คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 1 โมดูล 6

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือผูรับการฝก 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็กระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09207206 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา

คูมือผูรับ การฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผน หนา) โมดูล 6 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้น เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบ ฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูรับการฝกได ใชเปนเครื่องมื อในการฝ กอบรมให เปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝกมีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 6 09207206 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0920720601 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม

12

หัวขอวิชาที่ 2 0920720602 แนวตองานเชื่อม

33

คณะผูจัดทําโครงการ

41

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070801

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอและอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมฟลเล็ท ตําแหนงทาเชื่อม PB PF PD และ D150PF 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหาร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสภาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070801 2. ชื่อโมดูลการฝก ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม รหัสโมดูลการฝก 09207206 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกจุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. บอกการกําหนดคาพารามิเตอรของการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกการเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงานไดอยางถูกตอง 4. บอกสัญลักษณงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. บอกลักษณะเฉพาะของแนวตองานเชื่อม รวมทั้งชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิต ขนาดที่สัมพันธกับสัญลักษณงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกจุดมุงหมายตามขอกําหนด หัวขอที่ 1 : ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1:45 1:45 กรรมวิธีการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 2. บอกการกําหนดคาพารามิเตอร ของการเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกการเลือกลวดเชื่อม ใหเหมาะกับโลหะชิ้นงาน ไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. บอกสัญลักษณงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง 5. บอกลักษณะเฉพาะของแนวตอ หัวขอที่ 2 : แนวตองานเชื่อม งานเชื่อม รวมทั้งชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิต ขนาด ที่สัมพันธกับสัญลักษณ งานเชื่อมไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:15

-

0:15

2:00

-

2:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920720601 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

บอกจุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกการกําหนดคาพารามิเตอรของการเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกการเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงานไดอยางถูกตอง บอกสัญลักษณงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

จุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม พารามิเตอรของการเชื่อม การเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงาน สัญลักษณงานเชื่อม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. 2560. การเขียนและอานสัญลักษณงานเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051211111542.pdf มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ศิริบงกช สมศักดิ์. 2560. การอานและเขียนแบบสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS : การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://rlms.vec.go.th/i/1337/4977

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1. จุดมุงหมายตามขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม ขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม มีจุดมุงหมายเพื่อกําหนดพารามิเตอรตาง ๆ ในกระบวนการเชื่อม (Welding Process) ถูกกําหนดเปนรหัสตามมาตรฐานสากล ISO4063 เชน 111 การเชื่อมอารกโลหะดวยมือ (Manual Metal Arc Welding) 12 การเชื่อมซับเมอรจ (Submerge Arc Welding) 131 การเชื่อมที่ใชแกสเฉื่อยเปนแกสปกปอง (Meteal Inert Gas) 135 การเชื่อมที่ใชแอคทีพแกสเปนแกสปกปอง (Metal Active Gas) 136 การเชื่อมฟลักซคอร (Flux Cored Arc Welding) 141 การเชื่อมโลหะโดยใชทังสเตน (Tungsten) เปนตัวอารก และใชแกสเฉื่อยเปนแกสปกปอง (Tungsten Inert Gas) 2. พารามิเตอรของการเชื่อม การกําหนดพารามิเตอรในการเชื่อมมีสวนเกี่ยวของในการควบคุมกระบวนการเชื่อม และคุณภาพงานเชื่อม ซึ่งตัวแปร ที่เกี่ยวของมี 3 ประเภท คือ 2.1 ตัวแปรสําคัญ (Essential Variable) ตัวแปรนี้จะถูกกําหนดขึ้นกอนการเชื่อม ประกอบไปดวย 1) ชนิดลวดเชื่อม โดยเลือกใชลวดเชื่อมเพื่อเชื่อมรอยตอใหมีสวนผสมทางเคมีเหมือนกับโลหะชิ้นงาน 2) ขนาดลวดเชื่อม ขนาดเสนผานศูนยกลางของลวดเชื่อมมีตั้งแต 0.6 มิลลิเมตร 0.8 มิลลิเมตร 0.9 มิลลิเมตร 1.0 มิลลิเมตร 1.2 มิลลิเมตร 1.6 มิลลิเมตร และ 3.2 มิลลิเมตร ซึ่งขนาดของลวดเชื่อมนั้นสงผลตอ ความกวางของรอยเชื่อม ระยะซึมลึก และอัตราเร็วในการเชื่อม ซึ่งลวดเชื่อมที่มีขนาดใหญจะใชกระแสสูง และใหอัตราเติมเนื้อโลหะมากกวา แตอัตราการหลอมเหลวของลวดเชื่อมจะแปรผันกับความหนาแนน กระแส ถาลวดเชื่อมขนาดใหญ และลวดเชื่อมขนาดเล็กใชกระแสเชื่อมเดียวกัน ลวดเชื่อมขนาดเล็กจะมี อัตราการเติมเนื้อโลหะมากกวา เพราะมีความหนาแนนกระแสสูงกวาจึงเกิดความรอนเขมขนมากกวา และระยะซึมลึ กจะแปรผัน กับ ความหนาแนน กระแสเชน กัน ลวดเชื่อมขนาดเล็กจึ งมีความหนาแน น มากกวาทําใหมีการซึมลึ กได มาก เพราะฉะนั้นการเลือกขนาดลวดเชื่ อมจึงขึ้น อยูกับ ความหนาโลหะ ชิ้นงาน ระยะซึมลึกที่ตองการ อัตราการเติมโลหะ ตําแหนงแนวเชื่อม ลักษณะของรอยเชื่อม และราคา ลวดเชื่อม ซึ่งลวดเชื่อมขนาดเล็กจะมีราคาสูงกวาเมื่อคิดตอน้ําหนักลวดเชื่อม สําหรับ ลวดเชื่อมที่มี 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขนาดเสนผานศูนยกลางขนาดเล็กคือ 0.6 มิลลิเมตร 0.8 มิลลิเมตร และ 0.9 มิลลิเมตร มีชื่อเรียกเฉพาะวา ไมโครไวร ใชไดผลดีที่สุดเมื่อเชื่อมโลหะบาง เพราะมีแนวโนมตอการซึมลึกไดมาก เนื่องจากมีความหนาแนน ของกระแสสูง เพิ่มอัตราความเร็วการเชื่อมไดสูง สําหรับวัสดุงานหนาปานกลางจะใชลวดเชื่อมขนาด 1.0 มิลลิเมตร หรือ 1.6 มิลลิเมตร สวนโลหะชิ้นงานที่หนาควรเลือกใชขนาด 3.2 มิลลิเมตร นอกจากนี้ สิ่งที่ตองพิจารณาเพิ่มเติมคือ ตําแหนงแนวเชื่อม เชน แนวเชื่อมเหนือศีรษะหรือแนวตั้ง ควรเชื่อมดวย ลวดเชื่อมขนาดเล็กจะไดผลดีกวาลวดเชื่อมขนาดใหญ 3) ชนิดของแกสปกปอง มีผลตอระยะซึมลึก ลักษณะรอยเชื่อม อัตราการเติมโลหะ ปริมาณการเกิดควัน และไอ สะเก็ดโลหะ อัตราเร็วการเชื่อม คุณสมบัติทางกลที่จะไดรับ และชนิดการถายโลหะ การเชื่อมโลหะที่เปนเหล็กนิยมใชคารบอนไดออกไซด อารกอน-คารบอนไดออกไซด อารกอน-ออกซิเจน เนื่องจากการใชคารบอนไดออกไซดคลุมอยางเดียวไมผสมแกสอื่น ทําใหลวดเชื่อมมีอัตราสิ้นเปลืองสูง ระยะซึม ลึก มาก รอยเชื ่อ มกวา งและนูน สํ า หรับ แกส คารบ อนไดออกไซดนั ้น มีข อ ดีค ือ ราคาถูก อัตราเร็วในการเคลื่อนที่หัวเชื่อมสูง แตกอใหเกิดควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นมากเพราะความรอน เขาสูงานสูง สวนแกสอารกอน หรืออารกอน-ออกซิเจน ตรงขามกับคารบอนไดออกไซดเพราะอัตรา สิ้นเปลืองต่ํา ระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมแคบและแบนราบ ปริมาณควันและสะเก็ดโลหะกระเด็นนอย สวนแกสอารกอน-คารบอนไดออกไซดจะมีสมบัติผสมระหวางคารบอนไดออกไซดกับแกสผสมอารกอนออกซิเจน สําหรับการเชื่อมโลหะที่ไมใชเหล็กจะใชแกสอารกอน อารกอน-ฮีเลียม และฮีเลียม อารกอนจะให ระยะซึม ลึก ตื้น และอัต ราสิ้น เปลือ งต่ํา รอยเชื่อ มแคบและแบนราบ แตอ ารก อนจะมีร าคาถูก กวา และเกิดสะเก็ดโลหะกระเด็นในปริมาณที่นอย สวนฮีเลียมใหระยะซึมลึกมาก อัตราสิ้นเปลืองลวดเชื่อมสูง รอยเชื่อ มกวา งและนูน โคง เพราะมีแ รงดัน อารก สูง ราคาแพง และอัต ราการไหลสูง กวา อารก อน สวนแกสอารกอน-คารบอนไดออกไซดจะมีสมบัติผสมระหวางอารกอนกับฮีเลียม

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.1 ลักษณะหนาตัดรอยเชื่อมและคุณสมบัติของการซึมลึกเมื่อใชแกสปกปองชนิดตาง ๆ 4) อัต ราการไหลของแกส ปกปอ ง เพื่อ ใหแกส ที่ออกมาคลุมรอยเชื่อ มไดผ ลดี แกส ที่อ อกมาจากหัว ฉีด ควรมีการไหลแบบราบเรียบ คือ แนวการไหลเปนเสนตรง หากอัตราการไหลสูงเกินไปจะเกิดการปนปวน คือ มีการหมุนวนของแกส เมื่อแกสมีการหมุนวนผสมกับอากาศแลวรวมตัวเขากับเนื้อโลหะชิ้นงานจะทําให รอยเชื่อมสกปรกและเสียสมบัติที่ดีไป แตถาแกสเกิดการคลุมนอยเกินไปก็จะเกิดโพรงอากาศและความพรุน ในเนื้อโลหะชิ้นงาน ดังนั้น ในการเชื่อมจึงควรเลือกอัตราการไหลของแกสปกปองใหเหมาะสม 2.2 ตัวแปรปรับปฐมภูมิ เปนตัวแปรที่ใชควบคุมกระบวนการเชื่อมหลังจากเลือกตัวแปรขั้นตนไดแลว ตัวแปรนี้จะควบคุมระยะซึมลึก ความกวาง รอยเชื่อม ความสูงรอยเชื่อม ความเสถียรของอารก อัตราการเติมเนื้อโลหะ ความเรียบของรอยเชื่อม และการเกิดสะเก็ดโลหะ ซึ่งเปนคาเฉพาะที่ตองปรับกอนปฏิบัติการเชื่อม และสามารถปรับแตงคาตอเนื่องเพื่อใหไดคาที่ดีที่สุดในขณะทํางานเชื่อมอยู ซึ่งตัวแปรปฐมภูมิประกอบดวย 1) อัตราเร็วปอนลวดเชื่อม มีผลกระทบตออัตราการเติมเนื้อโลหะ ขนาดและรูปทรงของรอยเชื่อม ระยะซึมลึก ในระบบแรงดันคงที่กระแสเชื่อมจะถูกควบคุมดวยปุมปรับอัตราปอนลวดเชื่อมบนชุดควบคุมการปอนลวด เมื่ออัตราเร็วปอนลวดเพิ่มขึ้น กระแสเชื่อมก็จะเพิ่มขึ้นเชนกัน การเพิ่มปริมาณกระแสเชื่อมจะทําใหอัตราการหลอมของลวดเชื่อมเพิ่มขึ้น และอัตราการเติม เนื้อโลหะรอยเชื่อมเพิ่มดวยเชนกัน ถาปริมาณกระแสเชื่อมที่ใชกับลวดเชื่อมมีคานอยเกินไปเปนผลให การถายโอนโลหะจากลวดเชื่อมสูรอยเชื่อมชา ทําใหระยะซึมลึกของรอยเชื่อมและการหลอมโลหะชิ้นงานไมดี รอยเชื่อ มขรุข ระและแข็ง มาก ถา ใชก ระแสสูง เกิน ไประยะซึม ลึก ของรอยเชื่อ มจะลึก มากอาจเกิด

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รอยหลอมทะลุไปยังอีกดานหนึ่งของชิ้นงานและรอยกินลึกที่ขางรอยเชื่อมทําใหไมสวยงาม นอกจากนั้น กระแสเชื่อมยังเกี่ยวของกับความหนาแนนกระแสตอพื้นที่หนาตัดลวดเชื่อม ดังสูตรตอไปนี้ ความหนาแนนกระแส = จํานวนแอมแปร / พื้นที่หนาตัด

ภาพที่ 1.2 เปรียบเทียบระยะซึมลึกระหวางลวดเชื่อมขนาดตางกันเมื่อใชกระแสเชื่อมเทากัน การเลือกคากระแสเชื่อมตองเหมาะสมกับขนาดลวดเชื่อมดังแสดงในตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 ปริมาณกระแสเชื่อมที่ควรใชกับกระบวนการเชื่อมแม็ก ขนาดเสนผานศูนยกลางลวดเชื่อม

ชวงปริมาณกระแสที่ควรใชในการเชื่อม

(มิลลิเมตร)

(แอมแปร)

0.8

50 - 140

0.9

65 - 160

1.0

100 - 220

1.2

105 - 375

2.4

210 - 550

3.2

375 - 600

ถาปริมาณกระแสสูงเกินไป ลวดเชือ่ มที่อยูภายในทอนํากระแสอาจจะหลอมกับทอนํากระแส การอารก ไมเสถียรและการคลุมของแกสจะถูกรบกวนสงผลใหเกิดสะเก็ดโลหะมาก ลักษณะรอยเชื่อมนูนและกวาง ถาปริมาณกระแสต่ําเกินไปลวดเชื่อมอาจกลายเปนเพียงชิ้นสวนที่ทําหนาที่แคตัวลัดวงจรจากเครื่องเชื่อม ไปยังชิ้นงานเทานั้น ลวดเชื่อมจะรอนแดงและการอารกจะดับลง แตก็ไมเสถียรทําใหการหลอมของ เนื้อโลหะเชื่อมไมดี จะมีรอยเชื่อมเฉพาะผิวหนางานเชื่อมเทานั้น ไมซึมลึกลงไปหรือซึมลึกไดนอยมาก และการใชป ริมาณกระแสต่ําหรือสูงเกิน ไปยังสงผลกระทบตอสมบัติทางกายภาพของโลหะชิ้น งาน 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ในสว นที่เปนเนื้อโลหะเชื่อมดวย โดยคาความตานแรงดึงสูงสุด และความออนตัวจะลดลง อาจเกิด ความพรุนในเนื้อโลหะชิ้นงาน มีออกไซดสวนเกิน และสารมลทินอื่นรวมเขากับเนื้อโลหะชิ้นงาน 2) แรงดั นอาร ก หาได จากความยาวอาร กระหว างปลายลวดเชื่ อมกั บโลหะชิ้ นงาน ในระบบแรงดั น คงที่ จะปรับแรงดันอารกที่ปุมดานหนาเครื่องเชื่อม และเครื่องเชื่อมจะรักษาแรงดันใหคงที่ตามจํานวนที่ตั้งไว การตั้งแรงดันอารกขึ้นอยูกับขนาดลวดเชื่อม ชนิด แกสปกปอง ตําแหนงแนวเชื่อม ชนิด รอยตอและ ความหนาโลหะชิ้นงาน การตั้งแรงดันอารกสูงจะทําใหไดรอยเชื่อมที่กวางและแบนราบ แตถาสูงเกินไป จะทําใหเกิดสะเก็ดโลหะ ความพรุน และรอยกินลึก ถาตั้งแรงดันอารกต่ําจะไดรอยเชื่อมที่แคบและนูน แตถาต่ําเกินไปลวดเชื่อมจะหลอมติดชิ้นงาน เกิดความพรุนและรอยเกยที่ขอบรอยเชื่อม 3) อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม คือ อัตราการเคลื่อนที่ของหัวเชื่อมตอ 1 หนวยเวลา กรณีการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ จะควบคุมโดยผูปฏิบัติงาน แตถาเปนกรณีเชื่อมอัตโนมัติจะถูกควบคุมดวยกลไกจักรกล อัตราเร็วเคลื่อนที่ หัวเชื่อมมีผลกระทบตอระยะซึมลึกของรอยเชื่อม ขนาดรอยเชื่อม และลักษณะรอยเชื่อม การเพิ่มหรือลดอัตราเร็ว เคลื่อนที่หัว เชื่อมมีผ ลกระทบตอระยะซึมลึก เมื่ออัต ราการเคลื่อนที่ หัวเชื่อมลดลง อัตราการเติมเนื้อโลหะตอหนวยความยาวจะเพิ่มขึ้น ทําใหบอหลอมเหลวมีขนาดใหญ และตื้น เนื้อโลหะเชื่อมจะล้ําหนาลวดเชื่อมไปเล็กนอยขณะเชื่อมสงผลใหระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวาง และนูนมาก แตถาอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมชาเกิน ไปจะเกิดรอยเกยของเนื้อโลหะที่ขอบรอยเชื่อ ม การหลอมตัวของโลหะชิ้นงานไมดี มีระยะซึมลึกมากเกินไป ความพรุนในเนื้อโลหะชิ้นงานมาก และรอยเชื่อม ขรุขระ ถาอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมมากเกินไป การถายโอนความรอนเขาสูโลหะชิ้นงานลดลง ทําให การหลอมของโลหะชิ้นงานไดไมดี ระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวางและนูน ถาใชอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม เร็ว เกิน ไป จะเกิด รอยกิน ลึกที่ขอบรอยเชื่อมเพราะการเติมเนื้อโลหะหลอมเหลวไมเ ต็มรองรอยตอ เกิดสะเก็ดโลหะมาก รอยเชื่อมไมสม่ําเสมอเพราะโลหะชิ้นงานหลอมไดนอยเกินไป 2.3 ตัวแปรปรับทุติยภูมิ เปน ตัว แปรรองจากตัวแปรปรับ ปฐมภูมิ สามารถปรับ เปลี่ยนไดอยางตอเนื่องขณะปฏิบัติงานเชื่อม ตัว แปรนี้ ไมมีผลกระทบโดยตรงตอการเกิดรอยเชื่อม แตสงผลใหตัวแปรปรับทุติยภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลง และมีผลใหรอยเชื่อม เปลี่ยนแปลงอีกทอดหนึ่ง ซึ่งตัวแปรเหลานี้ประกอบดวย 1) ระยะยื่นลวด คือ ระยะหางระหวางขอบลางของทอสัมผัสนํากระแสถึงปลายสุดของลวดเชื่อม

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.3 ระยะยื่นลวด ถา ระยะยื่น ยาวขึ้น จะทํา ใหเ กิด ความตา นทานที่ล วดเชื่อ มสูง ตาม สง ผลใหล วดเชื่อ มถูก อุน กอนที่จะหลอมเหลว และมีผลตอระยะซึมลึกนอยลง แตถาหากระยะยื่นลวดลดลงการอุนลวดเชื่อม กอนหลอมเหลวก็ลดลงดวย เครื่องเชื่อมจายกระแสเชื่อมออกมาในปริมาณมาก รวมทั้งระยะซึมลึกก็จะมาก เชนกัน ตารางที่ 1.2 แสดงการเปรียบเทียบระยะยื่นหรือระยะทางจากทอสัมผัสนํากระแสถึงผิวหนาชิ้นงาน ที่มีขนาดความสั้นยาวตางกัน จะใหผลตอสมบัติของการเชื่อมที่แตกตางกัน

ระยะยื่นลวด

สั้นกวา

ปานกลางประมาณ 10 มม.

ยาวกวา

ตานทานความรอน

นอย

ปานกลาง

มาก

พลังงานการอารก

มาก

ปานกลาง

นอย

การหลอมลึก

ลึกกวา

ปานกลาง

ตื้นมาก

สะเก็ดเชื่อม

เล็กนอย

ปานกลาง

จํานวนมาก

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2) อัตราการไหลของแกส ปกปอง และระยะหางของหัว ฉีด ควรเลือกใชใหเหมาะสมโดยพิจ ารณาจาก คาตัวแปรตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อม เนื่องจากมีผลตอการเกิดโพรงอากาศ และปริมาณไนโตรเจนในเนื้อ โลหะชิ้นงาน ดังแสดงในตาราง ตารางที่ 1.3 อิทธิพลของระยะหางหัวฉีดตอการเกิดโพรงอากาศและปริมาณไนโตรเจน ขนาดหัวฉีดและ

ระยะหางของ

อัตราการไหล

หัวฉีด (มิลลิเมตร)

เส น ผ า นศู น ย ก ลาง ภายนอก 20 มิลลิเมตร CO 2 25 ลิตรตอนาที

การเกิดโพรงอากาศ

ปริมาณ ไนโตรเจน 0.0034

15

0.0036 0.0045

20

0.0049 0.0086

25

0.0081 0.011

30

0.0099 0.019

35

0.023 0.024

40

0.031

3) มุมหัวเชื่อม ในการเชื่อมนั้นมุมเอียงหัวเชื่อมที่ใหระยะซึมลึกมากที่สุดคือ 15 - 20 องศา เมื่อใชการเคลื่อนที่ หัวเชื่อมแบบถอยหลัง ถามุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมตางไปจากนี้ ระยะซึมลึกก็จะลดลง สําหรับมุมเชื่อมแบบ ถอยหลัง 15 องศา และมุมแบบเดินหนา 30 องศา ความสัมพันธระหวางระยะซึมลึกกับมุมเคลื่อนที่ หัว เชื่อมเกือบจะเปน เสน ตรง ดังนั้น ถาจะควบคุมระยะซึมลึกจึงควรใหอยูในพิสัย นั้น มุมเคลื่อนที่ หัวเชื่อมที่เลือกใชจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงความสูงและความกวางรอยเชื่อม นอกจากนี้ยังมีผลกระทบ กับลักษณะรอยเชื่อมดวย เมื่อมุมเชื่อมแบบถอยหลังลดลง ความสูงของรอยเชื่อมจะลดลงแตความกวาง จะเพิ่มขึ้น สําหรับมุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมแบบเดินหนา จะใชเมื่อมีอัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อมสูง

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ในการเชื่อมรอยตอชน หากชิ้นงานหนาเทากันจะเชื่อมโดยใหลวดเชื่อมอยูบนเสนศูนยกลางรอยตอ แตถาชิ้นงานหนาไมเทากันมุมลวดควรเคลื่อนไปทางแผนหนา ในการเคลื่อนที่หัวเชื่อมอาจมีการสายลวด หรือไมมีก็ได

ภาพที่ 1.4 มุมหัวเชื่อมที่ถูกตองสําหรับการเชื่อมตอฉากและตอชน 3. การเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับโลหะชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใชกับ กระบวนการเชื่อมแม็กมีทั้งชนิดลวดตัน และลวดไสฟลักซ ในที่นี้จ ะอธิบ ายเฉพาะลวดตันเทานั้น ซึ่ง AWS (American Welding Society) ไดกําหนดมาตรฐานของลวดเชื่อมไวเพื่อใหสะดวกในการใชงาน โดยแบงเปน กลุมรหัสดังนี้ AWS Spec. A 5.7 A 5.9 A 5.10 A 5.14 A 5.16 A 5.18 A 5.19 A 5.24 A 5.28

โลหะ ทองแดงและทองแดงผสม เหล็กกลาไรสนิม อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมผสม นิกเกิลและนิกเกิลผสม ไทเทเนียมและไทเทเนียมผสม เหล็กกลาคารบอน แมกนีเซียมผสม เซอรโครเนียมและเซอรโครเนียมผสม เหล็กกลาผสมต่ํา 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สําหรับลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 สามารถจําแนกตามการใชงานไดดังนี้ ER70S-1

ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนต่ํา

ER70S-2

ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนทุกเกรดกับเหล็กกลาผสมต่ําบางตัว

ER70S-3

ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาละมุน

ER70S-4

ใชสําหรับเชื่อมเหล็กกลาละมุน

ER70S-5

ใชสําหรับเหล็ กกล าคาร บอนทุกเกรดกับเหล็กกลาผสมต่ําบางตัว และสามารถใชกับการเชื่ อมบน เหล็กกลาที่ผิวเปนสนิม หรือผิวที่เปอนน้ํามันไดดี

ER70S-6

ใชสําหรับเหล็กที่มีออกซิเจนเจือปนสูง

ER70S-7

คุณสมบัติเหมือนกับ ER70S-6 แตมีแมงกานีสผสมอยู จึงใหรอยเชื่อมที่ดี

ER70S-G

เปนลวดเชื่อมที่ไมกําหนดรายละเอียดของสวนผสมทางเคมี ขึ้นอยูกับการตกลงของผูซื้อและผูผลิต

สวนลวดเชื่อมที่เปนเหล็กกลาผสมต่ําจะเปนไปตามมาตรฐาน A5.28 โดยการกําหนดรหัสมาตรฐานเหมือนกับ AWS A5.18 แตตางที่รหัสตัวเลขจะเปน 80 90 หรือ 100 ซึ่งอักษรยอและตัวเลขทายสุดจะเปนสวนผสมทางเคมี โดยยกตัวอยาง ไดดังนี้ ER80S-B2

ใชสําหรับเหล็กกลาโครเมียม-โมลิบดินัม (Cr-Mo)

ER80S-Ni1 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมนิกเกิล ER80S-D2

ใชสําหรับเหล็กกลาผสมแมงกานีส-โมลิบดินัม

4. สัญลักษณงานเชื่อม สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐานสากลแบงออกเปน 2 แบบ ดังตอไปนี้ 4.1 สัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS มาตรฐานของสมาคมการเชื่ อ มแห งอเมริ กา (AWS) เปน เครื่องหมายที่ใชเขี ย นแทนข อ ความเพื่ อ บอกข อ มู ล รายละเอียดและขอกําหนดตาง ๆ ของชิ้นงานเชื่อมแกผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหชิ้นงานนั้น มีลักษณะเปนไปตามที่ ผูออกแบบตองการ รวมทั้งเปนการกําหนดมาตรฐานที่ทุกคนสามารถนําไปใชและเขาใจรวมกัน สัญลักษณในการเชื่อมของ AWS นี้ กําหนดขึ้นโดยใชลักษณะของรอยเชื่อมเพื่อเปนตัวอางอิงสําหรับการเขี ยน สัญลักษณซึ่งจะประกอบดวย เสนแสดงบริเวณเชื่อมทีใ่ หรายละเอียดวา การเชื่อมกระทําอยูดานใดที่ลูกศรชี้ หรืออาจ ทั้งสองดาน ซึ่งหัวลูกศรจะชี้ไปยังจุดที่เชื่อมหรือแนวเชื่อม

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สวนประกอบตาง ๆ ที่สําคัญของสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS มี 3 สวน ไดแก 1) สวนหาง แสดงขอมูลของกระบวนการเชื่อมหรือลวดเชื่อม 2) เสนฐาน มีลักษณะเปนเสนตรงอยูแนวนอนเทานั้น การเขียนจะเขียนตอกับหัวลูกศรตอดวยหาง หรือไมก็ได ใชสําหรับตั้งสัญลักษณแสดงความหมายตาง ๆ 3) หัวลูกศร อยูหัวสุด ใชสําหรับบอกตําแหนงแนวเชื่อมหรือจุดที่จะเชื่อม อาจจะชี้ขึ้น ลง ซาย หรือขวาได

ภาพที่ 1.5 สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน AWS รายละเอียดสัญลักษณตาง ๆ จะเขียนแสดง ดังภาพ

ภาพที่ 1.6 รายละเอียดบนสัญลักษณงานเชื่อม

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ความหมายของสัญลักษณตาง ๆ ในงานเชื่อมแบบ AWS ไดแก 1) ความหมายสัญลักษณชนิดรอยตอ รอยตอชนแบบตาง ๆ ต อ ชนไม ตัววี

ครึ่งวี

ตัวยู

ตัวเจ

ปากผายตัววี

ปากผาย

บากงาน

ครึ่งวี

2) ความหมายสัญลักษณชนิดแนวเชื่อม ฟลเลท

เชื่อม

เชื่อมจุด

เชื่อมตะเข็บ

อุดรอง

เชื่อม

เชื่อม

หนาแปลน

ดานหลัง พอกผิว

เชื่อม

และ

หรือแผน

ขอบ

อุดรู

รองหลัง

เชื่อมมุม

3) ความหมายสัญลักษณแสดงลักษณะการเชื่อมและผิวแนวเชื่อม เชื่อมรอบชิ้นงาน เชื่อมในสนาม

เชื่อมซึมลึก ดานหลัง

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ลักษณะผิวรอยเชื่อม เรียบ

นูน

เวา


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4) ความหมายของสัญลักษณการตกแตงรอยเชื่อม สัญลักษณ

ความหมาย

C

ใชสกัด

G

ใชเจีย

M

ใชเครื่องมือกล

R

ใชเครื่องมวน

H

ใชคอนเคาะ

การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS 1) สัญลักษณของแนวเชื่อมแบบตาง ๆ แนวเชื่อม

สัญลักษณ

แนวเชื่อมตอฉาก (Fillet Welding)

แนวเชื่อมตอชนตัววี แนวเชื่อมตอชนตัวยู แนวเชื่อมตอขอบ

แนวเชื่อมตอชนตัวเจ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

แนวเชื่อมที่ตองการ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แนวเชื่อม

สัญลักษณ

แนวเชื่อมที่ตองการ

แนวเชื่อมตอขอบโดยมี การซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววีโดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววี เชื่อมทับดานหลัง โดยเชื่อมทับดานหนา กอน แนวเชือ่ มตอฉากรอยตอ ตัวเจ เชื่อมทับดานหลัง

2) การบอกขนาดรอยเชื่อมในลักษณะตาง ๆ ขนาดแนวเชื่อม

สัญลักษณ

แนวเชื่อมที่ตองการ

แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดขาทั้ง 2 เทากัน แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดขาทั้ง 2 ไมเทากัน แนวเชื่อมตอฉาก ขนาดแนวเชื่อมทั้ง 2 แนวไมเทากัน ขนาดความลึ ก ของ แนวเชื่อมตอตัววี 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขนาดแนวเชื่อม

สัญลักษณ

แนวเชื่อมที่ตองการ

ขนาดความลึกของ แนวเชื่อมตอตัววี ขนาดระยะหางรอยตอ แ ล ะ มุ ม บ า ก ข อ ง แนวเชื่อม 2 ดาน ขนาดความยาวรอย เชื่อมตอฉาก และขนาดระยะฟตซ 2 ดานตรงกัน ขนาดความยาวแนว เชื่อมตอฉาก และขนาดระยะเวน ของ 2 ดานสลับกัน 3) การแสดงลักษณะผิวงานแนวเชื่อมและการเชื่อม - การแสดงลักษณะผิวหนาแนวเชื่อมและวิธีการแตงรอยเชื่อม

- การแสดงการเชื่อมรอบชิ้นงาน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4.2 สัญลักษณงานเชื่อมแบบ ISO 2553 สวนประกอบของสัญลักษณงานเชื่อมในระบบ ISO 2553 มีดังนี้ 1) หัวลูกศร (Arrow Line) ชี้บอกตําแหนงรอยตอที่จะทําการเชื่อม 2) เสนอางอิงหลัก (Reference Line) เสนลําตัวของหัวลูกศรมีลักษณะเปนเสนตรงอยูในแนวระดับ เปนที่สําหรับ ตั้งสัญลักษณงานเชื่อม 3) เสนอางอิงยอย (Indentification Line) มีลักษณะเปนเสนประอยูดานบนหรือดานลางของเสนอางอิ ง หลักใชประกอบกับสัญลักษณรอยตอของงานเชื่อม การบอกตําแหนงของรอยบากชิ้นงาน และการตกแต ง ชิ้นงานเชื่อม - การเชื่อมดานตรงขามลูกศรชี้ (Other Side) เสนอางอิงยอยอยูดานเดียวกับสัญลักษณงานเชื่อม - การเชื่อมดานลูกศรชี้ (Arrow Side) เสนอางอิงยอยอยูคนละดานกับสัญลักษณงานเชื่อม 4) หาง (Tail) สวนทายของลูกศรที่ใชแสดงขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม ชนิดของลวดเชื่อม กระแสไฟ หรือขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการเชื่อม 5) สัญลักษณการเชื่อม (Symbol) แสดงชนิดของรอยตอ ชนิดของแนวเชื่อม ลักษณะการเชื่อม และผิวหนา ของแนวเชื่อม

ภาพที่ 1.7 สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน ISO

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณงานเชื่อมตามมาตรฐาน ISO กับ AWS จะแตกตางกันตรงที่วางตําแหนงสัญลักษณ ซึ่งสามารถแสดงเปรียบเทียบไดดังนี้ แนวเชื่อม

สัญลักษณ AWS

สัญลักษณ ISO

แนวเชื่อมตอฉาก (Fillet Welding)

แนวเชื่อมตอชนตัววี

แนวเชื่อมตอขอบ

แนวเชื่อมตอขอบ โดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววีโดยมีการซึมลึก แนวเชื่อมรอยตอชน ตัววี เชื่อมทับ ดานหลัง โดยเชื่อม ทับดานหนากอน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

แนวเชื่อมที่ตองการ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่เพียงขอเดียว 1. หัวขอใดไมไดระบุไวในขอกําหนดวิธีการเชื่อม ก. ความตานทาน (Strength) ข. ตําแหนงทาเชื่อม ค. ความสามารถในการเชื่อมของชางเชื่อม ง. สมบัติของเครื่องเชื่อม 2. ขอใดเปนหลักที่ใชในการพิจารณาเลือกลวดเชื่อมใหเหมาะกับงาน ก. สมบัติของลวดเชื่อม ข. แหลงที่ผลิตลวด ค. ชนิดของโลหะที่ใชในการผลิตลวด ง. คุณสมบัติทางกลของโลหะชิ้นงาน 3. ER 70 S-6 ความหมายของอักษร ER คือขอใด ก. ลวดเชื่อมไฟฟา ข. ลวดเชื่อมอารก ค. ลวดเชื่อมอารกและเปนลวดเติมรอยตอพรอมกัน ง. ลวดเชื่อมมวน

4. สัญลักษณ

หมายถึงอะไร

ก. ขนาดความลึกของแนวเชื่อมตอตัววี ข. แนวเชื่อมตอฉากขนาดขาทั้ง 2 ไมเทากัน ค. แนวเชื่อมตอฉากขนาดขาทั้ง 2 เทากัน ง. ขนาดความยาวแนวเชื่อมตอฉากและระยะเวนของ 2 ดานสลับกัน 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. ขอใดไมใชตัวแปรสําคัญของการกําหนดพารามิเตอรในการเชื่อม ก. อัตราเร็วปอนลวดเชื่อม ข. อัตราการไหลของแกสปกปอง ค. ชนิดลวดเชื่อม ง. ชนิดของแกสปกปอง

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920720602 แนวตองานเชื่อม (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกลักษณะเฉพาะของแนวตองานเชื่อม รวมทั้งชนิดแนวตอ รูปทรงเรขาคณิต ขนาดที่สัมพันธกับสัญลักษณงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ - แนวตองานเชื่อม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. 2560. การเขียนและอานสัญลักษณงานเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051211111542.pdf มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ศิริบงกช สมศักดิ์. 2560. การอานและเขียนแบบสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS : การใชสัญลักษณงานเชื่อมแบบ AWS. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://rlms.vec.go.th/i/1337/4977

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 แนวตองานเชื่อม 1. แนวตองานเชื่อมแบบพื้นฐาน แนวตองานเชื่อมจะมีลักษณะเฉพาะตามชิ้นสวนที่นํามาตอเขาดวยกัน ซึ่งโดยพื้นฐานมีดังนี้ 1.1 รอยตอชน เปนการนําขอบของชิ้นงานสองชิ้นมาวางใหขอบชนกัน โดยผิวของชิ้นงานทั้งสองอยูในระนาบเดียวกัน ซึ่งลักษณะการตอแบงออกเปนหลายแบบขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงาน

ภาพที่ 2.1 รอยตอชน 1.2 รอยตอเกย เปนการนําชิ้นงานสองชิ้นมาวางซอนหรือเกยกัน ซึ่งใชกับการเชื่อมความตานทานแบบเชื่อมจุด แนวเชื่อมมุม และแนวเชื่อมอุด

ภาพที่ 2.2 รอยตอเกย 1.3 รอยตอขอบ เปนการนําขอบชิ้น งานสองชิ้ นมาชนกัน โดยผิวงานทั้งสองทาบแนบชิดและขนานกัน ตลอดแนว แลวเชื่อมที่ขอบใหติดกัน

ภาพที่ 2.3 รอยตอขอบ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.4 รอยตอมุม เปนการนําขอบของชิ้นงานสองชิ้นมาชนกันโดยผิวของชิ้นงานทํามุมประมาณ 90 องศา ซึ่งการนําขอบ มาชนกันมีหลายลักษณะขึ้นอยูกับความหนาของชิ้นงานและการออกแบบ

ภาพที่ 2.4 รอยตอมุม 1.5 รอยตอรูปตัวที เปนการนําขอบของชิ้นงานชิ้นหนึ่งตั้งบนผิวงานอีกชิ้นหนึ่งในลักษณะรูปตัวที ซึ่งการตอลักษณะนี้ จะตองมีการเติมลวดเชื่อมเพื่อใหชิ้นงานเกิดความแข็งแรง จึงนิย มใชกันมากในการเชื่อมประกอบโครงสราง ของการสรางอาคาร

ภาพที่ 2.5 รอยตอฉาก 1.6 รอยตอ งานเชื่อ มและสัญ ลัก ษณ ในการเขีย นแบบงานเชื่อม รอยตอ อาจถูก ออกแบบใหแตกตางกัน ไปตาม ความเหมาะสมของตัวแปรตาง ๆ สัญลักษณที่ใชแสดงรอยตอในงานเชื่อมเพื่อเขียนแสดงในแบบจึงมีความแตกตางกัน ดังตอไปนี้ สัญลักษณ

ชื่อรอยตอ

ชิ้นงานหลังเชื่อม

ตอชนหนาฉาก

ตอชนรูปวีดานเดียว

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ชื่อรอยตอ

ชิ้นงานหลังเชื่อม

ตอชนรูปวีสองดาน ตอชนหนาเฉียงดาน เดียว ตอชนหนาเฉียงสอง ดาน ตอชนรูปยูดานเดียว

ตอชนรูปยูสองดาน

ตอชนรูปเจดานเดียว

ตอชนรูปเจสองดาน

รอยเชื่อมฉากดานเดียว

รอยเชื่อมฉากสองดาน

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ชื่อรอยตอ

ชิ้นงานหลังเชื่อม

รอยเชื่อมผายวี

รอยเชื่อมขอบหนา แปลน รอยเชื่อมตะเข็บ รอยเชื่อมอุด

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. สัญลักษณและชื่อรอยตองานเชื่อม ขอใดไมสัมพันธกัน ก.

- รอยตอชนหนาฉาก

ข.

- รอยตอชนหนาเฉียงสองดาน

ค.

- รอยตอชนรูปยูสองดาน

ง.

- รอยตอชนรูปวีสองดาน

2. การวางชิ้นงานใหขอบชนกันโดยเวนชองวางตามความหนาของชิ้นงาน เปนการวางชิ้นงานสําหรับแนวเชื่อมแบบใด ก. แนวเชื่อมตอรูปตัวที ข. แนวเชื่อมตอเกย ค. แนวเชื่อมตอชน ง. แนวเชื่อมตอขอบ 3. รอยตอแบบใดที่นิยมใชในการประกอบโครงสรางอาคาร ก. รอยตอชน ข. รอยตอเกย ค. รอยตอขอบ ง. รอยตอรูปตัวที

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา)

โมดู ล การฝ ก ที่ 6

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.