คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 7

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คูมือผูรับการฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09215206 การเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 7 การเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี เปนสวนหนึ่ง ของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งไดดําเนินการ ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุด การฝก ตามความสามารถเพื่อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให ครูฝ ก ได ใชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัด การการฝ ก อบรมใหเ ป น ไปตามหลัก สู ต ร กลา วคือ เกี่ย วกับ มาตรฐานการติด ตั ้ง อุปกรณที่ใ ชใ นงานเดิ นสาย วิธีการดัดทอ และการติดตั้ งและเดิ น สายร อยท อ โลหะ ทอพีวี เพื่อติดตามความกา วหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธก ารฝก อบรมในการที่ทําใหผูรั บการฝก อบรมมีค วามสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ได จ ากการวิ เ คราะห ง านอาชี พ (Job Analysis) ในแต ล ะสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบั ติง าน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรีย นรูแ ละฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํ า หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ ก ารส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผู รั บ การฝ ก สามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ า นหรื อ ที่ ทํ า งาน และเข า รั บ การฝ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพรอมตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมิ นผล ความรู ค วามสามารถกั บ หน ว ยฝก โดยมี ค รู ฝ ก หรื อ ผู ส อนคอยให คํ าปรึ ก ษา แนะนํ า และจั ด เตรี ย มการฝก ภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ช ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือ แรงงานให แ ก กํ า ลัง แรงงาน ในระยะยาวจึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แ รงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ นการพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงาน ผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 7 09215206 การเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี หัวขอวิชาที่ 1 0921520601 มาตรฐานการเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี หัวขอวิชาที่ 2 0921520602 อุปกรณในงานเดินสายรอยทอ หัวขอวิชาที่ 3 0921520603 การดัดและจับยึดทอ หัวขอวิชาที่ 4 0921520604 การติดตั้งอุปกรณประกอบและการรอยสายไฟฟา คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

14 28 47 107 137



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑม าตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรีย นรูข องผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใช ง านระบบ แบงสวนการใชง านตามความรั บผิ ด ชอบของผู มีส ว นได ส ว นเสีย ดั ง ภาพในหน า 2 ซึ่งรายละเอีย ดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิ บั ติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุช่ือผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใ หตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาทีต่ นเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แ จงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่ อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุช่ือผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แ จงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่ อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิเคชั น DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุช่ือผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใ หตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แ จงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่ อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150301

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกในชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณใ นระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและ การเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริห าร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝ กที่ผา นการประเมิ นผลหรือผา นการฝก ครบทุ กหนวยความสามารถ จะไดรั บวุฒิบัต ร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก การเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี รหัสโมดูลการฝก 09215206 3. ระยะเวลาการฝก รวม 19 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 17 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายกฎขอบังคับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาของประเทศไทยได (การเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี) 2. บอกอุปกรณที่ใชในงานเดินสายรอยทอได 3. เลือกใชอุปกรณไดเหมาะสมกับงานเดินสายรอยทอ 4. บอกวิธีดัดทอโลหะและทอพีวีซีได 5. ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด 6. บอกวิธีการติดตั้งอุปกรณประกอบและการรอยสายไฟฟาได 7. ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซีเขากับอุปกรณไฟฟาไดตามแบบที่กําหนด 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานทอโลหะและทอพีวีซี หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับ ผูรับการฝก การเดินสายไฟฟาดวยทอโลหะและทอพีวีซีจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายกฎขอบังคับมาตรฐาน หัวขอที่ 1 : มาตรฐานการเดินสายรอยทอโลหะ 0:30 0:30 การติดตั้งทางไฟฟาของ และทอพีวีซี ประเทศไทยได (การเดินสาย รอยทอโลหะและทอพีวีซี) สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. บอกอุปกรณที่ใช หัวขอที่ 2 : อุปกรณในงานเดินสายรอยทอ ในงานเดินสายรอยทอได 3. เลือกใชอุปกรณไดเหมาะสมกับ งานเดินสายรอยทอ 4. บอกวิธีดัดทอโลหะและทอพีวีซี หัวขอที่ 3 : การดัดและจับยึดทอ ไดตามแบบที่กําหนด 5. ดัดทอโลหะและทอพีวีซี ไดตามแบบที่กําหนด 6. บอกวิธีการติดตั้ง หัวขอที่ 4 : การติดตั้งอุปกรณประกอบและ อุปกรณประกอบและ การรอยสายไฟฟา การรอยสายไฟฟาได 7. ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซีเขากับอุปกรณไฟฟา ได ตามแบบที่กํา หนด รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

1:00

8:00

9:00

0:30

9:00

9:30

2:30

17:00 19:30


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921520601 มาตรฐานการเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู

- อธิบายกฎขอบังคับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาของประเทศไทยได (การเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี)

2. หัวขอสําคัญ 1. มาตรฐานทอโลหะและทอพีวีซีในงานเดินสายรอยทอ 2. ขอกําหนดการเดินสายและวัสดุ 3. มาตรฐานชองเดินสาย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การเดินสายไฟฟาในอาคาร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/ 00000831_1_20141103-232713.pdf ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิธีการเดินสายไฟฟาในอาคารและโรงงาน.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.xn--42c6b3a0i.com/attachments/view/?attach_id=82874

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 มาตรฐานการเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี ทอในงานเดินสายไฟฟา ใชเพื่อปกปดและปองกันสายไฟฟาและวงจรซึ่งอาจไดรับผลกระทบจากจากสภาพแวดลอม เชน สารเคมี ความชื้น แรงกระแทก เปน ตน โดยทอ โลหะหนา ทอ โลหะหนาปานกลาง และทอ โลหะบาง เปน ทอ เหล็ก อาบสังกะสีเหมือ นกั น แตมีขอแตกตา งที่ ความหนาของผนั งทอ เพื่ อใหเ หมาะกับ การนําไปใชง าน ทั้งนี้ ทอโลหะหนา และทอโลหะหนาปานกลางเปนทอที่สามารถทําเกลีย วไดทั้งคู มีลักษณะการใชงานที่สามารถทดแทนกันได ซึ่งขอกําหนด การใชงานและการติดตั้งทอชนิดตาง ๆ มีดังตอไปนี้ 1. มาตรฐานทอโลหะและทอพีวีซีในงานเดินสายรอยทอ งานเดินสายรอยทอสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงคือ อุปกรณที่ไดมาตรฐาน โดยชองเดินสาย (Raceways) เปนอุปกรณที่มีลักษณะ เปนทอกลมหรือชองสี่เหลี่ยม ผิวดานในเรียบ ใชในการเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึงมาตรฐานของทอ ดังนี้ 1.1 ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing: EMT) EMT ตามมาตรฐานมอก. 770-2533 มีรายละเอียดดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 แสดงรายละเอียดของทอโลหะบาง (EMT) ตามมาตรฐาน มอก. 770-2533 ขนาด

เสนผานศูนยกลางภายนอก

ความหนาของทอ ความยาว

U.S.

Metric

(mm.)

(mm.)

(mm.)

½”

15

17.9

1.06

3

¾”

20

23.4

1.24

3

1

25

29.5

1.45

3

1 ¼”

32

38.4

1.65

3

1 ½”

40

44.2

1.65

3

2

50

55.8

1.65

3

จากตารางที่ 1.1 มีการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับขนาดของทอโลหะบางตามมาตรฐานมอก. 770-2533 ตัวอยางเชน หากทอโลหะบางมีขนาด 1/ 2 นิ้ว (หนวย U.S.) หรือ 15 มิลลิเมตร (หนวย Metric) จะมีเสนผานศูนยกลางภายนอก 17.9 มิลลิเมตร และมีเสนผานศูนยกลางภายใน 15.8 มิลลิเมตร ตัวทอมีความหนาเทากับ 1.06 มิลลิเมตร และมีความยาวท อน ละ 3 เมตร เปนตน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลักษณะของทอโลหะบาง คือ ปลายทั้ง 2 ขางไมมีเกลียว ใชไดเฉพาะในอาคาร ไมใชในที่ที่มีผลกระทบทางกล เชน ฝงดิน ระบบแรงดันสูง เปนตน และหามทําเกลียวกับทอชนิดนี้ ตามมาตรฐานมอก. 770-2533 กําหนดใหใชอักษรสีเขียวระบุ ขนาดและชนิดของทอไวบนทอดังภาพที่ 1.1

ภาพที่ 1.1 ตัวอยางทอโลหะบาง 1.2 ทอโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit: IMC) IMC ตามมาตรฐาน มอก. 770-2533 มีรายละเอียด ดังตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 แสดงรายละเอียดของทอโลหะหนาปานกลาง (IMC) ตามมาตรฐาน มอก. 770-2533 ขนาด

เสนผานศูนยกลางภายนอก

ความหนาของทอ

ความยาว

U.S.

Metric

(mm.)

(mm.)

(mm.)

½”

15

20.7

1.79

3

¾”

20

26.1

1.90

3

1

25

32.8

2.16

3

1 ¼”

32

41.6

2.16

3

1 ½”

40

47.8

2.29

3

2

50

59.9

2.41

3

2 ½”

65

72.6

3.56

3

3

80

88.3

3.56

3

3 ½”

90

100.9

3.56

3

4

100

113.4

3.56

3

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

จากตารางที่ 1.2 มีการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับขนาดของทอโลหะบางตามมาตรฐานมอก. 770-2533 ตัวอยางเช น หากทอโลหะบางมีข นาด 1 / 2 นิ้ว (หนวย U.S.) หรือ 15 มิลลิเมตร (หนวย Metric) จะมีเสนผานศูนยกลางภายนอก 20.7 มิลลิเมตร ตัวทอมีความหนาเทากับ 1.79 มิลลิเมตร และมีความยาวทอนละ 3 เมตร เปนตน ลักษณะทอโลหะปานกลาง คือ ปลายทั้ง 2 ขางมีเกลียว สามารถใชไดทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยใชฝงผนัง ฝงดิน หรือเดินลอยได ตามมาตรฐานกําหนดใหใชอักษรสีสมที่ระบุขนาดและชนิดของทอไวบนทอดังภาพที่ 1.2

ภาพที่ 1.2 ตัวอยางทอโลหะหนาปานกลาง 1.3 ทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit: RMC) ตามมาตรฐาน มอก. 770-2533 มีรายละเอียดดังตารางที่ 1.3 ตารางที่ 1.3 แสดงรายละเอียดของทอโลหะหนา (RMC) ตามมาตรฐาน มอก.770-2533 ขนาด

เสนผานศูนยกลางภายนอก ความหนาของทอ

ความยาว

U.S.

Metric

(mm.)

(mm.)

(mm.)

½”

15

21.3

2.64

3

¾”

20

26.7

2.72

3

1

25

33.4

3.20

3

1 ¼”

32

42.2

3.38

3

1 ½”

40

48.3

3.51

3

2

50

60.3

3.71

3

2 ½”

65

73.0

4.90

3

3

80

88.9

5.21

3

3 ½”

90

101.6

5.46

3

4

100

114.6

5.72

3

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขนาด

เสนผานศูนยกลางภายนอก ความหนาของทอ (mm.) (mm.)

ความยาว (mm.)

U.S.

Metric

5

125

141.3

6.22

3

6

150

168.0

6.76

3

จากตารางที่ 1.3 มีการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับขนาดของทอโลหะหนาตามมาตรฐานมอก. 770-2533 ตัวอยางเชน หากทอโลหะบางมีข นาด 1 / 2 นิ้ว (หนวย U.S.) หรือ 15 มิลลิเมตร (หนวย Metric) จะมีเสนผานศูนยกลางภายนอก 21.3 มิลลิเมตร ตัวทอมีความหนาเทากับ 2.64 มิลลิเมตร และมีความยาวทอนละ 3 เมตร เปนตน ลักษณะทอโลหะหนา คือ ปลายทั้ง 2 ขางมีเกลียว ทอชนิดนี้ถาทํามาจากเหล็กกลาและผานขบวนการชุบดวยสังกะสี (Galvanized) จะชวยปองกันสนิมไดดี เปนทอที่มีความแข็งแรงที่สุด ทนตอสภาพแวดลอมตาง ๆ ไดดี สามารถใชไดทั้งภายใน และภายนอกอาคาร โดยใชฝงผนัง ฝงดิน หรือเดินลอยได ตามมาตรฐานกําหนดใหใชอักษรสีดําที่ระบุขนาดและชนิดของทอ ไวบนทอดังภาพที่ 1.3

ภาพที่ 1.3 ตัวอยางทอโลหะหนา 1.4 ทอโลหะออน (Flexible Metal Conduit: FMC) จากมาตรฐาน IEC 61386-23 กําหนดใหเสนผานศูนยกลางภายนอกของทอโลหะออน ไดแก 16, 23, 29, 38, 43, 56, 71, 84, และ 109 มิล ลิเ มตร โดยมีค วามยาวขดละ 10, 15, 30, และ 50 เมตร ทอ ชนิด นี้ทํา มาจากแผน เหล็กกลาเคลือบดวยสังกะสี มีความออนตัวและดัดโคงไปมาได เหมาะสําหรับตอเขาเครื่องจักรที่มีการสั่นสะเทือน

ทอแบบสแควรล็อก (Squarelocked)

ทอแบบอินเทอรล็อก (Interlocked) ภาพที่ 1.4 ตัวอยางทอโลหะออน 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 ทอพีวีซี (Polyvinyl Chloride: PVC) ตามมาตรฐาน มอก. 216-2554 มีรายละเอียดดังตารางที่ 1.4 ตารางที่ 1.4 แสดงรายละเอียดของทออโลหะ ตามมาตรฐาน มอก. 216-255 ขนาด

เสนผานศูนยกลางภายนอก ความหนาของทอ

ความยาว

U.S.

Metric

(mm.)

(mm.)

(mm.)

3/8”

15

18

2.0+0.2

4

½”

18

22

2.0+0.2

4

3/4”

20

26

2.0+0.2

4

1”

25

34

3.0+0.3

4

11/4”

35

42

3.5+0.4

4

11/2"

40

48

4.0+0.4

4

2”

55

60

4.5+0.4

4

จากตารางที่ 1.4 มีการระบุรายละเอียดเกี่ย วกับขนาดของทออโลหะตามมาตรฐานมอก.216-2554 ตัวอยางเชน หากทออโลหะมีข นาด 1 / 2 นิ้ว (หนวย U.S.) หรือ 18 มิลลิเมตร (หนวย Metric) จะมีเสนผานศูนยกลางภายนอก 22 มิลลิเมตร ตัวทอมีความหนาเทากับ 2.0 + 0.2 มิลลิเมตร และมีความยาวทอนละ 4 เมตร เปนตน สําหรับงานเดินทอรอยสาย จะใชเปนทอพีวีซีสีข าว ซึ่งลักษณะเนื้อทอเปนพลาสติก UPVC มีคุณสมบัติทนตอ รังสี UV ได และสามารถดัดเย็นทอไดมากกวา 90 องศา

ภาพที่ 1.5 ตัวอยางทอพีวีซี

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.6 ทอ HDPE ทอ HDPE หรือทอสายไฟฟา TTG HDPE Conduit เปนทอที่ผลิตขึ้นจากวัตถุดิบโพลิเอทีน ชนิดความหนาแนนสูง เหมาะสําหรับใชเปนทอรอยสายไฟฟา สายเคเบิ้ล โดยเฉพาะในระบบงานเดินสายเคเบิ้ลใตดิน (Underground Cable System) ทั้งระบบธรรมดาและระบบ HDD ซึ่งใชอยางแพรหลายในปจจุบัน ทอ TTG HDPE มีคุณสมบัติทนตอแรงกด แรงกระแทก มีความยืดหยุนสูง ไมแตกราวหรือหักงาย รวมไปถึงสารเคมี จึงมีอายุการใชงานยาวนาน ผานการรับรองมาตรฐานมอก. 982-2548 และ มาตรฐาน ISO 9001:2000 โดยขนาดของทอ มีตั้งแต 20 – 200 มิลลิเมตร ยาวทอนละ 6 เมตรและ 12 เมตร หรือหากเปนมวน จะยาวมวนละ 50 หรือ 100 เมตร (ทอขนาดไมเกิน 20 – 180 มิลลิเมตร จะผลิตเปนมวน) ลักษณะของทอ HDPE เปนทอสีดํา คาดแถบสีสม และมีผิวภายในเรียบมัน โดยทอชนิดนี้มีสวนผสมของสารป องกั น รังสียูวี จึงทนทานตอแสงแดด

ภาพที่ 1.6 ตัวอยางทอ HDPE 2. ขอกําหนดการเดินสายและวัสดุ 2.1 การเดินสายในทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ทอโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit) และทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing) 1) การใชงาน ทอโลหะดังกลาวสามารถใชกับงานเดินสายทั่วไปทั้งในสถานที่แหง ชื้น และเปยก นอกจากไดระบุไว เฉพาะเรื่องนั้น ๆ โดยตองติดตั้งใหเหมาะสมกับสภาพการใชงาน 2) ขอกําหนดการติดตั้ง - ในสถานที่เปย ก ทอโลหะและสวนประกอบที่ใ ชยึดทอโลหะ เชน สลักเกลีย ว (Bolt) สแตรป (Strap) สกรู (Screw) ฯลฯ ตองเปนชนิดที่ทนตอการผุกรอน - ปลายทอที่ถูกตัดออก ตองลบคมเพื่อปองกันไมใหบาดฉนวนของสาย การทําเกลียวทอตองใช เครื่องทําเกลียวชนิดปลายเรียว 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

- ขอตอ (Coupling) และขอตอยึด (Connector) ชนิดไมมีเกลียว ตองตอใหแนน เมื่อฝงในอิฐกอ หรือคอนกรีตตองใชชนิดฝงในคอนกรีต (Concretetight) เมื่อติดตั้งในสถานที่เปย ก ตองใช ชนิดกันฝน (Raintight) - การตอสาย ใหตอไดเฉพาะในกลองตอสาย หรือกลองจุดตอไฟฟาที่สามารถเปดออกไดสะดวก ปริมาตรของสายและฉนวน รวมทั้งหัวตอสาย เมื่อรวมกันแลวตองไมเกินรอยละ 75 ของปริมาตร ภายในกลองตอสายหรือกลองจุดตอไฟฟา - การติดตั้งทอรอยสายเขากับกลองตอสาย หรือเครื่องประกอบการเดินทอ ตองจัดใหมีบุชชิ่ง เพื่อปองกันไมใหฉนวนหุมสายชํารุด ยกเวน กลองตอสายและเครื่องประกอบการเดินทอที่ไดออกแบบเพื่อปองกันการชํารุดของ ฉนวนไวแลว - หามทําเกลียวกับทอโลหะบาง - มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสาย รวมกันแลวตองไมเกิน 360 องศา 3) หามใชทอโลหะบางฝงดินโดยตรง หรือใชในระบบไฟฟาแรงสูง หรือที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายหลังการติดตั้ง 4) หามใชทอโลหะขนาดเล็กกวา 1.5 มิลลิเมตร 5) จํานวนสายสูงสุด ตองเปนไปตามตารางที่ 1.5 แสดงพื้นที่หนาตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเสน คิดเปนรอยละ เทียบกับพื้นที่หนาตัดของทอ ตารางที่ 1.5 แสดงพื้นที่หนาตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเสน คิดเปนรอยละเทียบกับพื้นที่หนาตัดของทอ จํานวนสายในทอรอยสาย

1

2

3

4

มากกวา 4

สายไฟทุกชนิด

53

31

40

40

40

55

30

40

38

35

ยกเวน สายชนิดที่มีปลอกตะกั่วหุม สายไฟชนิดที่มีปลอกตะกั่วหุม

6) การติดตั้งใตดิน ตองเปนไปตามขอกําหนดการติดตั้งใต ดิ นของมาตรฐานการติด ตั้งทางไฟฟาสํ า หรั บ ประเทศไทย พ.ศ. 2545

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

7) ทอที่ขนาดใหญกวา 15 มิลลิเมตร หากรอยสายที่ไมมีปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงดานในของทอตองไมนอยกวา 6 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ ถาเปนสายไฟฟาชนิดมีปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงดานในของทอ ตองไมนอยกวา 10 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ สําหรับทอขนาด 15 มิลลิเมตร หากรอยสาย ชนิดไมมีปลอกตะกั่วรัศมีดัดโคงดานในของทอตองไมนอยกวา 8 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ และถ า เป น สายไฟชนิ ด มี ป ลอกตะกั่ ว รั ศ มี ดั ด โค ง ด า นในของท อ ต อ งไม น อ ยกว า 12 เท า ของ ขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ การดัดโคงตองไมทําใหทอชํารุด 8) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน จึงทําการเดินสายไฟฟา 9) การเดินทอดวยโลหะไปยังบริภัณฑไฟฟาควรเดินดวยทอโลหะตลอด และชวงตอสายเขาบริภัณฑ ไฟฟา ควรจะเดินดวยทอโลหะกอน หรือใชวิธีการอื่นตามที่เหมาะสม 10) หามใชทอโลหะเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน 11) ขนาดกระแสของสายไฟฟา ใหใชคากระแสตามมาตรฐานการติ ดตั้ งทางไฟฟ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 12) ทอรอยสายจะตองยึดกับที่ใหมั่นคงดวยอุปกรณจับยึดที่เหมาะสม โดยมีระยะหางระหวางจุดจับยึดไมเกิน 3.0 เมตร และหางจากกลองตอสายหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเกิน 0.9 เมตร 2.2 การเดินสายในทอโลหะออน (Flexible Metal Conduit) 1) ลักษณะการใชงานตองเปนไปตามขอกําหนดทุกขอ ดังนี้ - ในสถานที่แหง - ในที่เขาถึงไดและเพือ่ ปองกันสายจากความเสียหายทางกายภาพหรือเพื่อการเดินซอนสาย - ใหใชสําหรับเดินเขาบริภัณฑไฟฟาหรือกลองตอสาย และความยาวไมเกิน 2 เมตร 2) หามใชทอโลหะออนในกรณีดังตอไปนี้ - ในปลองลิฟตหรือปลองขนของ - ในหองแบตเตอรี่ - ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น - ฝงในดินหรือฝงในคอนกรีต - หามใชในสถานที่เปยก นอกจากจะใชสายไฟฟาชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการติดตั้ง และในการ ติดตั้งทอโลหะออนตองปองกันไมใหน้ําเขาไปในชองรอยสายที่ทอโลหะออนนี้ตออยู

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3) หามใชทอโลหะออนที่มีขนาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร ยกเวน ทอโลหะออนที่ประกอบมากับขั้วหลอดไฟและมีความยาวไมเกิน 1.80 เมตร 4) จํานวนสายไฟฟาสูงสุดในทอโลหะออน ตองเปนไปตามที่กําหนดในตารางที่ 1.5 5) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสาย รวมกันแลวตองไมเกิน 360 องศา 6) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน จึงทําการเดินสายไฟฟา 7) หามใชทอโลหะออนเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน 8) ระยะหางระหวางอุปกรณจับยึดตองไมเกิน 1.50 เมตร และหางจากกลองตอสายหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเกิน 0.30 เมตร 9) ขนาดกระแสของสายไฟฟา ใหเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 2.3 การเดินสายในทออโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) การเดินสายทออโลหะแข็ง เชน ทอพีวีซี ทอ HDPE เปนตน รวมทั้งเครื่องประกอบการเดินทอตองใชวัสดุที่เหมาะสม ทนตอความชื้น สภาวะอากาศ และสารเคมี สําหรับทอที่ใชเหนือดินตองมีคุณสมบัติดานเปลวเพลิง (Flame-Retardant) ทนแรงกระแทกและแรงอัด ไมบิดเบี้ยวเพราะความรอนภายใตสภาวะที่อาจเกิดขึ้นเมื่อใชงานในสถานที่ใชงาน ซึ่งทอรอยสาย มีโ อกาสถูกแสงแดดโดยตรง ตอ งใชทอ รอยสายชนิด ทนตอ แสงแดด สํา หรับทอที่ใ ชใ ตดิน วัสดุที่ใ ชตองทนความชื้น ทนสารที่ทําใหผุกรอน และมีความแข็งแรงเพีย งพอที่จะทนแรงกระแทกไดโ ดยไมเสีย หาย ถาใชฝงดินโดยตรงโดย ไมมีคอนกรีตหุม วัสดุที่ใชตองสามารถทนน้ําหนักกดที่อาจเกิดขึ้นภายหลังการติดตั้งได 1) อนุญาตใหใชทออโลหะแข็งในกรณีดังตอไปนี้ 1) เดินซอนในผนัง พื้น และเพดาน 2) ในบริเวณที่ทําใหเกิดการผุกรอนและเกี่ยวของกับสารเคมี ถาทอและเครื่องประกอบการเดิ นทอ ไดออกแบบไวสําหรับใชงานในสภาพดังกลาว 3) ในสถานที่เปยกหรือชื้น ซึ่งไดจัดใหมีการปองกันน้ําเขาไปในทอ 4) ในที่เปดโลง (Exposed) ซึ่งไมอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ 5) การติดตั้งใตดิน ตองเปนไปตามขอกําหนดการติดตั้งใตดินของมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 2) หามใชทออโลหะแข็งในกรณีดังตอไปนี้ 1) ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น 2) ใชเปนเครื่องแขวนและจับยึดดวงโคม 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3) อุณหภูมิโดยรอบหรืออุณหภูมิใชงานของสายเกินกวาอุณหภูมิของทอที่ระบุไว 4) ในโรงมหรสพ นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น 3) เมื่อเดินทอเขากลองหรือสวนประกอบอื่น ๆ ตองจัดใหมีบุชชิ่ง หรือมีการปองกันไมใหฉนวนของสายชํารุด 4) หามใชทออโลหะแข็งที่มีขนาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร 5) จํานวนสายไฟฟาในทออโลหะแข็ง ตองไมเกินที่กําหนดไวตามมาตรฐานการติ ดตั้งทางไฟฟาสํ า หรั บ ประเทศไทย พ.ศ. 2545 6) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสาย รวมกันแลวตองไมเกิน 360 องศา 7) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน จึงทําการเดินสายไฟฟา 8) ขนาดของกระแสของสายไฟฟา ใหเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 3. มาตรฐานชองเดินสาย สําหรับทอรอยสายไฟฟาสามารถแบงออกตามชนิดของทอไดดังตอไปนี้ 1) ทอเหล็กสําหรับใชรอยสายไฟฟา ตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 770-2533 2) ทอพีวีซีแข็งสําหรับใชรอยสายไฟฟา ตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 216-2524 หรือตามมาตรฐานทอรอยสายไฟฟาที่การไฟฟาฯ ยอมรับ 3) ทอรอยสายชนิดอื่น ๆ ตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟาฯ กอน 4) ขนาดของทอที่กลาวถึงนี้ หมายถึงเสนผานศูนยกลางภายในหรือขนาดทางการคา 5) เครื่องประกอบการเดินทอตองเปนชนิดที่ไดรับอนุญาตใหแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือตาม มาตรฐานที่การไฟฟาฯ ยอมรับ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ตามมาตรฐานชองเดินสาย กําหนดใหทอเหล็กที่ใชสําหรับรอยสายไฟฟา ตองมี คุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 770-2533 2. ตามมาตรฐานชองเดินสาย กําหนดใหทอพีวีซีแ ข็งที่ใ ชสําหรับรอยสายไฟฟา ตองมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 216-2524 3. การเดิ น สายในท อ อโลหะแข็ ง สามารถใช เ ดิ น สายในบริ เ วณที่ เ ป ด โล ง (Exposed) และโรงมหรสพได 4. การเดินสายโดยทั่วไปในสถานที่แหงและสถานที่เปยกชื้น สามารถใชทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลางและทอโลหะบางได 5. การตอสายทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และทอโลหะบาง กําหนดให ตอไดเฉพาะในกลองตอสายที่สามารถเปดออกได สวนปริมาตรของสาย ฉนวน และ หัวตอสายเมื่อรวมกันตองไมเกินรอยละ 70 ของปริมาตรภายในกลองตอสาย 6. การเดิ น สายในท อ ร อ ยสาย กํ า หนดให ท อ โลหะที่ นํ า มาใช งานต อ งมีข นาด มากกวา 1.5 มม. 7. การเดินสายปลองลิฟต ปลองขนของ และหองแบตเตอรี่ หามใชทอโลหะออน 8. การเดิน สายในทอ รอยสาย กํา หนดใหม ุม ดัด โคงของทอ ระหวา งจุดดึงสาย เมื่อรวมกันแลวตองไมเกิน 300 องศา 9. การเดินสายในทออโลหะแข็ง ตองติดตั้งระบบทอควบคูไปกับการเดินสายไฟฟา 10. การเดินทออโลหะแข็งเขากลองหรือสวนประกอบอื่น ๆ ตองจัดใหมีบุชชิ่ง เพื่อ ปองกันไมใหฉนวนของสายชํารุด

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921520602อุปกรณในงานเดินสายรอยทอ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกอุปกรณในงานเดินสายรอยทอได 2. เลือกใชอุปกรณไดเหมาะสมกับงานเดินสายรอยทอ

2. หัวขอสําคัญ 1. อุปกรณและวัสดุ 2. เครือ่ งมือตัดทอและลบคม 3. เครือ่ งมือดัดทอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การเดินสายไฟฟาในอาคาร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/ 00000831_1_20141103-232713.pdf ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิธีการเดินสายไฟฟาในอาคารและโรงงาน.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.xn--42c6b3a0i.com/attachments/view/?attach_id=82874

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 อุปกรณในงานเดินสายรอยทอ ในงานเดินสายรอยทอ นอกจากการเลือกใชชนิดของทอที่มีคุณภาพตามมาตรฐานและเหมาะสมกับงานแลว ยังตองคํานึ งถึง การเลือกใชวัสดุและอุปกรณที่ถูกตอง ซึ่งอุปกรณและวัสดุโดยทั่วไปที่ใชในงานเดินสายรอยทอมีหลายชนิด ดังตอไปนี้

1. อุ ป กรณ แ ละวั ส ดุ การเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซี สําหรับสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 7 จะกลาวถึงทอเดินสาย 2 ชนิด คือ ทอโลหะบาง และทอพีวีซี อุปกรณและวัสดุตาง ๆ ที่ใชในงานเดินสายไฟฟารอยทอ ของทอ 2 ชนิดดังกลาว มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ 1.1 ทอโลหะและทอพีวีซี 1.1.1 ทอโลหะ 1) ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing: EMT) ใชเดินสายไฟฟา เหมาะสําหรับการเดินท อลอย ในอากาศ หรือฝงในผนังคอนกรีต โดยมีขนาด 1/2 , 3/4, 1, 1 1/4,1 1/2 และ 2 นิ้ว ดังภาพที่ 2.1

ภาพที่ 2.1 ตัวอยางทอ EMT 1.1.2 ทอพีวีซี 1) ทอพีวีซี (Polyvinyl Chloride: PVC) ใชเดินสายไฟฟา เหมาะสําหรับเดินทอลอยในอากาศ หรือ ฝงในผนังคอนกรีต โดยมีขนาด 3/8, 1/2, 3/4, 1, 1 1/4, 1 1/2 และ 2 นิ้ว ดังภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 ตัวอยางทอ PVC 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 อุปกรณและวัสดุประกอบ 1.2.1 อุปกรณและวัสดุประกอบทอโลหะ 1) คอนเนคเตอร (Connector) ใชเชื่อมตอระหวางทอกับกลองตอสาย (Box) ดังภาพที่ 2.3

ก) คอนเนคเตอรจับทอโลหะบาง ข) คอนเนคเตอรจับทอโลหะบางกันน้ํา

ค) เอ็มเอ็มคอนเนคเตอร

ภาพที่ 2.3 ตัวอยางคอนเนคเตอร 2) ล็อกนัท (Lock Nut) ใชรวมกับคอนเนคเตอรสําหรับยึดทอเขากับกลองตอสายโดยการหมุนเกลียว เขากับคอนเนคเตอร ดังภาพที่ 2.4

ภาพที่ 2.4 ตัวอยางล็อกนัท 3) บุชชิ่ง (Bushing) ใชรวมกับคอนเนคเตอร โดยสวมเขากับทอเพื่อปองกันทอขูดกับฉนวนของ สายไฟฟาดังภาพที่ 2.5

ภาพที่ 2.5 ตัวอยางบุชชิ่ง

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

4) ขอตอหรือคัปปลิ้ง (Coupling) ใชสําหรับตอทอสองทอนเขาดวยกัน ดังภาพที่ 2.6

ก) ขอตอบาง

ข) ขอตอบางกันน้ํา

ค) ขอตอหนา

ภาพที่ 2.6 ตัวอยางขอตอหรือคัปปลิ้ง 5) แคลมปจับทอหรือแสตรป (Clamp or Strap) ใชยึดทอใหแนบกับผนัง ดังภาพที่ 2.7

ก) แคลมปจับทอหรือแสตรปขาเดี่ยว

ข) แคลมปจับทอหรือแสตรปขาคู

ภาพที่ 2.7 ตัวอยางแคลมปจับทอหรือแสตรป 6) หัวงูเหา (Service Entrance) หรือเรียกวา จุดทางเขาสายไฟฟา ใชสําหรับสวมทอที่นําสายไฟฟา ภายนอกเขามาภายในอาคาร เพื่อปองกันน้ําเขาทอ ดังภาพที่ 2.8

ภาพที่ 2.8 ตัวอยางหัวงูเหา

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

7) กลองตอสาย (Box) เปนจุดตอสายหรือพักสาย - Handy Box ใชสําหรับติดตั้งสวิตชและเตารับแบบลอย หรือฝงผนังได ดังภาพที่ 2.9

ก) Handy Box

ข) ฝาปด Handy Box

ภาพที่ 2.9 ตัวอยาง Handy Box - Square Box ใชสําหรับติดตั้งสวิตช เตารับ และเปนกลองแยกสาย สามารถเดินแบบลอย หรือฝงผนังได สวนใหญจะติดตั้ง Square Box ในตําแหนงที่ตองการตอสาย ดังภาพที่ 2.10

ภาพที่ 2.10 ตัวอยาง Square Box - Octagon Box ใชสําหรับติดตั้งโคมไฟและเปนกลองแยกสาย และสามารถใชในการติดตั้ง บนเพดานหรือติดลอยได ดังภาพที่ 2.11

ภาพที่ 2.11 ตัวอยาง Octagon Box

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

- Europa Box ใชสําหรับติดตั้งสวิตช เตารับ และเปนกลองแยกสาย ดังภาพที่ 2.12

ก) Europa Box

ข) ฝาปด Europa Box

ภาพที่ 2.12 ตัวอยาง Europa Box - FS Box ใชสําหรับติดตั้งสวิตช เตารับ และเปนกลองแยกสาย ดังภาพที่ 2.13

ภาพที่ 2.13 ตัวอยาง FS Box - Junction Box หรือบ็อกซกลมกันน้ํา ใชสําหรับเปนแยกกลองตอสาย ดังภาพที่ 2.14

ก) Junction Box แบบ 1 ทาง

ข) Junction Box แบบ 3 ทาง

ภาพที่ 2.14 ตัวอยาง Junction Box

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

8) คอนดูท เอาตเ ลตบ็อ กซ (Conduit Outlet Box) ใชสํา หรับ เดิน ทอ เขา มุม หรือ หัก มุม ขามสิ่งกีดขวางโดยสามารถเปดฝาเพื่อดึงสายรอยท อไดอยางสะดวก - Condulet OT เปนขอตอแยก 3 ทาง ใชสําหรับตอแยกทอโลหะ มีหลายขนาด ไดแก 1/2, 3/4, 1, 1 1/4, 1 1/2, 2, 2 1/2, 3, 4, 5 และ 6 นิ้ว ดังภาพที่ 2.15

ภาพที่ 2.15 ตัวอยาง Condulet OT - Condulet LL เปนขอตอแยกทางซาย ใชสําหรับตอทอโลหะเปนมุม 90 องศา แทน การดัด ทอ เขา มุม ในที่แ คบ มีห ลายขนาด ไดแ ก 1/2, 3/4, 1, 1 1/4, 1 1/2, 2, 2 1/2, 3, 4, 5 และ 6 นิ้ว ดังภาพที่ 2.16

ภาพที่ 2.16 ตัวอยาง Condulet LL - Condulet LR เปนขอตอแยกทางขวา ใชสําหรับตอทอโลหะเปนมุม 90 องศา แทน การดัดทอเขามุมในที่แคบ มีหลายขนาด ไดแก 1/2, 3/4, 1, 1 1/4, 1 1/2, 2, 2 1/2, 3, 4, 5 และ 6 นิ้ว ดังภาพที่ 2.17

ภาพที่ 2.17 ตัวอยาง Condulet LR

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2.2 อุปกรณและวัสดุประกอบทอพีวีซี 1) ขอตอตรง ใชสําหรับตอทอแตละทอนเขาดวยกัน ขอตอตรงทั้ง 2 ขางจะมีขนาดเสนผานศูนยกลาง ที่สามารถนําทอสอดเขาไดพอดี ดังภาพที่ 2.18

ภาพที่ 2.18 ขอตอตรง 2) ขอตอโคง มี 2 แบบ ไดแ ก แบบโคง 45 องศา และแบบโคง 90 องศา ปลายทอทั้ง 2 ขาง มีขนาดเสนผานศูนยกลางที่สามารถนําทอสอดเขาไดพอดี ดังภาพที่ 2.19

ก) ขอตอโคง 45 องศา

ข) ขอตอโคง 90 องศา

ภาพที่ 2.19 ตัวอยางขอตอโคง 3) ขอตอ 3 ทาง ใชสําหรับตอแยกสายไฟฟาไปตําแหนงตาง ๆ ได 3 ทิศทาง ดังภาพที่ 2.20

ภาพที่ 2.20 ขอตอ 3 ทาง 4) แคลมปกามปู ใชยึดทอใหแนบกับผนัง ดังภาพที่ 2.21

ภาพที่ 2.21 ตัวอยางแคลมปกามปู 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5) บุชชิ่ง (Bushing) ใชรวมกับคอนเนคเตอร โดยสวมเขากับทอเพื่อปองกันทอขูดกับฉนวนของสายไฟฟา ดังภาพที่ 2.22

ภาพที่ 2.22 ตัวอยางบุชชิ่ง 6) กลองพักสาย มีลักษณะ ดังภาพที่ 2.23

ก) กลองพักสายกลม

ข) กลองพักสายสี่เหลี่ยม

ภาพที่ 2.23 ตัวอยางกลองพักสาย 2. เครื่องมือตัดทอและลบคม 2.1 เครื่องมือตัดทอและลบคมทอโลหะ 2.1.1 เลื่อยตัดทอ นิยมใชเปนแบบเลื่อยมือ (Hack Saw) เพราะสามารถตัดทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และทอโลหะบาง ดังภาพที่ 2.24

ภาพที่ 2.24 เลื่อยตัดทอ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2.1.2 ปากกาจั บทอ (Pipe Vise Stands) ใชสําหรับ จั บท อ ใหแ น น เพื่ อ ตั ด ท อ ทําเกลีย ว และควา นทอ ดังภาพที่ 2.25

ภาพที่ 2.25 ปากกาจับทอ 2.1.3 รีมเมอรควานทอ (Reamer) ใชสําหรับลบคมบริเวณปากทอที่เกิดจากการตัดใหเรีย บ สามารถลบคมได ทั้งผิวรอบในและผิวรอบนอกของทอ ดังภาพที่ 2.26

ภาพที่ 2.26 รีมเมอร 2.1.4 คัตเตอรตัดทอ (Tube Cutter) เปนเครื่องมือสําหรับใชตัดทอโลหะหนา และทอโลหะหนาปานกลาง แตไมนิย มใชตัดทอโลหะบาง เพราะแรงกดจากใบตั ดของคั ตเตอรจะทําให ปลายทอมีข นาดเล็ ก ลง ดังภาพที่ 2.27

ภาพที่ 2.27 คัตเตอรตัดทอ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2.2 เครื่องมือตัดทอและลบคมทอพีวีซี 2.2.1 ตะไบหางหนู (Rat Tail Files) ใชตกแตงหรือลบคมรอบปากทอ เพื่อใหสวมเขากับขอตอได และไมเปน อัน ตรายตอ สายไฟ เนื่อ งจากตะไบชนิด นี้จ ะมีฟน อยูรอบ ๆ และมีลัก ษณะเปน ทรงกลม ดังภาพที่ 2.28

ภาพที่ 2.28 ตะไบหางหนู 2.2.2 กรรไกรตัดทอ ใชสําหรับตัดทอพีวีซี ดังภาพที่ 2.29

ภาพที่ 2.29 กรรไกรตัดทอ 2.2.3 รีม เมอร (Reamer) ใชสํา หรับลบคมบริเ วณปากทอ พีวีซี ที่เ กิด จากการตัด ใหเ รีย บทั้ง ผิวภายนอก และภายใน ดังภาพที่ 2.30

ภาพที่ 2.30 รีมเมอร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. เครื่องมือดัดทอ 3.1 เครื่องมือดัดทอโลหะ 3.1.1 เครื่ อ งมื อ ดั ด ท อ โลหะบาง (EMT Bender) ใช สํา หรั บ ดั ด ท อ โลหะบางที่ ม ี ข นาด 1/2 - 1 นิ้ ว ดังภาพที่ 2.31

ภาพที่ 2.31 EMT Bender 3.1.2 เครื่อ งมือ ดั ด ท อ โลหะหนาปานกลาง (HickeyBender) ใชสํา หรับ ดัด ท อ โลหะหนาปานกลาง ดังภาพที่ 2.32

ภาพที่ 2.32 IMC Hickey 3.1.3 เครื่องดัดทอไฮดรอลิกส (Hydraulic Pipe Bender) ใชสําหรับดัดทอโลหะหนาปานกลาง ดังภาพที่ 2.33

ภาพที่ 2.33 เครื่องดัดทอไฮดรอลิกส

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3.2 เครื่องมือดัดทอพีวีซี 3.2.1 เครื่องเปาลมรอนหรือไดรเปาลมรอน จะมีระบบควบคุม อุณหภูมิ และสามารถปรับระดับความรอนได หลายระดับ ใชสําหรับดัดทอพีวีซีโดยเปาใหหางจากทอประมาณ 5 - 15 เซนติเมตร และคอย ๆ ดัด จนกวาทอจะไดรูปทรงตามตองการ ดังภาพที่ 2.34

ภาพที่ 2.34 เครื่องเปาลมรอน 3.2.2 สปริงดัดทอ ใชสําหรับดัดทอใหโคงงอตามตองการ ดังภาพที่ 2.35

ภาพที่ 2.35 สปริงดัดทอ 3.2.3 ไมแบบดัดทอโคง 90 องศา ใชสําหรับดัดทอโคงงอขณะทอออนตัวเมื่อไดรับความรอนจากเครื่องเปาลมรอน ดังภาพที่ 2.36

ภาพที่ 2.36 ไมแบบดัดทอโคง 90 องศา

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. อุปกรณในขอใด จัดอยูในกลุมเดียวกับรีมเมอร

ก.

ข.

ค.

ง.

2.

จากภาพ คือ อุปกรณในขอใด ก. Handy Box ข. Octagon Box ค. Conduit outlet Box ง. FS Box

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3.

อุปกรณในขอใด จัดอยูในกลุมเดียวกันกับภาพขางตน ก. Lock Nut ข. EMT Coupling ค. Handy Box ง. Connector

4. อุปกรณที่ใชในงานเดินสายรอยทอขอใด ตางจากพวก

ก.

ข.

ค.

ง. 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การดัดทอโลหะบาง ควรเลือกใชอุปกรณขอใด ก. ไอเอ็มซี ฮิกกี้ ข. อี.เอ็ม.ที. เบนเดอร ค. เครื่องเปาลมรอน ง. เครื่องดัดทอไฮดรอลิกส

6.

จากภาพ คัตเตอรตัดทอชนิดนี้ ไมนิยมใชกับทอประเภทใด ก. ทอโลหะบาง ข. ทอโลหะหนา ค. ทอโลหะหนาปานกลาง ง. ทออโลหะ

7. ทอชนิดใดเหมาะสําหรับการเดินลอยในอากาศ หรือฝงในผนังคอนกรีต ก. ทอโลหะออน

ทอโลหะบาง

ข. ทอพีวีซี

ทอโลหะบาง

ค. ทอโลหะบาง

ทอโลหะหนาปานกลาง

ง. ทอพีวีซี

ทอโลหะหนาปานกลาง

8. ขอใด อธิบายลักษณะการใชงานของอุปกรณในงานเดินสายรอยทอไมถูกตอง ก. รีมเมอร ใชสําหรับตัดทอโลหะออน ข. ตะไบหางหนู ใชสําหรับตกแตงรอบปากทอ ค. เลื่อยตัดทอ สามารถใชในการตัดทอพีวีซีและทอโลหะได ง. ปากกาจับทอ ใชสําหรับจับทอเพื่อตัดทอ ทําเกลียว และควานทอ

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

9. ขอใด กลาวถึงหนาที่ของบุชชิ่ง (Bushing) ไดถูกตอง ก. ยึดทอใหแนบกับผนัง ข. ตอทอสองทอนเขาดวยกัน ค. ยึดทอเขากับกลองตอสาย ง. เชื่อมตอระหวางทอกับกลองตอสาย 10. เพราะเหตุใด การนําสายไฟฟาจากภายนอกเขามาภายในอาคาร จึงตองใชหัวงูเหา (Service Entrance) ก. ปองกันทอขูดกับฉนวนของสายไฟฟา ข. งายตอการเขามุมหรือหักมุมขามสิ่งกีดขวาง ค. เพื่อตอทอสายไฟจากภายนอกและภายในอาคารเขาดวยกัน ง. ปองกันน้ําเขาทอ

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921520603 การดัดและจับยึดทอ (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีดัดทอโลหะและทอพีวีซีได 2. ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. หัวขอสําคัญ 1. การดัดและตอทอโลหะ 2. การดัดและตอทอพีวีซี 3. การจับยึดทอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การเดินสายไฟฟาในอาคาร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/ 00000831_1_20141103-232713.pdf ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิธีการเดินสายไฟฟาในอาคารและโรงงาน.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.xn--42c6b3a0i.com/attachments/view/?attach_id=82874

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การดัดและจับยึดทอ งานเดินทอรอยสายไฟฟาตามอาคารบานเรือนหรือโรงงานจําเปนตองดัดเสนทอใหเขากับโครงสรางของอาคาร ซึ่งปกติ เสนทอที่ถูกดัดจะเกิดการยืดและหดตัวของเนื้อโลหะ มีผลทําใหระยะทางเดินของเสนทอผิดพลาดไปจากที่ไดวัดไวกอ นหนา ผูปฏิบัติงานจึงตองคํานวณขนาดเพื่อชดเชยหรือตัดออก เพื่อใหทอมีความยาวเหมาะสม รวมถึงชวยในการกําหนดจํานวน อุปกรณจับยึดทอใหพ อดี เพื่อปองกันขอผิดพลาดระหวางการดําเนินงาน และชวยประหยัดเวลาดําเนินงานที่ไมตองแกไข ขอผิดพลาดซ้ํา ทั้งนี้การดัดทอแบงออกไดเปนหลายลักษณะ ดังนี้ 1. การดั ด และต อ ท อ โลหะ ทอโลหะบางนิย มนํามาดัดโคงเพื่อใชในงานเดินสายรอยทอ ซึ่งการดัดทอจะตองใชความระมัดระวังและความชํานาญ เพื่อใหการปฏิบัติง านเป นไปได อย า งปลอดภัย ในการดั ด ท อ โลหะบางต อ งระวัง ไม ใ ห ท อเสีย รู ปทรงภายใน กลา วคือ เสนผานศูนยกลางของทอจะตองไมเล็กลง ซึ่งปกติแลวรัศมีการดัดโคงตองมีคาไมต่ํากวา 6 – 8 เทาของเสนผานศูนยกลางทอ ทั้งนี้ หากมีการตัดทอกอนนําไปดัดทอจะปรากฏรอยตัดที่แหลมคมรวมถึงมีเศษโลหะโผลออกมา จึงจําเปนตองมีการขจัดสิ่งเหล านี้ ออกไปดว ยการใช เ ครื่ อ งมื อ ลบคมท อ เพื่อ ปอ งกั น อั น ตรายตอ ผู ป ฏิ บั ติง านและป อ งกั น ไมใ หท อ บาดฉนวนของ สายไฟฟา 1.1 การดัดทอ 45 องศา และ 90 องศา ในกรณีการดัดทอ 45 องศา และ 90 องศา มีขั้นตอนในการดัดใกลเคียงกัน แตจะแตกตางที่ระยะ TAKE UP ดังตารางที่ 3.1 ซึ่งมีขั้นตอนในการปฏิบัติงานตอไปนี้ - วัดระยะความสูงจากพื้นถึงอุปกรณที่ตองการดัดทอเขากับอุปกรณนั้น - ลบความสูงของระยะที่วัดได ดวยคา TAKE-UP จากตาราง 3.1 ตารางที่ 3.1 ระยะ TAKE UP ของการดัดทอโลหะบางดวย EMT Bender มุมดัดทอ ขนาดทอ 10° - 20° 20° - 45° 45° - 60° ½ นิ้ว (15 มม.) 1 – 2 นิ้ว 2 – 3 นิ้ว 3 – 4 นิ้ว ¾นิ้ว (20 มม.) 1 นิ้ว (25 มม.)

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

90° 5 นิ้ว 6 นิ้ว 7 นิ้ว


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.1.1 การดัดทอ 45 องศา - ทําเครื่องหมายใหตรงกับตําแหนงความสูงที่ตองการยกปลายขึ้น และลบดวยระยะ TAKE-UP ดังตาราง 3.1

- วางเบนเดอรใหตรงตําแหนงจุดดัดที่ทําเครื่องหมายไวบนเสนทอ

- ดึงเบนเดอรเขาหาตัว และเหยียบทอดวยเทาขวา สวนเทาซายเหยียบเบนเดอรเพื่อใหปลายทอ ยกขึ้นทํามุม 45 องศา และควรตรวจสอบมุมที่เกิดขึ้นดวยระดับน้ํา

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.1.2 การดัดทอ 90 องศา เปนการดัดทอใหตั้งฉากกับพื้น ใชใ นกรณีที่มีการเลี้ยวหักสายไฟเปนมุม ฉาก หรือกรณีทอโผลขึ้นจากพื้นตอวงจรไฟกับวงจรไฟวงจรอื่น ๆ - ทําเครื่องหมายใหตรงกับตําแหนงความสูงที่ตองการยกปลายขึ้น และลบดวยระยะ TAKE-UP ดังตารางที่ 3.1

- วางเบนเดอรใหตรงตําแหนงจุดดัดที่ทําเครื่องหมายไวบนเสนทอ

- ดึงเบนเดอรเขาหาตัว และเหยียบทอดวยเทาขวา สวนเทาซายเหยียบเบนเดอรเพื่อใหปลายทอยกขึ้น ทํามุม 90 องศา และควรตรวจสอบมุมที่เกิดขึ้นดวยระดับน้ํา

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 การดัดทอรูปตัวยู การดัดทอรูปตัวยูเปนการดัดทอใหปลายทอทั้ง 2 ดาน โคงงอ 90 องศา ดังนั้นในการดัดทอจําเปนตองหาตําแหนงจุ ดดัด ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1.2.1 วัดระยะบังคับปลายทอที่ตองการยกขึ้นสูงจากพื้น จากจุดระยะบังคับปลายทอลบดวยระยะ TAKE-UP

1.2.2 วางเบนเดอรใหตรงตําแหนงจุดดัดที่ทําเครื่องหมายไวบนเสนทอ

1.2.3 ดึงเบนเดอรเขาหาตัว และเหยียบทอดวยเทาขวา สวนเทาซายเหยียบเบนเดอรเพื่อใหปลายทอยกขึ้น ทํามุม 90 องศา ของปลายทอทั้ง 2 ดาน และตรวจสอบมุมโดยระยะบังคับหลังทอตองระนาบกับพื้น

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.3 การดัดทอแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา 1.3.1 การดัดทอแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (แบบขามสิ่งกีดขวาง) เปนการยกระดั บความสู งของท อให สูงขึ้ น และทําใหโคง งอเท า กั นแต กระทํา นทิศ ทางตรงกั น ขา ม โดยมีวัตถุประสงค คือ เพื่อตอเขากับกลองตอสาย กลองสวิตชหรือปลั๊ก เพื่อดัดทอขามสิ่งกีดขวาง การดัดทอลักษณะนี้จะเปนการดัดสองครั้ง คือ ดัดยกปลายทอขึ้น และดัดกดปลายทอลง โดยจะตองมี ระยะหางระหวางจุดดัดทั้งสองครั้ง จึงมีสูตรใชในการคํานวณหาระยะหางระหวางจุดดัด ดังนี้ สูตร ระยะหางระหวางจุดดัด (L) = ความสูงกีดขวาง (D) × ตัวคูณคาคงที่เฉพาะ องคประกอบการดัดทอ ประกอบดวย - องศายกปลายทอขึ้นเทากับองศาที่กดปลายทอลง - ตําแหนงจุดดัดที่ยกมุมทอขึ้น ตองอยูเหนือพื้น - ตําแหนงจุดดัดที่กดมุมทอลง จะตองพอดีขอบระดับใหม เกณฑการเลือกใชองศาดัดทอ มีขอกําหนดดังนี้ - การเปลี่ยนระดับทางเดินทอสูงไมเกิน 1 นิ้ว เลือกใชมุม 10 องศา - การเปลี่ยนระดับทางเดินทอสูงระหวาง 1 – 2 นิ้ว เลือกใชมุม 22½ องศา - การเปลี่ยนระดับทางเดินทอสูงระหวาง 3 – 5 นิ้ว เลือกใชมุม 30 องศา - การเปลี่ยนระดับทางเดินทอสูงตั้งแต 5 นิ้วขึ้นไป เลือกใชมุม 45 องศา ตัวอยาง ถาตองการดัดทอเปลี่ยนระดับทางเดินทอขามสิ่งกีดขวางสูง 6 นิ้ว โดยใชมุมเปลี่ยนระดับ 30 องศา จงหาระยะหางระหวางจุดดัดทั้งสอง

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใชสูตร L = D × ตัวคูณคาคงที่เฉพาะ ความสูงกีดขวาง

= 6 นิ้ว

ตัวคูณคาคงที่เฉพาะ

= 2 นิ้ว

ดังนั้น ระยะหางระหวางจุดดัด = 6 × 2 = 12 นิ้ว

1.3.2 การดัดทอแบบ OFF SETหรือการดัดคอมา (แบบเขากลองตอสาย) เปนการดัดทอเปลี่ย นระดับการเดิน ทอแบบหนึ่ง เพื่อใหปลายทอเขากลองพักสายหรือ กลองสวิต ช โดยมีกฎเกณฑการดัด ดังนี้ - มุมการดัดตามความสูงของชองที่จะรองรับปลายทอของกลองแบบตาง ๆ - ระยะจากปลายทอถึงตําแหนงจุดดัดมุมกดเทากับ 4 ถึง 5 เทาความโตทอ

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.4 การดัดทอขามสิ่งกีดขวาง การดัดทอขามสิ่งกีดขวางใชในกรณีที่พบสิ่งกอสรางกีดขวางแนวทางการเดินทอ และไมสามารถงอทอใหเปนมุม 90 องศา ไดตลอดทาง จะตองใชวิธีการลากเสนเปนแนวไวบนพื้นหองหรือพื้นที่ผิวเรียบ ๆ เขาชวย ทําใหมองเห็นลักษณะการดัดทอ ไดอยางชัดเจน รวมถึงสามารถกําหนดการโคงงอของทอไดถูกตอง โดยเมื่อดัดทอแลวควรตรวจระยะใหแ นนอนอี กครั้ง การดัดทอรูปแบบนี้จะตองดัดใหทอยกสูงขึ้น จากนั้นจึงดัดกลับลงมาเหมือนเดิม ซึ่งการดัดทอขามสิ่งกีดขวางตาง ๆ สามารถทําได 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.4.1 สิ่ง กีด ขวางหนาแคบ ใชก ารดัด ทอขามสิ่ง กีดขวางแบบ 3 มุม โดยมีแ นวทางเดิน ทอเปน ฐานการดัด และจะต อ งคํ า นวณเผื่ อ การยืด และหดของท อให พ อดี กั บ สว นสู ง ของสิ่ งกี ด ขวาง สํ า หรั บ สู ต รที่ ใ ช คํานวณหาระยะหางระหวางจุดดัด คือ สูตร ระยะหางระหวางจุดดัด = ความสูงของสิ่งกีดขวาง × 2 ½

1.4.2 สิ่งกีดขวางหนากวาง ใชการดัดทอขามสิ่งกีดขวางแบบ 4 มุมจะใชหลักการดัดทอเปลี่ยนระดับการเดินทอ (OFF - SET) โดยดัดเปน OFF – SET 2 ครั้ง หันเขาหากันมีความกวางของสิ่งกัดขวางเปนตัวเชื่อม

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การดัดทอเพื่อการแกไข การดัดทอเพื่อการแกไข ใชในกรณีที่ดัดทอผิดตําแหนง โดยดัดตามรอยโคงงอของทอเดิมใหคืนตัวและตรงไดใ หม ซึ่งแบงเปน 2 แบบ คือ 1.5.1 การดัดกลับคืน โดยใชทอที่มีข นาดใหญกวาเล็กนอยสวมลงไปในทอเดิม จากนั้นจึงคอย ๆ ดันใหทอ กลับคืน 1.5.2 การแกไขเมื่อทอบุม โดยใชเหล็กกระทุงที่ผิวดานในของทอ

การดัดกลับคืน

แกไขเมื่อทอบุม ภาพที่ 3.1 การดัดทอเพื่อแกไข

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.6 การตอทอ สําหรับทอโลหะบาง เมื่อตองการตอทอเขาดวยกัน จะตองใหผิว หนังภายในเรีย บเหมือ นเดิม โดยใชขอตอท อ (Conduit Coupling) เชื่อมตอทอเขาดวยกัน ดังภาพที่ 3.2 แตหากตองการวางทอลงในบริเวณที่มีน้ําอยู จะตองใชขอตอทอ ชนิดพิเศษเพื่อปองกันน้ํารั่วซึม เขารอยตอ

ภาพที่ 3.2 การตอทอดวยขอตอ Coupling สําหรับทอโลหะหนาและทอโลหะหนาปานกลางเปน ทอทําเกลีย วไดทั้งคู จึงใชวิธีการขันเกลีย วตอกันใหแ นน ดังภาพที่ 3.3 การทําเกลียวทอตองใชเครื่องทําเกลียวชนิดปลายเรียว เกลียวชนิดนี้เมื่อหมุนขอตอเขาไปจะแนนขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งจะเปนผลใหมี ความต อเนื่ องทางไฟฟา ที่ดี ถาตอทอในอิฐก อหรือ คอนกรี ต หากใชขอตอชนิด ไมมีเ กลีย วต อ งใช ชนิดฝงในคอนกรีต และหากติดตั้งในที่เปยกตองใชชนิดกันฝน

ภาพที่ 3.3 แสดงวิธีการตอทอเขากับขอตอเกลียว

(ก) ขอตอแบบตรง

(ข) ขอตอแบบอัดแนน ภาพที่ 3.4 ตัวอยางขอตอทอ 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

(ค) ขอตอแบบมีเกลียวปลายเรียว


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. การดั ด และต อ ท อ พี วี ซี ทอพีวีซี มีวิธีการดัดและการตอทอ โดยการใชเครื่องเปาลมรอน ดังตอไปนี้ 2.1 การดัดทอแบบ 90 องศา 2.1.1 วัดทอตามขนาดที่ตองการ โดยวัดจากปลายทอดานหนึ่งถึงกึ่งกลางของทอ

2.1.2 ทาบสปริงกับทอเพื่อวัดความยาว ซึ่งจะตองมีความยาวเทากัน

2.1.3 สอดสปริงเขาทอจากดานหนึ่งไปโผลยังอีกดานหนึ่ง

2.1.4 วางทอกับแปนไมแบบสําหรับดัด และใชเครื่องเปาลมรอนเปาบริเวณกึ่งกลางทอ ทดลองยกทอดานหนึ่ง ขึ้นเปนระยะ ๆ เพื่อทดสอบความออนตัวของทอ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2.1.5 ดัดทอตามแบบจากนั้นใชผาชุบน้ําบิดหมาด ๆ คอย ๆ ลูบไปมาบริเวณจุดดัดเพื่อใหทอแข็งตัว

2.1.6 ดึงสปริงออกจากทอ

2.2 การตอทอ 1)

วัดระยะจากปลายทอที่ตองการตอทอเขามาที่ 2.5 เซนติเมตร

2)

ใชเครื่องเปาลมรอน เปาบริเวณสวนปลายทอจนถึงจุดที่วัดไว ในขณะที่เปาทอใหหมุนทอไปดวย เพื่อให ทอไดรับความรอนอยางสม่ําเสมอ จนปลายทอออนตัวลง

3)

นําทอขนาดเดียวกันลบคมทอภายนอก จากนั้นใชจาระบีหรือน้ํามันหลอลื่นทา แลวอัดทอเขาไปในทอที่ เปาดวยเครื่องลมรอน โดยใหมีความลึกเทากับความลึกที่วัดไว

4)

นําผาชุบน้ํามาชโลมโดยรอบของทอที่บานแลวจนเย็น

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. การจับยึดทอ วิธีการจับยึดทอรอยสายไฟฟา แบงออกเปน 2 แบบ ดังตอไปนี้ 3.1 แบบยึดแนบกับผนังโดยตรง โดยใชแคลมปจับทอ (Clamp) หรือเรียกวาสแตรป (Strap)

ภาพที่ 3.5 การจับยึดแนบกับผนังโดยตรง 3.2 แบบยึดเขากับรางตัวซี โดยใชรางตัวซีและแคลมปประกับเพื่อรองรับทอจํานวนมาก

ภาพที่ 3.6 การจับยึดเขากับรางตัวซี

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การกําหนดตําแหนงจุดดัดของทอโลหะมุม 45°ทําไดโดยนําระยะ TAKE-UP – ระยะบังคับหลังทอ 2. การดัดทอโลหะบางขนาด 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) ใหทํามุม 90° ดวย EMT Bender จะมีระยะTAKE-UP เทากับ 6 นิ้ว 3. การดัดทอโลหะมุม 45° ดวย EMT Bender จะตองดึงเบนเดอรเขาหาตัว โดย ใหเทาขวาเหยียบทอ สวนเทาซายเหยียบเบนเดอรจนปลายทอทํามุม 45° 4. การดัดทอมุม 45° เปนการดัดทอในกรณีที่มีทอโผลขึ้นจากพื้นตอวงจรไฟกับ วงจรไฟวงจรอื่น ๆ 5. การตรวจสอบมุมสําหรับการดัดทอรูปตัวยู คือ ปลายทอทั้ง 2 ดานตองยกขึ้น ทํามุม 90°และมีระยะบังคับหลังทอระนาบไปกับพื้น 6. หากตองการดัดแบบ OFF SET ขามสิ่งกีดขวางสูง 6 นิ้ว ใชมุม เปลี่ย นระดับ 30° โดยมีตัวคูณคาคงที่เฉพาะเทากับ 2 นิ้ว จะตองกําหนดระยะหางระหว างจุด ดัดทั้งสองเทากับ 3 นิ้ว 7. การดัดทอแบบคอมา จะมีระยะจากปลายทอถึงตําแหนงจุดดัดมุมกดเทากับ 3 - 5 เทาของความโตทอ 8. การดัดทอพีวีซีมุม 90° จะใชเครื่องเปาลมรอนเปาบริเวณกึ่งกลางทอ แลว ทดลองยกทอดานหนึ่งขึ้นเปนระยะ ๆ เพื่อทดสอบความออนตัวของทอกอนนํา ดัด ตามแบบ 9. ขั้นตอนสุดทายของการดัดทอพีวีซี คือ ใชผาชุบน้ําบิดหมาด ๆ คอย ๆ ลูบไปมา บริเวณจุดดัดเพื่อใหทอแข็งตัว แลวคอยดึงสปริงออกจากทอ 10. การดัดทอเพื่อการแกไขในกรณีที่ดัดทอผิดตําแหนง ดวยวิธกี ารดัดกลับคืน จะ ใชทอที่มีขนาดใหญกวาเล็กนอยสวมลงไปในทอเดิม แลวคอย ๆ ดันใหทอกลับคืน 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ถูก

ผิด

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การดัดทอโลหะบางแบบ 45 องศา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกดัดทอโลหะบางแบบ 45 องศา ตามแบบทีก่ ําหนดใหถูกตอง

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.1 การดัดทอโลหะบางแบบ 45 องศา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. EMT Bender ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

2. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

3. เหล็กฉาก

จํานวน 1 อัน

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

5. ตะไบละเอียด

จํานวน 1 อัน

6. ปากกาเมจิก

จํานวน 1 แทง

7. ปากกาจับทอ

จํานวน 1 แทง

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

8. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน

9. รีมเมอร (Reamer)

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอโลหะบาง EMT ขนาด ½ นิ้ว ยาว 30 นิ้ว

จํานวน 1 เสน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การดัดทอโลหะบางแบบ 45 องศา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. กําหนดจุดตัดทอ

ขอควรระวัง

นําท อโลหะบางขนาด ½ นิ้ว ยาว 30 นิ้ว วัดจากปลายทอ ดานใดดานหนึ่งไปที่ความยาว 24 นิ้ว

2. ตัดทอโลหะบาง

ตัดทอโลหะบางที่วัดไวแลว

การตั ด ท อ ด ว ย เลื่ อ ย ควรยึ ด ท อ ด ว ยปากกา จับทอ แลวใชมือข า งที่ ถนัดบเลื่อยขณะเลื่อยทอ

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. ลบคมทอโลหะบาง

ขอควรระวัง

นํารีมเมอรลบคมทอตําแหนง ควรลบคมทอดวยตะไบ ของที่ปลายที่ตัด

หรือ รีเ มอรกอ นนํ า ทอ มาใชง าน เพื่ อ ป อ งกั น อั น ตรายจากความคม ของทอ

4. กําหนดจุดดัดทอ

วั ดระยะจากปลายท อด าน X เขามาที่ความยาว 6 นิ้ว เปน จุดดัด C จากนั้นกําหนดระยะ Take-Up โดยวั ด ระยะจาก จุ ด ดั ด C ย อ นกลั บ ที่ 2 นิ้ ว เปนจุด D

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. ดัดทอ 45 องศา

ขอควรระวัง

นําเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ว สวม ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห เขากับทอ ใหหัวลูกศร A ของ ทอขยับจนทําใหตําแหนง เ บ น เ ด อ ร ต ร ง กั บ จุ ด ที่ทําเครื่องหมายไวเคลื่อน เครื่องหมาย C ดัดทอ โดยให ไปจากเดิม ปลายทอทํามุม 45 องศากับ พื้ น แล ว ถอดเบนเดอร อ อก จากทอ

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 มุมในการดัดทอ 45 องศา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

คะแนนเต็ม 25

- ใชงานตัวดัดทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชงานตัวดัดทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 ดัดทอได ขนาดตามแบบกํ าหนด

- ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดไดและถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติง าน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดแตไมถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

- ความสมบูรณของสวนโคงถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ความสมบูรณของสวนโคงไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 มุมในการดัดทอ 45 องศา

- ดัดทอ 45 องศาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอ 45 องศาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

- ตัดทอและลบคมที่ปลายทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับเขากลองตอสาย)

1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง

ใหผูรับการฝกดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับเขากลองตอสาย) ตามแบบที่

กําหนดใหถูกตอง

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.2 การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับเขากลองตอสาย) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. EMT Bender ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

2. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

3. เหล็กฉาก

จํานวน 1 อัน

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

5. ตะไบละเอียด

จํานวน 1 อัน

6. ปากกาเมจิก/ดินสอ

จํานวน 1 แทง

7. ปากกาจับทอ

จํานวน 1 แทง

8. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

9. รีมเมอร (Reamer)

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กลองตอสาย (Square Box) ขนาด 4×4×1-½ นิ้ว

จํานวน 1 กลอง

2. ทอโลหะบาง EMT ขนาด ½ นิ้ว ยาว 30 นิ้ว

จํานวน 1 เสน

3. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับเขากลองตอสาย) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. กําหนดจุดตัดทอ

ขอควรระวัง

นําท อโลหะบางขนาด ½ นิ้ว ยาว 30 นิ้ว วัดจาก ปลายทอดานใดดานหนึ่ง ไปที่ความยาว 24 นิ้ว

2. ตัดทอโลหะบาง

ตั ด ท อ โลหะบางที่ วั ด ไว ควรยึดทอดวยปากกาจับทอ แลว

แ ล ว ใช มื อ ข า งที่ ถ นั ด จั บ เลื่อยขณะเลื่อยทอ

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. ลบคมทอโลหะบาง

ขอควรระวัง

นํ า รี ม เ ม อ ร ล บ ค ม ท อ ควรลบคมทอดวยตะไบหรือ บริ เ วณที่ ป ลายท อ โลหะ รีเมอรกอนนําทอมาใช ง าน บางที่ตัด

เพื่ อ ป อ งกั น อั น ตรายจาก ความคมของทอ

4. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด C

วัดระยะจากปลายทอดาน X เขามาที่ความยาว 5 นิ้ว เปนจุดดัด C

5. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด D

วัด ระยะจากจุด ดัด C ตอ ไปอีก 6 นิ ้ว ทํ า เป น จุดดัด D

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. ดัดทอ จุดดัด C

ขอควรระวัง

นํ าเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ ว ขณะที่ดัดตองระวังไมใหทอ สวมเขากับทอ ใหหัวลูกศร ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํา B ของเบนเดอรตรงกั บจุ ด เครื่องหมายไวเคลื่อนไป ดั ด C ที่ กํ าหนดไว บนท อ จากเดิม ดัดทอโดยใหปลายทอโค ง ขึ้นเล็กนอย แลวถอดเบน เดอรออกจากทอ

7. ดัดทอ จุดดัด D

พลิกทอในแนวตรงขามกับ ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห ทอ ครั้งแรก นําเบนเดอรสวม ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํ า เขากับทอ โดยใหหัวลูกศร เครื่ อ งหมายไว เ คลื่ อ นไป B ของเบนเดอร ตรงจุดดัด จากเดิม D ที่ กํ า หนดให บ นท อ ดัด ทอ โดยดัดกลับขึ้นมาให ปลาย ท อ ขนานกั บ พื้ น หรื อ สอดเข า กั บ รู ข อง กลองตอสายไดพอดี 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. สวมทอเขากลองตอสาย

สวมปลายทอดานที่ดัดไว เขากับรูของกลองตอสาย

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ยกปลายทอไดขนานกับพื้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ยกปลายทอตอเขากับกลองตอสายได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตัดทอและการลบคมที่ปลายทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

คะแนนเต็ม 25

- ใชงานตัวดัดทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชงานตัวดัดทอไมไดตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 ดัดทอได ขนาดตามกํ าหนด

- ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดแตไมถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 ยกปลายทอไดขนานกับพื้น

- ยกปลายทอขนานกับพื้นถูกตองตามวิธีการปฏิบัติง าน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ยกปลายทอขนานกับพื้นไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 ยกปลายทอตอเขากลองตอสายได

- ยกปลายทอตอเขากลองตอสายถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ยกปลายทอตอเขากลองตอสายไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติง าน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

- ตัดทอและลบคมที่ปลายทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การดัดทอโลหะบางแบบรูปตัวยู

1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง

ใหผูรับการฝกดัดทอโลหะบางแบบรูปตัวยู ตามแบบที่กําหนดใหถูกตอง

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.3 การดัดทอโลหะบางรูปตัวยู

1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. EMT Bender ขนาด ½ นิ้ว 2. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด

3. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

4. ตะไบ

จํานวน 1 อัน

5. ปากกาเมจิก

จํานวน 1 แทง

6. ปากกาจับทอ

จํานวน 1 แทง

7. รีมเมอร (Reamer)

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอโลหะบาง ขนาด ½ นิ้ว ยาว 36 นิ้ว

จํานวน 1 เสน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การดัดทอโลหะบางแบบรูปตัวยู

ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน

คําอธิบาย

1. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด C

ขอควรระวัง

วั ด ระยะจากปลายท อ ดาน X ที่ความยาว 10 นิ้ว เปนจุดดัด C

2. ดัดทอ จุดดัด C

นําเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ว ขณะที่ดัดตองระวัง สวมเขากับทอ ใหหวั

ไมใหทอขยับจนทํา

ลูกศร B ของเบนเดอร

ใหตําแหนงที่ทํา

ตรงกับจุดดัด C ที่

เครื่องหมายไว

กําหนดไวบนทอ ดัดทอ

เคลื่อนไปจากเดิม

โดยใหปลายทอทํามุม 90 องศากับพื้น แลวถอด เบนเดอรออกจากทอ

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน

คําอธิบาย

3. วัดระยะบังคับหลังทอ

วัดระยะจากระนาบทอ จุดดัด C ไปที่ความยาว 20 นิ้ว เปนจุด D

4. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด E

วัดจากระยะบังคับหลัง ท อ ย อ นกลั บ มา 5 นิ้ ว (ระยะ TAKE-UP) เปน จุดดัด E

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน

คําอธิบาย

5. ดัดทอ จุดดัด E

ขอควรระวัง

นําเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ว ขณะที่ดัดตองระวัง สวมเข า กั บ ท อ ให หั ว ไมใหทอขยับจนทํา ลู ก ศร B ของเบนเดอร ใหตําแหนงที่ทํา ตรงกั บ ตํ า แหน ง E ที่ เครื่องหมายไว กําหนดไวบนทอ ดัด ทอ เคลื่อนไปจากเดิม โดยใหป ลายทอ ทํา มุม 90 องศากับพื้น แลวถอด เบนเดอรออกจากทอ

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน

คําอธิบาย

6. ตรวจสอบความโคงของปลายทอ

ตรวจสอบความโคงของ ปลายทอทั้ง 2 ดาน ใหไดฉาก 90 องศา

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 มุมในการดัดทอ 90 องศา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

คะแนนเต็ม 25

- ใชงานตัวดัดทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชงานตัวดัดทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 ดัดทอได ขนาดตามกํ าหนด

- ดัดทอไดขนาดตามแบบที่กําหนดและถูกตองตามวิ ธีการปฏิบัติง าน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดแตไมถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

- ความสมบูรณของสวนโคงถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ความสมบูรณของสวนโคงไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 มุมในการดัดทอ 90 องศา

- ดัดทอ 90 องศาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอ 90 องศาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

- ตัดทอและลบคมที่ปลายทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 3.4 การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับขามสิ่งกีดขวาง) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับขามสิ่งกีดขวาง) ตามแบบที่ กําหนดใหถูกตอง

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.4 การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับขามสิ่งกีดขวาง) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. EMT Bender ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

2. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

3. เหล็กฉาก

จํานวน 1 อัน

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

5. ตะไบละเอียด

จํานวน 1 อัน

6. ปากกาเมจิก/ดินสอ

จํานวน 1 แทง

7. ปากกาจับทอ

จํานวน 1 แทง 90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

8. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน

9. รีมเมอร (Reamer)

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอโลหะบาง EMT ขนาด ½ นิ้ว ยาว 40 นิ้ว

จํานวน 1 เสน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การดัดทอโลหะบางแบบ OFF SET หรือการดัดคอมา (สําหรับขามสิ่งกีดขวาง) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. กําหนดจุดตัดทอ

ขอควรระวัง

นําท อโลหะบางขนาด ½ นิ้ว ยาว 40 นิ้ว วัดจากปลายทอ ดานใดดานหนึ่งไปที่ความยาว 36 นิ้ว

2. ตัดทอโลหะบาง

ตัดทอโลหะบางที่วัดไวแลว

ควรยึดทอดวยปากกาจับทอ แล ว ใช มื อ ทั้ ง สองข า งจั บ เลื่อยขณะเลื่อยทอ

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. ลบคมทอโลหะบาง

ขอควรระวัง

นํารีม เมอรลบคมทอบริเวณที่ ควรลบคมทอดวยตะไบหรือ ปลายทอโลหะบางที่ตัด

รีเมอรกอนนําทอมาใช ง าน เพื่ อ ป อ งกั น อั น ตรายจาก ความคมของทอ

4. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด O

วัดระยะจากปลายทอดานใด ดา นหนึ่ง ที่ความยาว 10 นิ้ว เปนจุดดัด O

5. ดัดทอ จุดดัด O

นําเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ว

ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห ทอ

สวมเข ากั บทอ ให หั วลู กศร A ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํ า ของเบนเดอรตรงกับจุดดัด O เครื่ อ งหมายไว เ คลื่ อ นไป ดัดทอโดยใหป ลายทอ ทํ า มุ ม จากเดิม 45 องศากับพื้น แลวถอดเบน เดอรออกจากทอ

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด X

ขอควรระวัง

นํ า ทอ เทีย บกับ สิ ่ง กีด ขวาง เปนจุดดัด X

7. ดัดทอ จุดดัด X

นําเบนเดอรข นาด ½ นิ้ว

ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห ทอ

สวม เข า กั บ ท อ โดย ให หั ว ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํ า ลูกศร A ของเบนเดอรตรงกับ เครื่ อ งหมายไว เ คลื่ อ นไป จุดดัด X ที่ทอ แลวดัดท อ ให จากเดิม ปลายทอขนานกับพื้น

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด Y

ขอควรระวัง

นํ า ทอ ที ่ด ัด ไวว างเทีย บกับ สิ่งกีดขวาง เปนจุดดัด Y

9. ดัดทอ จุดดัด Y

สวมเบนเดอร ขนาด ½ นิ้ วเข า ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห ทอ กับทอ โดยใหหัวลูกศร B ของ ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํ า เบนเดอร ต รงจุ ด ดั ด Y ที่ ท อ เครื่ อ งหมายไว เ คลื่ อ นไป แลวดัดทอใหงอขึ้นประมาณ จากเดิม 45 องศา

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

10. กําหนดจุดดัดทอ จุดดัด Z

ขอควรระวัง

นํ า ท อ ไปวางเที ย บกั บ สิ่ ง กี ด ขวาง ใชไมบรรทัดเทีย บจาก แนวระดับของกลองหรือคาน มาตัดกับปลายทอเปนจุดดัด Z

11. ดัดทอ จุดดัด Z

นํ า เบนเดอร ส วมเข า กั บ ท อ ขณะที่ดัดตองระวังไมใ ห ทอ โดยใหหัวลูกศร A ของเบนเดอร ขยับจนทําใหตําแหนงที่ทํ า ตรงจุ ดดั ด Z บนท อ และทํ า เครื่ อ งหมายไว เ คลื่ อ นไป การดัดทอลงมาจนสังเกตเห็น จากเดิม ปลายท อ ทั้ ง สองด า นอยู ใ น แนวระดับเดียวกัน

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ 1.2 ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนด 1.3 สวนทอขามสิ่งกีดขวางขนานกับสิ่งกีดขวาง 1.4 มุมในการดัดทอตามกําหนด 1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การใชงานตัวดัดทอในการดัดทอ

1.2 ดัดทอได ขนาดตามแบบกํ าหนด

1.3 สวนทอขามสิ่งกีดขวางขนานกับสิ่งกีดขวาง

1.4 มุมในการดัดทอตามกําหนด

1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

2

เกณฑการใหคะแนน - การใชงานตัวดัดทอไดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - การใชงานตัวดัดทอไมไดตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดไดถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดไมไดต ามวิธีก ารปฏิบัติง าน ใหคะแนน 0 คะแนน - ส วนท อ ข ามสิ่ ง กี ด ขวางขนานกั บสิ่ ง กี ด ขวางได ถูก ต อ งตามวิ ธี ก าร ปฏิบัติงานใหคะแนน 5 คะแนน - สวนทอขามสิ่งกีดขวางไมขนานกับสิ่งกีดขวางตามวิธีการปฏิ บัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ดัดทอตามแบบกําหนดไดถูกตองตามวิธีการปฏิ บัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอตามแบบกําหนดไมไดตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติง าน ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไมไดตามวิธีการปฏิบัติง าน ใหคะแนน 0 คะแนน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง คะแนนเต็ม

ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนเต็ม 25 5

5

5

5

5

5 1 1 1 1 1 30

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 3.5 การดัดทอพีวซี ี 90 องศา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ดัดทอโลหะและทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกดัดทอพีวีซี 90 องศา ตามแบบที่กําหนดใหถูกตอง

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.5 การดัดทอพีวซี ี 90 องศา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอรตัดทอพีวีซี

จํานวน 1 อัน

2. เครื่องเปาลมรอน

จํานวน 1 เครื่อง

3. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

4. ตะไบ

จํานวน 1 อัน

5. ปากกาเมจิก

จํานวน 1 แทง

6. ไมแบบสําหรับดัดทอพีวีซีโคง 90 องศา

จํานวน 1 ชุด

7. สปริงดัดทอ ขนาด 20 มิลลิเมตร จํานวน 1 อัน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอพีวีซีสีขาว ขนาด 20 มิลลิเมตร

จํานวน 1 ทอน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การดัดทอพีวีซี 90 องศา ลําดับการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. กําหนดจุดตัดทอ

ขอควรระวัง

นําทอพีวีซียาว 40 นิ้ว วัดจาก ปลายท อดา นใดดา นหนึ่ งไป ที่ค วามยาว 36 นิ้ ว

2. ตัดทอพีวีซี

ตั ด ท อ พี วี ซี ที่ วั ดไ ว แ ล ว ให เรียบรอย

3. ลบคมทอพีวีซี

ใชรีมเมอรลบคมทอ

ควรลบคมทอดวยตะไบ หรือรีเมอรกอนนําทอมา ใชงานเพื่อปองกันอันตราย จากความคมของทอ

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. กําหนดจุดดัดทอ

ขอควรระวัง

วัดระยะจากปลายทอดานหนึ่ง เขามา 18 นิ้ว

5. ทาบสปริงกับทอ

ทาบสปริงกับทอเพื่อวัดความ ไมควรใชสปริงขนาดใหญ ยาว โดยความยาวของสปริง เกินไป เพราะเมื่อทอโดน จะตองเทากับความยาวของทอ ลมรอนจะเกิดการหดตัว

6. สอดสปริงเขาทอ

สอดสปริงเขาทอจากดานหนึ่ง ขณะที่ ดั ด ต อ งระวังไมใ ห ไปโผลยังอีกดา นหนึ่ ง โดยให ทอขยับจนทําใหตําแหนง ตัวสปริงอยูบริเวณกึ่งกลางทอ ที่ทําเครื่องหมายไวเคลื่อ น ไปจากเดิม

7. วางทอกับแปนไมแบบสําหรับดัดทอ 90 องศา

ใชเครื่องเปาลมรอน เปาบริเวณ ในการเป า ลมร อ น ต อ ง กึ่ ง ก ล า ง ท อ ใ ห ค ว า ม ร อ น สังเกตผิวทอวามีรอยหยัก กระจายเทา ๆ กัน โดยทดลอง หรือเปนคลื่นหรือไม หาก ยกทอดานหนึ่งขึ้นเปนระยะ ๆ มี ห มายถึ ง ชิ้ น งานยั ง ไม เพื ่อ ทดสอบความออ น ตัว พรอมใชงาน ของทอ ดัดทอใหได 90 องศา

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. ดัดทอพีวีซี 90 องศา

นําทอที่ออนตัว ดัดโคง 90 องศา ตามแบบสําหรับดัดทอ 90 องศา

9. ใชผาลูบทอพีวีซี

ใชผาชุบน้ําบิดหมาด ๆ คอย ๆ ลู บ ไปม าบริ เ วณจุ ด ดั ด โค ง เพื่อใหทอแข็งตัว

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ลําดับการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

10. ดึงสปริงออกจากทอ

ดึ ง สปริ ง ออ ก จา กท อ แ ล ะ ตรวจสอบพื้นผิวของทอโดยผิว ของทอตองไมมรี อยยนจากการ เปาลมรอน

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชเครื่องเปาลมรอน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 มุมในการดัดทอ 90 องศา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การใชเครื่องเปาลมรอน

คะแนนเต็ม 25

- ใชเครื่องเปาลมรอนถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องเปาลมรอนไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 ดัดทอได ขนาดตามกํ าหนด

- ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดและถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอไดขนาดตามแบบกําหนดแตไมถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 ความสมบูรณของสวนโคง

- ความสมบูรณของสวนโคงถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ความสมบูรณของสวนโคงไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 มุมในการดัดทอ 90 องศา

- ดัดทอ 90 องศาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอ 90 องศาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 การตัดทอและลบคมที่ปลายทอ

- ตัดทอและลบคมที่ปลายทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอและลบคมที่ปลายทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4

0921520604 การติดตั้งอุปกรณประกอบและการรอยสายไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการติดตั้งอุปกรณประกอบและการรอยสายไฟฟาได 2. ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซีเขากับอุปกรณไฟฟาไดตามแบบที่กําหนด

2. หัวขอสําคัญ 1. การติดตั้งอุปกรณประกอบ 2. การรอยสายไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้ นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรับการฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรา งหลักสู ตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

7. บรรณานุกรม การเดินสายไฟฟาในอาคาร.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/ 00000831_1_20141103-232713.pdf ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครั้งที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิธีการเดินสายไฟฟาในอาคารและโรงงาน.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.xn--42c6b3a0i.com/attachments/view/?attach_id=82874

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การติดตั้งอุปกรณประกอบและการรอยสายไฟฟา ในสว นนี้ จ ะกลา วถึ ง การติ ด ตั้ ง อุป กรณป ระกอบท อ ร อ ยสายไฟฟา เพื่อ เดิน ท อ ร อ ยสายไฟฟา ภายในอาคาร หรือโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงขอปฏิบัติใ นการรอยสายไฟฟาในทอรอยสาย 1. การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ป ระกอบ การติดตั้งอุปกรณประกอบทอ คือ การติดตั้งคอนเนคเตอร ล็อกนัท บุชชิ่ง แคลมปจับทอ และกลองตอสายมาประกอบ เชื่อมตอเขาดวยกัน ดังภาพที่ 4.1

ภาพที่ 4.1 การติดตั้งอุปกรณประกอบทอ นอกจากนี้ สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการติดตั้งทอตาง ๆ มีดังตอไปนี้ 1.1 ทอโลหะบาง 1) การติด ตั้ง ทอ รอ ยสายเขา กับกลอ งตอ สายหรือ เครื่องประกอบการเดิน ทอ ตอ งมีบุชชิ่ง เพื่อ ปอ งกัน ไมใหฉนวนหุมสายชํารุด เวนแตวากลองตอสายหรือเครื่องประกอบการเดินทอไดออกแบบมาเพื่อป องกั น การชํารุดเสีย หายของฉนวนไวแ ลว

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายรวมกันแลว ตองไมเกิน 360 องศา เพราะอาจดึงสายไมเขา หรือถาดึงเขาไปได ก็จะดึงสายออกมาไมได เปนผลใหการบํารุงรักษาทําไดยากหรือทําไมได 4) หามใชทอโลหะบางฝงดินโดยตรง หรือใชในระบบไฟฟาแรงสูง หรือที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายหลังการติดตั้งได 1.2 ทอโลหะหนา 1) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายรวมกันแลวตองไมเกิน 360 องศา 2) เมื่อเดินทอเขากลองหรือสวนประกอบอื่น ๆ ตองจัดใหมีบุชชิ่ง เพื่อปองกันไมใหฉนวนของสายชํารุด 1.3 ทอโลหะออน 1) มุม ดัด โคง ระหวา งจุด ดึง สายรวมกัน ตอ งไมเ กิน 360 องศา และระยะหา งระหวา งอุป กรณจับยึด ตองไมเกิน 1.50 เมตร โดยหางจากกลองตอสายหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเกิน 0.30 เมตร 2) สําหรับทอโลหะออนกันของเหลว ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอนจึงทําการเดินสายไฟ 2. การรอยสายไฟฟา การเดินสายไฟฟาเขาไปในทอโลหะ เปนการดึงสายไฟรอยผานไปในทอ หรือเรียกวา ฟชชิ่ง (Fishing) โดยการใชที่ดึงสาย (Fish Tape) ดึงสายไฟรอยผานจากดานหนึ่งไปสูอีกดานหนึ่งที่ตองการ ทั้งนี้ ทอจะตองลื่นและเรียบ เพื่อใหสายไฟเคลื่อนผาน ทอไดสะดวก การเดินสายไฟฟาในทอรอยสายจะใชในบริเวณที่มีความชื้น สารเคมี หรือมีความเปนกรด และบริเวณที่สายไฟฟา มีโอกาสถูกกระทบกระแทก เชน ภายในโรงงานอุตสาหกรรม อาคารขนาดใหญ เพื่อสรางความปลอดภัยเมื่อเกิดประกายไฟ หรือเกิดการอารก ในสวนของการติดตั้งไฟฟาประกอบดวย การเดินสาย การติดตั้งอุปกรณทั่วไป รวมถึงการติดตั้งอุปกรณปองกัน 2.1 การติดตั้งไฟฟา แบงออกเปน 2 แบบ คือ แบงตามวิธีการเดินสายไฟฟา และแบงตามวิธีการติดตั้ง ดังนี้ 2.1.1 วิธีการเดินสาย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) แบบเปด เรียกอีกอยางหนึ่งวา แบบเดินลอย วิธีนี้สามารถมองเห็นสายไฟฟาไดอยางชัดเจน เชน การเดินสายดวยเข็มขัดรัดสาย เปนตน 2) แบบปด สายไฟฟาจะถูกซอนไวอยางมิดชิด เปนการปองกันการกระแทกจากภายนอก ไดแก การเดินสายในทอ ในรางเดินสาย (Wire Way) และรางเคเบิล (cable tray) เปนตน 2.1.2 แบงตามวิธีการติดตั้ง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ การติดตั้งไฟฟาภายในอาคาร ภายในโรงงาน และ การติดตั้งไฟฟานอกอาคาร

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1) การเดินสายไฟฟาในอาคารหมายถึงการติดตั้งอุปกรณและเดินสายไฟฟาภายในตัวอาคารเริ่ม ตั้งแตแ ผงจายไฟรวมมาถึงอุปกรณไฟฟาแตละตัว ไดแ ก การเดินสายไฟฟาดวยเข็มขัดรัดสาย การเดินสายไฟฟาในทอรอยสาย เปนตน 2) การติดตั้งในโรงงาน สวนใหญจะเดินสายในทอรอยสาย รางเดินสาย (Wire Way) เปนตน 2.2 การรอยสายไฟฟาเขาทอ มีขอปฏิบัติ ดังนี้ 1) ควรปฏิบัติงานอยางนอยสองคน โดยใหคนหนึ่งดึงฟชเทป สวนอีกคนสงสายเขาทอ เพื่อปองกันไมให สายไฟงอ ซึ่งทําใหฉนวนขูดกับปากทอ สงผลใหฉนวนชํารุดได 2) ควรจัดสายใหเรียบรอยกอนที่จะดึงสายเขาไปในทอ และบางครั้งอาจจะตองใชสารลดความฝด 3) ควรรอยสายพรอมกันครั้งเดียว เพราะการรอยสายทีละเสนจะทําไดลําบาก 4) ถาหากสายขาดขณะรอยสาย ตองเปลี่ยนใหมและหามตอสายภายในทอ 5) ปลายสายทุก เสน ตองรัดเขากับปลายฟชเทปใหมั่น คง เพื่อ ไมใ หหลุดออกจากกัน แลวพัน ปดทับไว ดวยเทปพันสายไฟ ดังภาพที่ 4.2

ภาพที่ 4.2 พันปดทับดวยเทปพันสายไฟ 6) ควรรอยสายเปนชวง ทุก ๆ กลองตอสาย 7) ทอแตละทอนจะตองมีความตอเนื่องทางไฟฟา จึงจําเปนตองสํารวจขอตอหรือการตอระหวางทอ กับ กลองตอสายและขันใหแนน 8) ควรแยกสีของสายไฟฟาตามที่มาตรฐานกําหนด เพื่อปองกันการสับสน 9) สายไฟฟาที่จะรอยเขาไปในทอ ควรเปนสาย THW หรือ TW

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การติด ตั้ง อุปกรณประกอบทอ คือ การติด ตั้งคอนเนคเตอร ล็อ กนัท บุชชิ่ง แคลมปจับทอ และกลองตอสาย มาประกอบเชื่อมตอเขาดวยกัน 2. ในการติดตั้งทอโลหะออน อุปกรณจับยึดสามารถหางจากกลองตอสายหรื อ อุปกรณตาง ๆ ไดไมเกิน 0.20 ม. 3. ในการติดตั้งทอโลหะออน ตองมีระยะหางระหวางอุปกรณจับยึดไมเกิน 1.50 ม. 4. การติดตั้งระบบทอโลหะออนกันของเหลว สามารถติดตั้งควบคูไปกับการเดิน สายไฟได 5. การเดินสายไฟฟาในทอรอยสาย จะใชใ นบริเวณที่มีความเปนกรด สารเคมี ความชื้น และบริเวณที่มีโอกาสถูกกระทบกระแทก 6. การรอยสายไฟฟาเขาทอ สามารถปฏิบัติไดดวยตนเอง โดยใชมือขางที่ถ นัด ดึง ฟชเทป สวนอีกขางหนึ่งสงสายเขาทอ เพื่อปองกันไมใ หสายไฟงอจนฉนวนขูด กับปากทอ ซึ่งจะสงผลใหฉนวนชํารุดได 7. การรอยสายไฟฟาเขาทอ ควรรอยสายครั้งละไมเกิน 3 เสน เพื่อปองกันไมให สายไฟงอจนฉนวนขูดกับปากทอ ซึ่งจะสงผลใหฉนวนชํารุดได 8. การรอยสายไฟฟาเขาทอ หากสายขาดในขณะรอยสาย ตองเปลี่ยนใหมและหาม ตอสายภายในทอ 9. การรอยสายไฟฟาเขาทอ ตองรัดปลายสายทุกเสนเขากับปลายฟชเทปให แ นน แลวพันปดทับไวดวยเทปพันสายไฟ 10. การรอยสายไฟฟาเขาทอ สายที่ใชควรเปนสายชนิด THW

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ถูก

ผิด

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การติดตั้งอุปกรณประกอบทอและเดินสายทอโลหะ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซีเขากับอุปกรณไฟฟาไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกติดตั้งอุปกรณประกอบและเดินสายทอโลหะได ตามแบบที่กําหนดใหถูกตอง

แบบรางงานจริง

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบงานสําเร็จ

แบบงานติดตั้ง

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 4.1 การติดตั้งอุปกรณประกอบทอและเดินสายทอโลหะ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2. ไขควงเช็คไฟ

จํานวน 1 อัน

3. คัตเตอรปอกสาย

จํานวน 1 อัน

4. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

5. เบนเดอรดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

6. ฟชเทป

จํานวน 1 อัน

7. มัลติมิเตอร 8. ระดับน้ํา

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน

9. รีมเมอร

จํานวน 1 อัน 117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

10. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. Bushing

จํานวน 11 อัน

2. Connector แบบธรรมดา Set Screw พรอม Lock Nut

จํานวน 11 อัน

3. Handy Box พรอมฝาปด

จํานวน 3 อัน

4. Square Box พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

5. Strap แบบรูเดียวหรือสองรู

จํานวน 17 อัน

6. เซอรกิตเบรกเกอร

จํานวน 1 ตัว

7. เทปพันสายไฟฟา

จํานวน 1 มวน

8. เศษผาสะอาด

จํานวน 1 ผืน

9. ไวรนทั ขนาดกลาง

จํานวน 1 กลอง

10. ทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน. 3 อัน

11. ปลั๊กคู

จํานวน 2 ตัว

12. รางหลอดฟลูออเรสเซนต 1 x 18 วัตต 13. สกรูเกลียวปลอย

จํานวน 1 ราง จํานวน 1 กลอง

14. สวิตชเดี่ยว

จํานวน 1 ตัว

15. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 มวน

16. หลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 18 วัตต

จํานวน 1 หลอด

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การติดตั้งอุปกรณประกอบทอและเดินสายทอโลหะ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ดัดทอ EMT แบบ 90 องศา

ดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

ขอควรระวัง ขณะที่ ดั ด ต อ งระวั ง

แบบ 90 องศา เพื่อประกอบ ไมใหทอขยับ เขากับกลองตอสาย Square จนทําใหตําแหนงที่ทํา

2. ยึดกลองตอสาย

Box และ Handy Box

เครื่องหมายไวเคลื่อน

ระยะตามแบบที่กําหนด

ไปจากเดิม

ใชสวานเจาะรูเพื่อยึดกลองตอ ควรยึดกลองต อ สาย สาย และกล องสวิ ตช ปลั๊ ก และรางหลอดไฟ และรางหลอด ระยะตามแบบ ใหแนนหนา ที่ กํ า หนด จากนั้ น ติ ด ตั้ ง ท อ เขากลองตอสายใหเรียบรอย

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. ติดตั้งแคลมป

ยึดทอดวยแคลมป ขนาด ¾ นิ้ ว ร ะ ย ะ ต า ม แ บบที่ กํ า หนด พร อ มตรวจสอบ ความเที่ยงตรงดวยระดับน้ํา

4. รอยสายไฟฟา

ใชฟชเทปรอยสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร เขาไปในทอ จํานวนสายใน ทอแตละชวงระยะตามแบบ ที่กําหนด

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. การติดตั้งอุปกรณ

ติ ด ตั้ ง สวิ ต ช ปลั๊ ก และราง พรอมหลอดฟลูออเรสเซนต

6. ตรวจสอบการติดตั้ง

ตรวจสอบความเรีย บร อ ย ของการติด ตั ้ง ตามแบบที่ กําหนด ดังตอไปนี้ 1.ระยะการติ ดตั้ งและความ แข็งแรงของอุปกรณ 2.ตรวจสอบความถู ก ต อ ง ของวงจรไฟฟา

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ทดสอบความเปนฉนวน

ขอควรระวัง

ใชมัลติมิเตอรทดสอบความ ปลายสายอีกดานของ เปนฉนวนระหวางสายไฟฟา L ห รื อ N ต อ ง ไ ม กับทอหรือกลองตอสายดังนี้ เชื่ อ มต อ กั บ อุ ป กรณ - กรณีที่ 1 วั ด สาย มี ไ ฟ L - กราวด Ground จะต อ งมี ค า ความต า นทาน เปน 0 - กรณีที่ 2 วัดสายมีไฟ L - นิวทรัล (N) จะต อ งมี ค า ความต า นทาน เปน 0

8. จายไฟเขาวงจร

จายไฟเขาวงจรและทดสอบ การทํางานของอุปกรณไฟฟา ตามแบบ

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใด ๆ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งอุปกรณทุกชนิด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การลบคมทอ การสวมบุชชิ่ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การรอยสายไฟฟา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งอุปกรณทุกชนิด

คะแนนเต็ม 30

- ติดตั้งอุปกรณทุกชนิดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ติดตั้งอุปกรณทุกชนิดไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 การลบคมทอ การสวมบุชชิ่ง

- ลบคมทอ สวมบุชชิ่งถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ลบคมทอ สวมบุชชิ่งไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 การรอยสายไฟฟา

- รอยสายไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - รอยสายไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

- ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอถูกตองตาม

5

วิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

- ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไดถูกตอง

5

ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

- ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบงาน ใบงานที่ 4.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบและเดินสายทอพีวซี ี 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซีเขากับอุปกรณไฟฟาไดตามแบบที่กําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกติดตั้งอุปกรณประกอบและเดินสายทอพีวีซีไดตามแบบที่กําหนดใหถูกตอง

แบบรางงานจริง

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

แบบงานสําเร็จ

แบบงานติดตั้ง

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 4.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบและเดินสายทอพีวีซี 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติงานชาง - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - แวนตานิรภัย - หมวกนิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ป ฏิบั ติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตรายเช น สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2. ไขควงเช็คไฟ

จํานวน 1 อัน

3. คัตเตอรตัดทอ

จํานวน 1 อัน

4. คัตเตอรปอกสาย

จํานวน 1 อัน

5. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

6. เครื่องเปาลมรอน

จํานวน 1 เครื่อง

7. ฟชเทป 8. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว

9. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน 128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

10. รีมเมอร

จํานวน 1 อัน

11. สปริงดัดทอพีวีซี

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. Bushing

จํานวน 11 อัน

2. Connector แบบธรรมดา Set Screw พรอม Lock Nut

จํานวน 11 อัน

3. Handy Box พรอมฝาปด

จํานวน 3 อัน

4. Square Box พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

5. Strap สองรู

จํานวน 17 อัน

6. เซอรกิตเบรกเกอร

จํานวน 1 ตัว

7. เทปพันสายไฟฟา

จํานวน 1 มวน

8. เศษผาสะอาด

จํานวน 1 ผืน

9. ไวรนัท ขนาดกลาง

จํานวน 1 กลอง

10. ทอ PVC ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน. 3 อัน

11. ปลั๊กคู 12. รางหลอดฟลูออเรสเซนต 1 x 18 วัตต

จํานวน 2 ตัว จํานวน 1 ราง

13. สกรูเกลียวปลอย

จํานวน 1 กลอง

14. สวิตชเดี่ยว

จํานวน 1 ตัว

15. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 มวน

16. หลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 18 วัตต

จํานวน 1 หลอด

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การติดตั้งอุปกรณประกอบและเดินสายทอพีวีซี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ดัดทอ PVC แบบ 90 องศา

ดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว แบบ 90 องศา เพื่อประกอบ เขากับกลองตอสาย Square Box และ Handy Box ระยะ ตามแบบที่กําหนด

2. ยึดกลองตอสาย

ใชสวานเจาะรูเพื่อยึดกล อ งต อ สาย และกลอ งสวิส ช ปลั ๊ก และรางหลอด ระยะตามแบบ ที่กําหนด จากนั้นติดตั้งทอเขา กลองตอสายใหเรียบรอย

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. ติดตั้งแคลมป

ยึ ด ท อ ด ว ยแคลมป ขนาด ¾ นิ้ ว ระยะตามแบบที่ กํ า หนด พรอมตรวจสอบความเที่ย งตรง ดวยระดับน้ํา

4. รอยสายไฟฟา

ใชฟชเทปรอยสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร เขาไปในทอ จํ า นวนสายในท อ แต ล ะช ว ง ระยะตามแบบที่กําหนด

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. การติดตั้งอุปกรณ

ติดตั้งสวิตช ปลั๊ก และรางพรอม หลอดฟลูออเรสเซนต

6. ตรวจสอบการติดตั้ง

ตรวจสอบความเรีย บรอยของ การติด ตั้ง ตามแบบที่กําหนด ดังตอไปนี้ 1. ระยะการติ ดตั้ งและความ แข็งแรงของอุปกรณ 2. ตรวจสอบความถูกตองของ วงจรไฟฟา

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ทดสอบความเปนฉนวน

ขอควรระวัง

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร ท ดสอบความ ปลายสายอี กด าน เป น ฉนวนระหว า งสายไฟฟา ของ L ห รื อ N กับทอหรือกลองตอสายดังนี้

ต อ งไม เ ชื่ อ ม ต อ

- กรณีที่ 1

กับอุปกรณใด ๆ

วั ด ส า ย มี ไ ฟ L - ก ร า ว ด Ground จะตองมีคาความตานทานเปน 0 - กรณีที่ 2 วัดสายมีไฟ L - นิวทรัล (N) จะตองมีคาความตานทานเปน 0

8. จายไฟเขาวงจร

จา ยไฟเขา วงจรและทดสอบ การทํา งานของอุปกรณไฟฟา ตามแบบ

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งอุปกรณทุกชนิด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การลบคมทอ การสวมบุชชิ่ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การรอยสายไฟฟา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งอุปกรณทุกชนิด

คะแนนเต็ม 30

- ติดตั้งอุปกรณทุกชนิดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ติดตั้งอุปกรณทุกชนิดไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 การลบคมทอ การสวมบุชชิ่ง

- ลบคมทอ สวมบุชชิ่งถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ลบคมทอ สวมบุชชิ่งไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 การรอยสายไฟฟา

- รอยสายไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - รอยสายไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

- ทดสอบความเป น ฉนวนสายไฟฟ า กั บ ท อ ได ถู ก ต อ งตามวิ ธี ก าร

5

ปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบความเป น ฉนวนสายไฟฟ า กั บ ท อ ไม ถู ก ต อ งตามวิ ธี ก าร ปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

- ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรถูกตอง

5

ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

- ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานค 137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.