คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 3

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คูมือผูรับการฝก 0920164150302 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09215208 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 3 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา เปนสวนหนึ่ง ของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ซึ่งไดดําเนินการ ภายใต โ ครงการพัฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมือ แรงงานด วยระบบการฝก ตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกได ใชเปนเครือ่ งมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อธิบายการเลือกชนิด ขนาดของสายไฟฟา ความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟา การเลือกขนาดสายประธาน สายปอน และสายวงจรยอย รวมไป ถึงติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผรู ับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคั ญ ต อ การพัฒ นาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒ นาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 3 09215208 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921520801 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921520802 สายประธาน สายปอน สายวงจรยอย

11 31

คณะผูจัดทําโครงการ

43

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 5.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 5.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 5.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 5.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 5.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 5.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 5.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150302

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมเพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับกฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.4 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณปองกันกระแสเกิน 1.5 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรบั การฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานจังหวัดที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 60 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.3 ผูรบั การฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรบั วุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150302 2. ชื่อโมดูลการฝก การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215208 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟาได 2. อธิบายความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟาและกระแสไฟฟาได 3. อธิบายการเลือกขนาดของสายประธาน สายปอน และสายวงจรยอยได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับการเลือกชนิดและ ผูรับการฝก ขนาดของสายไฟฟาจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการเลือกชนิดและขนาด หัวขอที่ 1 : การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1:30 1:30 ของสายไฟฟาได 2. อธิบายความสัมพันธระหวาง พื้นที่หนาตัด ความยาวของ สายไฟฟา และกระแสไฟฟาได 3. อธิบายการเลือกขนาดของ หัวขอที่ 2 : สายประธาน สายปอน สายวงจรยอย 0:30 0:30 สายประธาน สายปอน และสายวงจรยอยได รวมทั้งสิ้น 2:00 2:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921520801 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟาได 2. อธิบายความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟาและกระแสไฟฟาได

2. หัวขอสําคัญ 1. การเลือกใชสายไฟฟา 2. ขนาดของสายไฟฟา 3. ความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟาและกระแสไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) ) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงใหครู ฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ใกลรงุ โสฬศ. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ.2545 บทที่ 3.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.aida-engineering.co.th/download/egat/egat_ch3.pdf ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป.การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1. การเลือกใชสายไฟฟา เนื่องจากสายไฟฟาเปนสื่อกลางในการนําเอากําลัง ไฟฟาจากแหลง ตนกําลัง ไปยัง สถานที่ตาง ๆ ที่ตองการใช ไ ฟฟา ไปติดตั้งใชงาน ดังนั้น การไฟฟานครหลวงจึงแนะนําการเลือกใชสายไฟฟาอยางเหมาะสม ดังตอไปนี้ - ใชเฉพาะสายไฟฟาที่ไดมาตรฐาน จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมซึ่งมีเครื่องหมาย มอก.11-2553 เทานั้น - สายไฟฟาชนิดที่ใชเดินภายในอาคารหามนําไปใชเดินนอกอาคาร เนื่องจากแสงแดดจะทําใหฉนวนแตกกรอบชํารุด ดัง นั้ น สายไฟชนิ ดที่ ใช เ ดิ น นอกอาคารจึง มัก จะมีก ารเติม สารปอ งกั นแสงแดดไว ในเปลือ กหรือ ฉนวน ของสาย สารปองกันแสงแดดสวนใหญที่ใชกันมากนั้นจะเปนสีดํา แตอาจจะเปนสีอื่นก็ไดการเดินรอยในทอ ก็มีสวนชวยปองกันฉนวนของสายจากแสงแดดไดในระดับหนึ่ง - เลือกใชชนิดของสายไฟใหเหมาะสมกับสภาพการติดตั้งใชงาน เชน สายไฟชนิดออนหามนําไปใชเดินยึดติด กับ ผนั ง หรื อ ลากผา นบริ เ วณที่มีก ารกดทับ สาย เชน ลอดผา นบานพับ ประตู หนา ตา ง หรือ ตู เปนตน เนื่อ งจากฉนวนของสายไมส ามารถรับ แรงกดกระแทกจากอุป กรณ จับ ยึด สายหรือ บานพับ ได ดัง นั้น การเดินสายใตดินจึงตองใชสายชนิดที่เปนสายใตดิน (เชน สายชนิด NYY) พรอ มทั้งมีก ารเดินรอยในทอ เพื่อ ปองกันสายใตดินไมใหเสียหาย เปนตน - เลือ กขนาดของสายไฟฟา ใหเ หมาะสม คือ ตอ งใชส ายตัว นําทองแดงและเลือ กใหเ หมาะสมกับ ขนาด แรงดันไฟฟา (1 เฟส หรือ 3 เฟส) ปริมาณกระแสไฟฟาที่ใชงาน และสอดคลองกับขนาดของฟวสหรือสวิตช อัตโนมัติ (เบรกเกอร) ที่ใชสําหรับ ขนาดของสายเมนและสายตอ หลัก ดินนั้น ตอ งสอดคลอ งกับ ขนาด ของเมนสวิตชและขนาดของเครื่องวัด ฯ ดวย 1.1 ชนิดของสายไฟฟา สายไฟฟาตาม มอก. 11-2531 เปนตัวนําทองแดงที่ใชกันเปนสวนใหญ โดยแตละชนิดจะมีลักษณะที่แตกตางกัน ดัง นั้น จึง จําเปนตอ งตอ งพิจ ารณาเลือ กใชใหถูก ตอ งและเหมาะสมตาม ตารางที่ 1.1 ซึ่ง แสดงลัก ษณะสายไฟตาม มาตรฐาน มอก. 11-2531 และขอกําหนดในการติดตั้ง โดยมีทั้งหมด 17 ชนิด ทั้งนี้ ชนิดที่ไดรับความนิยมในการใช งาน ไดแก VAF, VSF, THW, VCT และ NYY เปนตน

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.1 ขอกําหนดการใชงานของสายไฟฟาที่ผลิตตาม มอก. 11-2531 (อุณหภูมิใชงาน 70 องศาเซลเซียส) มอก. 11-2531 ตารางที่ 1

ชนิดของสาย สายไฟฟาหุม ฉนวนแกน เดียว

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด (โวลต) IV HIV

300

ลักษณะการติดตั้ง - เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

2

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VAF

เปลือกนอกแกนเดียว สายแบน 2 แกนและสาย

VAF-S

300

สายกลม - เดินลอย เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง - เดินในชองเดินสาย

แบน 3 แกน

- หามฝงเดินโดยตรง - เดินรอ ยทอ ฝง ดินไดแตตอ งปอ งกันไมให น้ํ า เข า ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา สายแบน - เดินเกาะผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 3

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VVR

300

เปลือกนอกหลายแกน

4

ลักษณะการติดตั้ง

สายไฟฟาหุม ฉนวนแบบ

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง - เดินรอ ยทอ ฝง ดินไดแตตอ งปอ งกันไมให น้ํ า เข า ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

THW

750

แกนเดียว

- เดินลอยตองยึดดวยวัสดุฉนวน - เดินในชองเดินสายในสถานที่แหง - หามฝงดินโดยตรง - เดินรอ ยทอ ฝง ดินไดแตตอ งปอ งกันไมให น้ํ า เข า ภายในทอ และปองกันไมใหสายแชน้ํา

5

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี เปลือกนอกแกนเดียว

VVF VVF-S

750

- เหมือนสายในตารางที่ 2

และสายแบน 2 แกน

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่

6

(โวลต)

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

NYY

750

เปลือกนอกแกนเดียว

7

ลักษณะการติดตั้ง

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี เปลือกนอกหลายแกน

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

NYY

750

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 8

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

NYY-N

750

เปลือกนอก 3 แกน สายนิวทรัล

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน - ฝงดินโดยตรง

9

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี เปลือกนอก

VCT

750

- ใชงานทั่วไป - เดินรอยทอฝงดิน

10

สายไฟฟาหุม ฉนวนและ เปนสายชนิดออนตัวได

VSF VFF

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ เขาดวงโคม

VTF

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 11

12

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายแบน 2 แกนและสาย B-GRD แบน 3 แกน มีสายดิน

VAF-G

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VVR -

เปลือกนอกหลายแกน

GRD

300

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง - หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

300

- ใชงานทั่วไป - หามฝงดินโดยตรง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 13

14

ลักษณะการติดตั้ง

(โวลต) สายแบน 2 แกนมี

VVF-

750

- เดินเกาะในผนัง เดินซอนในผนัง

สายดิน

GRD

สายไฟฟาหุม ฉนวนแบบ มีเปลือกนอกหลายแกนมี

NYYGRD

750

- ใชงานทั่วไป - ฝงดินโดยตรง

VCTGRD

750

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟา

- หามเดินในชองเดินสาย ยกเวน รางเดินสาย - หามรอยทอฝงดินหรือฝงดินโดยตรง

สายดิน

15

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี เปลือกนอกมีสายดิน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

มอก. 11-2531

ชนิดของสาย

แรงดันไฟฟา ชื่อเรียก ที่กําหนด

ตารางที่ 16

(โวลต) สายไฟฟาหุม ฉนวน

VFF-

300

GRD

17

ลักษณะการติดตั้ง

สายไฟฟาหุม ฉนวนมี

VFF-F

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาชนิดหยิบยกไดและใชตอ เขาดวงโคม

300

- ใชตอเขาเครื่องใชไฟฟาทั่วไป

เปลือกนอกหลายแกน

2. ขนาดของสายไฟฟา การเลือกสายไฟฟาที่มีขนาดเหมาะสมกับการใชงานจะทําใหการใชงานเปนไปไดอยางเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงกอใหเกิด ความปลอดภัยแกผูใชงานดวยเชนกัน 2.1 ขนาดของสายไฟฟาตามขนาดของเมนสวิตช ในการเลือกสายไฟสายเมนและสายตอหลักดินนั้นตองสอดคลองกับขนาดของเมนสวิตชและขนาดของเครื่องวัดฯ ดวย ตามตารางตอไปนี้

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.2 ขนาดสายไฟฟาตามขนาดของเมนสวิตช ขนาดต่ําสุดของสายเมนและ ขนาดสูงสุด (สายตอหลักดิน) **ตร.มม. ของเมนสวิตช (แอมแปร) สายเมนในอากาศ สายเมนในทอ

แรงดันไฟฟา ของสายเมน (โวลต)

ขนาดเครื่องวัดฯ (แอมแปร)

เฟส

5 (15)

1

16

4 (10)

4,10 (10)

300

15 (45)

1

50

10 (10)

16 (10)

300

30 (100)

1

100

25 (10)

50 (16)

300

50 (150)

1

125

35 (10)

70 (25)

300

15 (45)

3

50

10 (10)

16 (10)

750

30 (100)

3

100

25 (10)

50 (16)

750

50 (150)

3

125

35 (10)

70 (25)

750

200

3

250

95 (25)

150 (35)

750

400

3

500

240 (50)

500 (70)

750

หมายเหตุ * สายตอหลักดินขนาด 10 ตร.มม. ใหเดินในทอ สวนสายเมนที่ใหญกวา 500 ตร.มม. ใหใชสายตอหลักดิน ขนาด 95 ตร.มม. เปนอยางนอย ** สายเมนที่ใชเดินในทอฝงดินตองไมเล็กกวา 10 ตร.มม. 2.2 ขนาดของสายตอหลักดิน สายตอหลักดินตองมีขนาดไมเล็กกวาทีก่ ําหนดไว ตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.3 ขนาดต่าํ สุดของสายตอหลักดิน ขนาดสายเมนเขาอาคาร (ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน (ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

ไมเกิน 35

10 (ควรเดินในทอ)

เกิน 35 แตไมเกิน 50

16

เกิน 50 แตไมเกิน 95

25

เกิน 95 แตไมเกิน 185

35 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เกิน 185 แตไมเกิน 300

50

เกิน 300 แตไมเกิน 500

70

เกิน 500

95

2.3 ขนาดของสายดินปองกัน สายดินที่เดินไปยังอุปกรณไฟฟา (บริภัณฑไฟฟา) หรือเตารับใหมีขนาดเปนไปตามขนาดปรับตั้งของเครื่องปองกัน กระแสเกินตาม ตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.4 ขนาดต่าํ สุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของ

ขนาดต่ําสุดของสายดินของบริภัณฑไฟฟา

เครื่องปองกันกระแสเกิน ไมเกิน (แอมแปร)

(ตัวนําทองแดง) (ตร.มม.)

20

2.5*

40

4*

70

6*

100

10

200

16

400

25

500

35

800

50

1000

70

1250

95

2000

120

2500

185

4000

240

6000

400

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หมายเหตุ เครื่องปองกันกระแสเกิน อาจจะเปนฟวสหรือเบรกเกอร (สวิตชอัตโนมัติ) ก็ไดหมายถึงขนาดต่ําสุดของสายดิน ของบริภัณฑไฟฟาสําหรับที่อยูอาศัยหรืออาคารของผูใชไฟฟาที่อยูหางจากหมอแปลงระบบจําหนายระยะไมเกิน 100 เมตร หากเกินระยะ 100 เมตร ใหศึกษาเพิ่มเติมจากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย หรือใชขนาดเทากับ ขนาดสายเสนไฟ 2.4 ขนาดสายไฟฟาที่มีสายดิน การเลือกขนาดสายดินนั้นจะขึ้นอยูกับขนาดกระแสลัดวงจรและความเร็วของอุปกรณปองกันดังนั้นในกรณีที่สายดินเดิน ดวยสายเดี่ยว เชน สาย IEC 01 สีเ ขียว หากไมมีขอ มูล ใด ๆ ทางการไฟฟานครหลวงแนะนําใหใชข นาดสายดิน เทากับขนาดสายเสนไฟ สําหรับ มอก. 11-2553 ไดกําหนดขนาดของสายดินตามตารางดังตอไปนี้ ตารางที่ 1.5 ขนาดสายไฟฟาทีม่ ีสายดินตาม มอก. 11-2553 ขนาดสายไฟฟาที่มีสายดินตาม มอก. 11-2553 ขนาดสายเสนไฟ (ตร.มม.)

ขนาดสายดิน (ตร.มม.)

25.0

16.0

35.0

16.0

50.0

25.0

70.0

35.0

95.0

50.0

120.0

70.0

150.0

95.0

185.0

95.0

240.0

120.0

300.0

150.0

2.5 ขนาดสายไฟฟาตามการใชงาน การเลือกใชขนาดสายไฟฟาใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานตาง ๆ ตองเปนไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.6 ตารางแสดงขนาดกระแสของสายไฟฟา มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทย ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อณุหภูมิตัวนํา 70 ºC อณุหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2

2

3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

แกน เดียว

3 หลาย แกน

แกน เดียว

หลาย แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิลที่ ใชงาน

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพเิ ศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 1

10

10

9

9

12

11

10

10

1.5

13

12

12

11

15

14

13

13

2.5

17

16

16

15

21

20

18

17

4

23

22

21

20

28

26

24

23

6

30

28

27

25

36

33

31

30

10

40

37

37

34

50

45

44

40

16

53

50

49

45

66

60

59

54

25

70

65

64

59

88

78

77

70

35

86

80

77

72

109

97

96

86

50

104

96

94

86

131

116

117

103

70

131

121

118

109

167

146

149

130

95

158

145

143

131

202

175

180

156

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขนาดกระแสของสายไฟฟาทองแดงหุมฉนวนพีวีซี มี/ไมมีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U๐/U) ไมเกิน 0.6/1 กิโลโวลต อณุหภูมิตัวนํา 70 ºC อณุหภูมิโดยรอบ 40 ºC เดินในชองเดินสายในอากาศ ลักษณะการติดตั้ง

กลุมที่ 1

จํานวนตัวนํา

2

กระแส ลักษณะ ตัวนํากระแส

กลุมที่ 2 3

2

แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน

3

แกน

หลาย

แกน

หลาย

เดียว

แกน

เดียว

แกน

รูปแบบการติดตั้ง รหัสชนิดเคเบิลที่ ใชงาน

60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06, 60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 และสายที่มีคุณสมบัติพเิ ศษตาง ๆ เชน สายทนไฟ สายไรฮาโลเจน สายควันนอย เปนตน

ขนาดสาย

ขนาดกระแส (แอมแปร)

(ตร.มม.) 120

183

167

164

150

234

202

208

179

150

209

191

188

171

261

224

228

196

185

238

216

213

194

297

256

258

222

240

279

253

249

227

348

299

301

258

300

319

291

285

259

398

343

343

295

400

-

-

-

-

475

-

406

-

500

-

-

-

-

545

-

464

-

หมายเหตุ กลุมที่ 1 คือ สายแกนเดียวหรือสายหลายแกนสายหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะในฝาเพดานที่เปนฉนวนความรอน หรือผนังกันไฟ กลุมที่ 2 คือ สายแกนเดียวหรือหลายแกนหุมฉนวน มี/ไมมีเปลือกนอก เดินในทอโลหะหรืออโลหะเดินเกาะ ผนังหรือเพดาน หรือฝงในผนังคอนกรีตที่คลายกัน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. ความสัมพันธระหวางพื้นที่หนาตัด ความยาวของสายไฟฟาและกระแสไฟฟา ในการเลือ กใชส ายไฟฟาอยางเหมาะสม ตอ งคํานึง ถึง ความสัม พันธร ะหวางพื้นที่ห นาตัด ความยาวของสายไฟฟา และกระแสไฟฟา เนื่อ งจากเมื่อ ใหกระแสไฟฟาผานเสนลวดตัวนําชนิดเดียวกัน และความยาวเสนลวดตัวนําเทากันแต พื้น ที่ห นา ตัด ของเส น ลวดตั ว นํ า ต า งกั น เส น ลวดตัว นํา ที่ม ีพื้น ที่ห นา ตัด ใหญจ ะมีค วามตา นทานนอ ยกวา เสน ลวด ที่มีพื้นที่หนาตัดเล็ก แตหากใชลวดตัวนําชนิดเดียวกันที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน แตความยาวเสนลวดตางกัน เสนลวดตัวนํา ที่มีค วามยาวจะมีค วามต า นทานมากกว า เส น ลวดตัว นํา ที่มีค วามยาวนอ ย สว นเสน ลวดตัว นํา ตางชนิด ที่มีค วามยาว และพื้นที่หนาตัดของเสนลวดเทากัน จะมีความตานทานตางกัน ขนาดพื้น ที่ห นา ตัด ของเสนลวดตัวนํา มีผ ลตอ ความตา นทานไฟฟาและกระแสไฟฟา ที่เ คลื่อ นผานเสน ลวดตัวนํา ดัง นั้น ในการตอวงจรไฟฟาจึงตองคํานึงถึงกระแสไฟฟาที่ใชกับเครื่องใชไฟฟาชนิดนั้น ๆ กลาวคือ เครื่องใชไฟฟาที่ตองการ กระแสไฟฟามาก เชน เตารีด หมอหุงขาวไฟฟา เปนตน จะตองตอกับสายไฟฟาที่มีพื้นที่หนาตัดขนาดใหญ เพราะถาใชขนาดเล็ก อาจจะเกิดความรอนมาก เพราะกระแสไฟฟาเคลื่อนที่ผา นเสนลวดในปริมาณมากจนทําใหเกิดความรอนทีอ่ าจกอใหเกิดเพลิงไหม นอกจากนี้ยังไมควรใชเตาเสียบหลายอันเสียบบนเตารับอันเดียว เพราะจะทําใหกระแสไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานสายไฟฟาของเตารับ มากวาที่สายไฟฟาของเตารับนั้นจะทนได ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยควรเลือกใชขนาดสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงานตาง ๆ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. สายไฟชนิดใด เหมาะสําหรับการเดินสายในชองเดินสายในสถานที่แหงทีม่ ีแรงดันไฟฟา 300 โวลต ก. HIV ข. VSF ค. VAF-G ง. VVF-GRD 2. การตอสายไฟเขากับเครื่องใชไฟฟาทั่วไป ควรเลือกใชสายไฟชนิดใด ก. VFF-F ข. B-GRD ค. VVF-GRD ง. VFF-GRD

3. จากภาพ ก. การใชงานทั่วไป

สายไฟชนิดนี้เหมาะสําหรับการติดตั้งในลักษณะใด

ข. ใชตอเขาดวงโคม ค. เดินรอยทอฝงดิน ง. เดินเกาะในผนัง และเดินซอนในผนัง 4. สายไฟชนิดใด หามใชในการฝงดินโดยตรง ก. NYY ข. NYY-N ค. NYY-GRD ง. VVF-GRD 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. สายไฟชนิดใด สามารถใชเดินสายในรางเดินสายได ก. VSF ข. VFF-F ค. VCT-GRD ง. VAF สายแบน 6. หากใชสายเมนเขาอาคาร (ตัวนําทองแดง) ขนาด 35-50 ตร.มม. สามารถใชสายตอหลักดิน (ตัวนําทองแดง) ขนาดต่ําสุด ไดเทาไร ก. 10 ตร.มม. ข. 16 ตร.มม. ค. 25 ตร.มม. ง. 35 ตร.มม.

7. เครื่องปองกันกระแสเกินที่มีขนาดปรับตั้งไมเกิน 100 แอมแปร สามารถใชสายดิน (ตัวนําทองแดง) ของบริภัณฑไฟฟาขนาด ต่ําสุดไดเทาไร จ. 10 ตร.มม. ฉ. 16 ตร.มม. ช. 25 ตร.มม. ซ. 35 ตร.มม. 8. มอก. 11-2553 กําหนดใหสายไฟฟาขนาด 50 ตร.มม. ที่มสี ายดิน ตองมีสายดินขนาดเทาไร ก. 16 ตร.มม. ข. 25 ตร.มม. ค. 35 ตร.มม. ง. 50 ตร.มม.

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. เมื่อใหกระแสไฟฟาผานเสนลวดตัวนําชนิดเดียวกัน ที่มีความยาวเทากัน แตมีพื้นที่หนาตัดของเสนลวดตัวนําตางกัน ผลที่เกิดขึ้นจะเปนอยางไร ก. เสนลวดที่มีพื้นที่หนาตัดเล็กมีความตานทานมากกวา ข. เสนลวดที่มีพื้นที่หนาตัดเล็ก รับแรงดันไฟฟาไดมากกวา ค. เสนลวดทีม่ ีพื้นที่หนาตัดใหญรบั แรงดันไฟฟาไดมากกวา ง. เสนลวดตัวนําที่มีพื้นทีห่ นาตัดใหญมีความตานทานมากกวา 10. การตอวงจรไฟฟาเขากับเครื่องใชไฟฟาที่ตองการกระแสไฟฟามาก เชน เตารีด ตองเลือกสายไฟที่มีลักษณะอยางไร ก. ยาวกวาสายปกติ ข. สั้นกวาสายปกติ ค. มีพื้นที่หนาตัดขนาดใหญ ง. มีพ้นื ที่หนาตัดขนาดเล็ก 11. สายไฟฟาชนิดใดที่สามารถรอยทอฝงดินหรือฝงดินไดโดยตรง ก. สายไฟฟาหุม ฉนวนแกนเดียว ข. สายแบน 2 แกน มีสายดิน ค. เสนลวดที่มีพื้นที่หนาตัดใหญรบั แรงดันไฟฟาไดมากกวา ง. สายไฟฟาหุม ฉนวนมีเปลือกนอกหลายแกน 12. ขอใด เปนผลตอความตานทานไฟฟาและกระแสไฟฟาที่เคลื่อนผานเสนลวดตัวนํา ก. ขนาดพื้นที่หนาตัดของเสนลวดตัวนํา ข. ความยาวของสายไฟฟา ค. ชนิดของเสนลวดตัวนํา ง. ความยาวของเสนลวดตัวนํา

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921520802 สายประธาน สายปอน สายวงจรยอย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการเลือกขนาดของสายประธาน สายปอน และสายวงจรยอยได

2. หัวขอสําคัญ 1. สายประธาน 2. สายปอน 3. สายวงจรยอย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ใกลรงุ โสฬศ. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ.2545 บทที่ 3.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.aida-engineering.co.th/download/egat/egat_ch3.pdf ไวพจน ศรีธัญ และคณะ. ม.ป.ป.การติดตั้งไฟฟา 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมอาชีวะ. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 สายประธาน สายปอน สายวงจรยอย ในการออกแบบระบบไฟฟาจะตองออกแบบระบบการจายกําลังไฟฟา (Electrical Distribution System) ใหสามารถ จายกระแสไฟฟาใหแกบริภัณฑตาง ๆ อยางเพียงพอ ซึ่งการออกแบบระบบไฟฟา จะตองคํานวณโหลดเพื่อกําหนดขนาด ของวงจรไฟฟา เครื่องปองกันกระแสเกิน และสายไฟฟา

ภาพที่ 2.1 ไดอะแกรมของระบบไฟฟา 1. สายประธาน สายประธาน หรือ เมนสวิตช (Service Equipment) เปนอุปกรณสําหรับสับปลดวงจรที่อยูระหวางสายเมนเขาอาคาร กับสายภายในเพื่อตัดวงจรสายภายในทั้งหมดออกจากระบบ และปองกันการใชกระแสในสายเมนหรือสายเมนเขาอาคาร (Service Conductor) สําหรับโหลดของสายเมนและเมนสวิตชจะคํานวณเชนเดียวกับสายปอ น ถาวงจรไฟฟาเปนวงจร ขนาดเล็กมีสายปอนเพียงชุดเดียว โหลดที่คํานวณไดจะเปนโหลดของเมนสวิตช แตถาในวงจรมีสายปอนหลายชุดโหลด ที่คํานวณไดจะเปนการรวมโหลดทั้งหมดทุกสายปอ นเขาดวยกัน และใชดีมานดแฟกเตอรตารางเดียวกันกับการคํา นวณ สายปอนเมนสวิตชแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1.1 เมนสวิตชแรงต่ํา เมนสวิตชแรงต่ําระบบ 3 เฟส ที่สายนิวทรัลมีการตอลงดินโดยตรง ขนาดตั้งแต 1,000 แอมแปรขนึ้ ไป จะตองติดตั้งเครื่องปองกันกระแสรั่วลงดิน (Ground Fault Protection) เมนสวิตช ประกอบดวย เครื่องปลดวงจร และเครื่องปองกันกระแสไฟฟาเกิน 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1.2 เมนสวิตชแรงสูง เมนสวิตชแรงสูงตองสอดคลองกับขอกําหนดของเมนสวิตชแรงสูง สําหรับสายเมนเขาอาคาร จะแยกเปนสายเมนสําหรับระบบแรงต่ํา และสายเมนสําหรับระบบแรงสูง 2. สายปอน สายปอน หมายถึง ตัวนําของวงจรระหวางเมนสวิตชกับเครื่องปองกันกระแสเกินวงจรยอยสายปอนจึงเปนสายไฟฟา ที่จายไฟใหวงจรยอยตั้งแต 2 วงจรขึ้นไป หรือจายไฟใหกับสายปอนดวยกัน การกําหนดขนาดสายปอนจึงเปนการกําหนด ขนาดสายไฟฟาและเครื่อ งปอ งกันกระแสเกินของวงจรสายปอ น การกําหนดพิกัดเครื่อ งปอ งกันกระแสเกินสายปอ น ควรพิจารณาการทํางานที่ต่ํากวาพิกัดของเครื่องปองกันกระแสเกินเชนเดียวกับวงจรยอย เมื่อคํานวณแลวไดขนาดไมตรงกับ ขนาดมาตรฐานที่มีขายในทองตลาด ใหเลือกใชขนาดใกลเคียงที่ตรงกับขนาดตามทองตลาด ดังสมการ พิกัดเครื่องปองกันกระแสเกิน = 1.25 x โหลดของสายปอน การกําหนดขนาดเครื่อ งปอ งกันกระแสเกิน ของวงจร 3 เฟส ทําได 2 วิธีคือ การกําหนดจากโหลดรวมของวงจร เมื่อ ใชดีม านดแฟกเตอรแลว เปนกระแสของวงจร 3 เฟส ใชไดดีเ มื่อ กระแสของวงจรแตละเฟสตางกันไมมากนักและ เปนวิธีที่สะดวก แตอาจมีปญหาเรื่องเครื่องปองกันกระแสเกินอาจเล็กเกินไปเนื่องจากมีโหลดบางเฟสมาก ผูออกแบบจึงควร พยายามจัดสมดุลโหลดในแตละเฟสใหดีที่สุด อีกวิธีหนึ่งเปนการกําหนดจากกระแสโหลดเฟสที่สูงที่สุด ใชไดดีกับวงจรที่โหลด แตละเฟสตางกันมาก ๆ การคํานวณอาจเพิ่มความยุงยากขึ้นบาง แตจะไมมีปญหาเรื่องเครื่องปองกันกระแสเกินเล็กเกินไป ผูออกแบบเลือกใชไดตามความเหมาะสม การคํานวณโหลดของสายปอน คือ การนําโหลดทั้งหมดที่ตออยูในวงจรสายปอนเดียวกันมารวมกัน ในการคํานวณ ยอมใหใชคาดีมานดแฟกเตอรได คาดีมานดแฟกเตอรที่จะกลาวตอไปนี้อาจไมใชก็ไดถาผูออกแบบพิจารณาแลววาในการใชงานจริง มีโอกาสใชโหลดมากกวาคาดีมานดแฟกเตอรที่กําหนดไว คาที่กําหนดจึงเปนเพียงแนวทางที่จะใชในการคํานวณและคาต่ําสุด ที่จะยอมใหไดเทานั้น การใชคาดีมานดแฟกเตอรมีขอกําหนด ดังนี้ 2.1 โหลดแสงสวาง ใชคาดีมานดแฟกเตอร โดยหามใชกับสายปอนในสถานที่บางแหงของโรงพยาบาลหรือโรงแรม ซึ่งบางขณะไฟฟาแสงสวางจะตองใชพรอมกัน เชน ในหองผาตัด หองอาหาร หองโถง เปนตน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 2.1 คาดีมานตแฟกเตอรของไฟแสงสวางในอาคาร ชนิดของอาคาร

ขนาดของไฟแสงสวาง (โวลต - แอมแปร)

ดีมานดแฟกเตอร (รอยละ)

ไมเกิน 2,000

100

สวนที่เกิน 2,000

35

ไมเกิน 50,000

40

สวนที่เกิน 50,000

20

ไมเกิน 20,000

50

20,000 - 100,000

40

สวนที่เกิน 2,000

30

ไมเกิน 12,500

100

สวนที่เกิน 12,500

50

ทุกขนาด

100

ที่พักอาศัย โรงพยาบาล โรงแรม รวมถึง หองชุดที่ไมมสี วนให ผูอยูอาศัยประกอบอาการได โรงเก็บพัสดุ อาคารประเภทอื่น

2.2 โหลดเตารับ ใชง านทั่วไป ที่คิดโหลดไว เตารับ ละไมเ กิน 180 วีเ อ สําหรับ ใชในสถานที่อื่นที่ไมใชที่อ ยูอ าศัย โดยใชคาดีมานดแฟกเตอร ตารางที่ 2.2 คาดีมานตแฟกเตอรของโหลดของเตารับรวม โหลดของเตารับรวม

ดีมานดแฟกเตอร

(คิดโหลดเตารับละ 180 วีเอ)

(รอยละ)

10 เควีเอ

100

สวนที่เกิน 10 เควีเอ

50

2.3 โหลดเตารับอื่นที่ไมใชเตารับใชงานทั่วไปตามขอที่กลาวขางตน ใหคิดโหลดจากเตารับตัวแรกที่มีขนาดโหลดสูงสุด บวกกับ 40% ของโหลดเตารับที่เหลือ 2.4 โหลดเครื่องใชไฟฟาทั่วไป ใชคาดีมานดแฟกเตอร

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 2.3 คาดีมานตแฟกเตอรของโหลดเครื่องใชไฟฟาทั่วไป ชนิดของอาคาร

ประเภทของโหลด เครือ่ งหุงตมอาหาร

อาคารที่พกั อาศัย

ดีมานดแฟกเตอร 10 แอมแปร + บวกรอยละ 30 ของสวนทีเ่ กิน 10 แอมปแปร

เครือ่ งทําน้ํารอน

กระแสใชงานของจริงของสองตัวแรกที่ใชงาน + รอยละ 25 ของตัวทีเ่ หลือทัง้ หมด

เครือ่ งปรับอากาศ

รอยละ 100 กระแสใชงานของจริงของตัวที่ใหญที่สดุ + รอยละ 80

อาคารสํานักงาน และรานคา รวมถึง หางสรรพสินคา

เครือ่ งหุงตมอาหาร

ของตัวใหญรองลงมา + รอยละ 60 ของตัวทีเ่ หลือ ทั้งหมด

เครือ่ งทําน้ํารอน

รอยละ 100 ของสองตัวแรกที่ใหญทสี่ ุด + รอยละ 25 ของตัวทีเ่ หลือทัง้ หมด

เครือ่ งปรับอากาศ

รอยละ 100 กระแสใชงานของจริงของตัวที่ใหญที่สดุ + รอยละ 80

เครือ่ งหุงตมอาหาร โรงแรม และอาคาร ประเภทอืน่ ๆ

ของตัวใหญรองลงมา + รอยละ 60 ของตัวทีเ่ หลือ ทั้งหมด

เครือ่ งทําน้ํารอน

รอยละ 100 ของสองตัวแรกที่ใหญทสี่ ุด + รอยละ 25 ของตัวทีเ่ หลือทัง้ หมด

เครือ่ งปรับอากาศ

รอยละ 75

3. วงจรยอย วงจรยอ ย (Branch Circuit) หมายถึ ง ตั วนํ าของวงจรระหวางเครื่อ งปอ งกันกระแสเกินตัวสุดทายกับ จุดตอ ไฟฟ า ดังนั้น ในวงจรไฟฟาทั้งหมดจึงมีสว นของวงจรทีเ่ ปนวงจรยอยอยูเพียงสวนเดียวคือสวนที่ตอกับโหลดเทานั้น สวนที่อยูระหวาง เครื่องปองกันกระแสเกินของวงจรยอยกับโหลดจะมีสวิตชและเครื่องปลดวงจรอื่นอีกไดแตจะไมมีเครื่องปองกันกระแสเกินอีก จะมีก็เพียงเครื่องปองกันกระแสเกินเฉพาะจุดเทานั้น

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3.1 โหลดในวงจรยอยโหลดที่ใชงานในวงจรยอยแบงไดเปน 3 ประเภทดังนี้ 3.1.1 โหลดไฟฟาแสงสวาง คือ หลอดไฟฟาที่ติดตั้งใชงานอยูทั่วไป มีอยูหลายชนิดดวยกันตามจุดประสงค การใชงาน และสภาพที่ติดตั้ง ไดแก 1) หลอดไส (Incandescent) 2) หลอดฮาโลเจน (Tungsten Halogen) 3) หลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent) โดยแสดงคาของกระแส ดังตารางที่ 2.4 ตารางที่ 2.4 คากระแสไฟฟาของหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาดหลอด (วัตต)

กระแส (แอมแปร)

8

0.145

13

0.165

18 และ 20

0.37

32

0.45

38 และ 40

0.43

60

0.75

3.1.2 โหลดเตารับ เตารับแบงตามการใชงานออกเปน 2 ชนิด 1) เตารับใชงานทั่วไป 2) เตารับที่ทราบโหลดแนนอนแลว 3.1.3 โหลดอื่น ๆ หมายถึง โหลดติดตั้ง ถาวรที่ ตอ ใชง านอยู ใ นวงจรไฟฟา นอกเหนือ จากโหลดแสงสว า ง และโหลดเตารับเชน เครื่องทําน้ําอุน เครื่องปรับอากาศ และเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ 3.2 ชนิดและขนาดของโหลดในวงจร ขนาดของวงจรยอยเรียกตามขนาดเครือ่ งปองกันกระแสเกินที่ใชเชนวงจรยอยที่ใชเซอรกิตเบรกเกอรขนาด 15 แอมแปร จะเรียกวาเปนวงจรยอยขนาด 15 แอมแปร วงจรยอยที่จายไฟฟาใหเครื่องใชไฟฟาเพียงจุดเดียว เชน เครื่องจักรในโรงงาน การกําหนดขนาดใหทําตามที่กลาวขางตน สําหรับวงจรยอยที่จายไฟใหโหลดตั้งแต 2 จุดขึ้นไป จะตองมีขนาดเหมาะสมกับ โหลด จึงตองกําหนดโหลดที่ใชสําหรับวงจรยอยแตละขนาดไวดวย เพราะถาวงจรยอยมีขนาดใหญเกินไปเมื่อใชโหลดบาง ชนิดการปองกันกระแสเกินอาจไมไดผลตามตองการ วงจรยอยที่มีโหลดตั้งแต 2 จุดขึ้นไปตองเปนดังตอไปนี้

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3.2.1 วงจรยอยขนาดไมเกิน 20 แอมแปร ใหใชไดกับโหลดทั่วไป ปริมาณโหลดติดตั้งถาวรรวมกันตองไมเกิน ขนาดวงจรยอย วงจรที่มีโหลดติดตั้งรวมกับโหลดเครื่องใชไฟฟาที่ใชเตาเสียบ โหลดติดตั้งถาวรรวมกัน ตองไมเกิน 50% ของขนาดวงจรยอย และโหลดเครื่องใชไฟฟาชนิดใชเตาเสียบแตละตัวตองมีขนาด ไมเกิน 80% ของขนาดวงจรยอย ในการใชงานโหลดทั้งสองชนิดรวมกันแลวตองมีขนาดไมเกินขนาดวงจรยอย 3.2.2 วงจรยอยขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร เนื่องจากเปนวงจรยอยขนาดใหญจึงกําหนดใหดวงโคมไฟฟาที่ตอ อยูกับวงจรนี้ตอ งเปนโคมไฟฟาที่มีขนาดวัตตสูงดวย คือ ตอ งมีขนาดดวงโคมละไมต่ํากวา 250 วัตต และยอมให ใช กับ เครื่อ งใชไ ฟฟา อื่นที่ไมใ ชด วงโคมได แตถา เปนเครื่อ งใชไฟฟาชนิดที่ใ ชเ ตาเสียบ แตล ะเครื่องตองมีขนาดไมเกิน 80% ของขนาดวงจรยอย 3.2.3 วงจรยอยขนาดเกิน 32 ถึง 50 แอมแปร กําหนดใหดวงโคมไฟฟาที่ตออยูในวงจรตองมีขนาดดวงโคม ดวงโคมละไมต่ํากวา 250 วัตต ถาเปนเครื่องใชไฟฟาตองเปนชนิดติดตั้งถาวร โดยหามติดตั้งเตารับ 3.2.4 วงจรยอยที่มีขนาดเกิน 50 แอมแปร วงจรยอยนี้หามใชกับโหลดประเภทแสงสวาง สําหรับวงจรยอย ที่มีจุดตอ ไฟฟาตั้ง แต 2 จุดขึ้นไป อนุญ าตใหใชไดเ ฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีชางที่มีความรู ความชํานาญ คอยดูแลและรักษา

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ ผลลัพธจากการคํานวณโหลดของเมนสวิตชที่มีสายปอนชุดเดียว ก. โหลดที่คํานวณได จะเปนโหลดของสายปอน ข. โหลดที่คาํ นวณได จะเปนโหลดของเมนสวิตช ค. โหลดที่คาํ นวณได จะเปนโหลดของเมนสวิตชสายปอน ง. โหลดที่คํานวณได จะเปนโหลดทัง้ หมดของสายปอน 2. ขอใด เปนขนาดของสายนิวทรัลมีการตอลงดินโดยตรง ของเมนสวิตชแรงต่ําระบบ 3 เฟส ที่จะตองติดตั้ง Ground Fault Protection ก. ขนาดตํากวา 1,000 แอมแปร ข. ขนาด 1,000 แอมแปร ค. ขนาดตั้งแต 1,000 แอมแปรขึ้นไป ง. ไมจํากัดขนาด 3. สายเมนเขาอาคารจะแยกเปนสายเมนสแบบใดบาง ก. สายเมนสําหรับคากระแสต่ํา และคากระแสสูง ข. สายเมนสําหรับระบบแรงต่ํา และระบบแรงสูง ค. สายเมนสําหรับคากระแสสูง ง. สายเมนสําหรับระบบแรงสูง 4. ขอใด ไมเกี่ยวของกับการกําหนดขนาดสายปอน ก. การกําหนดขนาดสายไฟฟา ข. การกํานดขนาดของเครื่องปองกันกระแสเกิน ค. การกําหนดพิกัดเครื่องปองกันกระแสเกิน ง. การกําหนดขนาดเมนสสวิตช

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

5. ขอใด เปนวิธีการคิดโหลดเตารับอื่น ๆ นอกเหนือจากเตารับที่ใชงานทั่วไป ก. เตารับตัวแรกที่มีขนาดโหลดสูงสุดบวกกับ 40% ของโหลดเตารับทีเ่ หลือ ข. เตารับตัวแรกที่มีขนาดโหลดต่ําสุดบวกกับ 40% ของโหลดเตารับทีเ่ หลือ ค. เตารับตัวแรกสุดทายที่มีขนาดโหลดสูงสุดบวกกับ 40% ของโหลดเตารับที่เหลือ ง. .เตารับตัวสุดทายทีม่ ีขนาดโหลดต่ําสุดบวกกับ 40% ของโหลดเตารับทีเ่ หลือ 6. วิธีการกําหนดขนาดเครื่องปองกันกระแสเกินของวงจร 3 เฟส มีกี่วิธี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 7. วงจรที่มีโหลดติดตั้งรวมกับโหลดเครื่องใชไฟฟาที่ใชเตาเสียบ จะตองมีโหลดติดตั้งถาวรรวมกันเทาใด ก. 20% ของขนาดวงจรยอย ข. 30% ของขนาดวงจรยอย ค. 40% ของขนาดวงจรยอย ง. 50% ของขนาดวงจรยอย 8. วงจรยอยที่ใชกับโหลดทั่วไป ควรมีขนาดเทาใด ก. .วงจรยอยทีม่ ีขนาดเกิน 50 แอมแปร ข. วงจรยอยที่มีขนาด 32 ถึง 50 แอมแปร ค. วงจรยอยที่มีขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร ง. วงจรยอยที่มีขนาดไมเกิน 20 แอมแปร

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. ดวงโคมไมต่ํากวา 250 วัตต เปนวงจรยอยขนาดเทาใด ก. วงจรยอยที่มีขนาดเกิน 50 แอมแปร ข. วงจรยอยที่มีขนาด 32 ถึง 50 แอมแปร ค. วงจรยอยที่มีขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร ง. วงจรยอยที่มีขนาดไมเกิน 20 แอมแปร 10. วงจรยอยขนาดเทาใด ที่หามใชกับโหลดประเภทแสงสวาง ก. วงจรยอยที่มีขนาดเกิน 50 แอมแปร ข. วงจรยอยที่มีขนาด 32 ถึง 50 แอมแปร ค. วงจรยอยที่มีขนาด 25 ถึง 32 แอมแปร ง. วงจรยอยที่มีขนาดไมเกิน 20 แอมแปร 11. สายประธาน หรือตัวนําประธานไมเหมาะสําหรับการใชงานในขอใด ก. คอนโดมิเนียม ข. หอพัก ค. บานเดีย่ ว ง. อาคารเรียน 12. ขนาดที่เล็กที่สุดของสายปอนตามมาตรฐานกําหนดใหใชขนาดเทาใด ก. 4 ตร.มม ข. 5 ตร.มม ค. 6 ตร.มม ง. 7 ตร.มม

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คณะผูจัดทําโครงการ ผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางอัจฉรา 3. นายธวัช 4. นายสุรพล

สุโกศล แกวกําชัยเจริญ เบญจาทิกลุ พลอยสุข

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ที่ปรึกษา 1. นายธีรพล 2. นายเสถียร 3. นายประเสริฐ

ขุนเมือง พจนโพธิ์ศรี สงวนเดือน

ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

5. นายวินัย

ใจกลา

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม หอสุขสิริ บุญเถื่อน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 3

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.