักษณะของกลองหุม สามารถแบงออกเปน 2 แบบ คือ - แบบมีรูระบายความรอน (Ventilated Type) บัสเวยแบบนี้ตองติดตั้งตามลักษณะที่ผูผลิตกําหนดใหเทานั้น - แบบปดมิดชิด (Totaly Enclosed Type) สามารถติดตั้ง ไดทุก ลัก ษณะโดยไมตอ งลดพิกัดกระแส เพราะสามารถระบายความรอนไดทุกลักษณะการติดตั้ง วัสดุแปลกปลอมตาง ๆ เชน ฝุนละออง น้ํา และ แมลงไมอ าจเล็ด ลอดเขา ไปภายในกลอ งหุม ได บัส เวยแ บบมิด ชิด จะมีข นาดเล็ก มีอ ิม พีแ ดนซต่ํา เนื่องจากตัวนําบัสบารอยูชิดกันมาก แบงตามการใชงาน สามารถแบงออกเปน 2 แบบ คือ - Feeder Busway คือ บัสเวยที่ใชในการสงพลังงานไฟฟาปริมาณมาก ๆ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยระหวางทางวิ่งจะไมมีการตอแยกไฟไปใช บัสเวยแบบนี้มีอิมพีแดนซต่ําและสมดุล เพื่อควบคุมแรงดัน ที่จุดใชไฟฟา

ภาพที่ 1.21 Feeder Busway - Plug-in Busway คือ บัส เวยที่ใชในการสง พลัง งานไฟฟาปริม าณมาก ๆ เหมือ น Feeder Busway แตตางกันที่มันมีจุดแยกตลอดความยาว ซึ่งสามารถตอไปยังโหลดไดจึงดูคลายแผงจายไฟที่ยาวออกไป

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.22 Plug-in Busway 4.1.1 การเลือกแบบและพิกัดบัสเวย ในการเลือกใชบัสเวยของแตละงาน ตองพิจารณาความตองการ ดังนี้ - ใชภายในหรือภายนอกอาคาร บัสเวยสวนมากเปนแบบใชภายในอาคาร (Indoor) ในบริเวณที่ความชื้นหรือน้ําเขาไมถึง ถาบัสเวย ตองเดินผานภายนอกอาคารหรือบริเวณที่อาจมีน้ํารั่วหรือเขาถึงได ตองใชบัสเวยแบบภายนอกอาคาร (Outdoor) บัสเวยแบบนี้จะทําขึ้นพิเศษ โดยจะมีการปองกันน้ําตามจุดตอตาง ๆ - พิกัดกระแส เนื่องจากบัสเวยเปนที่นิยมใชกันมากในการเดินไฟฟาของอาคารพาณิชยและโรงงานอุตสาหกรรม จึงมีพิกัดกระแสกวางมาก คือ มีขนาดตั้งแต 100 - 5000 A คา พิก ัด กระแสของบัส เวยเ ปน คา ตอ เนื ่อ ง (Continuous Rating) โดยคิดที่ อุณหภูมิโดยรอบ 40°C และมีอุณหภูมิเพิ่มไมเกิน 55°C - แรงดันตก คาพิกัดกระแสตอเนื่องดังที่กลาวมาแลวไมไดคํานึงถึงคาแรงดันตก ถาบัสเวยเดินเปนระยะไกล ๆ จําเปนตองคํานึงถึงแรงดันตกควบคูไปกับกระแสพิกัด ถาแรงดันตกมากเกินไป อาจตองพิจารณา เพิ่มบัสเวยที่มีพิกัดกระแสสูงขึ้น - การทนตอกระแสลัดวงจร บัส เวยจะตองสามารถทนแรงแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Force) และความรอนได เมื่อ เกิดลัดวงจร ปริมาณกระแสลัดวงจรจะขึ้นอยูกับขนาดของหมอแปลงตนทาง ดังนั้นผูออกแบบ ระบบไฟฟาจะตองเลือกบัสเวยที่มีพิกัดกระแสลัดวงจรที่เหมาะสม

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4.1.2 การลดขนาดพิกัดบัสเวย บัสเวยอาจลดขนาดพิกัดกระแสลงไดโดยไมจําเปนตองมีบริภัณฑปองกัน ถาบัสเวยอันเล็กที่ตอ ออกไป มีขนาดพิกัดไมนอยกวาของบริภัณฑปองกันตนทาง และตอออกไปไมเกิน 50 ft (15.2 m) 4.2 บัสบาร (Busbar) ทางไฟฟาใชอธิบาย “จุดรวมของวงจรจํานวนมาก” โดยจุดรวมของวงจรนั้น จะมีวงจรไฟฟาจายกระแสไฟฟา เขาวงจรนอย และมีวงจรไฟฟาที่จายกระแสไฟฟาออกจํานวนมาก จึงมีการนําบัสบารไปใชในสถานีไฟฟา ตู MDB หรือ แผงสวิตช เนื่องจากจะตองรับและจายกระแสไฟฟาปริมาณมาก ทําใหเกิดแรงแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Force) สําหรับการเลือกใชบัสบารนั้น ตองสามารถทนแรงเหลานี้ได สวนวัสดุที่นํามาใชผลิตตองมีคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล ที่เหมาะสม โดยพิจารณาเบื้องตนจาก คุณสมบัติดังนี้ โลหะที่จะนํามาใชเปนบัสบาร ควรมีคุณสมบัติดังนี้ - ความตานทานต่ํา - ความแข็งแรงทางกลสูงในดานแรงดึง แรงอัด และแรงฉีก - ความตานทานตอ Fatigue Failure สูง - ความตานทานของ Surface Film ต่ํา - การตัด ตอ หรือดัดไดสะดวก - ความตานทานตอการกัดกรอนสูง ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติเพื่อใชในการพิจารณาเลือกวัสดุมาใชผลิตบัสบาร

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4.2.1 ชนิดของการจัดวางระบบบัสบาร 1) แบบ Single Bus Scheme

ภาพที่ 1.23 ระบบบัสบารแบบ Single Bus Scheme 2) แบบ Two - Bus, One Breaker Scheme

ภาพที่ 1.24 ระบบบัสบารแบบ Two - Bus, One Breaker Scheme

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3) แบบ Doulble Bus, Double Breaker Scheme

ภาพที่ 1.25 ระบบบัสบารแบบ Doulble Bus, Double Breaker Scheme 4) แบบ Ring Bus Scheme

ภาพที่ 1.26 ระบบบัสบารแบบ Ring Bus Scheme

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5) แบบ Breaker - and - A Half Scheme

ภาพที่ 1.27 ระบบบัสบารแบบ Breaker - and - A Half Scheme 4.2.2 การติดตั้งระบบบัสบาร สวนใหญจะนิยมติดตัง้ ทั้งภายนอกและภายในอาคาร ดังนี้ 1) การติดตั้งภายในอาคาร (Indoor or Metalclad Type) ใชกับระบบแรงดันปานกลาง ถาหากใช SF6 เป น ฉนวนไฟฟ า และแยกเฟสอยา งเด็ด ขาด สามารถใชกับ ระบบแรงดัน สูง ๆ ได 2)

ไมมีโอกาสเกิดความผิดพรองระหวางเฟส แตมีโอกาสเกิดความผิดพรองลงดิน การติดตั้งภายนอกอาคาร (Outdoor Type) ใชกับการติดตั้งบัส ที่มีสถานที่มาก ๆ โดยใชอากาศ เปนฉนวน

5 แผงจายไฟ (Panelboard) แผงจายไฟแบงออกเปน 3 ขนาด ดังนี้ 5.1 แผงสวิตช (Switchboards) แผงสวิตช (Switchboards) หรืออาจเรียกวา Main Distribution Board (MDB) หรือ Main Distribution Panel (MDP) เปนแผงจายไฟขนาดใหญที่รับไฟจากการไฟฟา หรือจากดานแรงดันต่ําของหมอแปลง เพื่อไปจายโหลดตาง ๆ เชน แผงยอย (Panelboard) MCC เปนตน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5.1.1 สวนประกอบ เนื่ อ งจากแผงสวิ ตช เป นแผงจ ายไฟที่มีขนาดใหญ สวนมากจึง เปนแบบตั้งพื้น ซึ่ง ปจ จุบันมีการสราง ตูจายไฟขนาดมาตรฐาน หรือเปนแบบ Modular ที่มีความสูงประมาณ 2,000 - 2,200 mm ขนาดความกวางและ ความหนาอาจแตกตางกันตามบริษัทผูผลิต ซึ่งความหนาจะตองคํานึงถึงขนาด และจํานวนของบริภัณฑปองกัน แผงสวิตช ดังภาพที่ 1.28

ภาพที่ 1.28 ลักษณะภายนอกของแผงสวิตซ สวนประกอบที่สําคัญของแผงสวิตช มีดังนี้ 1) โครงหอหุม (Enclosure) ทํามาจากแผนโลหะ (Steel Sheet) ที่มีการปรับปรุงคุณสมบัติตาง ๆ มาเรียบรอย โดยคุณสมบัติที่สําคัญของโครงหอหุม คือ - คุ ณ สมบั ติ ท างกล ตอ งสามารถรับ แรงทางกลจากภายนอกไดเ พียงพอตอ สภาพ การใชงานจริงและตองทนตอสภาพการใชงานในภาวะไมปกติได - คุณสมบัติทางความรอน ตองสามารถทนตอความรอนที่อาจเกิดขึ้นได ทั้งที่เกิดจาก สภาพแวดลอม ความรอนจากการเกิดการผิดพรองในระบบ และความรอนจากอารก ที่เกิดจากการลัดวงจร - คุณสมบัติตอการกัดกรอน เชน การกัดกรอนทางเคมีหรือความชื้น เปนตน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5.1.2 มาตรฐานของแผงสวิตช มาตรฐานของแผงสวิ ต ช ที่ สํ า คั ญ คื อ มาตรฐาน IEC 60439-1 “Low Voltage Switchgear and Controlgear Assemblies” ซึ่งมีการทดสอบที่สําคัญ 2 แบบ คือ การทดสอบประจํา (Routine Test) และ การทดสอบเฉพาะแบบ (Type Test) 5.1.3 การเลือกใชแผงสวิตช มีสงิ่ ที่ควรพิจารณา ดังนี้ 1) พิกัดแรงดันของแผงสวิตช 2) พิกัดกระแสของแผงสวิตช 3) พิกัดกระแสลัดวงจร สําหรับแผงสวิตชที่สําคัญ เชน ตู MDB, MCC ควรใชแบบที่มีการทดสอบ Type Test ดวย 5.2 ตูโหลดเซ็นเตอร (Load Center) ตูโ หลดเซ็นเตอร เปนแผงจายไฟขนาดกลาง ใชกับ ระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย แรงดันไมเกิน 240/415 โวลต แตว งจรยอ ยอาจเปนชนิด 1 เฟส หรื อ 3 เฟสก็ได จํา นวนวงจรยอ ยมีตั้ง แต 12 - 42 วงจร มีทั้ง แบบมีและไมมี เซอรกิตเบรกเกอรห ลั ก ตู ชนิ ดนี้ ส วนใหญ ใช ในบานขนาดใหญ โรงงานอุตสาหกรรม หรือ เปนแผงจายไฟยอ ยของ แต ละชั้นในอาคารสูง

(ก) ตูโหลดเซ็นเตอร

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

(ข) ลักษณะการตอวงจรภายใน ภาพที่ 1.29 ตัวอยางตูโหลดเซ็นเตอร และลักษณะการตอวงจรภายในของตูโหลดเซ็นเตอรชนิดมีเมนเซอรกิตเบรกเกอร 5.3 ตูคอนซูมเมอรยูนิท (Consumer Unit) ตูคอนซูม เมอร ยูนิท เป นแผงจ ายไฟขนาดเล็ ก สําหรับ ที่ อ ยู อ าศั ย ใชกับ ระบบไฟฟา 1 เฟส 2 สาย แรงดั น ไมเกิน 240 โวลต จํานวนวงจรยอยมีตั้งแต 4 - 18 วงจร เซอรกิตเบรกเกอรหลักสามารถระบุไดตามความตอ งการ ตั้งแต 16 - 100 แอมแปร

(ก) ตูคอนซูมเมอรยูนิท

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

(ข) ลักษณะการตอวงจรภายใน ภาพที่ 1.30 ตัวอยางตูคอนซูมเมอรยูนิท และลักษณะการตอวงจรภายใน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. หลอดไฟฟาในขอใด มีประสิทธิผลต่ําทีส่ ุด ก. หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต ข. หลอดทังสเตนฮาโลเจน ค. หลอดฟลูออเรสเซนต ง. หลอดอินแคนเดสเซนต 2. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับหลักการทํางานของหลอดฟลูออเรสเซนตไดถูกตอง ก. ใชอิกไนเตอรรวมกับบัลลาสต เพื่อทําใหเกิดการเบรกดาวนและจุดหลอดใหติด ข. ฟอสฟอรบนผิวหลอดแกว เปลี่ยนแสงอัลตราไวโอเลตเปนแสงสวางที่มนุษยมองเห็นได ค. เมื่อกระแสไหลผานไสหลอดทังสเตนจนรอน จะเปลงแสงออกมา ง. เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผานรอยตอ PN จะทําใหเกิดการคายพลังงานออกมาในรูปคลื่นแสง 3. การติดตั้งไฟทางบริเวณริมถนน ควรเลือกใชหลอดไฟชนิดใด ก. หลอดโซเดียมความดันไอต่ํา ข. หลอดฟลูออเรสเซนต ค. หลอดเมทัลฮาไลด ง. หลอดอินแคนเดสเซนต 4. โคมไฟชนิดใด เหมาะสําหรับการติดตั้งในบริเวณที่ไมตองการแสงสวางมาก ก. โคมไฟดาวนไลท ข. โคมไฟฟลัดไลท ค. โคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง ง. โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ตามมาตรฐาน มอก. 824-551 กําหนดให ส วิ ต ช สาํ หรับ จุด ประสงคทั่ วไป มีแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาเทาไร ก. แรงดันไฟฟา 100 – 470 V และกระแสไฟฟา 50 - 65 A ข. แรงดันไฟฟา 220 - 450 V และกระแสไฟฟาไมเกิน 100 A ค. แรงดันไฟฟาไมเกิน 440 V และกระแสไฟฟาไมเกิน 63 A ง. แรงดันไฟฟาไมเกิน 480 V และกระแสไฟฟาไมเกิน 73 A 6. การติดตั้งเตารับบริเวณภายนอกของบาน ตามมาตราฐาน มอก. 166-2549, มอก. 2162-2547 และ IEC 60884-1 กําหนดใหมีอุณภูมิโดยรอบตามปกติเทาไร ก. 0 - 45๐C ข. 1 - 45๐C ค. 50๐C ง. ไมเกิน 40๐C 7. ตามมาตราฐาน มอก. 166-2549, มอก. 2162-2547 และ IEC 60884-1 กําหนดใหใชเ ตารับ หยิบ ยกกับ ไฟฟ า กระแสสลับที่มีแรงดันไฟฟาเทาไร ก. 220 - 450 โวลต ข. 50 - 220 โวลต ค. มากกวา 100 แตไมเกิน 400 โวลต ง. มากกวา 50 แตไมเกิน 440 โวลต 8. ขอใด ไมใชตัวนําไฟฟา ก. เตารับ ข. บัสบาร ค. บัสเวย ง. สายไฟ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับการใชงานตูคอนซูมเมอรยูนิท 1. ใชกับระบบไฟฟา 3 เฟส 2. ติดตั้งในที่อยูอาศัยทั่วไป 3. เปนแผงจายไฟยอยของแตละชั้นในอาคารสูง 4. รองรับแรงดันไมเกิน 220 โวลต 10. ตูโหลดเซ็นเตอร สามารถรองรับแรงดันไฟฟาไดเทาไร ก. 220 - 420 โวลต ข. 240 – 350 โวลต ค. ไมเกิน 240 โวลต ง. ไมเกิน 240/415 โวลต

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921520402 อุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกิน (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายอุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกินได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ฟวส เซอรกิตเบรกเกอร สวิตชที่ใชในงานควบคุม หลอดสัญญาณ แมกเนติกคอนแทกเตอร รีเลย หลักดิน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. สุรกิจ มโนรัศมี. อุปกรณปองกันทางไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://e-learning.e- tech.ac.th/ learninghtml/E2104/unit06.html

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 อุปกรณตัดตอนและเครื่องปองกันกระแสเกิน ในการใชไ ฟฟา ถึ ง แม จ ะมี ก ารติ ด ตั้ ง อุ ป กรณตา ง ๆ ถูก ตอ งตามาตรฐานแลว ก็ยัง สามารถเกิด เหตุผิดปกติขึ้นได จึง จํา เปน ตอ งมีอ ุป กรณที่ส ามารถปอ งกัน หรือ ลดความเสีย หายที่เ กิด ขึ้น ได ในสว นนี้จึง จะกลา วถึง เครื่อ งมือ และ อุปกรณในการปองกันกระแสเกิน เพื่อไมกอใหเกิดการโหลดเกินหรือการลัดวงจร รวมถึงควบคุมการทํางานของเครื่องกลไฟฟา ใหทํางานตามความตองการไดอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยในการใชงาน โดยอุปกรณและเครื่องปองกัน ดังกลาว มีดังตอไปนี้ 1 ฟวส (Fuse)เปนอุปกรณที่ทําหนาที่ปองกันอุปกรณหรือวงจรไฟฟาไมใหไดรับความเสียหายจากความผิดปกติตาง ๆ แต เมื่อฟวสขาดหรือฟวสตัดไปแลวไมสามารถใชงานไดอีกในครั้งตอไป เชน โหลดเกิน หรือลัดวงจร เปนตน โดยฟวสตองมีพิกัด กระแสไมสูงกวาขั้ว รับ ฟว ส และทํา จากวัส ดุที่เ หมาะสม รวมถึง มีก ารปอ งกัน หรือ หลีก เลี่ย งการผุก รอ น ตอ งมี เครื่องหมายแสดงพิกัดแรงดันและกระแสใหเห็นอยางชัดเจนเนื่องจากมีการใชโลหะตางชนิดกัน ทั้งนี้ สามารถแบงฟวส ตามลักษณะการใชงานได 2 แบบ คือ ฟวสที่ใชกับ แรงดันสูง และฟวสที่ใชกับ แรงดันต่ํา ไมเ กิน 1,000 โวลต ไดแก ฟวสเสน ปลั๊กฟวส และคารทริดฟวส โดยมีรายละเอียดดังนี้

ภาพที่ 2.1 สัญลักษณฟวส 1.1 ฟวสเสน (Open Link Fuse) ฟวสเสนมีลักษณะเปนลวดเปลือย มีสวนผสมของดีบุกและตะกั่ว จุดหลอมละลายต่ํา โดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คือ ฟวสเ สนกลม และฟวสเ สนแบน หรือ เรียกวาฟวสกามปู ตาม มอก. 10-2549 จะใชรวมกับคัตเอาต (สวิส ตใบมีด) ฟวสเสนมีหลายมีขนาดใหเลือกใช เชน ฟวสเสนกลมเบอร 16 มีจุดหลอมละลาย 16 แอมแปร เบอร 18 มีจุดหลอมละลาย 10 แอมแปร และเบอร 20 มีจุดหลอมละลาย 7 แอมแปร เปนตน นอกจากนี้ยังมีฟวสชนิดกามปู ซึ่งการใชงานเหมือนกัน กับ แบบฟวสเสน นิยมใชกับวงจรไฟฟาภายในอาคาร เชน วงจรเตารับหรือวงจรแสงสวางที่มีขนาดโหลดไมเ กิน 30 แอมแปร เปนตน

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.2 ฟวสเสนกลม และฟวสกามปู 1.2 ปลั๊กฟวส (Plug Fuse) ปลั๊กฟวส เปนฟวสที่บรรจุอยูในกระปุกกระเบื้องรูปทรงกระบอกคลายขวด ภายในบรรจุทรายปองกันการอารกของ กระแส ใชงานรวมกับฐานฟวส โดยฐานฟวสมีขนาด 25, 63, 100 และ 200 แอมแปร สวนปลั๊กฟวสมีขนาด 2, 4, 6, 10, 16, 20, 25, 35, 50 และ 63 แอมแปร มีรุน E16, E27 และ E33 ตามฐานฟวส เมื่อ เลือ กใช ปลั๊ก ฟวสตอ งมี ขนาดกระแสนอยกวาขนาดฐานฟวส ซึ่งมีทั้งชนิดขาดเร็วและขาดชาใชในการปองกันมอเตอร

ภาพที่ 2.3 ปลั๊กฟวส 1.3 คารทริดฟวส (Cartridge Fuse) คารทริดฟวส สวนใหญมีรูปรางทรงกระบอก ทําจากกระเบื้องเคลือบแกวโดยมีฟวสบรรจุอยูภายใน มีหลายประเภท ตามมาตรฐานตาง ๆ ที่รับรอง เชน คารทริดฟวสตามมาตรฐาน UL พิกัดกระแส 5 - 600 แอมแปร แรงดัน 250 และ 600 โวลต เป น ต น เมื่ อ ฟ ว ส ข าดสามารถเปลี่ ย นไส ใ หม ไ ด คาร ท ริ ด ฟ ว ส ต ามมาตรฐาน IEC 269 จะเปน ประเภท D และ DO เปนฟวสจํากัดกระแส ขนาดกระแสจะไมเกิน 200 แอมแปร แรงดันไฟฟา 500 โวลต เปนฟวส ที่ออกแบบไวใชกับตัวฟวสตามขนาดที่กําหนด

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.4 คารทริดฟวส 2 เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit Breaker) เซอรกิตเบรกเกอร คือ อุปกรณที่ทําหนาที่ปลดวงจรเมื่อเกิดกระแสเกิน ซึ่งทําหนาที่เหมือนฟวส แตมีขอดีกวาฟวส คือ สามารถสับกลับมาทํางานใหมโดยไมตองเปลี่ยนใหมเหมือนฟวส และมีเครื่องหมายใหสังเกตไดวา เซอรกิตเบรกเกอรทํางาน ตัดวงจร เนื่องจากเกิดการลัดวงจรหรือมีผูไปกดขาโยกใหปลดวงจร ขอเสียของเซอรกิตเบรกเกอร คือ ราคาคอนขางสูง แต ม ีพิกัดตัดกระแสลัดวงจรต่ํ ากว าฟวสม าก โดยในที่นี้จะกลาวเฉพาะเซอรกิตเบรกเกอรแรงต่ําที่ใชในระบบไฟฟาที่มี แรงดันไฟฟาไมเกิน 1,000 โวลต 2.1 คาตาง ๆ ที่ใชสําหรับเซอรกิตเบรกเกอร 2.1.1 แอมแปรทริป (Ampere Trip – AT) คือ พิกัดกระแสปอ งกันปกติ ซึ่ง เปนคากระแสไฟฟ าที่ตั้งไวให อุปกรณปองกันการทํางาน เมื่อกระแสไฟฟาเกินกวาค าที่ตั้ง ไว มักแสดงคาไวที่ Name Plate หรือ ดามโยกของเซอรกิตเบรกเกอร เชน 15 AT 2.1.2 แอมแปรเฟรม (Ampere Frame – AF) คือ พิกัดการทนกระแสสูงสุด (แอมแปรทริป) ที่สูงสุดของ เซอรกิตเบรกเกอรรุนนั้น เชน 100 AF แอมแปรเฟรมมีประโยชน คือ สามารถเปลี่ยนพิกัดแอมแปรทริปได โดยที่ขนาด (มิติ) ของเบรกเกอรยังคงเทาเดิม 2.1.3 ขั้ว (Pole – P) คือ ขั้วของเซอรกิตเบรกเกอร โดยขั้วของเซอรกิตเบรกเกอร มีดังนี้ 1) เซอรกิตเบรกเกอร 1 ขั้ว ใชกับระบบ 1 เฟส ปองกันสายไลนเพียงอยางเดียว 2) เซอรกิตเบรกเกอร 2 ขั้ว ใชกับระบบ 1 เฟส ปองกันสายไลนและสายนิวทรัล 3) เซอรกิตเบรกเกอร 3 ขั้ว ใชกับระบบ 1 เฟส ปองกันสายไลนเพียงอยางเดียว 4) เซอรกิตเบรกเกอร 4 ขั้ว ใชกับระบบ 1 เฟส ปองกันสายไลนและสายนิวทรัล

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.1.4 พิกัดกระแสลัดวงจร (Interrupting Capacity – IC) คือ คากระแสลัดวงจรสูงสุดที่เซอรกิตเบรกเกอรทนได โดยไมเกิดความเสียหายจากการปลดวงจรที่กระแสไฟฟ าเกินคาแอมปทริป โดยปกติแลวจะกําหนด เปนคากิโลแอมป (kA) เชน 25 kA และสวนใหญจะแสดงที่แผนปายประจําเครื่องของเซอรกิตเบรกเกอร ซึ่งคา IC นั้นจะบอกใหทราบวา เบรกเกอรที่ใชมีความปลอดภัยมากนอยเพียงใด 2.1.5 ขนาดของเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรทั่วไปจะทํางานได ไมเ ต็มพิกัด ขึ้นอยูกับมาตรฐานการผลิต และปจจัยตาง ๆ เชนเดียวกับฟวส ตัวแปรที่สําคัญที่จะทําใหเซอรกิตเบรกเกอรทํางานผิดไปจากคาที่กําหนด คือ อุณหภูมิโดยรอบ ตามปกติแลวเซอรกิตเบรกเกอรจะทํางานตามพิกัดกระแสที่อุณหภูมิโดยรอบ 90˚C ถ าอุณหภูมิโ ดยรอบเปลี่ยนไป การทํางานก็จะเปลี่ยนไปดวย ซึ่ง โดยปกติเ ซอรกิตเบรกเกอร จะใชงานไมเกิน 80% ของพิกัดกระแส 2.2 เซอรกิตเบรกเกอรแรงต่ํา เซอรกิตเบรกเกอรแรงต่ํามีหลายชนิด และมีการติดตั้งที่แผงไฟฟาดังตอไปนี้ 2.2.1 เซอรกิตเบรกเกอรแบบกลองหุมหลอ (Molded case circuit breaker) เซอรกิตเบรกเกอรชนิดนี้ถูกหอหุมมิดชิด มีหนาที่หลัก 2 อยาง คือ เปนสวิตชที่เปดหรือปดวงจรดวยมือ และเปดวงจรโดยอัตโนมัติเมื่อกระแสเกินหรือลัดวงจร โดยเบรกเกอรจะอยูในภาวะ TRIP ซึ่งอยูกึ่งกลาง ระหวางตําแหนง ON และ OFF โดยสามารถ RESET ใหมไดดวยการกดคันโยกใหอยูในตําแหนง OFF เสียกอน แลวคอยโยกไปตําแนง ON 1) ชนิดของเซอรกิตเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอรมี 2 ชนิดที่ใชกันอยางแพรหลาย คือ - เซอรกิตเบรกเกอรแบบกลองหุมหลอชนิดตัดดวยความรอนและแมเหล็ก (Thermal Magnetic) จะมีอุปกรณปลดวงจร 2 สวนในตัวเดียวกัน คือ สวนความรอนที่ปลดวงจร เมื่อ กระแสเกินจากโลหะ 2 ชนิดที่สัม ประสิทธิ์ความรอ นไมเทากันเกิดการงอตัว เมื่อ กระแสเกิน สวนแมเ หล็ก ที่ปลดวงจร เมื่อ กระแสลัดวงจรจากสนามแมเหล็ก เกิดแรงดึงใหปลดวงจร

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.5 เซอรกิตเบรกเกอรแบบกลองหุมหลอชนิดตัดดวยความรอนและแมเหล็ก - เซอรกิตเบรกเกอรแบบกลองหุมหลอชนิดตัดดวยอิเล็กทรอนิกส (Electronic Trip) ใช อุ ป กรณ อิเล็กทรอนิกสวิเคราะห กระแสเพื่อสั่งปลดวงจร โดยมีหม อแปลงกระแส (Current Transformer : CT) อยู ภ ายในเซอร ก ิต เบรกเกอร ทํ า หนา ที่แ ปลง กระแสใหต่ําลงเพื่อ ใหไมโครโปรเซสเซอรวิเ คราะหก ระแส หากกระแสเกินจะสั่ง ขดลวดทริป ดึงอุปกรณทางกลใหเซอรกิตเบรกเกอรปลดวงจร บริเวณดานหนาของ เบรกเกอรชนิดนี้จะมีปุมปรับคากระแสปลดวงจร เวลาในการปลดวงจร และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดตั้งอุปกรณเสริมที่เรียกวา Amp Meter & Fault Indicator ซึ่งสามารถแสดงสาเหตุการ Fault ของวงจรและคากระแสได ทําใหทราบสาเหตุของ การปลดวงจรได

ภาพที่ 2.6 เซอรกิตเบรกเกอรแบบกลองหุมหลอชนิดตัดดวยอิเล็กทรอนิกส 2) โครงสราง และสวนประกอบของเบรกเกอร มีดังนี้ - Name Plate ปรากฎอยู ที่ ด  า นหน า หรื อ ด า นข า งของเบรกเกอร มั ก กํ า หนด รายละเอียดเกี่ยวกับเบรกเกอรนั้น ๆ เชน จํานวนขั้วแรงดันกระแสในสวนของกระแสนั้น

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

จะระบุ 3 จํานวน ประกอบดวย Ampere Trip, Ampere Frame และ Interruption Capacity

ภาพที่ 2.7 Name Plate - Arcing Chamber บางครั้งเรียกวา Arc Chute มีลักษณะเปนแผนโลหะวางซอ นกัน เปนชั้น ๆ อยูเหนือหนาสัมผัส (Contact) ของเบรกเกอร โดย Arcing Chamber ทําหนาที่ ในการชวยดับอารก

ภาพที่ 2.8 Arcing Chamber - หนาสัมผัส (Contact) นิยมทําดวยทองแดงเคลือบผิวหนาดวยเงิน เพื่อใหทนตอ เปลวอารกไดดี ประกอบดวย Fixed Contact และ Movable Contact

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.9 แสดงหนาสัมผัส (Contact)

ภาพที่ 2.10 แสดง Fixed Contact และ Movable Contact - กลไกตัดวงจร สําหรับเบรกเกอรขนาดเล็กทั่วไป แบงเปนกลไกที่อาศัยความรอน และ กลไกที่อาศัยอํานาจแมเหล็ก โดยกลไกลแบบอาศัยความรอนใชหลักการโกงตั วของ โลหะ Bimetal เพื่อปลดกลไก สวนกลไกลแบบอาศัยอํานาจแมเหล็ก จะใชแรงดึงดูด ของแมเหล็กไฟฟาของขดลวดที่กระทําตอแผนโลหะเพื่อปลดกลไก

ภาพที่ 2.11 กลไกลแบบอาศัยความรอน 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.12 กลไกลแบบอาศัยอํานาจแมเหล็ก 2.2.2 เซอรกิตเบรกเกอรแบบอากาศขนาดใหญ (Air Circuit Breaker) โดยทั่ ว ไปมี พิ กั ด กระแสตั้ ง แต 225–6,300 แอมป และมีค า Interrupting capacity (IC) ตั้ง แต 35–150 กิโลแอมป (kA) โครงสรางทั่วไปทําดวยเหล็ก มีชองดับอารกที่ใหญโตแข็งแรงเพื่อใหส ามารถ รับกระแสลัดวงจรจํานวนมากได มัก ใชอุปกรณอิเล็ก ทรอนิกสเปนตัวตรวจจับและวิเคราะหกระแส เพื่อปลดวงจร

ภาพที่ 2.13 เซอรกิตเบรกเกอรแบบอากาศขนาดใหญ 2.2.3 เซอรกิตเบรกเกอรที่ปองกันกระแสรั่ว (Earth Leakage) ภายในเซอร กิ ต เบรกเกอร มี ก ารปลดวงจรด ว ยชุ ด ความร อ นและชุ ด แม เ หล็ ก รวมทั้ ง อุป กรณ ตรวจกระแสไฟฟาวา มีการรั่วจากวงจรเกินกวาคาที่กําหนดหรือไม ถาเกินคาที่ตั้งไวก็จะสั่งปลดวงจรทันที โดยกระแสรั่วไหลจะกําหนดตายตัวไมสามารถปรับตั้งได เชน 10 mA, 15 mA, 30 mA เปนตน เนื่องจาก เปนเบรกเกอร ขนาดเล็กจึงมักใชปองกันวงจรย อย เชน วงจรแสงสวาง วงจรเตารับหรือเครื่องใชไฟฟา ขนาดเล็กทั่วไป นอกจากนี้ยังมีรุนที่สามารถปองกันไฟฟาดูดไดดวย เรียกวา Earth Leakage Circuit Breaker (ELCB) 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.14 เซอรกิตเบรกเกอรที่ปองกันกระแสรั่ว นอกจากนี้เครื่องตัดไฟรั่วในปจจุบันมีหลายผูผลิต อาจมีชื่อเรียกแตกตางกันไป เชน เครื่องตัดกระแสไฟรัว่ ลงดิน อัตโนมัติ เครื่องตัดวงจรไฟฟาเมื่อกระแสรั่วลงดิน เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ Ground Fault Circuit Interrupter (GFCI) และ Earth Leakage Circuit Breaker (ELCB) เปนตน

ภาพที่ 2.15 ตัวอยางเครื่องตัดไฟรั่ว 3 สวิตชที่ใชในงานควบคุม สวิตชที่ใชในงานควบคุมแบงออกเปนหลายชนิดตามการใชงาน ดังตอไปนี้ 3.1 สวิตชปุมกด (Push Button Switch) สวิตชปุมกด ทําหนาที่ตัดหรือตอวงจรไฟฟา เพื่อควบคุมการทํางานของมอเตอรโดยใชมือกด มีหนาสัมผัส (Contact) 2 ชุด คือ หนาสัมผัสแบบปกติเปด (Normally Open; NO) 1 ชุด และหนาสัมผัสแบบปกติปด (Normally Close; NC) 1 ชุด เมื่อใชมือกดและปลอยมือแลวหนาสัมผัสทั้งคูจะไมคางอยู โดยกลับคืนตําแหนงเดิมดวยแรงดันของสปริง ดังภาพที่ 2.16 โครงสรางภายนอกประกอบดวย 4 สวน คือ

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1) ปุมกดที่ทําดวยพลาสติก อาจเปนสีแดงหรือเหลือง ซึ่งขึ้นอยูกับการนําไปใชงาน 2) แหวนยึดหรือแหวนล็อก สําหรับยึดสวิตชเขากับตูควบคุม 3) ชุดกลไกลหนาสัมผัส 4) ยางรอง

ภาพที่ 2.16 สวิตชปุมกด และสัญลักษณปมุ กดปกติเปด - ปด 3.2 สวิตชเลือก (Select Switch) สวิตชเลือก เปนอุปกรณทใี่ ชในการควบคุมมอเตอร การทํางานเหมือนสวิตชปุมกด ตางกันที่สวิตชเลือกใชวิธีบิดหมุน เพื่อเลือกตําแหนง และตองบิดหมุนใหมเมื่อตองการเปลี่ยนตําแหนง สวนใหญจะใชในงานที่ตองควบคุมการทํางานดวยมือ

ภาพที่ 2.17 สวิตชเลือก 3.3 สวิตชความดัน (Pressure Switch) สวิตชความดัน ใชในงานที่ตองควบคุมความดันตามตองการ การทํางานจะใชหลักการของผนังบาง ๆ กั้นเปนพื้นที่ รับความดันเพื่อควบคุมการทํางานของสวิตชความดัน เชน ถามีความดันสูงเกินกวาที่ตั้งไว สวิตชความดันจะตัดวงจร หรือ ถาความดัน ต่ํากว าที่ ตั้ง ไว สวิ ตช ความดั นก็จ ะตอ วงจร เปนตน โดยสวิตชความดันจะติ ดตั้ ง ในวงจรควบคุ ม เพื่อ ทําหนาที่ตัดหรือ ตอวงจรไฟฟาที่ปอ นใหขดลวดของคอนแทคเตอร เพื่อ ใหม อเตอรของเครื่องอัดอากาศทํางาน หรือหยุดทํางาน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.18 สวิตชความดัน และสัญลักษณ 3.4 สวิตชจํากัดระยะ (Limit Switch) สวิตชจํากัดระยะ เปนอุปกรณสําหรับควบคุมหรือจํากัดระยะทาง ใชรวมกับคอนแทคเตอรโดยติดตั้งในวงจรควบคุม เพื่อ ทําหนาที่ตัดหรือ ตอ วงจรไฟฟาที่ปอ นใหขดลวดของคอนแทคเตอร เพื่อ ใหม อเตอรทํางานหรือ หยุดทํางานมี โครงสรางคลายสวิตชปุมกด ซึ่งการทํางานจะตองอาศัยแรงกดภายนอกมากระทํา ตัวอยางเชน การมีของวางทับที่ปุมกด หรือการมีลูกเบี้ยวมาชนที่ปุมกด เปนตน ตัวอยางการนําไปใชงานเชน การควบคุมการเคลื่อนที่ไปกลับของเครื่องไส ควบคุมการเคลื่อนที่ของลิฟต เปนตน

ภาพที่ 2.19 สวิตชจํากัดระยะ และสัญลักษณ 3.5 สวิตชลูกลอย (Float Switch) สวิตชลูกลอย เปนอุปกรณที่ใชในการควบคุมระดับความสูงหรือต่ําของของเหลวในถังควบคุม ใชรวมกับคอนแทคเตอร โดยติดตั้ง ในวงจรควบคุม เพื่อ ทําหนาที่ตัดหรือ ตอ วงจรไฟฟา ที่ปอ นใหขดลวดของคอนแทคเตอร เพื่อ ใหม อเตอร สูบ น้ําบาดาลทํางาน หรือหยุดทํางาน

ภาพที่ 2.20 สวิตชลูกลอย และสัญลักษณ 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3.6 ซีเล็คเตอรสวิตช (Selector Switch) ซีเล็คเตอรสวิตช เปนอุปกรณที่ใชควบคุมวงจรไฟฟา เพื่อใหกระแสไฟฟาไหลเขาวงจรหรือตัดกระแสไฟไมให ไหลผานวงจรไดตามที่ตองการ เปนสวิตชที่ใชงานกันมากในงานที่ตองควบคุมการทํางานดวยมือ โดยการบิดใหคอนแทคเตอร ที่อยูภายในเปลี่ยนสภาวะปด (NC) หรือเปด (NO)

ภาพที่ 2.21 ซีเล็คเตอรสวิตช 3.7 เซฟตี้สวิตช (Safety Switch) เซฟตี้สวิตชหรือสวิตชนิรภัย ตองปลดหรือสับวงจรไดพรอมกันทุก ๆ ตัวนําเสนไฟ และตองประกอบดวยฟวสเสน ปลั๊ก ฟวส และคารท ริดฟวส รวมอยูในกลอ งเดียวกัน และจะเปดฝาไดก็ตอ เมื่อ ปลดวงจรแลว หรือ การเปดฝานั้น เปนผลใหวงจรถูกปลดดวย และตองสามารถปลดหรือสับกระแสใชงานในสภาพปกติได เซฟตี้สวิตชเปนอุปกรณปองกัน และควบคุมวงจรไฟฟาอีกชนิดหนึ่ง จะมีทั้งแบบที่มีฟวสในตัวและแบบที่ไมมีฟวส ถาเปนแบบมีฟวสใชรวมกับคารทริดฟวส ทั้ง แบบปลอกหุมขั้วและแบบใบมีด มีฐ านยึดฟวสที่มีขนาดแปรตามพิกัดของกระแสและแรงดันไฟฟาที่จะใชรวมกัน ซึ่ง ฟวสขนาดเล็กสวนใหญจะเปนแบบปลอก สวนแบบใบมีดจะเปนฟวสขนาดใหญ ถาเปนแบบใชงานหนักนาน ๆ เชน ในโรงงานมีขนาด 30 - 400 A แรงดันไฟฟาไมเกิน 600 V แบบใชงานธรรมดา เชน ใชกับวงจรมอเตอรมีขนาด 30 - 200 A

(ก) เซฟตี้สวิตชแบบมีฟวส

(ข) เซฟตีส้ วิตชแบบไมมีฟวส

ภาพที่ 2.22 เซฟตี้สวิตช

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4 หลอดไฟสัญญาณ (Pilot Lamp) หลอดไฟสัญญาณ เปนอุปกรณแสดงสภาวะการทํางานของวงจร เชน แสดงสภาวะการทํางานของคอนแทคเตอรหรือ การทํางานของรีเลยโหลดเกิน เปนตน มี 2 แบบ คือ แบบที่มีหมอแปลงเล็กสําหรับจายไฟ ใหแกหลอดไฟที่ใชแรงดันไฟฟาต่าํ และแบบไมมีหมอแปลงไฟฟาโดยใชการตอแรงดันไฟฟาตรงเขากับขั้วหลอดของหลอดไฟสัญญาณ

ภาพที่ 2.23 หลอดไฟสัญญาณ และสัญลักษณ 5 แมกเนติกคอนแทคเตอร (Magnetic Contactor) แมกเนติก คอนแทคเตอรหรือ คอนแทคเตอร เปนอุปกรณควบคุมเครื่องกลไฟฟา ซึ่ง มีห นาที่ตัดและตอวงจรเหมือน สวิตชไฟฟาทั่วไป แตคอนแทคเตอรทํางานโดยอาศัยอํานาจแมเหล็กแทนการสับสวิตชดวยมือโดยตรง ในตัวคอนแทคเตอร จะมีหนาสัมผัสหลายชุดติดอยูบนแกนเดียวกันและทํางานพรอมกัน หนาสัมผัสจะมีทั้งแบบปกติเปด และแบบปกติปด ทั้ง 2 แบบ จะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับการนําไปใช หนาสัมผัสจะแยกออกเปน 2 สวน คือ - หนาสัมผัสหลัก (Main Contact) เปนหนาสัมผัสแบบปกติเปดใชสําหรับเปด หรือปดวงจรจายกระแสไฟฟา ใหม อเตอร ถู ก ออกแบบให มี ขนาดใหญเ หมาะสําหรับ ใชกับ กระแสไฟฟาแรงดันสูง สัง เกตไดจ ากสกรู ที่หนาสัมผัสจะมีขนาดใหญ และมีตัวอักษรกํากับเปน L1, L2, L3-T1, T2, และ T3 - หนาสัมผัสชวย (Auxiliary Contact) เปนหนาสัมผัสที่มีขนาดเล็ก เปนแบบปกติเปดหรือแบบปกติปด ขึ้นอยูกับ ความตองการของผูใชงาน ทนกระแสไฟฟาไดนอยกวาหนาสัมผัสหลัก จึงใชเฉพาะในวงจรควบคุมเทานั้น ไมสามารถนําไปตอใชเปดหรือปดวงจรจายกระแสไฟฟาใหมอเตอรโดยตรง คอนแทคเตอรเปนอุปกรณที่มีกระแสไฟฟาสูง สามารถเกิดประกายไฟที่หนาสัมผัสแลวทําใหหนาสัมผัสชํารุดไดเ ร็ว ดัง นั้นจึง ตอ งลดการเกิดประกายไฟโดยใชวิธีก ารดับ อารก ดวยสนามแมเ หล็ก เพื่อ ชวยแกปญ หาหนาสัม ผัส ชํารุด และ ชวยทําใหอายุการใชงานของหนาสัมผัสนานขึ้น

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.24 แมกเนติกคอนแทคเตอร และสัญลักษณ 5.1 โครงสรางของแมกเนติกคอนแทคเตอร ประกอบดวย 3 สวนหลัก ๆ คือ 5.1.1 แกนเหล็ก ทําดวยแผนเหล็กบางตัว E ซึ่งอัดซอนกัน โดยแบงออกเปน 2 สวน คือ แกนเหล็กอยูกับที่ ซึ่งขาทั้งสองขาง ของแกนเหล็ ก มี ล วดทองแดงเสนใหญฝงอยูที่ผิวหนา เพื่อ ลดการสั่นสะเทือ นที่ม าจากการสั่นสะเทือ นของ คลื่นไฟฟากระแสสลับ และแกนเหล็กเคลื่อนที่ ซึ่งจะมีชุดหนาสัมผัสเคลื่อนที่ยึดติดอยู 5.1.2 ขดลวด เปนลวดทองแดงพันอยูร อบลูก ลอ โดยสวมอยูตรงกลางของขาแกนเหล็ก อยูกับที่ ขดลวดทองแดง ทําหนาที่สรางสนามแมเหล็กไฟฟา และมีขั้วตอสําหรับจายกระแสไฟฟาเขา มีสัญลักษณอักษรกํากับ คือ A1 - A2 หรือ C1 - C2 5.1.3 หนาสัมผัส จะยึดติดอยูกับแกนเหล็กเคลื่อนที่ หนาสัมผัสแบงออกเปน 2 สวนคือ หนาสัมผัสหลัก เปนหนาสัมผัส แบบปกติเปดใชในวงจรกําลัง ทําหนาที่ตัดหรือตอวงจรจายกระแสไฟฟาใหมอเตอร และสวนหนาสัมผัสชวย ใชในวงจรควบคุม แบงออกเปน 2 ชนิดคือ หนาสัมผัสปกติเปด และหนาสัมผัสปกติปด

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.25 โครงสรางภายในแมกเนติกคอนแทคเตอร 5.2 ชนิดของแมกเนติกคอนแทคเตอร คอนแทคเตอรที่ใชกับระบบไฟฟากระแสสลับ แบงออกเปน 4 ชนิดตามลักษณะโหลดและการใชงาน ดังนี้ 1) ชนิด AC-1 เปนคอนแทกเตอรที่ใชกับโหลดที่เปนความตานทาน 2) ชนิด AC-2 เปนคอนแทกเตอรที่ใชกับโหลดที่เปนมอเตอรเหนี่ยวนําแบบสลิปริง 3) ชนิด AC-3 เปนคอนแทกเตอรที่ใชกับโหลดที่เปนมอเตอรที่มีตัวหมุนแบบกรงกระรอก 4) ชนิด AC-4 เปนคอนแทกเตอรที่ใชสําหรับสตารต และหยุดการทํางานของมอเตอรในวงจรควบคุม การทํางานแบบสั้น ๆ และใชในวงจรการกลับทิศทางหมุนของมอเตอรที่มีตัวหมุนแบบกรงกระรอก

ภาพที่ 2.26 ตัวอยางคอนแทคเตอร

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6. รีเลย (Relay) รีเลย เปนสวิตชซึ่งทํางานโดยอาศัยอํานาจแมเหล็ก เพื่อชวยในการตัดหรือตอวงจรควบคุมอุปกรณไฟฟาเหมือนคอนแทคเตอร แตใชกับอุปกรณขนาดเล็กที่มีอัตราการไหลของกระแสไฟฟานอย เชน วงจรหลอดสัญญาณ หรือมอเตอรเล็กเทานั้น ดัง นั้น รีเลยจึงมีหนาที่การทํางานเหมือนกับคอนแทคเตอรแตมีขนาดเล็กกวา ในสวนนี้จะกลาวถึงรีเรย 2 ชนิด คือ รีเลยโหลดเกิน และ รีเลยตั้งเวลา 6.1 รีเลยโหลดเกิน (Overload Relay) รีเลยโหลดเกินหรือรีเลยปองกันมอเตอร ทําหนาที่ปองกันไฟฟาเกินกําลังหรือปองกันไมใหขดลวดของมอเตอรไหม หลักการทํางานของรีเลยโหลดเกินจะอาศัยผลของความรอน เนื่องจากโครงสรางภายในประกอบดวยขดลวดความรอนซึง่ พันไวกับแผนโลหะคู เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลเกินพิกัดที่กําหนดไวและเกิดความรอนมากขึ้นที่แผนโลหะคู ทําใหเกิดการโกงตัว และดันคานสงเคลื่อนที่ไปดันหนาสัมผัสควบคุมใหเปลี่ยนตําแหนงเปดวงจรควบคุม เพื่อใหมอเตอรหยุดทํางาน 6.1.1 โครงสรางภายนอกของรีเลยโหลดเกิน ดังภาพที่ 2.27 ประกอบดวย 7 สวนหลัก ๆ คือ 1) ปุมปรับตัง้ กระแส 2) ปุมตัดวงจร 3) ปุมรีเซ็ท (RESET) 4) จุดตอกระแสไฟฟาเขาขดลวดความรอน 5) จุดตอกระแสไฟฟาออกจากขดลวดความรอน 6) หนาสัมผัสชวยปกติปด (N.O.) 7) หนาสัมผัสชวยปกติปด (N.C.)

ภาพที่ 2.27 โครงสรางของรีเลยโหลดเกิน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6.1.2 รีเลยโหลดเกินแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1) แบบไมมีตัวปรับตั้งใหม (No Reset) เมื่อเกิดโหลดเกินจะทําใหแผนโลหะคูรอนและโกงตัวออกไป เมื่อเย็นลงจะกลับที่เดิมทําใหหนาสัมผัสควบคุมกลับมาตําแหนงเดิม 2) แบบมีตัวปรับตั้งใหม (Reset) เมื่อ เกิดโหลดเกินจะทําใหแผนโลหะคูรอ นและโกงตัวออกไป โดยมีกลไกทางกลมาล็อกสภาวะการทํางานของหนาสัมผัสควบคุมทีเ่ ปลีย่ นตําแหนงไว เมื่อแผนโลหะคู เย็นตัวลงแลวหนาสัมผัสยังคงสภาวะอยูได ถาตองการหนาสัมผัสกลับมาตําแหนงเดิมตองกดปุม ปรับตั้งใหม (Reset) กอน รีเลยโหลดเกินแบบมีตัวปรับตั้งใหมนี้นิยมใชในการควบคุมเครื่องกลไฟฟา

ก. แบบไมมีตัวปรับตัง้ ใหม

ข. แบบมีตัวปรับตั้งใหม

ภาพที่ 2.28 สัญลักษณรเี ลยโหลดเกิน รี เ ลย โ หลดเกิ น ที่ ใ ช กั น อยู ทั่ ว ไป เปน ชนิด ติด ตั้ง แยกจากตั ว มอเตอร จะตอ อนุก รมอยูใ นวงจร มอเตอรห รือ ผานหมอแปลงกระแส กรณีที่เปนมอเตอรขนาดใหญ การปรับตั้งกระแสรีเลยโหลดเกินจะปรับตาม ประเภทมอเตอรซึ่ง ระบุร ายละเอียดบนแผนปายประจําเครื่อ ง (Name Plate) โดยควรปรับ ตั้ง คาเริ่ม ตน ตามที่กําหนดในตารางที่ 2.1 กอน แตหากรีเลยโหลดเกินปลดวงจรเมื่อเริ่มเดินมอเตอรในการติดตั้งใชงานจริง ใหเพิ่มรอยละการปรับตั้งไดแตตองไมเกินคาสูงสุดที่ยอมใหปรับตั้ง ตารางที่ 2.1 การปรับตั้งคากระแสรีเลยโหลดเกิน โดยกําหนดคาเปนรอยละของกระแสโหลดเกินเต็มพิกัด คาปรับตั้ง

ประเภทของมอเตอร

เริ่มตน

สูงสุด

1. มอเตอรที่ระบุเซอรวิสแฟกเตอร (Service Factor)

125

140

2. มอเตอรที่ระบุอุณหภูมิเพิ่มขึ้นไมเกิน 40 องศาเซลเซียส

125

140

3. มอเตอรอื่น ๆ

115

130

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6.2 รีเลยตั้งเวลา (Timer Relay) รีเลยตั้งเวลา เปนอุปกรณที่สามารถตั้งเวลาทํางานของหนาสัมผัสได จึงนําไปใชในการควบคุมแบบอัตโนมัติ แบงการทํางาน ของหนาสัมผัสได 2 แบบ ไดแก แบบหนวงเวลาหลังจายกระแสไฟฟาเขา (On-delay) ที่จายกระแสไฟฟาใหรี เ ลย ตั้ง เวลาแลวหนาสัมผัสจะอยูในตําแหนงเดิม เมื่อ ถึง เวลาที่ตั้งไวหนาสัมผัสถึงจะเปลี่ยนตําแหนงเปนสภาวะตรงขาม และคางอยูในตําแหนงเดิมจนกวาจะหยุดจายกระแสไฟฟาใหกับรีเลยตั้งเวลา แบบที่สอง คือ แบบหนวงเวลาหลังหยุด กระแสไฟฟาเขา (Off-delay) โดยหลังจากจายกระแสไฟฟาใหกับรีเลยตั้งเวลาแลว หนาสัมผัสจะเปลี่ยนตําแหนงเปนสภาวะ ตรงขามทันที และเมื่อหยุดจายกระแสไฟฟาใหกับรีเลยตั้งเวลา จนถึงเวลาที่ตั้งไว หนาสัมผัสถึงจะกลับมาอยูในสภาวะเดิม

ภาพที่ 2.29 สัญลักษณรเี ลยตงั้ เวลา 6.2.1 โครงสรางภายนอกของรีเลยตั้งเวลา ประกอบดวย 6 สวนหลัก ๆ คือ 1) ตารางเทียบตั้งเวลา 2) ปุมตั้งเวลา 3) ฐานเสียบตัวตั้งเวลา 4) สัญลักษณและรายละเอียดการตอใชงาน 5) ขาเสียบเขาฐาน

ภาพที่ 2.30 โครงสรางของรีเลยตั้งเวลา

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

6.2.2 รีเลยตั้งเวลา แบงออกเปน 4 ชนิด คือ 1) รีเลยตั้งเวลาแบบอิเล็กทรอนิกส 2) รีเลยตั้งเวลาแบบตัง้ เวลาดวยของเหลว 3) รีเลยตั้งเวลาแบบตัง้ เวลาดวยลม 4) รีเลยตั้งเวลาแบบใชมอเตอร

ภาพที่ 2.31 ตัวอยางรีเลยตั้งเวลา 7 หลักดิน (Ground Rod) หลั ก ดิ น เป น โลหะตั ว นํ า ไฟฟ า ทํ า หน า ที่ ถ า ยเทประจุ ไ ฟฟ า ใหก ระจายลงสูพื้ น ดิ น หากเกิ ด กระแสไฟฟ า รั่วจาก เครื่องใชไฟฟาที่ตอสายดินไว กระแสไฟฟาที่รั่วจะเดินทางจากสายดินมาสูหลักดินแลวถายเทลงสูพื้นดิน หลักดินที่ใชกับ ระบบสายดินมีลักษณะทางกายภาพเปนแทงโลหะ ซึ่งโดยสวนใหญจะใชเปนเหล็กชุบทองแดงเพื่อปองกันสนิมและการกัดกรอน โดยทองแดงหรือแทงเหล็กอาบสังกะสีควรมีขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 5 - 8 นิ้ว ยาวไมนอยกวา 2.40 เมตร โดยหา มใชหลักดินที่มีสวนผสมอะลูมิเนียมเพราะจะผุกรอนไดงาย เมื่อตอหลักดินเสร็จแลวตองมีการวัดความตานทาน ระหวางหลักดินกับดิน ซึ่งตองมีความตานทานไมเกิน 5 โอหม หากความตานทานสูงเกินใหปกหลักดินเพิ่มและตองตอ ถึงกัน หลัก ในการลดคาความตานทานทํา ไดโ ดยเพิ่ม พื้น ที่ผิว สัม ผัส ระหวา งหลัก ดิน กับ ดินใหม ากขึ้น และเลือ กสภาพดินชื้น แตตองไมมีน้ําขัง

ภาพที่ 2.32 หลักดิน 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

หลักดิน

2

เซฟตีสวิตช

3

สวิตชเลือก

4

สวิตชจํากัดระยะ

5

หลอดไฟสัญญาณ

6

แมกเนติกคอนแทคเตอร

7

รีเลยตั้งเวลา

8

รีเลยโหลดเกิน

9

ฟวส

10

เซอรกิตเบรเกอร

ขอ

คําตอบ

แสดงสภาวะการทํางานของวงจร

โลหะตัวนําไฟฟา ทําหนาที่ถายเทประจุไฟฟา ใหกระจายลงสูพื้นดิน

สามารถปลดหรือสับวงจรไดพรอมกันทุก ๆ ตัวนําเสนไฟ

เมื่อตัดวงจรไฟฟาแลว สามารถสับกลับมาทํางานใหมได

ควบคุมการทํางานของมอเตอร โดยการบิดหมุน

เมื่อตัดวงจรไฟฟาแลว ไมสามารถใชงานไดอีก

ตัดหรือตอวงจรไฟฟาที่ปอนใหขดลวดของ คอนแทคเตอร

ควบคุมเครื่องกลไฟฟา โดยตัดและตอวงจรไฟฟา ดวยอํานาจแมเหล็ก

ใชในการควบคุมหนาสัมผัสแบบอัตโนมัติ

ปองกันไมใหขดลวดมอเตอรไหม โดยอาศัยความรอนที่เกิดขึ้นหยุด การทํางานของมอเตอร 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921520403 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอน (Transfer switch) (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอนได

2. หัวขอสําคัญ 1. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 2. เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 3. สวิตชถายโอน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอน ในสวนนี้จ ะกลาวถึ งข อ มูลเบื้องตนเกี่ ยวกั บคุ ณสมบัติ หลัก การทํางาน และชนิดของของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ เครื่อ งกําเนิดไฟฟากระแสสลับ และสวิตชถายโอน 1 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ (AC Motor) มอเตอรไฟฟากระแสสลับ ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกล ใชเปนตัวตนกําลังหมุนขับโหลดชนิดตาง ๆ ไดใชอ ย า งแพร ห ลายในที่ อ ยู อ าศั ย โรงงานอุ ต สาหกรรม และอาคารสํา นั ก งาน มอเตอร ไ ฟฟ า ที่ ทํา งานดว ย แหลงจายแรงดันไฟสลับ ไมคงที่ มีขั้วแรงดันจายออกมาไมคงที่ โครงสรางของมอเตอรไฟฟากระแสสลับประกอบดว ย ชุ ด แม เ หล็ก 2 ชุ ด คื อ ชุ ด แม เ หล็ ก อยูกับ ที่ ซึ่ ง ผลิ ตได จ ากแม เ หล็ ก ถาวรหรือ แมเ หล็ก ไฟฟา และชุดแมเหล็กเคลื่อนที่ ซึ่งผลิตไดจากแมเหล็กไฟฟา โดยมีแหลงจายแรงดันไฟสลับไมคงที่จายใหทํางาน 1.1 การทํางานเบื้องตนของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ เมื่อ จา ยแรงดั น ไฟฟ าให ส ลิ ป ริ ง ผ า นไปขดลวดอารเ มเจอร ดา นสีเ หลือ งเปน บวก (+) ดา นสีฟา เปนลบ (-) ทําใหขดลวดอารเ มเจอรเ กิดสนามแมเ หล็ก ไฟฟาผลักดันกับ สนามแมเ หล็ก ถาวร เมื่อ ใชก ฎมือ ซายของเฟลมมิ่งใน การหาทิศทางการเคลื่อนที่ จะพบวาขดลวดอารเมเจอรดานซาย (สีเหลือง) หมุนเคลื่อนที่ขึ้นดานบน สวนดานขวา (สีฟา) หมุนเคลื่อ นที่ล งข างล าง นั่ นคื อ เกิ ดการหมุ นของขดลวดอารเ มเจอรในทิศทางตามเข็มนาฬิกา

ภาพที่ 3.1 การทํางานเบื้องตนของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ในขณะที่ขดลวดอารเมเจอรหมุนสลับตําแหนงพรอมกับจายแรงดันไฟสลับใหสลิปริงเกิดการสลับขั้ว โดยจาย แรงดันไฟสลับใหดานสีเหลืองเปนลบ (-) สวนดานสีฟาเปนบวก (+) เมื่อใชกฎมือซายของเฟลมมิ่งในการหาทิศทาง การเคลื่อนที่ จะพบวาขดลวดอารเมเจอรดานซาย (สีฟา) หมุนเคลื่อนที่ขึ้นดานบน และดานขวา (สีเหลือง) หมุนลงดานลาง จึง ทําใหขดลวดอารเ มเจอรห มุนในทิศทางตามเข็ม นาฬิก าอยางตอ เนื่อ ง และทําใหม อเตอรไฟฟากระแสลับ หมุน ทํางานในทิศทางตามเข็มนาฬิกาเชนกัน 1.2 ชนิดของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ มอเตอรไฟฟากระแสสลับสามารถแบงตามระบบการปอนไฟฟากระแสสลับใหกับมอเตอรได 2 แบบ คือ มอเตอร แบบหนึ่งเฟส และมอเตอรเหนี่ยวแบบเฟส 1.2.1 มอเตอรแบบหนึ่งเฟส (Single Phase Motor) มอเตอรแบบหนึ่ง เฟส สวนใหญเปนมอเตอรขนาดเล็ก มีกําลังพิกัดต่ํากวา 1 แรงมา ขนาดใหญสุด ไมเกิน 5 แรงมา มีการพันขดลวดเปนแบบ 1 เฟส โดยตอเขากับแหลงจายไฟฟา 220 โวลต มอเตอรเหนี่ยวนํา 1 เฟส ไมสามารถเริ่มเดินดวยตัวเองได จึงตองมีตัวชวยเดิน โดยการเพิ่มขดลวดอีก 1 ชุด คือ ขดลวดชวย (Auxiliary Winding) ทั้งนี้ สามารถแบงตามลักษณะโครงสรางและลักษณะการเริ่มเดินได 2 กลุม คือ กลุมที่ 1 เปนมอเตอรเหนี่ยวนําหนึ่งเฟส (Single Phase Induction Motor) ไดแก - สปลิทเฟสมอเตอร (Split Phase Motor) มีขนาดแรงมาขนาดตั้งแต 1/4, 1/3 และ 1/2 แรงมา โดยมี ข นาดไม เ กิ น 1 แรงม า นิ ย มเรี ย กสปลิ ท เฟสมอเตอร นี้ ว า มอเตอรเหนี่ยวนํา (Induction Motor) นิยม ใชงานมากในเครื่องซักผา ตูเย็น และเครื่องสูบน้ําขนาดเล็ก

ภาพที่ 3.2 สปลิทเฟสมอเตอร - คาปาซิเ ตอรม อเตอร (Capacitor Motor) มีลัก ษณะคลายสปลิทเฟสมอเตอร แตมีแรงบิด ขณะสตารทสูงกวา โดยใชกระแสไฟขณะสตารทนอย เมือ่ ความเร็วมอเตอรประมาณรอยละ 75 ของความเร็วพิกัด จะมีส วิตชแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางเปนตัวตัดคาปาซิเตอรและขดสตารท ออกจากวงจร คาปาซิเ ตอรมอเตอร มีขนาดตั้ง แต 1 - 2 แรงมาถึง 10 แรงมา นิยมใชงาน ในตูแช ตูเย็น เครื่องอัดลม และปมน้ํา 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 3.3 คาปาซิเตอรมอเตอร - เชดเดดโพลมอเตอร (Shaded Pole Motor) หรือ เรียกอีกอยางหนึ่งวามอเตอรแบบบังขั้ว เปนมอเตอรขนาดเล็กที่สุด มีแรงบิดเริ่มหมุนต่ํามาก นําไปใชงานกับเครื่องใชไฟฟาขนาดเล็ก เชน ไดรเปาผม พัดลมขนาดเล็ก เปนตน

ภาพที่ 3.4 เชดเดดโพลมอเตอร กลุมที่ 2 เปนมอเตอรหนึ่งเฟสที่มีตัวหมุนลักษณะเปนทุนอารเมเจอร ใชขดลวดทองแดงพันปลายสาย ตอเขากับคอมมิวเตเตอร ไดแก - รีพัลชันมอเตอร (Repulsion Motor) ใหแรงบิดขนาดเริ่มเดินสูงประมาณ 350% ของแรงบิดเต็มพิกัด และมีกระแสไฟฟาขณะเริ่มเดินประมาณ 3 - 4 เทาของกระแสขณะโหลดเต็มพิกัด เหมาะสําหรับ ใชงานที่ตองการแรงบิดเริ่มหมุนมาก ๆ เชน เครื่องปมลมขนาดใหญ เครื่องทําความเย็นขนาดใหญ หรือตูแช เปนตน

ภาพที่ 3.5 รีพัลชันมอเตอร

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- ยู นิเ วอร แซลมอเตอร (Universal Motor) เปนมอเตอรขนาดเล็ก มีขนาดกําลัง ไฟฟาตั้ง แต 1/200 แรงม า ถึ ง 1/30 แรงม า นํ า ไปใช ไ ด กั บ แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง และใช ไ ด กั บ แหล ง จา ยไฟฟ า กระแสสลั บ ชนิด 1 เฟส ให แ รงบิด เริ่ม หมุน สู ง นํา ไปปรั บ ความเร็ว ได ปรับความเร็วไดงายทั้งวงจรลดแรงดันและวงจรควบคุมอิเล็กทรอนิกส นิยมนําไปใชเปนตัว ขับ เครื่องใชไฟฟาภายในบานและเครื่องมือชาง เชน เครื่องบดและผสมอาหาร มีดโกนหนวดไฟฟา มอเตอรจักรเย็บผา สวานไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 3.6 ยูนิเวอรแซลมอเตอร 1.2.2 มอเตอรแบบ 3 เฟส (Three Phase Motor) มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส เปนมอเตอรที่นิยมในโรงงานอุตสาหกรรม มีกําลังพิกัดต่ํากวา 1 - 2 แรงมา จนถึงขนาดแรงมาสูง มีการพันขดลวดที่สเตเตอร 3 ชุด ตอใชงานกับระบบไฟ 3 เฟส 380 โวลต เพื่อทําใหเกิด สนามแมเหล็กหมุนที่สเตเตอร และโรเตอรจะหมุนตามทิศทางของสนามแมเหล็กหมุน สามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ 1) มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก (Squirrel Cage Rotor Induction Motor) นิยมใชในงานอุตสาหกรรม เนื่องจากสรางงายใชการบํารุงรักษานอย มีความทนทาน และราคาถูก

ภาพที่ 3.7 มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบกรงกระรอก

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) มอเตอรเ หนี่ย วนํา 3 เฟส โรเตอรแ บบพัน ขดลวด ( Wound Rotor Induction Motor) หรื อ เรี ยกอี ก อย า งหนึ่ง วา สลิป ริง มอเตอร (Slip Ring Motor) การพัน ขดลวดสเตเตอร 33

มีลัก ษณะเดียวกับ มอเตอรแบบแรก ตางกันที่โ รเตอรจ ะพันดวยขดลวดทองแดงสามเฟส และตอแบบสตาร ปลายสายของขดลวดทั้งสามเฟสจะตอเขากับสลิปริงสามวงผานแปรงถาน เขากับความตานทานภายนอกที่ปรับคาได นิยมใชในงานอุตสาหกรรมหนัก เชน ใชในการขับ ลูกกลิ้ง ลูกรีด โรงงานถลุงเหล็ก แปรรูปเหล็ก เปนตน

ภาพที่ 3.8 มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส โรเตอรแบบพันขดลวด 3) ซิง โครนัส มอเตอร (Synchronous Motor) มีสวนประกอบเชนเดียวกับเครื่อ งกําเนิดไฟฟา กระแสสลับ และสามารถทําเปนเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับได ลักษณะขดลวดที่สเตเตอร ของมอเตอรจะเหมือนสองแบบแรก แตโรเตอรจะเปนแบบขั้วแมเหล็กยื่น (Salient Pole) มีขดลวดพันอยูที่ขั้วแตละขั้วตอเรียงกันเพื่อใหเกิดขั้วแมเ หล็ก นิยมใชในอุตสาหกรรมหนัก เชน ใชขับลูกโมในการโมหิน เปนตน และยังใชในการปรับปรุงตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟา ไดอีกดวย

ภาพที่ 3.9 ซิงโครนัสมอเตอร

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current Generator; AC Generator) เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า กระแสสลั บ เป น เครื่ อ งจั ก รไฟฟ า ที่ แ ปลงพลั ง งานรู ป แบบต า ง ๆ มาเป น พลั ง งานไฟฟ า สวนใหญเปนการผลิตไฟฟาเพื่อการพาณิชย บางสวนใชงานในสถานประกอบการอื่น ๆ เพื่อ เปนกําลังไฟฟาสํารองและ เพื่อ งานเฉพาะกิจ เชน ในสถานที่กอสรางตาง ๆ เปนตน ประกอบดวยขดลวดหมุนอยูในสนามแมเหล็ก ตามภาพที่ 3.10 ปลายทั้ง สองของขดลวดจะต อ กั บ วงแหวนปลายละอัน วงแหวนแตล ะอันมีแปรงแตะและมีส ายไฟฟา ตอ จากแปรง เพื่อ นําเอาไฟฟาไปใช

ภาพที่ 3.10 ขดลวดหมุนอยูในสนามแมเหล็ก

ภาพที่ 3.11 ตําแหนงของขดลวด ณ ขณะหนึ่ง

2.2.1 สวนประกอบของเครื่องกําเนิดไฟฟา เครื่ อ งกํ าเนิ ดไฟฟากระแสสลับ ประกอบดวยสวนนอกซึ่ง อยูกับ ที่ เรียกวา ตัวนิ่ง (Stator) โดยมี ขั้วแมเหล็กไฟฟาติดอยูกับตัวนิ่ง ขั้วแมเหล็กนี้อาจติดไว 1 คู ประกอบดวย N จํานวน 1 ขั้ว และ S จํานวน 1 ขั้ว หรือ ติด 2 - 3 คู ขึ้น อยูก ับ การสรา ง ขั้ว แมเ หล็ก เหลานี้จ ะเรียงสลับ กัน ไป สว นขดลวดจะพัน อยูร อบ ๆ ตัว หมุน ซึ ่ง หมุ น อยู ตรงกลาง ไฟฟา 1 รอบนั ้น เกิด จากการที ่ข ดลวดเคลื่อ นที ่ผ า นสนามแมเ หล็ก ของ ขั้วแมเ หล็ก N และ S หนึ่ง คู เมื่อ ลวดเคลื่อ นที่ผานสนามแมเ หล็ก ของขั้ว N 1 S 1 จะไดไฟฟาออกมา 1 รอบ และเมื่อผานสนามแมเหล็กของคู N2 S2 จะไดไฟฟาออกมาอีก 1 รอบ ดังนั้น ถาเครื่องกําเนิดไฟฟามีขั้วแมเหล็ก NS เพียงคูเดี ยว เมื่อ ขดลวดหรือ ตัว หมุน ไป 1 รอบ จะไดไ ฟฟา ออกมา 1 รอบ แตถา เครื่อ งกํา เนิด ไฟฟ า มี ขั้วแมเหล็กสองคู จะไดไฟฟาออกมา 2 รอบ เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไปครบ 1 รอบ ตามภาพที่ 3.11 2.2.2 ประเภทของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของโรเตอร คือ 1) แบบขั้วแมเหล็กยื่น (Salient Pole) ใชกับชุดขับเคลื่อนที่มีความเร็วรอบต่ํา เชน เครื่องกําเนิด ที่ขับดวยกังหันน้ํา เปนตน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) แบบรู ป ทรงกระบอก (Cylindrical Rotor or Non-salient Pole) ใช กั บ ชุ ด ขั บ เคลื่ อ นที่ มี ความเร็วรอบสูง เชน เครื่องกําเนิดที่ขับเคลื่อนดวยกังหันไอน้ํา เปนตน

ภาพที่ 3.12 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ในการผลิตพลังงานไฟฟาจะมีคุณสมบัติในการพิจารณา 2 ดาน คือ ขนาดของแรงดันไฟฟา (Voltage) และความถี่ไฟฟา (Frequency) แรงดันไฟฟาที่ผลิตจะขึ้นกับโหลดหรือหมอแปลงไฟฟา สวนความถี่นั้นมีคามาตรฐานคือ 50 Hz ตัวแปรที่ตอง ควบคุมเพื่อใหไดไฟฟาตามที่ตองการ คือ ความเร็วรอบที่ไดจากชุดตนกําลัง และกระแสสนามซึ่งไดจากแหลงจายไฟฟากระแสตรง จากแหลงตาง ๆ เชน แบตเตอรี่ หรือเอ็กไซเตอร เปนตน ไฟฟาที่ผลิตไดนั้นจะจายใหโหลดชนิดตาง ๆ ซึ่งแตละชนิดจะทําให แรงดันไฟฟาที่ขั้วเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน ในดานระบบควบคุมจะตองพยายามรักษาแรงดันไฟฟาที่ขั้วใหมีคาคงที่อยูเสมอ 3 สวิตชถายโอน (Transfer Switch) ระบบไฟฟาที่มีการติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาไว จะตองติดตั้งสวิตชถายโอน (Transfer Switch) ซึ่งเปนอุปกรณสําหรับ ถายโอนโหลดจากแหล ง ไฟฟ าแหล ง หนึ่ ง ไปยั ง อี ก แหลง หนึ่ง หรือ เพื่อ ตอ กับ ไฟฟาฉุก เฉิน เชน ใชเ ลือ กไฟฟาระหว า ง แหลงกําเนิดไฟฟากับหมอแปลงไฟฟา หรือเลือกระหวางหมอแปลงไฟฟากับหมอแปลงไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 3.13 รูปแบบมาตรฐานของสวิตชถายโอนโหลด 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

สวิตชถายโอน (Transfer Switch) แบงไดเปน 2 ชนิด คือ - สวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch; ATS) - สวิตชถายโอนโหลดดวยมือ (Manual Transfer Switch; MTS) ทั้ง นี้ จะกลาวถึง ชนิด ที่ ได รับ การนิ ยมใชม ากกวา นั่น คือ สวิต ชถายโอนโหลดอัตโนมัติ เนื่อ งจากจะชว ยใหไฟฟา ไมหยุดชะงักหรือขาดหายนานเกินไป เชน ประมาณ 5 วินาที ถึง 5 นาที เปนตน ขึ้นอยูกับการปรับตั้งเวลาของผูใชงาน

ภาพที่ 3.14 สวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติ

ภาพที่ 3.15 สวิตชถายโอนโหลดดวยมือ

3.1 สวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติ (Automatic Transfer Switch; ATS) สวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติ ทําหนาที่สั่งงานใหเครื่อ งกําเนิดไฟฟาทํางานอัตโนมัติในชวงที่เกิดไฟฟาดับหรือ ทํางานขัดของ เปนการถายโอนโหลดจากระบบไฟฟาหลักตามปกติไปยังระบบไฟฟาของเครื่องกําเนิดไฟฟา โดยสงสัญญาณ ใหเครื่องกําเนิดไฟฟาสตารทจนไดความถี่และแรงดันที่กําหนด แลวจึงเปลี่ยนระบบการทํางานไปที่ฝงเครื่องกําเนิดไฟฟาทันที และเมื่อไฟฟากลับสูสภาวะปกติ ระบบก็จะสั่งใหเปลี่ยนกลับมาใชไฟจากระบบไฟฟาหลักและสั่งดับเครื่องกําเนิดไฟฟาให อัตโนมัติ สวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติมีระบบที่สั่งใหเครื่องกําเนิดไฟฟาทํางานเปนประจําทุกสัปดาห โดยทํางานครั้งละ ประมาณ 15 นาที ในการสั่ ง ให เ ครื่ อ งทํา งานจะมี ทั้ ง รู ป แบบอั ต โนมั ติ แ ละใช ค นสั่ ง การ สวิ ต ช ถ า ยโอนชนิ ด นี้ จึง เปนตัวลดความเสี่ยงและเพิ่มเสถียรภาพของระบบไฟฟาเสมือ นเปนตัวสํารองไฟอีกชั้นหนึ่ง ซึ่ง เหมาะสําหรับงาน ประเภทที่จ ะได รั บ ผลกระทบอย า งมากหากเกิด ไฟตกหรือ ไฟดับ เชน งานทางดา นเครือ ขา ยการสื่อ สารตา ง ๆ หรือ งานทางดานการบิน เปนตน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด กลาวถึงหลักการทํางานเบื้องตนของมอเตอรไฟฟากระแสสลับไดถูกตอง ก. ขดลวดอารเมเจอรจะหมุนในทิศตรงขามกับมอเตอรไฟฟากระแสลับเสมอ ข. ทํางานดวยแหลงจายแรงดันไฟสลับคงที่ ค. เปลีย่ นพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟา ง. เมื่อขดลวดอารเมเจอรไดรับแรงดันไฟฟา จะหมุนตามเข็มนาฬิกา 2. การเริ่มเดินมอเตอรเหนี่ยวนํา 1 เฟส ตองอาศัยอุปกรณในขอใด ก. ขดลวดชวย ข. ขดลวดหลัก ค. โรเตอร ง. สลิปริง 3. ขอใด คือ ระบบไฟฟาที่ตอใชงานกับมอเตอรแบบ 3 เฟส ก. ระบบไฟฟา 3 เฟส 220 โวลต ข. ระบบไฟฟา 3 เฟส 240 โวลต ค. ระบบไฟฟา 3 เฟส 380 โวลต ง. ระบบไฟฟา 3 เฟส 450 โวลต 4. ขอใด คือ การผลิตไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับจํานวน 1 รอบ ก. ขดลวดเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กขั้ว N เพียงขั้วเดียว ข. ขดลวดเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กขั้ว N และ S จํานวน 1 คู ค. ขดลวดเคลื่อนที่ผานสนามแมเหล็กขั้ว N 1 S 1 และ N 2 S 2 ง. ขดลวดเคลือ่ นที่ผานสนามแมเหล็กขั้ว S เพียงขั้วเดียว

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ขอใด คือ การทํางานของสวิตชถายโอนโหลดอัตโนมัติในชวงที่เกิดไฟฟาดับ ก. ถายโอนโหลดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาไปยังระบบไฟฟาหลัก ข. เปลี่ยนระบบการทํางานเปนระบบไฟฟาหลัก ค. ลดความถี่และแรงดันของเครื่องกําเนิดไฟฟา ง. สงสัญญาณใหเครือ่ งกําเนิดไฟฟาสตารท จนไดความถี่และแรงดันที่กําหนด

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4

0921520404 ชนิดและขนาดของสายไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ 1. มาตรฐานสายไฟฟา 2. ชนิดของสายไฟฟาและการติดตั้ง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. มาตรฐานติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://oreo.schneiderelectric.com/flipFlop/4832710769/files/docs/all.pdf ลือชัย ทองนิล. มาตรฐานการติดตั้ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.technologymedia.co.th/articledetail.asp?arid=2492&pid=257 พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ.

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ชนิดและขนาดของสายไฟฟา สายไฟฟาตองมีคุณสมบัติเปนไปตามาตรฐานผลิตภัณอุตสาหกรรม (มอก.) หรือมาตรฐานที่การไฟฟาฯ ยอมรับ เพื่อให เกิดความปลอดภัยในการใชง าน สําหรับ ประเทศไทยไดดําเนินการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา โดยสมาคม วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) ใหเปนไปตามมาตรฐาน IEC60227 คือ มาตรฐานสายไฟฟา ตาม มอก. 11-553 แตในการติดตั้งอาจมีสายที่ผิดตาม มอก. 11-2531 รวมอยูดวย จึงไดอนุญาตใหใชขนาดกระแสของ สายตามตารางในมาตรฐาน วสท. พ.ศ.2556 ได 1 มาตรฐานสายไฟฟา มาตรฐานของสายไฟฟาตามขอกําหนดสายไฟฟามาตรฐาน วทส. พ.ศ. 2545 (EIT Standard 2001-45) มีดังนี้ 1.1 สายไฟฟาหุมฉนวน 1) สายไฟฟาทองแดงหุม ฉนวน พีวีซี ตาม มอก. 11-2531 สายไฟฟาชนิดนี้จ ะมีตัวนําไฟฟาเปนทองแดง และมีฉนวนหุมเปนพีวีซี โดยมีมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมควบคุมบังคับใช ดังนั้น สายไฟฟาที่ใชตองได มาตรฐาน ซึ่งสามารถสังเกตไดจากเปลือกของสายไฟฟาจะมีเครื่องหมาย TIS 11-2531 2) สายไฟอะลูมิเนียมหุมฉนวน พีวีซี ตาม มอก. 293-2541 สายไฟชนิดนี้จะมีตัวนําไฟฟาเปนอะลูมิเนียมและ พีวีซีเ ปนฉนวนหุม ซึ่ง จะมีน้ําหนักนอยกวาแตมีขนาดใหญก วาสายตัวนําทองแดงในขณะกระแสเทากัน ซึ่งสายไฟชนิดนี้นิยมใชในงานไฟฟาชั่วคราว 3) สายไฟฟาตามมาตรฐานการไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟาสวนภูมิภาค คือ สายไฟฟาชนิดอื่นที่ไมไดผลิตตาม มาตรฐาน มอก. แตตองไดตามมาตรฐานอื่นที่กําหนดใหเปนสายไฟฟาได เชน สายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนแข็ง แบบครอสลิงกโพลิเอทิลีน สายเคเบิลเอ็มไอ ซึ่งเปนสายชนิดทนอุณหภูมิสูง 1.2 สายไฟฟาเปลือย 1) สายไฟฟาทองแดงรีดแข็ง ใชสําหรับเปนสายไฟฟาเหนือดิน โดยตองเปนไปตามมาตรฐาน มอก. 64-2517 2) สายไฟฟาอะลูมิเนียมตีเกลียว ตามมาตรฐาน มอก. 85-2523 3) สายไฟฟาอะลูมิเนียมตีเกลียวเปลือยแกนเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก. 86-2523

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 4.1 ตัวอยางสายไฟฟาเปลือย 2 ชนิดของสายไฟฟาและลักษณะการติดตั้ง 2.1 การเลือกใชสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงาน เนื่องจากสายไฟฟาเปนสื่อกลางในการนําเอากําลังไฟฟาจากแหลงตนกําลังไปยังสถานที่ตาง ๆ ที่ตองการใชไฟฟา ไปติดตั้งใชงาน การเลือกใชสายไฟฟาที่เหมาะสมกับการใชงานจึงมีหลักในการพิจารณา ดังตอไปนี้ 1) พิจ ารณาความสามารถในการนํากระแสไฟฟาไดสูงสุด โดยไมทําใหฉนวนของสาย (Insulated) ไดรับ ความเสียหาย 2) พิจ ารณาแรงดันไฟฟาที่สายไฟฟาทนได โดยสวนใหญผูผ ลิตจะมีขอ มูลแสดงไวที่ผิวฉนวนดานนอกของ สายไฟฟา เชน 300 V. หรือ 750 V. เปนตน 3) พิจารณาอุณหภูมิแวดลอมขณะใชงาน เชน 60°C หรือ 70°C เปนตน 4) พิจารณาชนิดของฉนวน เช น เลื อกใชฉนวนพีวีซี (PVC) ที่เหมาะสําหรับการเดินสายไฟฟาในอาคารทั่วไป เนื่อ งจากพลาสติก พีวีซีมีความออ นตัว สามารถดัดโคง งอได ทนตอ ความรอ นเหนียว และไมเ ปอ ยงาย หรือการเลือกใชพลาสติกครอสลิ่งกโพลีเอธทีลีน (XLPE) ซึ่งเปนสายอะลูมิเนียมหุมฉนวนหนาพิเศษเหมาะกับ งานที่ตองรับแรงกระแทกไดมากขึ้น เปนตน 5) พิจารณาลักษณะการใชงาน เชน ลักษณะการติดตั้ง สถานที่ใชงาน สภาพความแข็งแรงของสายไฟฟา เปนตน 2.2 ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟา ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟาในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะสายไฟฟาตาม มอก. 11-2531 ซึ่งเปนตัวนําทองแดง ที่ใชกันเปนสวนใหญเทานั้น โดยแตละชนิดจะมีลักษณะที่แตกตางกันไป ดังนั้น จึงจําเปนตองตองพิจารณาเลือ กใช ใหถูกตองและเหมาะสมตาม ตารางที่ 4.1 ซึ่งแสดงลักษณะสายไฟตามมาตรฐาน มอก. 11-2531 และขอกําหนด ในการติดตั้ง ดังตารางที่ 4.1 โดยมีทั้งหมด 17 ชนิด ทั้งนี้ ชนิดที่ไดรับความนิยมในการใชงาน ไดแก VAF, VSS, VSF, THW, VCT และ NYY เปนตน

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ตารางที่ 4.1 ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟาที่ผลิตตาม มอก. 11-2531 (อุณหภูมิใชงาน 70 องศาเซลเซียส) มอก. 11-2531 ตารางที่ 1

ชนิดของสาย สายไฟฟาหุม ฉนวนแกน เดียว

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด (โวลต) IV HIV

300

ลักษณะการติดตั้ง - เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

2

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VAF

เปลือกนอกแกนเดียว สายแบน 2 แกนและ

VAF-S

300

สายกลม - เดินลอย เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง - เดินในชองเดินสาย

สายแบน 3 แกน

- หามฝงดินโดยตรง - เดิ น ร อ ยท อ ฝ ง ดิ น ได แ ต ต อ งป อ งกั น ไม ใ ห น้ํ า เขาภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา สายแบน - เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 3

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VVR

300

เปลือกนอกหลายแกน

4

ลักษณะการติดตั้ง

สายไฟฟาหุม ฉนวน แบบแกนเดียว

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง - เดิ น ร อ ยท อ ฝ ง ดิ น ได แ ต ต อ งป อ งกั น ไม ใ ห น้ํ า เขาภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

THW

750

- เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามฝงดินโดยตรง - เดิ น ร อ ยท อ ฝ ง ดิ น ได แ ต ต อ งป อ งกั น ไม ใ ห น้ํ า เขาภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

5

สายไฟฟาหุม ฉนวน

VVF

มีเปลือกนอกแกนเดียว และสายแบน 2 แกน

VVF-S

750

- เหมือนสายในตารางที่ 2

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต)

6

สายไฟฟาหุม ฉนวน มีเปลือกนอกแกนเดียว

NYY

750

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

7

สายไฟฟาหุม ฉนวน มีเปลือกนอกหลายแกน

NYY

750

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 8

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวน

NYY-N

750

มีเปลือกนอก 3 แกน สายนิวทรัล

9

สายไฟฟาหุม ฉนวน

สายไฟฟาหุม ฉนวนและ เปนสายชนิดออนตัวได

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

VCT

750

มีเปลือกนอก

10

ลักษณะการติดตั้ง

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน

VSF VFF

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ เขาดวงโคม

VTF

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 11

12

13

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายแบน 2 แกนและ

B-GRD

สายแบน 3 แกน มีสายดิน

VAF-G

สายไฟฟาหุม ฉนวน

VVR -

มีเปลือกนอกหลายแกน

GRD

สายแบน 2 แกนมี สายดิน

VVFGRD

300

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

300

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง

750

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

14

15

16

สายไฟฟาหุม ฉนวนแบบ

NYY-

มีเปลือกนอกหลายแกน มีสายดิน

GRD

สายไฟฟาหุม ฉนวน

VCT-

มีเปลือกนอกมีสายดิน

GRD

สายไฟฟาหุม ฉนวน

VFF-

750

- ใชงานทั่วไป - ฝงดินโดยตรง

750

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟา

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ

GRD

เขาดวงโคม

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

มอก. 11-2531

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ชนิดของสาย

ตารางที่ 17

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวน

VFF-F

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาทั่วไป

มีเปลือกนอกหลายแกน

ทั้งนี้ ในการเลือกใชขนาดสายไฟฟาใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานตาง ๆ ควรเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้ง ทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย ดังตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงขนาดกระแสของสายไฟฟา อางอิงตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อุณหภูมิตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2

2

3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

แกน เดียว

3 หลาย แกน

แกน เดียว

หลาย แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิล ที่ใชงาน

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพเิ ศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย (ตร.มม.) 1

ขนาดกระแส (แอมแปร) 10

10

9

9 84

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

12

11

10

10


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อุณหภูมิตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา

2

กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2 3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

3

แกน

หลาย

แกน

หลาย

เดียว

แกน

เดียว

แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิล ที่ใชงาน

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพเิ ศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 1.5

13

12

12

11

15

14

13

13

2.5

17

16

16

15

21

20

18

17

4

23

22

21

20

28

26

24

23

6

30

28

27

25

36

33

31

30

10

40

37

37

34

50

45

44

40

16

53

50

49

45

66

60

59

54

25

70

65

64

59

88

78

77

70

35

86

80

77

72

109

97

96

86

50

104

96

94

86

131

116

117

103

70

131

121

118

109

167

146

149

130

95

158

145

143

131

202

175

180

156

120

183

167

164

150

234

202

208

179

150

209

191

188

171

261

224

228

196

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อุณหภูมิตัวนํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา

2

กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2 3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

3

แกน

หลาย

แกน

หลาย

เดียว

แกน

เดียว

แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิล ที่ใชงาน

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพเิ ศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 185

238

216

213

194

297

256

258

222

240

279

253

249

227

348

299

301

258

300

319

291

285

259

398

343

343

295

400

-

-

-

-

475

-

406

-

500

-

-

-

-

545

-

464

-

หมายเหตุ - กลุมที่ 1 คือ สายแกนเดียวหรือสายหลายแกนหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะในฝาเพดานที่เปน ฉนวนความรอน หรือผนังกันไฟ - กลุมที่ 2 คือ สายแกนเดียวหรือหลายแกนหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะเดินเกาะผนังหรือเพดาน หรือฝงในผนังคอนกรีตที่คลายกัน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. การเดินสายไฟที่ตองฝงดินโดยตรง ควรเลือกใชสายไฟชนิดใด ก. HIV ข. NYY ค. VVR ง. VAF-S 2. สายไฟชนิดใด เหมาะสําหรับการเดินซอนภายในผนัง ก. VFF-F ข. VCT-GRD ค. VVF-GRD ง. VFF-GRD 3. สายไฟในขอใด มีลักษณะการใชงานเหมือกันทั้งหมด ก. VTF และ IV ข. VCT และ VFF ค. VFF-GRD และ VFF-F ง. VAF-G และ VVF-GRD 4. VAFแบบสายกลมและสายแบน มีลักษณะการใชงานที่แตกตางกันอยางไร ก. สายกลม สามารถฝงดินโดยตรงได ข. สายแบน สามารถรอยทอฝงดินได ค. สายแบน สามารถเดินในชองเดินสายได ง. สายกลม สามารถเดินรอยทอฝงดินได แตตองปองกันไมใหนา้ํ ทอ

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การเดินสายไฟแกนเดียวขนาด 500 ตร.มม. ที่มีตัวนํากระแส 2 ตัว ในทอโลหะเกาะผนัง จะสามารถรองรับกระแสไฟฟา ไดเทาไร ก. 406 แอมแปร ข. 464 แอมแปร ค. 525 แอมแปร ง. 545 แอมแปร 6. การเดินสายไฟหลายแกนขนาดกระแส 15 A ที่มีตัวนํากระแส 3 ตัวในทออโลหะในฝาเพดานที่เปนฉนวนความรอน ตอง เลือกสายไฟทีม่ ีขนาดเทาไร ก. 1.5 ตร.มม. ข. 2.5 ตร.มม. ค. 4 ตร.มม. ง. 6 ตร.มม. 7. การเดินสายไฟแกนเดียวขนาด 500 ตร.มม. ที่มีตัวนํากระแส 3 ตัว ในทออโลหะเพื่อฝงในผนังคอนกรีต จะสามารถ รองรับกระแสไฟฟาไดเทาไร ก. 400 แอมแปร ข. 406 แอมแปร ค. 464 แอมแปร ง. 475 แอมแปร 8. การเดินสายไฟแกนเดียวขนาดกระแส 30 A ที่มีตัวนํากระแส 2 ตัวในทอโลหะในผนังกันไฟ ตองเลือกสายไฟที่มีขนาดเทาไร ก. 1 ตร.มม. ข. 10 ตร.มม. ค. 4 ตร.มม. ง. 6 ตร.มม.

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9. การเดินสายไฟแกนเดียวในทอโลหะ เพื่อติดตัง้ ในฟาเพดานที่เปนฉนวนกันความรอน ตองเลือกใชสายไฟในขอใด ก. สายไฟขนาด 27 A ที่มีตัวนํากระแส 3 ตัว ข. สายไฟขนาด 30 A ที่มีตัวนํากระแส 3 ตัว ค. สายไฟขนาด 37 A ที่มีตัวนํากระแส 2 ตัว ง. สายไฟขนาด 40 A ที่มีตัวนํากระแส 2 ตัว 10. การเดินสายไฟแกนเดียวขนาด 343 A ในทอโลหะเพื่อเกาะเพดาน ควรเลือกสายไฟในขอใด ก. สายไฟขนาด 240 ตร.มม. มีตัวนํากระแสจํานวน 2 ตัว ข. สายไฟขนาด 300 ตร.มม. มีตัวนํากระแสจํานวน 3 ตัว ค. สายไฟขนาด 400 ตร.มม. มีตัวนํากระแสจํานวน 2 ตัว ง. สายไฟขนาด 500 ตร.มม. มีตัวนํากระแสจํานวน 3 ตัว

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5

0921520405 ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรมได

2. หัวขอสําคัญ 1. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย 2. การติดตั้งไฟฟาใหไดมาตรฐาน 3. ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. มาตรฐานติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://oreo.schneiderelectric.com/flipFlop/4832710769/files/docs/all.pdf ลือชัย ทองนิล. มาตรฐานการติดตั้ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.technologymedia.co.th/articledetail .asp?arid=2492&pid=257

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟามีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพื่อใหความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและ การใชงาน และเพื่อยืดอายุการใชง านของอุป กรณไฟฟาตาง ๆ ที่ใชอยูในระบบใหยาวนานยิ่ง ขึ้น การติดตั้งระบบไฟฟา มีมาตรฐานกําหนดที่แนนอนจากหลายหนวยงาน ซึ่งเผยแพรเอาไวใหผูปฏิบัติงานทางไฟฟาหรือผูที่เกี่ยวของสามารถศึกษา เพิ่มเติมได ตัวอยางเชน สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูป ถัม ภ (วสท.) กรมพัฒนาและสงเสริม พลังงานการไฟฟานครหลวง เปนตน สําหรับหนวยงานจากตางประเทศที่ประเทศไทยยอมรับและนํามาได เชน National Electric Code (NEC), American National Standard Institute (ANSI) และ International Electrotechnical Commission (IEC) เป น ต น รวมถึ ง หนว ยงานที่รับ รองมาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ อุ ป กรณ เครื่ อ งใช ไ ฟฟา ต า ง ๆ คือ สํา นั ก ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม หรือที่รูจักกันในชื่อ มอก. 1. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย มาตรฐานของประเทศไทยที่เกี่ยวของกับการเดินสายและอุปกรณไฟฟา เรียกวา “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับ ประเทศไทย” เปนมาตรฐานที่บังคับ ใชสําหรับการออกแบบและการติดตั้ง อุป กรณก ารไฟฟา มาตรฐานฉบับ นี้ ไดอ อก เมื่อป พ.ศ. 2545 โดย วสท. รวมกับการไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยรวมกัน รางมาตรฐานฉบับนี้ ซึ่ง เดิม ทีก ารไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคไดอ อกมาตรฐานของตนเอง เพื่อบังคับใช เฉพาะในพื้นที่จําหนายไฟฟาของหนวยงานเทานั้น จึงทําใหมีขอกําหนดบางสวนแตกตางกัน แตปจจุบันไดรวมเปนมาตรฐาน เดียวกันเพื่อความสะดวกในการใชงาน สวนมาตรฐานอีก ฉบับ หนึ่ง เปนมาตรฐานการติ ดตั้ง ทางไฟฟาสากล คือ เนชั่นแนล อิเ ล็ก ตริคอล โคด (National Electrical Code) หรือ NEC ซึ่งมาตรฐานนี้ไดรับการยอมรับและใชกันในหลายประเทศทั่วโลก จึงมีการปรับปรุงอยูตลอดเวลา ทําใหมาตรฐานนี้เปนปจจุบันเสมอ รวมถึงประเทศไทยก็ใชมาตรฐานฉบับนี้ในการอางอิงเชนกัน อยางไรก็ตามยังคงตองมีการอางอิงมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวขอ ง เพื่อ ใชในการออกแบบและการติดตั้งทางไฟฟา รวมถึง การเลือกใชวัสดุอุปกรณในงานไฟฟา ซึ่งมาตรฐานอื่นที่นิยมใชในการอางอิง ไดแก - มอก. (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) - แอนซี่ (ANSI, American National Standard Institute) - ดีไอเอ็น (DIN, Deutsche Industrial Normen) - วีดีอี (VDE, Verband Deutsche Electrotechniker) - บีเอส (BS, British Standaed) 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- เจไอเอส (JIS, Japanese Industrial Standaed) - ไออีซี (IEC, International Electrotechnical Commission) - ยูแอล (UL, Underwriters Laboratory Ins) - นีมา (NEMA, National Electrical Manufacturers Association) - เอ็นเอฟพีเอ (NFPA, National Fire Protection Association) 2. การติดตั้งทางไฟฟาใหไดมาตรฐาน การเดินสายและการติดตั้งอุปกรณทางไฟฟาเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสนิ ซึ่งหากออกแบบ ไมถูกตองหรือติดตั้งอุปกรณที่ไมไดมาตรฐาน อาจทําใหอายุการใชงานของอุปกรณการไฟฟาสั้นลง และกอใหเกิดอันตรายตอ ผูใชไฟฟาได ดั้งนั้น สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการปฏิบัติงานติดตั้งทางไฟฟาจึงสามารถแบงเปนขั้นตอนได ดังนี้ 2.1 การออกแบบ ตองดําเนินการโดยผูมีความรูทางดานไฟฟา เกี่ยวกับการหาขนาดโหลดการคํานวณคาตัวแปรตาง ๆ เพื่อเลือกขนาด และชนิดสายไฟ เครื่องปองกันอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ โดยมีปจจัยพื้นฐานในการออกแบบ คือ 1) ความปลอดภัย (Safety) เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหไมเกิดอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน โดยสิ่งที่ตองคํานึง คือ การออกแบบและการเลือกใชวัสดุอุปกรณตามมาตรฐานกําหนด 2) ความเชื่อถือได (Reliability) ในการออกแบบตองทําใหระบบมีจุดบกพรองนอยที่สุด ซึ่งจะทําใหระบบ เกิดประสิทธิภาพและตรงตามความตองการที่จะใชงาน 3) ความงาย (Simplicity) การออกแบบจะตองคํานึงถึงความสะดวกในการใชงาน ซอมแซม บํารุงรักษา รวมถึงขยายปรับปรุงระบบในอนาคต 4) คาใชจาย (Cost) เปนสิ่งจําเปนในการออกแบบและวางระบบ ซึ่งการออกแบบที่ดีตองปลอดภัย เชื่อถือ และสะดวกตอการใชงานโดยมีคาใชจายที่เหมาะสมที่ไมสูงเกินความจําเปนในการติดตั้ง 2.2 การเลือกใชอุปกรณ อุปกรณไฟฟาที่ใชตองไดมาตรฐาน มอก. หรือมาตรฐานสากลอื่น 2.3 การติดตั้ง เกี่ยวของกับการติดตั้งอุปกรณและเดินสายไฟฟาใหไดตามมาตรฐาน ปลอดภัยตามที่กําหนดในระบบไฟฟา

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.4 การบํารุงรักษา เปน การตรวจสอบอุ ป กรณ ไ ฟฟ า ต า ง ๆ วา ยัง มีส ภาพปกติห รือ ไม เชน จุด เชื่อ มตอ ทางไฟฟา มีก ารคลาย จุดเชื่อมตอหลวม หรืออุปกรณรอนผิดปกติขณะใชง าน ซึ่งโดยทั่วไปจะมีก ารตรวจสอบบํารุงระบบไฟฟาอยางน อ ย ปละ 2 ครั้ง เพื่อปองกันเหตุที่จะตามมาทีหลัง

3. ขอกําหนดมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟา ในการออกแบบติดตั้งระบบไฟฟา นอกจากผูปฏิบัติงานจะตองทราบมาตรฐานคุณสมบัติของบริภัณฑแลว ยังตองทราบ มาตรฐานการติดตั้งของวัสดุอุปกรณดวยเชนกัน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน โดยมาตรฐานในสวนนี้อางอิง จากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 ซึ่งผูปฏิบัติงานสามารถศึกษาหรือหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก เอกสารดังกลาว 3.1 โคมไฟฟา สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึง เมื่อติดตั้งโคมไฟฟาและเครื่องประกอบการติดตั้ง มีดังตอไปนี้ 1) ดวงโคมไฟฟาและเครื่อ งประกอบการติดตั้งตอ งเหมาะสมกับ สภาพแวดลอ มที่ติดตั้ง เมื่อ การติดตั้ง ในสถานที่เปยกหรือสถานที่ชื้น ตองใชดวงโคมชนิดที่กันน้ําไดเมื่ออยูในสภาพการใชงานตามปกติ 2) โคมไฟฟาและเครื่องประกอบการติดตั้งตองไมมีสวนที่มีไฟฟาเปดโลงใหสัมผัสได 3) หากดวงโคมใกลวัสดุติดไฟ ตองมีสิ่งปองกันหรือกั้นไมใหวัสดุติดไฟไดรับความรอนเกิน 90ºC 4) ดวงโคมและขั้วรับหลอด ตองมีการยึดอยางแข็งแรงและเหมาะสมกับน้ําหนักของดวงโคม ถาดวงโคมมี น้ําหนักเกินกวา 2.5 กิโลกรัม หรือมีขนาดใหญกวา 400 มิลลิเมตร หามใชขั้วรับหลอดเปนตัวรับน้ําหนัก ของดวงโคม 5) การเดินสายดวงโคม มีดังนี้ - การเดินสายดวงโคม ตองจัดทําใหเรียบรอยเพื่อปองกันความเสียหายและใหใชสายเทาที่จําเปน เทานั้น และตองไมทําใหอุณหภูมิของสายสูงกวาอุณภูมิใชงาน - ขนาดกระแสของสายตองไมต่ํากวากระแสของดวงโคม ขนาดสายไฟฟาสําหรับดวงโคม 1 ชุด ตองไมเล็กกวา 1.0 ตร.มม. และตองเปนชนิดที่เหมาะสมกับการใชงาน - ขั้วรับหลอดชนิดเกลียวเมื่อใชกับระบบไฟฟาที่มีตัวนํานิวทรัล สวนเกลียวโลหะที่เปนทางเดิน ของกระแสไฟฟาตองตอกับตัวนํานิวทรัลเทานั้น - ดวงโคมตองติดตั้งใหสามารถตรวจสอบการตอสายระหวางสายดวงโคมและสายวงจรยอยไดสะดวก - ฉนวนของสายในดวงโคม มีดังนี้ 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- สายที่ใชในดวงโคมตองมีฉนวนที่เหมาะสมกับกระแส แรงดัน และอุณหภูมิใชงาน - หากติดตั้งดวงโคมในสถานที่เปยกหรือสถานที่มีการผุกรอน ตองใชสายที่ไดรับการรับรองเทานั้น 6) การตอและการตอแยก มีดังนี้ - จุดตอหรือจุดตอแยกของสายตองไมอยูในกานดวงโคม - การตอหรือการตอแยกของสายใหมีในดวงโคมไดเทาที่จําเปน - สายไฟฟาที่อยูในตูแสดง ตองเดินในชองเดินสาย และสวนที่มีไฟฟาตองไมอยูในที่เปดเผย - กล อ งจุ ด ต อ ไฟฟ า เข า ดวงโคมตอ งมีฝ าครอบ หรือ ปด ดว ยฝาครอบดวงโคมขั้ว รับ หลอด เต ารั บ เตาเพดาน หรืออุปกรณที่คลายกัน 3.2 สวิตช เตารับ และเตาเสียบ สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึงเมื่อติดตั้งสวิตชและเตารับ มีดังตอไปนี้ 1) สวิตชและเตารับที่ใชงานตองมีพิกัดกระแส แรงดัน และประเภทที่เหมาะสมกับสภาพการใชงาน และ เตารับตองไมเปนประเภทที่ใชเปนขั้วหลอดไดดวย 2) สวิต ชแ ละเตา รับ ที่ ใ ช ก ลางแจง หรือ สถานที่เ ปย กชื้น ตอ งระบุ IP ใหเ หมาะกับ สภาพการใชง าน กรณีปองกันน้ําสาด ใหใชไมต่ํากวา IPX4 สวนกรณีปองกันน้ําฉีดใหใชไมต่ํากวา IPX5 3) การติ ดตั้ งเต ารั บแบบติ ดกั บพื้ นหรือฝงพื้น ตองปองกันหรือหลีกเลี่ยงจากความเสียหายทางกายภาพ เนื่องจากการทําความสะอาดพื้นและการใชงาน 4) สวิตชและเตารับตองติดตั้งอยูเหนือระดับน้ําที่อาจทวมหรือขังได 5) ขนาดสายสําหรับเตารับใชงานทั่วไปแตละชุดตองไมเล็กกวา 1.5 ตร.มม. และสําหรับเตารับใชงานเฉพาะ สายไฟฟาตองมีขนาดกระแสไมต่ํากวาพิกัดเตารับ แตไมตองใหญกวาขนาดของวงจรยอย 6) ลักษณะเตารับที่กําหนด มีดังนี้ - เตารับที่ใชในวงจรยอยตองเปนแบบมีขั้วสายดิน - เตารับในสถานที่เดียวกันแตใชแรงดันตางกัน ตองทําเพื่อเตาเสียบไมสามารถสลับกันได 7) ขั้ ว สายเต า รั บ ชนิ ด มี ส ายดิ น ตาม มอก.166-2549 จะตอ งมีก ารเรีย งขั้ว เฟสนิว ทรัล และสายดิน แบบทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากดานหนา 8) ขาเสียบเตาเสียบชนิดมีสายดินตาม มอก.166-2549 จะตอ งมีก ารเรียงขั้วเฟสนิวทรัล และสายดิน แบบตามเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากดานหนา

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3.3 แผงจายไฟ สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึงเมื่อติดตั้งแผงจายไฟหรือแผงยอย มีดังตอไปนี้ 1) แผงยอยหนึ่ง ๆ จะมีวงจรยอยไดไมเกิน 42 วงจร 2) ระยะทางของวงจรยอยจากแผงยอยไปถึงจุดจายไฟจุดสุดทายไมควรยาวเกิน 50 เมตร 3) แผงยอยตองติดตั้งในบริเวณที่สามารถเขาถึงไดโดยงาย โดยติดตั้งสูงไมเกิน 1.8 เมตร 4) แผงยอ ยควรติดตั้ง ในบริเ วณศูนยก ลางของการใชไฟฟา เพื่อ ใหส ามารถจายไฟฟา ไปยัง จุดตาง ๆ โดยมีแรงดันตกนอยที่สุด 5) แผงยอยควรติดตั้งใหอยูในแนวของสายปอน เพื่อใหสายปอนมีระยะสั้นและมีการโคงงอนอยที่สุด 6) คาพิกดั ของแผงยอยตองมีคาไมนอยกวาคาพิกัดของสายปอน 7) ในแตละชั้นของอาคารควรจะมีแผงยอยอยางนอย 1 แผง 8) แผงยอยจะตองมีบริภัณฑปองกันหลัก (Main Protection) 3.4 เครื่องปองกันกระแสและสวิตชตัดตอน สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึงเมื่อติดเครื่องปองกันกระแสและสวิตชตัดตอน สําหรับการปองกันกระแสเกิน ใน วงจรยอยและสายปอน มีดังตอไปนี้ 1) เครื่องปองกันกระแสเกินอาจเปนฟวส หรือเซอรกิตเบรกเกอร 2) ฟ ว ส เซอร กิต เบรกเกอร หรื อ การผสมของทั้ ง สองอย า งจะนํา มาต อ ขนานกัน ไม ไ ด ยกเว น เปน ผลิตภัณฑมาตรฐานที่ประกอบสําเร็จมาจากโรงงานผูผลิต และเปนแบบที่ไดรับความเห็นชอบวาเปน หนวยเดียวกัน 3) ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องปองกันกระแสเพิ่มเติมในดวงโคมหรือเครื่องใชไฟฟาอื่น ๆ จะใชแทนเครื่องปองกัน กระแสเกินของวงจรยอยไมไดและไมจําเปนตองเขาถึงไดทันที 4) เครื่องปองกันกระแสเกินตองสามารถปองกันตัวนําทุกสายเสนไฟ และไมตองติดตั้งในตัวนําที่มีการตอลงดิน ยกเวน อนุญาตใหติดตั้งเครื่องปองกันกระแสเกินในตัวนําที่มีการตอลงดินได ถาเครื่องปองกันกระแสเกินนัน้ สามารถตัดวงจรทุกเสนรวมทั้งตัวนําที่มีการตอลงดินไดพรอมกัน 5) เครื่อ งปอ งกันกระแสเกินตอ งไมติด ตั้ง ในสถานที่ซึ่ง ทําใหเ กิด ความเสียหาย และตอ งไมอ ยูใกลกับ วั ส ดุ ที่ ติดไฟง าย 6) เครื่องปองกันกระแสเกินตองบรรจุไวในกลองอยางมิดชิด (เฉพาะดามสับของเซอรกิตเบรกเกอร ยอมให โผลออกมาขางนอกได) ยกเวน หากติดตั้งไวแผงสวิตชหรือแผงควบคุม ซึ่งอยูในหองที่ไมมีวัส ดุติดไฟงาย 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

และไม มี ความชื้ น เครื่ อ งป อ งกันกระแสเกินสําหรับ บานที่อยูอ าศัยขนาดไมเกิน 16 แอมแปร 1 เฟส ไมตองบรรจุไวในกลองหรือตูก็ได 7) กลองหรือตูที่บรรจุเครื่องปองกันกระแสเกิน ซึ่งติดตั้งในสถานที่เปยกหรือชื้นตองเปนชนิดที่ไดรับความเห็นชอบ และตองมีชองวางระหวางตูกับผนังหรือพื้นที่รองรับไมนอยกวา 5 มิลลิเมตร 8) เครื่องปองกันกระแสเกินของวงจรยอยและสายปอนในแผงสวิตชตาง ๆ ตองทําเครื่องหมายระบุบ น วัตถุประสงคใหชัดเจนติดไวที่เ ครื่องปลดวงจรหรือ ใกลกับเครื่องปลดวงจร นอกจากวาตําแหน ง และ เครื่องหมายนั้นชัดเจนอยูแลว และทนตอสภาพแวดลอม 3.5 มอเตอร วงจรมอเตอร และเครื่องควบคุม สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึงเมื่อติดตั้งมอเตอร วงจรมอเตอร และเครื่องควบคุม มีดังตอไปนี้ 1) มอเตอร - เมื่อ เดินสายผานชอ งเปดของเครื่องหอ หุม กลอ งตอ ทอ หรือ ผนัง ตอ งใชบุชชิ่ง เพื่อ ปองกัน ความเสียหายของสาย บุชชิ่งตองทําจากวัสดุที่ทนตอสภาพแวดลอม เชน น้ํามันหลอลื่น จาระบี หรือสารเคมี เปนตน - ติดตั้งมอเตอรในที่ระบายอากาศไดสะดวกเขาทําการบํารุงรักษาไดงาย ยกเวน มอเตอรที่เปน สวนประกอบสําเร็จมากับบริภัณฑ - มอเตอรแบบเปดที่มีแปรงถาน ตองติดตั้งในสถานที่หรือมีมาตรการปองกันไมใหประกายไฟ ที่อาจเกิดขึ้นกระเด็นไปโดนวัตถุติดที่สามารถไฟได - ในสถานที่ที่มีฝุนละออง ควรใชมอเตอรชนิดปดเพื่องปองกันฝุนไมใหเขาไปยังตัวมอเตอรได - การพิจารณาวามอเตอรตัวใดใหญที่สุด ใหดูจากพิกัดกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร 2) เครื่องควบคุมมอเตอร - เครื่อ งควบคุม มอเตอรตอ งสามารถเดินหรือ หยุดมอเตอรที่ควบคุม ได และตอ งตัดกระแส เมื่อมอเตอรหมุนไมไหว - เครื่องเริ่มเดินแบบหมอแปลงออโต ตองมีตําแหนงเริ่มและหยุดเดินอยางนอยหนึ่งตําแหนง - เครื่องควบคุมตองมีพิกัดแรงมาไมต่ํากวาพิกัดแรงมาของมอเตอร - สวิตชบังคับดวยมือ ใชเพื่อปลดวงจรมอเตอรออก ตองติดตั้งไวในตําแหนงที่ม องเห็นไดจ าก ที่ตั้งมอเตอร และหางจากมอเตอรไมเกิน 15 เมตร - สวิตชและฟวสใชเปนเครื่องควบคุมมอเตอรได ถาฟวสมีขนาดที่กําหนด แตถาเปนฟวสชนิด ทํางานชา อาจลดขนาดลงมาตามความเหมาะสม 98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- เครื่องควบคุมมอเตอรที่ปรับความเร็วมอเตอรโดยการปรับสนามแมเหล็ก ตองมีวิธีการปองกัน มอเตอรเริ่มเดินในตําแหนงที่สนามแมเหล็กมีคานอย 3) วงจรควบคุมมอเตอร - วงจรควบคุมมอเตอรที่ตอแยกออกจากดานโหลด รวมทั้งหมอแปลงสําหรับใชวงจรควบคุม ต อ งมี ก ารป อ งกั น กระแสเกิน ยกเวน วงจรควบคุม ที่ป ระกอบสํา เร็จ อยูภ ายในกลอ ง เครื่องควบคุมมอเตอร - ตองจัดวงจรควบคุมมอเตอรในลักษณะที่ เมื่อเครื่องปลดวงจรอยูในตําแหนงปลดวงจรควบคุม จะตองถูกปลดออกจากตัวนําจายไฟทั้งหมด - ในกรณีที่มีหมอแปลงเพื่อลดแรงดันสําหรับใชในวงจรควบคุม และติดตั้งอยูภายในเครื่องควบคุม หมอแปลงหรืออุปกรณดังกลาว ตองตอทางดานโหลดของเครื่องปลดวงจรของวงจรควบคุม มอเตอร 3.6 ระบบสายดิน สิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรคํานึงถึงเมื่อติดตั้งระบบสายดิน มีดังตอไปนี้ 1) จุดตอลงดินของระบบไฟฟา (จุดตอลงดินของเสนศูนยหรือนิวทรัล) ตองอยูดานไฟเขาของเครื่องตัดวงจร ตัวแรกของตูเมนสวิตช 2) ภายในอาคารหลังเดียวกันไมควรมีจุดตอลงดินมากกวา 1 จุด 3) สายดินและสายเสนศูนยสามารถตอรวมกันไดเพียงแหงเดียวที่จุดตอลงดินภายในตูเมนสวิตช หามตอ รวมกันในที่อื่น ๆ อีก เชน ในแผงสวิตชยอยจะตองมีขั้วสายดินแยกจากขั้วตอสายศูนย และหามตอถึงกัน โดยมีฉนวนคั่นระหวางขั้วตอสายเสนศูนยกับตัวตูซึ่งตอกับขั้วตอสายดิน 4) ตูเมนสวิตชสําหรับหองชุดของอาคารชุดและตูแผงสวิตชประจําชั้นของอาคารชุดใหถือวาเปนแผงสวิตชยอย หามตอสายเสนศูนย และสายดินรวมกัน 5) ไมควรตอโครงโลหะของเครือ่ งใชไฟฟาลงดินโดยตรง แตถาไดดําเนินการไปแลวใหแกไขโดยมีการตอลงดิน ที่เมนสวิตชอยางถูกตอง แลวเดินสายดินจากเมนสวิตชมาตอรวมกับสายดินที่ใชอยูเดิม 6) ไมควรใชเซอรกิตเบรกเกอรชนิด 120/240 V กับระบบไฟ 220 V เพราะพิกัด IC จะลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง 7) การติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว จะเสริมการปองกันใหสมบูรณแบบยิ่งขึ้น เชน กรณีที่มักจะมีน้ําทวมขังหรือ กรณีสายดินขาด เปนตน และจุดตอลงดินตองอยูดานไฟเขาของเครื่องตัดไฟรั่วเสมอ 8) ถาตูเมนสวิตชไมมีขั้วตอสายดินและขั้วตอสายเสนศูนยแยกออกจากกัน เครื่องตัดไฟรั่วจะตอใชไดเฉพาะ วงจรยอยเทานั้น จะใชตัวเดียวปองกันทั้งระบบไมได 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

9) วงจรสายดินที่ถูกตองในสภาวะปกติจะตองไมมีกระแสไฟฟาไหล 10) ถาเดินสายไฟในทอโลหะ จะตองเดินสายดินในทอโลหะนั้นดวย 11) ดวงโคมไฟฟา และอุป กรณติด ตั้ง ที่เ ปน โลหะควรตอ ลงดิน มิฉ ะนั้น ตอ งอยูเ กินระยะที่บุคคลทั่วไป สัมผัสไมถึง (สูง 2.40 เมตร หรือหาง 1.50 เมตร ในแนวราบ) 12) ขนาดและชนิดของอุปกรณระบบสายดิน ตองเปนไปตามมาตรฐานกฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ ไฟฟาของการไฟฟานครหลวง

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 กําหนดใหใชขั้ว รับหลอดเปนตัวรับน้ําหนักของดวงโคมที่หนักเกิน 2.5 kg 2. การตอและการตอแยกดวงโคม ตองไมมีจุดตอหรือจุดตอแยกของสายอยูในกาน ดวงโคม 3. ค า IP ของสวิ ต ช แ ละเต า รั บ ที่ ใ ช ติ ด ตั้ ง กลางแจ ง ในกรณี ป อ งกั น น้ํ า สาด ตองไมต่ํากวา IPX5 4. ลักษณะของเตารับที่ใชในวงจรยอย ตองเปนแบบมีขั้วสายดิน 5. การติดตั้งแผงจายไฟหรือแผงยอยหนึ่ง ๆ จะมีวงจรยอยไดไมเกิน 40 วงจร 6. การติดตั้งกลองหรือตูที่บรรจุเครื่องปองกันกระแสเกิน ตองมีชองวางระหวางตู กับผนังหรือพื้นที่รองรับ ไมนอยกวา 5 มิลลิเมตร 7. การติดตั้งมอเตอรแบบเปดที่มีแปรงถาน ตองมีมาตรการปองกันประกายไฟที่ อาจกระเด็นไปโดนวัตถุติดที่สามารถไฟได 8. เครื่องเริ่มเดินมอเตอรแบบหมอแปลงออโต ตองมีตําแหนงเริ่มและหยุดเดิน อยางนอย 2 ตําแหนง 9. วงจรควบคุมมอเตอรทตี่ อแยกออกจากดานโหลด และวงจรควบคุมที่ประกอบมาใน กลองของเครื่องควบคุมมอเตอร ไมตองมีการปองกันกระแสเกิน 10. การติ ดตั้ งระบบสายดิน จุดตอ ลงดินของเสนศูนยหรือ นิวทรัล ตอ งอยูดาน ไฟเขาของเครื่องตัดวงจรตัวแรกของตูเมนสวิตช

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.