คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 5

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คูมือผูรับการฝก 0920164150302 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 5 09215210 การเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาและรางเดินสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 5 การเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาและรางเดิน สายไฟฟา เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ได พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการ ฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเ พื่อ ให ครูฝก ไดใ ชเ ปน เครื่อ งมื อ ในการบริ ห ารจั ด การการฝก อบรมใหเ ปน ไปตามหลัก สูตร กลา วคือ การเลือ กชนิด ของทอ วิธีก ารเดิน สายไฟฟ า ในท อ ร อ ยสายไฟฟ า ติ ด ตั้ ง เดิน สายรอ ยทอ โลหะ พีวีซีเ ขา กับ อุป กรณ และตูค วบคุม มอเตอร การเลือ กชนิดของราง วิธีก ารเดินสายไฟฟ าในราง ติดตั้ง เดินสายไฟฟ าในรางโลหะและพีวีซีเ ข ากับ อุป กรณ รวมไป ถึง ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการไดทั้ง รูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอมตามความสะดวกของ ตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมี ครูฝก หรือ ผูส อนคอยให คําปรึ ก ษา แนะนํ าและจั ดเตรียมการฝก ภาคปฏิบัติ รวมถึง จัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาวจึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ต อ ก า ร พั ฒ น า ฝ ม ื อ แ ร ง ง า น ทั ้ ง ใ น ป จ จุ บ ั น แ ล ะ อ น า คต ซึ่ง หากมีการนําระบบการฝก อบรมตาม ความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบ อาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวกและไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 5 09215210 การเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาและรางเดินสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921521001 การเดินสายไฟฟาในทอรอยสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921521002 การเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟา

14 35

คณะผูจัดทําโครงการ

53

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 5.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 5.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 5.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 5.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 5.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

- หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 5.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 5.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 8

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150302

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมเพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับกฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.4 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณปองกันกระแสเกิน 1.5 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรบั การฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานจังหวัดที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 60 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.3 ผูรับ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ นผลหรื อ ผา นการฝก ครบทุก หน วยความสามารถ จะไดรับ วุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150302 2. ชื่อโมดูลการฝก การเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215207 3. ระยะเวลาการฝก รวม 8 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการเลือกชนิดของทอและวิธีการเดินสายไฟฟาในทอรอยสายไฟฟาได 2. ติดตั้ง เดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซเี ขากับอุปกรณและตูควบคุมมอเตอรได 3. อธิบายการเลือกชนิดของรางและวิธีการเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาได 4. ติดตั้งเดินสายไฟฟาในรางโลหะและรางพีวีซเี ขากับอุปกรณ และตูควบคุมมอเตอรได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกีย่ วกับการเดินสายไฟฟา ผูรับการฝก ดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟาจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการเลือกชนิดของ หัวขอที่ 1 : การเดินสายไฟในทอรอยสายไฟฟา 1:00 3:00 4:00 ทอและวิธีการเดินสายไฟฟา ในทอรอยสายไฟฟาได 2. ติดตั้งเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวซี ีเขากับอุปกรณ และตูควบคุมมอเตอรได สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. อธิบ ายการเลือ กชนิดของราง หัวขอที่ 2 : การเดินสายไฟในรางเดินสายไฟฟา และวิ ธี ก ารเดิ น สายไฟฟ า ใน รางเดินสายไฟฟาได 4. ติดตั้งเดินสายไฟฟา ในรางโลหะและรางพีวีซีเขากับ อุปกรณและตู ควบคุ มมอเตอร ได รวมทั้งสิ้น

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

3:00

4:00

2:00

6:00

8:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921521001การเดินสายไฟฟาในทอรอยสายไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการเลือกชนิดของทอและวิธีการเดินสายไฟฟาในทอรอยสายไฟฟาได 2. ติดตั้งเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวซี ีเขากับอุปกรณและตูค วบคุมมอเตอรได

2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของทอรอยสายไฟฟา 2. วิธีการเดินสายไฟฟาในทอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร จึง จะมีสิท ธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือ เขารับการฝกในโมดูล ที่ ครูฝกกําหนดได

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

7. บรรณานุกรม เตชา อัศวสิทธิถาวร และจาตุรงค แตงเขียว. 2554. การติดตั้งไฟฟา 1. พิมพครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : ซีแอนดเอ็นบุค. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. ม.ป.ป. เครื่องวัดไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การเดินสายไฟในทอรอยสายไฟฟา เปนวิธีที่นิยมใชกันมากที่สุดวิธีหนึ่ง เนื่องจากชวยปองกันการเกิดความเสียหายของสายไฟฟาทางกล เชน การถูกสารเคมีตาง ๆ หรือถูกกระแทกจากวัตถุหรือของมีคม ในสถานที่ติดตั้งนั้น ๆ เปนตน สําหรับการติดตั้งสามารถติดตั้งไดทั้งแบบซอนในผนัง เพื่อ ความสวยงานต อ ผู พ บเห็ น และติ ด ตั้ ง ในที่ โ ล ง ได ซึ่ง ใชเ วลาในการติด ตั้ง นอ ยและยัง เปลี่ย นสายไฟฟ าเขา ไปใหม ไดอยางสะดวกในกรณีที่สายไฟฟาหมดสภาพการใชงาน 1. ชนิดของทอรอยสายไฟฟา 1.1 ทอโลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ทอโลหะหนา หรือ ทอ RMC เปนทอที่มีความแข็งแรงมาก สามารถทนสภาพแวดลอมตาง ๆ ไดดี ทอชนิดนี้ทํามาจาก เหล็กกลาชนิดรีดรอนรีดเย็น หรือ แผนเหล็กกลาเคลือบสังกะสีทั้งผิวภายนอกและภายใน เพื่อ ใหผิวไมเปนอันตราย ตอสายไฟฟา แตลักษณะผิวจะดานและหนากวาทอชนิดอื่น ๆ สวนปลายทอจะทําเกลียวไวสองดาน โดยขนาดทอทั่วไป อยูที่ 1.5 ถึง 6 นิ้ว ความยาวของทอเสนละ 10 ฟุต หรือประมาน 3 เมตร สามารถใชไดภายนอกและภายในอาคาร แตราคาคอนขางสูงกวาทอชนิดอื่นมาก จึงนิยมใชในงานที่ตองมีการปอนกันสายไฟฟาในสถานที่ทมี่ ีการกระแทกทางกลสูง เชน งานเดินสายไฟฟารอยทอฝงดินใตถนน และงานในสถานที่อันตรายที่มีความเสี่ยงตอการเกิดระเบิดสูง เปนตน

ภาพที่ 1.1 ทอโลหะหนา (RMC) 1.2 ทอโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit ทอโลหะปานกลางหรือทอ IMC ทอชนิดนี้จะทํามาจากเหล็กกลาชนิดรีดรอน รีดเย็น หรือแผนเหล็กกลาเคลือบ สังกะสี สวนผิวทอจะเคลือบดวยสีอีนาเมลทําใหเรียบทั้งภายใน - ภายนอก และมีความมันวาว อีกทั้งยังมีความหนาแนน นอ ยกวา ทอ RMC เล็ก นอ ยสว นปลายทอ ทํา เกลีย วไวส องดา น ตามมาตรฐานกํา หนดใชอ ัก ษรสีส ม หรือ สีแ ดง เหมือนกับ RMC ทําใหสามารถใชงานทดแทนกันไดแตมีความแข็งแรงนอยกวา RMC และมีราคาถูกกวา จึงนิยมใชใน งานติดตั้ง นอกอาคารหรือ งานฝง ดินที่ไมมีแรงกระแทกมาก โดยขนาดทอ ตามทั่วไปอยูที่ 1.5 ถึง 4 นิ้ว ความยาว ของทอเสนละ 10 ฟุต หรือประมาณ 3 เมตร 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.2 ทอโลหะหนาปานกลาง (IMC) 1.3 ทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing) ทอโลหะบาง หรือ EMT ทอชนิดนี้จะทํามาจากเหล็กกลาชนิดรีดรอนรีดเย็น หรือแผนเหล็กกลาเคลือบสังกะสี สวนผิวนอกจะเคลือบดวยอีนาเมลทําใหผิวทอเรียบทั้งภายใน - ภายนอก และมีความมันวาว ปลายทอทั้งสองดาน ไมสามารถทําเกลียวไดตามมาตรฐานกําหนดใชอักษรสีเขียวในการระบุชนิดหรือขนาดทอ ทอนี้จะบางกวา RMC และ IMC มาก ความทนทานและความแข็ง แรงนอ ยกวา แตมีร าคาถูก จึง ทําใหเปนทอที่นิยมใชมากที่สุดใชติดตั้งภายใน อาคารเทานั้น โดยขนาดทอตามทั่วไปอยูที่ 1.5 ถึง 2 นิ้ว (ในบางประเทศมีการผลิตถึง 4 นิ้ว) ความยาวของทอ เสนละ 10 ฟุต หรือประมาน 3 เมตร สามารถดัดใหโคงงอตามเครื่องมือดัดได

ภาพที่ 1.3 ทอโลหะบาง (EMT) 1.4 ทอโลหะออน (Flexible Metal Conduit) ทอโลหะออน ทอชนิดนี้จะทํามาจากเหล็กกลาเคลือบสังกะสีผวิ ภายในและภายนอก ผิวภายในถูกผลิตใหมีลักษณะ ออนตัวไดสูงมาก สามารถโคงงอไปมาได มีทั้งชนิดธรรมดาและชนิดใชกับของเหลว ซึ่งเหมาะสําหรับในงานที่มีการสั่นสะเทือน เชน งานมอเตอรหรือเครื่องจักรตางๆ หรืองานที่ตองการความโคงงอของสายไฟ โดยทั่วไปจะมีขนาด 0.5 ถึง 3 นิ้ว

ภาพที่ 1.4 ทอโลหะออน และทอโลหะออนกันน้ํา 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.5 ทอพีวีซี ทอที่ทําขึ้นจากโพลิไวนิลคลอไรด โดยไมผสมพลาสติกไซเซอร โดยชื่ออยางเปนทางการที่ไดระบุในมาตรฐาน มอก. คือ ทอพีวีซีแข็ง แตสําหรับคนทั่วไปจะรูจักในชื่อทอ PVC กันมากกวาโดยในปจจุบันทอ ชนิดนี้เปนที่นิยมอยางมาก ในวงการกอสรางเพราะมีคุณสมบัติเหนียวยืดหยุนตัวไดดี ทนตอ แรงดันน้ํา การกัดกรอ น ไมเ ปนฉนวนนําไฟฟา วัส ดุ ไมติดไฟและน้ําหนักเบา อีกทั้งยังมีราคาถูกอีกดวย

ภาพที่ 1.5 ทอพีวีซี 1.6 ทอ HDPE HDPE หรือทอสายไฟฟา TTG HDPE Conduit เปนทอที่ผลิตขึ้นจากวัตถุดิบโพลีเอทีน ชนิดความหนาแนนสูง จึง ทนตอ แรงกระแทก มีความยืดหยุนสูง ไมแตกราวหรือ หัก งาย โดยขนาดของทอ มีตั้ง แต 20 – 200 มิล ลิเ มตร ยาวทอนละ 6 และ 12 เมตร หรือหากเปนมวน จะยาวมวนละ 50 เมตร 100 เมตร (ทอขนาดไมเกิน 20 – 180 มิลลิเมตร จะผลิตเปนมวน)

ภาพที่ 1.6 ทอ HDPE

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. วิธีการเดินสายไฟฟาในทอรอยสายไฟฟา 2.1 วิธีการเดินสายไฟฟาในทอเขากับอุปกรณและตูควบคุมมอเตอร การเดินทอรอยสายไฟฟาทั้งทอโลหะหรือทอพีวีซี จะมีลักษณะการเดินสายไฟฟาในแบบเดียวกัน ซึ่งการเลือกขนาดของ ทอใหเหมาะสมกับจํานวนสายไฟที่จะใชงานนั้น จะอิงจากขอกําหนดมาตรฐานของทอแตละขนาดรวมถึงลบบริเวณที่ มีความคมของทอกอน แลวจึงปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1) ทําเครื่องหมายบนพื้นผิวที่ตองการเดินทอ และติดตัง้ แคลมปสําหรับจับยึดทอตามแนวทอ 2) ใชขอตอในการเชื่อมตอแตละทอเขาดวยกัน 3) ติดตั้งคอนเน็กเตอร ล็อกนัต บุชชิ่ง และกลองตอสายเขากับทอ 4) ปอนสายฟชเทปเขาไปตามแนวทอที่เดินไว จนปลายฟชเทปโผลไปยังปลายทออีกฝง จากนั้นรอยสายไฟฟา เขาไปในทอ โดยปอกสายไฟและสอดปลายสายไฟใหเกี่ยวเขากับปลายฟชเทปแลวพันดวยเทปพันสายไฟ ใหแนนหนา 5) ใหผูปฏิบัติงานหนึ่งคนดันฟชเทปเพื่อสงสายไฟผานทอ จากนั้นใหอีกหนึ่งคนดึงปลายสายฟชเทปอีกดาน โดยควรรอยสายเปนชวงทุก ๆ กลองตอสาย 6) ตัดสายสวนเกินออกและตอสายไปทีเ่ หลือเขาดวยกันใหเรียบรอย กอนปดฝากลองตอสายไฟ 2.2 ขอกําหนดในการติดตั้งและการใชงาน การเดินสายดวยทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และทอโลหะบาง ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ไดออกการใช ในแตละสภาพการใชงานวา 1) ในสถานที่เปยก ในชิ้นสวนที่ยึดทอจําเปนตองทนตอการผุกรอน 2) สวนของปลายทอที่ตัดออกจะตองลบคม 3) ขอตอและขอยึดที่ไมมีเกลียวตองตอใหแนน 4) การตอสายไฟฟาจะตองตอในกลองตอสายหรือจุดตอไฟฟาที่สามารถเปดออกไดสะดวก 5) การติดตั้งทอเขากับกลองตอสายนั้นตองมีบุชชิ่ง เพื่อปองกันฉนวนหุมสายชํารุด 6) หามมีการทําเกลียวกับทอโลหะบาง 7) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายรวมตองไมเกิน 360 องศา

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2.3 ขอควรระวัง 1) หามใชทอบางในการฝงดิน 2) หามใชทอโลหะที่มีขนาดเล็กกวา 15 มม. 3) จํานวนของสายในทอตองเปนไปตามที่กําหนด 4) ท อ ที่ มี ข นาดใหญ ก ว า 15 มม. หากร อ ยสายที่ ไ ม มีป ลอกตะกั่ว รั ศ มี ดั ด โค ง ของท อ ต อ งไมนอยกวา 6 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ หากมีปลอกตะกั่วเปน 10 เทา โดยทอขนาด 15 มม. ถาไมมี ปลอกตะกั่วใหใช 8 เทา และมีปลอกตะกั่วใหใช 12 เทา 5) ตองติดตั้งทอใหเสร็จกอนเดินสายไฟฟา 6) การเดิ นท อ ด วยโลหะไปยั ง บริ ภัณฑไฟฟาควรจะเดินดวยทอโลหะกอน 7) หามใหมีการใชทอโลหะเปนตัวนําในการตอลงดิน 8) ทอรอยสายจะตองยึดกับที่ใหมั่นคง โดยมีระยะจับยึดหางกัน 3 เมตรหรือนอยกวา และมีระยะหาง จากกลองตอสายหรืออุปกรณตางๆไมเกิน 0.9 เมตร 2.4 จํานวนสายไฟฟาสูงสูดภายในทอรอยสายไฟ ในการติดตั้งปจจัยนึงที่มีผลตอความปลอดภัยของสายไฟนั้น คือจํานวนสายไฟที่อยูในทอ ดังนั้นการติดตั้งสายไฟ จึงตองมีการกําหนดจํานวนสายไฟในทอ ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. ไดมีการกําหนดไวตามตารางที่ 1.1 ตอไปนี้ ตารางที่ 1.1แสดงพื้นที่หนาตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเสนคิดเปนรอยละเทียบกับพื้นที่หนาตัดของทอรอยสาย จํานวนสายในทอรอยสาย

1

2

3

4

มากกวา 4

สายไฟทุกชนิด ยกเวนสายชนิดที่มปี ลอกตะกั่วหุม

53

31

40

40

40

สายชนิดที่มีปลอกตะกั่วหุม

55

30

40

38

35

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ทอชนิดใด มีการเคลือบสีอีนาเมลเพื่อใหผิวทอเรียบทั้งภายในและภายนอก ก. ทอ RMC ข. ทอ IMC ค. ทอ PVC ง. ทอ HDPE 2. ทอชนิดใด มีความหนาแนนนอยกวาทอโลหะหนา ก. ทอโลหะหนาปานกลาง ข. ทอโลหะบาง ค. ทอพีวีซี ง. ทอHDPE 3. ทอโลหะชนิดใด ใชติดตั้งภายในอาคารเทานั้น ก. ทอโลหะหนา ข. ทอโลหะหนาปานกลาง ค. ทอโลหะบาง ง. ทอโลหะออน 4. ทอโลหะชนิดใด เหมาะสําหรับงานที่มีการสั่นสะเทือน ก. ทอโลหะหนา ข. ทอโลหะหนาปานกลาง ค. ทอโลหะบาง ง. ทอโลหะออน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. ทอชนิดใด นิยมใชในงานกอสราง ก. ทอโลหะหนา ข. ทอโลหะบาง ค. ทอโลหะออน ง. ทอพีวีซี ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. ทําเครื่องหมายบนพื้นผิวที่ตองการเดินทอ และติดตั้งแคลมปสําหรับจับยึดทอ ตามแนวทอ 7. ปอนสายไฟฟาเขาไปตามแนวทอที่เดินไว จนปลายสายไฟฟาโผลไปยังปลายทออีกฝง 8. การติดตั้งทอเขากับกลองตอสายนั้นตองมีบุชชิ่ง เพื่อปองกันฉนวนหุมสายชํารุด 9. มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายรวมตองไมเกิน 180องศา 10. ท อ ร อ ยสายจะต อ งมี ร ะยะจั บ ยึ ด ห า งกั น 3 เมตร หรื อ น อ ยกว า และมี ระยะหางจากกลองตอสายหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเกิน 0.9 เมตร

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเดินสายไฟในทอรอยสายไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ติดตั้งและเดินสายรอยทอโลหะและทอพีวีซเี ขากับอุปกรณและตูควบคุมมอเตอรได 2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกติดตัง้ และเดินสายรอยทอเขากับอุปกรณตามแบบทีก่ ําหนด

แบบรางงานจริง

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การเดินสายไฟในทอรอยสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบตั ิงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ นที่ ปฏิ บั ติ งาน ไม ให มี อุ ปกรณ อื่ น ๆ ที่ ไม เกี่ ยวข อง หรื อวั สดุ อั นตราย เช น สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2. ไขควงเช็คไฟ 3. คัตเตอรปอกสาย 4. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว

5. ฟชเทป 6. มัลติมเิ ตอร

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว

7. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

8. รีมเมอร 9. เลือ่ ยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. Bushing จํานวน 13 อัน 2. Connector แบบธรรมดา set screw พรอม Lock nut 3. Handy box พรอมฝาปด

จํานวน 13 อัน จํานวน 4 อัน

4. Strap แบบรูเดียว 5. เซอรกติ เบรกเกอร

จํานวน 14 อัน จํานวน 1 ตัว

6. เตารับมีขั้วสายดิน 7. เทปพันสายไฟฟา 8. เศษผาสะอาด

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 มวน จํานวน 1 ผืน

9. ไวรนัท ขนาดกลาง 10. กลองพักสายสีเ่ หลี่ยม ขนาด 4 × 4 นิ้ว

จํานวน 1 กลอง จํานวน 3 อัน

11. ทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว 12. สกรูเกลียวปลอย

จํานวน 3 ทอน จํานวน 1 กลอง

13. สวิตชทางเดียว 14. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ตัว จํานวน 1 มวน

15. หลอดเผาไสพรอมขั้วรับหลอด 16. หลอดฟลูออเรสเซนตพรอมราง 1 x 18 w

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 หลอด

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การเดินสายไฟในทอรอยสายไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ยึดอุปกรณประกอบทอ

คําอธิบาย ขอควรระวัง ยึ ด อุ ป กรณ ป ระกอบท อ เขา ควรยึดกลองตอสาย แพงฝก และรางหลอดไฟ ให - กลองพักสายสี่เหลี่ยม แนนหนา - Handy Box ของสวิตช และ ปลั๊ก - รางของหลอดฟลูออเรสเซนต - ฐานหลอดเผาไส โดยมี ร ะยะยึ ด ของอุ ป กรณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

2. ติดตั้งทอเขาอุปกรณประกอบทอ

ติดตั้งทอเขาอุปกรณประกอบ ท อ ตามแบบที่ กํ า หน ด ใ ห เรียบรอย

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ยึดทอ ดวยแคลมป ขนาด ¾ นิ้ว ระยะตามแบบที่กําหนด พ ร อ ม ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม เที่ยงตรงดวยระดับน้ํา

3. ติดตั้งแคลมป

4. รอยสายไฟฟา

ใช ฟ ช เทปร อ ยสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิล ลิเ มตร เข า ไปในท อ โดยมี จํ า นวน สายในทอแตละชวงระยะตาม แบบที่กําหนด

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ติดตั้งอุปกรณประกอบทอ

คําอธิบาย ติดตั้งอุปกรณประกอบทอเขา แพงฝก - กลองพักสายสี่เหลี่ยม - Handy box ของสวิตช และ ปลั๊ก - รางของหลอดฟลูออเรสเซนต - ฐานหลอดเผาไส โดยมีระยะติดตั้งของอุปกรณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

6. ตรวจสอบการติดตัง้ อุปกรณประกอบทอ

ตรวจสอบความเรียบรอยของ การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ป ระกอบ ท อ ต า ม แ บ บ ที่ กํ า ห น ด ดังตอไปนี้ 1. ระยะการติดตั้ง และความ แข็งแรงของอุปกรณ 2. ตรวจสอบความถู ก ต อ ง ของวงจรไฟฟา

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. ทดสอบความเปนฉนวน

คําอธิบาย ใช มั ล ติ มิ เ ตอรท ดสอบความ เปนฉนวนระหวางสายไฟฟา กับทอหรือกลองตอสายดังนี้ -กรณีที่ 1 วั ด ส า ย มี ไ ฟ L- ก ร า ว ด Ground จะต อ งมี ค า ความ ตานทานเปน 0 -กรณีที่ 2 วั ดสายมี ไฟ L- นิ วทรั ล (N) จะตองมีคาความตานทานเปน 0

8. จายไฟเขาวงจร

จายไฟเขาวงจรและทดสอบ การทํางานของอุปกรณไฟฟา ตามแบบ

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ปลายสายอีกดาน ของ L หรือ N ตอง ไมเชื่อมตอกับ อุปกรณใด ๆ


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ รายการตรวจสอบ 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การยึดอุปกรณประกอบทอ 1.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบ 1.3 การรอยสายไฟฟา 1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ 1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร 1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด 2 กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน 2.2 สวมใสอุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน 2.5 การเก็บเครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบบันทึกผลการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การยึดอุปกรณประกอบทอ

1.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบ

1.3 การรอยสายไฟฟา

1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด 2

เกณฑการใหคะแนน - การยึดอุปกรณประกอบทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - การยึดอุปกรณประกอบทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - การติดตั้งอุปกรณประกอบถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - การติดตั้งอุปกรณประกอบไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - รอยสายไฟฟาไดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - รอยสายไฟฟาไมไดตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง คะแนนเต็ม

ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน

คะแนนเต็ม 30 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5

5 5 1 1 1 1 1 35

หมายเหตุ หากผูเ ขารับการฝกไดรบั คะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผเู ขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921521002 การเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการเลือกชนิดของรางและวิธีการเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาได 2. ติดตั้งเดินสายไฟฟาในรางโลหะและรางพีวีซเี ขากับอุปกรณและตูควบคุมมอเตอรได

2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของรางเดินสายไฟฟา 2. วิธีการเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงใหครู ฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 5. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 6. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 7. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 9. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก 3. ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลัก สูตร จึง จะมีสิท ธิ์เขารับ การฝกในโมดูลถัดไป หรือ เขารับการฝกในโมดูล ที่ ครูฝกกําหนดได

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

7. บรรณานุกรม เตชา อัศวสิทธิถาวร และจาตุรงค แตงเขียว. 2554. การติดตั้งไฟฟา 1. พิมพครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : ซีแอนดเอ็นบุค. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. ม.ป.ป. เครื่องวัดไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การเดินสายไฟในรางเดินสายไฟฟา การเดินสายไฟในรางนิยมใชแทนการเดินสายในทอรอยสายไฟฟา โดยเฉพาะในกรณีที่มีการเดินสายจํานวนมาก ๆ เนื่องจาก ประหยัด และสวยงามกวาการใชทอ ขนาดใหญห รือ ทอ จํานวนหลายเสนติด ตั้ง โดยทั่ว ไปนิยมใชใ นการเดินสายไฟฟา ในงานอุตสาหกรรม มีขอดีคือการติดตั้งงาย สะดวกรวดเร็ว และสามารถวางสายไดเปนจํานวนมาก ระบายอากาศไดดี สามารถใชไดทั้งระบบไฟฟาแรงดันสูงปานกลางและแรงดันต่ํา 1. ชนิดของรางเดินสายไฟฟา ชนิดของรางเดินสายไฟฟามีอยูหลายชนิด โดยการเดินสายดวยรางเดินสายไฟฟาจะเปนวิธีที่งายและสะดวกตอการใชงาน ซึ่งมีใหเลือกหลายขนาด อีกทั้งในปจจุบันยังมีราคาไมแพงอีกดวย สําหรับบางกรณีก็อาจสั่งใหทางบริษัทผูผลิตใหผลิตออกมา ตามแบบที่ตองการไดอีกดวย นิยมใชแทนในการเดินสายในทอรอยสาย โดยเฉพาะในกรณีที่มีสายไฟฟาเปนจํานวนมาก ซึ่ง ลัก ษณะของรางเดินสายไฟฟ านั้ นจะมี ลักษณะเปนรางพับ เปนกลองเปดหัวทาย สวนดานบนจะเปนฝาเปด – ปดได โดยใชสกรูเปนตัวยึด 1.1 รางโลหะ ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท. ไดกําหนดวัสดุที่ใชสําหรับทํารางเดินสายเอาไว 4 ชนิด ไดแก 1) แผนเหล็กผานกรรมวิธีการปองกันสนิม และการพนสีทับ เชน แผนเหล็กที่ผานกรรมวิธีการลางทําความ สะอาดดวยน้ํายาลางไขมัน และเคลือบดวยน้ํายา Zinc Phosphate แลวจึงพนทับดวยสีฝุน (Powder Paint) หรือใชกรรมวิธีอื่นที่เทียบเทา 2) แผนเหล็กชุบสังกะสีดวยวิธีทางไฟฟา 3) แผนเหล็กชุบสังกะสีแบบจุมรอน 4) แผนเหล็กชุบอลูซิงค

ภาพที่ 2.1 แสดงตัวอยางรางเดินสายไฟฟา

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

อุปกรณประกอบสําหรับรางเดินสายไฟตามขอแนะนําของ ว.ส.ท. ขนาดของรางเดินสายโลหะที่เหมาะสมควรใชขนาด ตามตารางที่ 1.1 โดยความยาวของรางแตละทอนมีดวยกัน 2 ขนาด คือ 2.40 เมตร และ 3.0 เมตร นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ ประกอบที่ชวยใหการติดตั้งสะดวกยิ่งขึ้นประกอบดวย ขอ ตอ ขอ งอ ทางแยกตาง ๆ เหมือนกับงานเดินทอรอยสาย และหากตองการติดตั้งควรศึกษาหาขอมูลและเลือกใชใหเหมาะกับสภาพหนางานติดตั้งจริงดวย ซึ่งสามารถหาขอมูลไดจาก ตัวแทนจําหนายหรือบริษัทผูผลิตโดยตรง เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใชอุปกรณที่เหมาะสมกับงานไดงาย

Horizontal Tee

Horizontal Bend 90

Horizontal Reduce

Horizontal Cross

Vertical Outside Bend 90

Vertical Inside Bend 90

ภาพที่ 2.2 แสดงอุปกรณประกอบที่ใชในรางเดินสายไฟฟา ตารางที่ 1.1 ขนาดของรางเดินสายโลหะที่แนะนําในการผลิต ขนาดความสูง x ความกวาง (มม.)

ความหนาต่ําสุด (มม.)

50 x 50

1.00

50 x 100

1.00

100 x 100

1.20

100 x 150

1.20

100 x 200 หรือ 150 x 200

1.60

100 x 300 หรือ 150 x 300

1.60

100 x 400 หรือ 150 x 400

1.60 39

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1.2 รางพลาสติก สามารถแบงออกตามประเภทของการใชงาน คลายกับรางโลหะ โดยยกตัวอยางประเภทของพลาสติก ดังนี้ 1.2.1 รางพลาสติกเก็บสายไฟ แบบทึบ เหมาะสําหรับใชเก็บสายไฟ สายโทรศัพท สายคอมพิวเตอร LAN ลักษณะทรงสี่เหลี่ยมสามารถเดินตามขอบมุมผนัง ทั้งดานบนและดานลาง โดยมีหลายชนิดใหเลือก เพื่อความเหมาะสมตอการใชงาน 1.2.2 รางเก็บ สายไฟ แบบโปรง เหมาะสําหรับ งานตกแตง ภายในเพื่อความสวยงาม ใชไดทั้ง ในสํานักงาน อาคารพาณิชย และที่อ ยูอ าศัยติดตั้ง งาย ไมตอ งเจาะเข็ม ขัดสําหรับ รัดรางกับผนัง จึง ไมกอ ใหเ กิด ความเสียหายกับพื้นผิว

ภาพที่ 2.3 รางพลาสติก อุปกรณประกอบสําหรับรางเดินสายไฟพลาสติก ประกอบดวย ของอราบ ของอนอก ขอตอตรง และฝาปดทายราง ซึ่งจะมีหลายขนาด สําหรับการใชงานจึงควรเลือกขนาดใหเหมาะสมกับขนาดของรางที่นํามาใช

ภาพที่ 2.4 ตัวอยางอุปกรณประกอบรางพลาสติก 2. วิธีการเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟา 2.1 วิธีการเดินสายไฟฟาในทอเขากับอุปกรณและตูควบคุมมอเตอร กอนการติดตั้งรางเดินสายไฟฟา ตองวัดความยาวของพื้นที่ที่ตองการติดตั้งราง โดยตัดรางเดินสายไฟฟาใหได ความยาวที่เหมาะสม จากนั้นจึงติดตั้งและเดินสายไฟฟาตามขั้นตอนดังนี้ 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

1) ยึดรางตามแนวที่ตองการเดินสายไฟฟาใหแข็งแรงทุกระยะ 1.5 เมตร 2) ใชขอตอรางและของอมาปดบริเวณรอยตอของราง 3) รอยกลุมสายไฟเขาไปในราง โดยมัดรวมกลุมสายไฟใหเรียบรอย 4) ปดรางใหแนนสนิท 2.2 ขอกําหนดในการติดตั้งและการใชงาน 1) จํานวนสายไฟที่มีก ระแสไฟฟาไหลในรางจะตอ งไมเกิน 30 เสน สําหรับ สายไฟฟาในวงจรสัญญาณ หรือวงจรควบคุม ระหวางมอเตอรไฟฟากับสตารทเตอรที่ใชเฉพาะเวลาสตารทมอเตอร จะไมถือวาเปน สายไฟที่มีกระแสไฟฟาไหล 2) พื้นที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทุกเสนในรางรวมกันไมเกิน 75% ของพื้นที่หนาตัดภายในราง 3) กรณีที่สายไฟมีกระแสไฟฟาไหลในรางเกิน 30 เสน ใหใชตัวคูณลดกระแสเรื่องจํานวนสาย แตพื้นที่หนาตัด รวมฉนวนของสายไฟทุกเสนภายในรางรวมตองไมเกิน 75% ของพื้นที่หนาตัดภายในราง 4) อุปกรณไฟฟารางควรใชงานในที่เปดโลงเทานั้นและสามารถเขาถึงไดหลังจากการติดตั้ง 5) การติดตั้งรางจะตองมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรงทุกระยะ 1.5 เมตร 6) รางเดินสายในแนวดิ่งตองมีการจับยึดทุกระยะ 4.5 เมตร และหามมีจุดตอเกิน 1 จุดในแตละระยะจับยึด 7) ตองมีการปดจุดปลายทางของรางเดินสายไฟฟา 8) ในรางเดินสายตรงตําแหนงที่ตองการดัดงอสาย เชน ปลายทางตําแหนงที่มีสายเขา - ออกรางเดินสาย ตองจัดใหมีที่วางสําหรับดัดงอสายอยางเพียงพอ รวมทั้งการปองกันสวนที่มีคมซึ่งอาจทําใหบาดสายได 2.3 ขอควรระวัง 1) ในกรณีใชงานและติดตั้งภายนอกอาคาร ควรเลือกใชรางเดินสายชนิดที่กันน้ําไดดี 2) ไมอนุญาตใหตอราง ณ จุดที่ผานผนังหรือพื้น 3) ไมอนุญาตใหใชรางเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน 4) หามใชรางเดินสายไฟในสถานที่ ที่อาจสงผลใหเกิดความเสียหายกับรางเดินสายได เชน ในสถานที่ ที่มีสารเคมี ซึ่งอาจกอใหเกิดการผุกรอน เปนตน 2.4 จํานวนสายไฟฟาสูงสุดภายในรางรอยสายไฟ จํานวนสายไฟฟาในรางเดินสายคิดจากพื้นที่หนาตัดของสายไฟฟารวมฉนวนและเปลือกทุกเสน เมื่อรวมกันแลว ตองไมเกิน 20% ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดินสายการคิดพื้นที่หนาตัดของสายจะคิดสายไฟฟาทุกเสนที่เ ดิน ในรางเดินสายรวมทั้งสายดินดวย 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใชวัสดุที่ใชสําหรับทํารางเดินสายไฟฟา ก. แผนเหล็กผานกรรมวิธีการปองกันสนิม ข. แผนเหล็กชุบสังกะสีแบบจุมรอน ค. แผนเหล็กชุบสังกะสีแบบจุมเย็น ง. แผนเหล็กชุบอลูซิงค 2. Powder Paint เปนกรรมวิธีใด ตามมาตรฐานของ ว.ส.ท ก. การพนทับดวยอลูซิงค ข. การพนทับดวยน้ํายาฟอตเฟต ค. การพนทับดวยสารกันสนิม ง. การพนทับดวยสีฝุน

3.

จากภาพมีชื่อวาอะไร ก. Horizontal Bend 90 ข. Vertical Outside Bend 90 ค. Horizontal Cross ง. Horizontal Reduce

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

4. ความยาวของรางไวรเวยมีกี่ขนาด ก. 1 ขนาด ข. 2 ขนาด ค. 3 ขนาด ง. 4 ขนาด 5. ขอใด เปนความหนาต่ําสุดของรางเดินสายไฟฟาที่มีขนาด 50 × 50 มม. ก. 1.00 มม. ข. 1.20 มม. ค. 1.40 มม. ง. 1.60 มม. ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. จํานวนสายไฟที่มีกระแสไฟฟาไหลในรางจะตองไมเกิน 30 เสน 7. พื้ น ที่ ห น า ตั ด ของตั ว นํ า และฉนวนทุ ก เสน ในรางรวมกั น ไมเ กิน 85% ของ พื้นที่หนาตัดภายในราง 8. รางเดินสายในแนวดิ่งตองมีการจับยึดทุกระยะ 4.5 เมตร และหามมีจุดตอเกิน 1 จุดในแตละระยะจับยึด 9. ในรางเดินสายตรงตําแหนง ที่ตอ งการดัดงอสาย ตองจัดใหมีที่วางสําหรับดัด งอสายอยางเพียงพอ 10. หามใชร างเดินสายไฟในสถานที่ ที่อ าจสง ผลใหเ กิดความเสียหายกับ ราง เดินสายได

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

กระดาษคําตอบ ตอนที่ 1 ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การเดินสายไฟในรางเดินสายไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ติดตั้งและเดินสายไฟฟาในรางโลหะและรางพีวีซเี ขากับอุปกรณและตัวควบคุมมอเตอรได 2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกติดตัง้ และเดินสายในรางเดินสายเขากับอุปกรณตามแบบทีก่ ําหนดใหถกู ตอง

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การเดินสายไฟในรางเดินสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบตั ิงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ นที่ ปฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2. ไขควงเช็คไฟ 3. คัตเตอรปอกสาย 4. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว

5. คีมตัดราง 6. ตะไบหางหนู

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน

7. มัลติมเิ ตอร

จํานวน 1 ตัว

8. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ของอราบ 2. ขอตอตรง 3. เข็มขัดรัดสายไฟฟา

จํานวน 3 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 กลอง

4. เซอรกิตเบรกเกอร 5. เตารับมีขั้วสายดิน

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

6. เทปพันสายไฟฟา 7. ปดทาย

จํานวน 1 มวน จํานวน 1 อัน

8. รางเดินสายไฟอเนกประสงค 9. เศษผาสะอาด 10. สกรูเกลียวปลอย

จํานวน 3 ทอน จํานวน 1 ผืน จํานวน 1 กลอง

11. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร 12. อเดปเตอร

จํานวน 1 มวน จํานวน 2 อัน

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การเดินสายไฟในรางเดินสายไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนด

ติดตั้งรางเขาแผงฝกตามแบบ ที่กําหนดใหเรียบรอย

2. ยึดอุปกรณประกอบราง

ยึดอุป กรณป ระกอบรางเขา ราง - ของอราบ - ขอตอตรง - อเดปเตอรของเตารับ - ฝาปดทายราง โดยมี ร ะยะยึ ด ของอุ ป กรณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. เดินสายไฟฟาเขาราง

เดินสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิ ล ลิ เ มตร เข า ไปใน ราง จํานวนสายในรางแตละ ชวงระยะตามแบบที่กําหนด

4. ตรวจสอบการติดตัง้ อุปกรณประกอบทอ

ตรวจสอบความเรีย บรอ ย ข อ ง ก า ร ติ ด ตั้ ง อุ ป ก ร ณ ป ร ะ ก อ บ ท อ ต า ม แ บ บ ที่ กําหนด ดังตอไปนี้ 1. ระยะการติดตั้งและความ แข็งแรงของอุปกรณ 2. ตรวจสอบความถู ก ต อ ง ของวงจรไฟฟา

5. ปดฝาครอบรางและอุปกรณประกอบราง

ปดฝาครอบรางและอุปกรณ ประกอบราง - ปดฝาครอบราง 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย - ปดฝาครอบอเดปเตอรของ เตารับ โดยมีระยะติดตั้งของอุปกรณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

6. จายไฟเขาวงจร

จายไฟเขาวงจรและทดสอบ การทํางานของอุปกรณไฟฟา ตามแบบ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งรางตามแบบที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การยึดอุปกรณประกอบราง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การเดินสายไฟฟาเขาราง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

ใบบันทึกผลการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งรางตามแบบที่กําหนด

1.2 การยึดอุปกรณประกอบราง

1.3 การเดินสายไฟฟา

1.4 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

1.5 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด 2

เกณฑการใหคะแนน - ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนดไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ยึดอุปกรณประกอบรางถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ยึดอุปกรณประกอบรางไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - เดินสายไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - เดินสายไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง คะแนนเต็ม

ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน

คะแนนเต็ม 25 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5 5 1 1 1 1 1 30

หมายเหตุ หากผูเ ขารับการฝกไดรบั คะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผเู ขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

หอสุขสิริ บุญเถื่อน

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 5

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.