คู่มือผู้รับการฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 11

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คูมือผูรับการฝก 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 11 09207303 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คํานํา

คูมือ ผูรับ การฝก สาขาชางเชื่อ มแม็ก ระดับ 3 โมดูล 11 การเชื่อ มแม็กเหล็ก กลาคารบ อนรอยเชื่อมตอ ชนทอ ตํ าแหน งท าเชื่ อม D150PF และ H-L045 ฉบั บ นี้ เป น ส ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝ ก อบรมฝ มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ งพั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น เอกสารประกอบการจั ด การฝ ก อบรมกั บ ชุ ด การฝ ก ตาม ความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวย ระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหผูรับการฝกไดใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ หลังเรียนจบโมดูลการฝก ผูรับการฝก สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 ไดอยางถูกตอง ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปน รายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับ การฝกอบรมจําเปน ตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกวาจะสามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝก สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

1

โมดูลการฝกที่ 11 09207303 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 หัวขอวิชาที่ 1 0920730301 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ

13

ตําแหนงทาเชื่อม D150PF หัวขอวิชาที่ 2 0920730302 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ

38

ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 คณะผูจัดทําโครงการ

62

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขอแนะนําสําหรับผูร ับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเข า ใช ง านระบบ แบงสว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่งรายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

.

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติจากครูฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผูรับการฝกดาวนโหลดแอปพลิ เคชัน DSD m-Learning ซึ่งวิธีการดาวนโหลดแอปพลิ เ คชั น สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิ เ คชั น DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวน โ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันฝกภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝกมา ฝกภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันฝกและหองฝกแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) ผูรับการฝกศึกษาใบขั้นตอนปฏิบัติงานกอนเขารับการฝกภาคปฏิบัติ 3) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงานจากครูฝก แลวฝก ปฏิบัติงานตามขั้นตอน 4) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูผูฝกประเมินผล และวิเคราะหผลงานรวมกับครูฝกเพื่อใหมาตรฐาน เปนไปตามเกณฑการประเมิน การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ผูรับการฝกตรวจสอบวันสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบโดยระบุชื่อผูรับการฝกไวแลว ใหผูรับการฝก มาสอบภาคปฏิบัติใหตรงวันและเวลาที่กําหนด - หากครูฝกกําหนดวันสอบและหองสอบแตไมไดระบุชื่อผูรับการฝก ใหผูรับการฝกลงชื่อ ในวันและเวลาที่ตนเองสะดวก 2) เมื่อถึงวันสอบภาคปฏิบัติ ใหผูรับการฝกฟงคําชี้แจงจากครูฝก แลวสอบปฏิบัติงานตามคําชี้แจง 3) ผูรับการฝกสงผลงานใหครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบประเมินโดยตองผานเกณฑ รอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 4) ผูรับการฝกดูประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติในแอปพลิเคชัน 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือทํา ไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไม สามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก 7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070803

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะได รับ การฝ กในภาคทฤษฎี และภาคปฏิ บัติ โดยสถาบันพัฒนาฝ มือแรงงาน หรือสํานักพัฒนาฝ มื อ แรงงานจังหวัดที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงาน ที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 11 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070803 2. ชื่อโมดูลการฝก การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ รหัสโมดูลการฝก ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 09207303 3. ระยะเวลาการฝก รวม 30 ชั่วโมง ทฤษฎี - ชั่วโมง ปฏิบัติ 30 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของ หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อให หนวยการฝก มีความสามารถ ดังนี้ 1. สวมใสและใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางถูกตอง 2. เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 3. เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง 4. เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 ไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 8. จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ความสามารถของ ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 10 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. สวมใสและใชอุปกรณ หัวขอที่ 1 : การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน 12:00 12:00 ปองกันสวนบุคคล รอยเชื่อมตอชนทอ ไดอยางถูกตอง ตําแหนงทาเชื่อม D150PF สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงาน ไดอยางถูกตอง 3. เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 4. เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติงานเชื่อมแม็ก เหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. ทําความสะอาด ชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง 8. จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 1. สวมใสและใชอุปกรณ หัวขอที่ 2 : การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน ปองกันสวนบุคคล รอยเชื่อมตอชนทอ ไดอยางถูกตอง ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 2. เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงาน ไดอยางถูกตอง 3. เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 4. เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติงานเชื่อมแม็ก เหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ไดอยางมีประสิทธิภาพ 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

-

18:00

18:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

6. ทําความสะอาดชิ้นงาน เชื่อมไดอยางถูกตอง 7. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ไดอยางถูกตอง 8. จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

-

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

30:00

30:00


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920730301 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

สวมใสและใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางถูกตอง เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณไดอยางถูกตอง เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง ปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ขั้นตอนการสวมใสและการใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ขั้นตอนการเตรียมพื้นที่การปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณ ขั้นตอนการเตรียมชิ้นงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ขั้นตอนการทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อม ขั้นตอนการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ขั้นตอนการจัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณ

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การรับการฝกอบรม 1. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 2. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 3. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 4. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 6. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะจบหลักสูตร

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

7. บรรณานุกรม กระทรวงแรงงาน. 2550. วิธีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองวาเปนผูผานการ ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๓. ม.ป.ท. มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ยุคล จุลอุภัย. ม.ป.ป. เทคโนโลยีการเชื่อมมิก/แมกและฟลักซคอร เลม 1. : ม.ป.ท.

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สวมใสและใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางถูกตอง 2. เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 3. เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง 4. เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 8. จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 12 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหเชื่อมเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - หนากากเชื่อม - แวนตานิรภัย - ถุงมือเชื่อม - เอี๊ยมกันไฟ - รองเทานิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ปฏิบัติงานเชื่อมในพื้นที่ที่มีการระบายอากาศดี 2. หามทํางานเชื่อม ตัด ขัดหรือลับสิ่งใด ๆ ใกลกับวัตถุ ของเหลว ไอระเหยและฝุนไวไฟหรือที่ติดไฟได 3. จัดใหมีอุปกรณดับเพลิงที่เหมาะสมไวในพื้นที่ใกลเคียง 4. ใชเฉพาะอุปกรณที่ผานการรับรองและอยูในสภาพดีเทานั้น และปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิต 5. กอนการปฏิบัติงาน ใหตรวจสอบอุปกรณเพื่อดูจุดเชื่อมตอตาง ๆ ที่หลวมและสายไฟตาง ๆ ที่ฉีกขาด รวมทั้ง ตองตรวจดูใหแนใจวาเครื่องจักรตาง ๆ ไดมีการตอสายดินอยางถูกตองเหมาะสม 6. ยกยายถังบรรจุแกสดวยวิธีการที่ปลอดภัย โดยปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนการใชงานและจัดเก็บถังบรรจุแกส อยางถูกตอง 7. ดูแลพื้นที่ทางเดินและบันไดตาง ๆ ไมใหมีสายไฟและอุปกรณตาง ๆ วางกีดขวางอยู 8. ใหบุคคลอื่นยืนอยูในระยะหางที่ปลอดภัยจากพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมและงานตัด 9. เรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลสําหรับการเกิดแผลไหม การสูดดมแกสพิษ การหมดสติและการบาดเจ็บของดวงตา 10. รับทราบถึงจุดที่ตั้งของฝกบัวและอางลางตาฉุกเฉินและวิธีการใชงานอุปกรณเหลานั้น

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควง

จํานวน 1 ชุด

2. คีมจับชิ้นงานรอน

จํานวน 1 ดาม

3. คีมตัดลวดเชื่อม

จํานวน 1 ดาม

4. เครื่องเจีย

จํานวน 1 ตัว

5. เครื่องเชื่อมมิก / แม็ก และอุปกรณประกอบ

จํานวน 1 ชุด

6. ตะไบ

จํานวน 1 อัน

7. น้ํายาฉีดหัวครอบ

จํานวน 1 กระปอง

8. ประแจ

จํานวน 1 อัน

9. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

10. มาตรวัดอัตราไหลและชุดควบคุมแกสปกปอง

จํานวน 1 ชุด

1.5 การเตรียมชิ้นงานเชื่อมและวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกส CO2 หรือ แกสผสม Ar + CO 2

จํานวน 1 ขวด

2. ทอเหล็กกลาคารบอน W01 (AWS D1.1 Group I) ขนาด ∅150 sch40 x 125 มิลลิเมตร

จํานวน 14 ชิ้น

3. ใบหินเจีย ขนาด ∅100 x 2 มิลลิเมตร

จํานวน 3 ใบ

4. ใบหินเจีย ขนาด ∅100 x 4 มิลลิเมตร

จํานวน 3 ใบ

5. ลวดเชื่อม ER70S-6 ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.8 มิลลิเมตร

จํานวน 1 มวน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. การเตรียมชิ้นงานตามแบบที่กําหนด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

บากขอบมุ ม ชิ้ น งานให ไ ด 30 องศา สวมชุดปฏิบัติการช าง ตลอดความยาว

และอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตราย และตรวจสอบ ค ว า ม พ ร อ ม ข อ ง เครื่องมือและอุ ป กรณ ทุกครั้งกอนใชงาน

2. เจียหนาฐานรอยตอ

เจียหนาฐานรอยตอใหมีขนาด 1.6 มิลลิเมตร ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จากการเจียงาน

3. ทําความสะอาดชิ้นงาน

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ชิ้ น ง า น ใ ห ผิ ว ห น า ปราศจากคราบหนา สแลก สนิม ความชื้น น้ํามัน และฝุน

4. การจับตําแหนงชิ้นงานตามทาเชื่อมที่กําหนด

วางทอชิ้นงานเชื่อมบนโตะใหดานที่บากขอบ อยูดานบน

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ดัดลวดรูปตัววีวางขวางบนขอบทอ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ดั ด ลวดรู ป ตั ว วี ว างขวางบนขอบท อ ให ร ะหว า งปลายลวดเป น ตํ า แหน ง 6 นาฬิกา

6. วางทออีกทอนหนึ่งบนลวดดัดรูปตัววี

วางทออีกทอนหนึ่งบนลวดดัดรูปตัววี

ควรจัดขอบทอ

โดยใหขอบบากอยูดานลาง

ใหตรงกัน

การเชื่อมยึด

7. เชื่อมยึดทอ

เชื่อมยึดทอตรงตําแหนง 6 นาฬิกา และ 12 นาฬิกา

8. ลําดับและทิศทางการเชื่อม

ลําดับและทิศทางการเชื่อม ดังภาพ

ลําดับการเชื่อม

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทิศทางการเชื่อม

การสายลวดเชื่อม

9. คาพารามิเตอรในการเชื่อม

ปรับตั้งคาพารามิเตอรในการเชื่อม

ปรั บตั้ งค าพารามิ เตอร ใหตรงตามที่กําหนด

10. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 7 - 10 มิลลิเมตร การเชื่อมแนวราก

11. ยึดชิ้นงานใหแกนทออยูในแนวระดับ

ตรวจสอบความพรอม

ใชคีมตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น

ข อ ง หั ว เ ชื่ อ ม ก อ น

7 - 10 มิลลิเมตร

ปฏิบัติงาน

จับยึดชิ้นงานใหแกนทออยูในแนวระดับ

ใช คี ม จั บ ชิ้ น งานร อ น จั บหรื อเคลื่ อนย าย ชิ้ น งานที่ ร อ น ไม ใ ช ถุ ง มื อ ห นั ง ห ยิ บ จั บ เพราะอาจไหมได

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 12. วางหัวเชื่อมที่ตําแหนง 6 นาฬิกา

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วางหัวเชื่อมที่ตําแหนง 6 นาฬิกา ตั้งมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

13. เริ่มเชื่อมจาก 6 นาฬิกา ถึง 12 นาฬิกา

เริ่มเชื่อมจาก 6 นาฬิกา ถึง 12 นาฬิกา

ควรมีฉากปองกัน แสง ในการอารก เพื่อไมให รบกวนผูอื่น

14. เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็วสม่ําเสมอ

เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็วสม่ํ าเสมอ ควรใชเทคนิคการเชื่อม ถ า แนวรากกว า งขึ้ น ให ส า ยลวดเชื่ อ ม ใหเหมาะสม นอยลง

15. เชื่อมอีกดานหนึ่งเชนเดียวกัน

เชื่อมอีกดานหนึ่งแบบเดียวกัน

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 16. ทําความสะอาดแนวราก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนง

ไมใชงานใกลสารไวไฟ

ทาเชื่อม

หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร

17. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 6 - 9 มิลลิเมตร เชื่อมแนวเติม ใหลวดเชื่อมมีระยะยื่น 6 - 9 มิลลิเมตร

18. ตั้งมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

ตั้งมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

19. เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็วสม่ําเสมอ

เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็วสม่ํ าเสมอ ควรใชเทคนิคการเชื่อม เพื่อใหรอยเชื่อมกวางกวารอยเชื่อมแนวแรก ใหเหมาะสม

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 20. การหยุดเชื่อม และการตอแนวเชื่อมใหม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ถาตองการหยุดเชื่อม และตองการตอแนว เชื่อมใหม ใหเริ่มตนเชื่อมล้ําหนาเล็กนอย ทํ า การอาร ก ที่ แ นวราก แล ว ลงมาต อ ที่ รอยบุมอยางรวดเร็ว สรางเปลวอารกจน เกิดบอหลอมที่สมบูรณ จึงเดินแนวตอไป จนเสร็จ

21. เชื่อมอีกดานหนึ่งเชนเดียวกัน

เชื่อมอีกดานหนึ่งแบบเดียวกัน

ควรใชเทคนิคการเชื่อม ใหเหมาะสม

22. รอยเชื่อมเติมตองต่ํากวาผิวหนาของทอ

รอยเชื่อมแนวเติมตองต่ํากวาผิวหนาของ ทอประมาณ 1.6 มิลลิเมตร

23. ทําความสะอาดแนวเติม

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนงทาเชื่อม ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 24. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 4 - 7 มิลลิเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เชื่อมแนวทับหนา ใหลวดเชื่อมมีระยะยื่น 4 - 7 มิลลิเมตร

25. ใชมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

ใหมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน แตสายลวดเชื่อมใหกวางกวา

26. เริ่มเชื่อมจาก 6 นาฬิกา ถึง 12 นาฬิกา

เริ่มเชื่อมจาก 6 นาฬิกา ถึง 12 นาฬิกา

ควรใชเทคนิคการเชื่อม ใหเหมาะสม

27. หยุดลวดหรือหัวเชื่อมที่ขอบริมแนวเชื่อม

เพื่อปองกันการกัดขอบ ใหหยุดลวดหรือ หัวเชื่อมที่ขอบริมแนวเชื่อม เมื่อเติมลวด เชื่อมไดเต็มขอบรอยบากแลว จึงสายลวด กลับไปอีกขางหนึ่งของขอบริมแนวเชื่อม

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 28. รอยนูนของแนวเชื่อมสูงกวาผิวหนางาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เมื่อเชื่อมเสร็จ รอยนูนของแนวเชื่อมควร สูงจากผิวหนางานเล็กนอย

29. ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อม

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนงทาเชื่อม ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร

30. ตรวจสอบชิ้นงาน

ตรวจสอบชิ้นงานหลังเชื่อมเสร็จ

ป รั บ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุปกรณใหอยูในสภาพ พร อ มใช ง านเช น เดิ ม หลั ง จากปฏิ บั ติ ง าน เสร็จ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด 1. การตรวจสอบดวยวิธีพินิจ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

บริ เ วณเริ่ ม ต น และจุ ด สุ ด ท า ยของแนว ตองไมมีกองนูนผิดปกติ ไมมีสแลกฝง ไมมีรูพรุน ไม เชื่อม

มีรอยแตกปลาย ไมมีรอยเวาผิดปกติ

2

รอยขีดอารกบนผิวหนาชิ้นงาน

ตองไมมี

3

ผิวชิ้นงานและหนารอยเชื่อมไดขจัด

ขจัดได 70% ขึ้นไป

สแลก และสะเก็ดเชื่อม 4

ผิวหนารอยเชื่อมมีการเจีย

ยอมใหมีไดไมเกิน 1 ตร.ซม.

5

รอยเชื่อมมีรูพรุน

ตองไมมี

6

รอยเชื่อมมีรอยกัดขอบ

ยอมใหมีไดความลึกไมเกิน 0.5 มม.

7

รอยเชื่อมมีรอยขอบซอน

ตองไมมี

8

รอยเชื่อมมีสแลกจมเห็นที่ผิว

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน 2.0 มม.

9

ความนูนของรอยเชื่อมดานหนา

10

รอยเชื่อมไมเต็มรองบาก

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน h ≤ 0.15b

11

รอยเชื่อมเกิดการตอขอบเยื้อง

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน 1.2 มม.

12

รอยเชื่อมฐานรากหลอมละลายสมบูรณ ตองไมมีขอบกพรอง

ตองไมมี

ตลอดแนว 13

รอยเชื่อมฐานรากเกิดการยอย

14

รอยเชื่อมฐานรากเกิดการยุบเวา

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน h ≤ 1+0.15b

15

ชิ้นงานเกิดการบิดตัวเชิงมุม

ยอมไดไมเกิน 7 องศา

16

ความสมบูรณของรอยเชื่อมดานหนา

ตองไมมีขอบกพรอง

17

ความกวางของรอยเชื่อม

ยอมใหมีความกวางแตกตางไดไมเกิน 3 มม.

18

ความสม่ําเสมอเกล็ดรอยเชื่อม

ยอมใหมีระยะหางของเกล็ดรอยเชื่อมไดไมเกิน 3 มม.

ตองไมมี

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. การตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การดัดโคงดานหนา

ชิ้นงานหลังดัดโคงยอมใหมีรอยแตกไดไมเกิน 1 มม.

ทดสอบการดัดดานหนา

2

การดัดโคงดานแนวฐานราก

ชิ้นงานหลังดัดโคงยอมใหมีรอยแตกไดไมเกิน 1 มม.

ทดสอบการดัดดานราก

3. การปฏิบัติงานตามแบบและการปฏิบัติงานตามขอกําหนด ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

การประกอบชิ้นงานตามแบบ

ตามแบบกําหนด

2

การวางชิ้นงานตามตําแหนงทาเชื่อม

ยอมใหมีผิดพลาดไดไมเกิน 5 องศา

3

การใชชนิดกระแสไฟเชื่อม

ตามแบบกําหนด

4

การตอขั้วกระแสไฟเชื่อม

ตามแบบกําหนด

5

การเลือกใชประเภทลวดเชื่อม

ตามแบบกําหนด

4. ความปลอดภัยและความสามารถในการปฏิบัติงาน ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

การใชเครื่องเชื่อมและอุปกรณ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การตอขั้วเชื่อมที่ปลอดภัย

ความถูกตองตามขอกําหนด

3

การใชอุปกรณจับยึดและอุปกรณชวยงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

4

การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

5

การปองกันอุบัติเหตุในการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการ

6

การเจีย การตะไบ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การเคาะสแลก การใชสกัด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน 29

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

8

การเก็บรักษาเครื่องมือ

ความถูกตองตามขอกําหนด

9

การทําความสะอาดชิ้นงาน และบริเวณ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทํางาน

10

เวลาในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

11

การใชวัสดุอยางประหยัด

ความถูกตองตามขอกําหนด

12

ขณะปฏิบัติงานทําใหคนอื่นบาดเจ็บ

ไมยินยอม

13

ทําใหเครื่องและอุปกรณชํารุด

ไมยินยอม

14

การทําใหเกิดเพลิงไหม

ไมยินยอม

4. วิเคราะหผล นําชิ้นงานมาวิเคราะหขอบกพรองที่เกิดขึ้นวาอยูในเกณฑการยอมรับหรือไม แลวหาวิธีการแกไขรวมกับครูฝก

5. การจัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณ 1. ปดเครื่องปอนลวดโดยหมุนปุมปรับความเร็วปอนลวดไปที่ 0 2. ปดระบบจายแกสปกปอง 3. ปดวาลวที่ทอแกส 4. ปดสวิตชที่ดามหัวเชื่อมแกสปกปองที่คางในสายจะไหลออก 5. ปดวาลวที่โฟลวมิเตอร 6. ปดสวิตชเครื่องเชื่อม 7. ทําความสะอาดสายเชื่อมแลวมวนเก็บ 8. ทําความสะอาดสายดินแลวมวนเก็บ 9. ทําความสะอาดเครื่องเชื่อมและโตะเชื่อม 10. ทําความสะอาดเครื่องมือตาง ๆ 11. เก็บเศษโลหะแลวนําไปทิ้งในที่เฉพาะ 12. ทําความสะอาดพื้นที่บริเวณเตรียมงานและที่เชื่อม

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการตรวจสอบดวยสายตา (Visual Inspection Test) ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

1

2 3

4

บริเวณเริ่มตนและจุดสุดทายของแนวเชื่อมสมบูรณ

ถาไมมี ให 10 คะแนน

หรือไม?

มีจุดบกพรองอยางใดอยางหนึ่งหรือทั้งหมด

(Start and end of weld occurred incomplete fusion and crater crack or not?)

ให 4 คะแนน มีมากกวา 1 จุดบกพรอง ให 1 คะแนน

มีรอยขีดอารกบนผิวหนาชิ้นงานหรือไม?

ถาไมพบรอยขีดอารก ให 10 คะแนน

(Are stray arc strikes absent?)

ถาพบรอยขีดอารก ให 1 คะแนน

ผิวชิ้นงานและหนาแนวเชื่อมไดขจัดสแลก และสะเก็ด ขจัดได 90% ให 10 คะแนน เชื่อมออกไดหมดหรือไม? ขจัดได 80% ถึง 89% ให 7 คะแนน (Is all surface slag and spatter removed from

ขจัดได 70% ถึง 79% ให 4 คะแนน

joint and surrounding area?)

ขจัดไดนอยกวา 70% ให 1 คะแนน

ผิวหนาแนวเชื่อมมีการเจียหรือไม?

ไมมีรอยเจีย ให 10 คะแนน

(Is the weld face of weld free from grinding?)

รอยเจียไมเกิน 1 ตร.ซม. ให 7 คะแนน

10

10 10

10

รอยเจียเกิน 1 ตร.ซม. ให 1 คะแนน 5

แนวเชื่อมมีรูพรุนหรือไม? (Is the weld metal free of surface porosity?)

ถาไมมีรูพรุน ให 10 คะแนน ถามีรูพรุน ให 1 คะแนน

10

6

แนวเชื่อมมีรอยกัดขอบหรือไม?

ไมเกิดรอยกัดแหวง ให 10 คะแนน

10

(Is the weld joint free from undercut?)

มีรอยกัดแหวง ให 1 คะแนน

แนวเชื่อมมีรอยขอบซอนหรือไม?

ไมมีรอยขอบซอน ให 10 คะแนน

(Is the weld joint completely or free of

มีหนึ่งจุด ให 4 คะแนน

overlap?)

ถามากกวา 1 จุด ให 1 คะแนน

แนวเชื่อมมีสแลกจมเห็นที่ผิวหรือไม? (Is the weld joint completely or free of surface

มีขนาดไมเกิน 0.2s ให 10 คะแนน มีขนาดเกิน 0.2s แตไมเกิน 0.3s ให 7 คะแนน

slag)

มีขนาดเกิน 0.3s แตไมเกิน 0.4s ให 4 คะแนน

7

8

10

10

มีขนาดเกิน 0.4s ให 1 คะแนน 9

แนวเชื่อมดานหนานูนเกินไปหรือไม?

h ≤ + 0.1b ให 10 คะแนน

(Is the weld joint free of excessive face

h ≤ + 0.15b ให 7 คะแนน

reinforcement?)

h ≤ + 0.25b ให 4 คะแนน มากกวา 0.25b ให 1 คะแนน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

10

ชิ้นงาน (TEST PIECES) D150PF


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

10

แนวเชื่อมเต็มรองบากหรือไม

ถาเติมเต็มให 10 คะแนน

(Is the butt weld groove completely filled?)

ถาลึกจากผิวงาน 0.5 มม. ให 7 คะแนน

10

ถาลึกจากผิวงาน 1.0 มม. ให 4 คะแนน ถาลึกกวา 1.5 มม. ให 4 คะแนน 11

12

แนวเชื่อมเกิดการตอขอบเยื้องหรือไม?

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.1t มม. ให 7 คะแนน

(Is the weld joint free from linear (high / low)

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.15t มม. ให 6 คะแนน

misalignment?)

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.25t มม. ให 4 คะแนน ถาเยื้อง (h) มากกวา 0.25t มม. ให 1 คะแนน

แนวเชื่ อ มฐานรากหลอมละลายสมบู ร ณ ต ลอดแนว ถาหลอมละลายสมบูรณ ให 10 คะแนน หรือไม? (Is the root weld completely penetration

10

10

ถาไมหลอมละลายสมบูรณให 1 คะแนน

convexity ?) 13

แนวเชื่อมฐานรากเกิดการยอยเกินไปหรือไม? (Is the joint free of excessive penetration?)

ถารากยอยไมเกิน 1 มม. + 0.3b ให 10 คะแนน ถารากยอยไมเกิน 1 มม. + 0.6b ให 7 คะแนน

10

ถารากยอยไมเกิน 1 มม. + 1.2b ให 4 คะแนน ถารากยอยมากกวานี้ ให 1 คะแนน 14

แนวเชื่อมฐานรากเกิดการยุบเวามากเกินไปหรือไม?

ถารอยยุบ (h) ไมเกิน 0.5 มม. ให 10 คะแนน

10

( Is the weld penetration free of excessive root ถารอยยุบ (h) เกิน 1.0 มม. ให 7 คะแนน

15

concavity “Suck Back”?)

ถารอยยุบ (h) เกิน 1.5 มม. ให 4 คะแนน ถารอยยุบ (h) มากกวานี้ ให 1 คะแนน

ชิ้นงานเกิดการบิดตัวเชิงมุมหรือไม?

α ไมมากกวา 5° ให 10 คะแนน

(Is the weld joint free from angular distortion?)

α มากกวา 5° แตไมเกิน 7° ให 7 คะแนน

10

α มากกวา 7° แตไมเกิน 8° ให 4 คะแนน α มากกวา 8° ให 1 คะแนน 16

รอยตอแนวเชื่อมดานหนาสมบูรณหรือไม

มีขนาดนูนมากกวา 2 มม. แตไมเกิน 3 มม.

(In the weld joint on the capping layer completely or not)

ให 7 คะแนน มีขนาดนูนมากกวา 4 มม. แตไมเกิน 5 มม. ให 4 คะแนน มีขนาดนูนมากกวา 5 มม. ให 1 คะแนน

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

10

ชิ้นงาน (TEST PIECES) D150PF


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

17

ความกวางแนวเชื่อมสม่ําเสมอหรือไม

ตางกันมากกวา 2 มม. แตไมเกิน 3 มม.

(Is the bead width uniform and regular)

ให 7 คะแนน

10

ตางกันเกิน 2 มม. แตไมเกิน 4 มม. ให 4 คะแนน ตางกันเกิน 4 มม. ให 1 คะแนน 18

เกล็ดแนวเชื่อมสม่ําเสมอหรือไม

ถาเกล็ดแนวเชื่อมสม่ําเสมอตลอดแนว ให 10 คะแนน

(Are ripples uniform and regular)

ถามีความหางระหวางเกล็ดแนวเชื่อมเกิน 3 มม.

10

ให 1 คะแนน คะแนนเต็ม

180

180/4.5 = 40

40

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชิ้นงาน (TEST PIECES) D150PF


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง (BENDING TEST) ลําดับที่

1

a) ทดสอบการดัดดานราก

b) ทดสอบการดัดดานหนา

รายการตรวจสอบ (MARKING ASPECT)

ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

การดัดโคงดานหนามีรอยแตกหรือไม

ชิ้นงานหลังดัดโคง สมบูรณไมปรากฏรอยแตกหัก ให 22.5 คะแนน

คะแนน เต็ม

ชิ้นงาน (TEST

Max. SCORE

PIECES)

22.5

รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 1.0 มม. ให 15 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 2.0 มม. ให 10 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง > 2.0 มม. ให 1 คะแนน 2

การดัดโคงดานแนวรากฐานมีรอยแตก หรือไม

ชิ้นงานหลังดัดโคง สมบูรณไมปรากฏรอยแตกหัก ให 22.5 คะแนน

22.5

รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 1.0 มม. ให 15 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 2.0 มม. ให 10 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง > 2.0 มม. ให 1 คะแนน รวม

45

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

D150PF


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการประกอบชิ้นงานตามแบบและขอกําหนด ลําดับที่

รายการตรวจสอบ (MARKING ASPECT)

ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

ชิ้นงานที่ 1

- การประกอบชิ้นงานตามแบบ

ไมผิด ให 5 คะแนน

D150PF

- การวางชิ้นงานตามตําแหนงทาเชื่อม - การใชชนิดกระแสไฟเชื่อม

ผิด 1 จุด ให 3 คะแนน ผิด 2 จุดหรือมากกวาให 1 คะแนน

คะแนน(SCORE) เต็ม 5

- การตอขั้วกระแสไฟเชื่อม - การเลือกใชประเภทลวดเชื่อม คะแนน

5

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนความปลอดภัยและความสามารถในการปฏิบัติงาน ลําดับที่

รายการตรวจผล (MARKING ASPECT)

ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

ชิ้นงานที่ 1

ไมผิด ให 10 คะแนน

D150PF

ผิด 1 จุด ให 5 คะแนน ผิด 2 จุดหรือมากกวาให 1 คะแนน คะแนน

คะแนน(SCORE) เต็ม 10

10

หมายเหตุ รายการการตรวจสอบ (MARKING ASPECT) 1. การใชเครื่องเชื่อมและอุปกรณ ถูกตองหรือไม 2. การตอขั้วเชื่อมที่ปลอดภัย 3. การใชอุปกรณจับยึดและอุปกรณชวย 4. การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ถูกตองหรือไม 5. การปองกันอุบัติเหตุในการทํางาน ถูกตองหรือไม 6. การเจีย การตะไบ ถูกตองหรือไม 7. การเคาะสแลก การใชสกัด ถูกตองหรือไม 8. การเก็บรักษาเครื่องมือ 9. การทําความสะอาดชิ้นงาน และบริเวณทํางาน 10. เวลาในการปฏิบัติงาน 11. การใชวัสดุอยางประหยัด 12. ขณะปฏิบัติงานทําใหคนอื่นบาดเจ็บ 13. ทําใหเครื่องและอุปกรณชํารุด 14. การทําใหเกิดเพลิงไหม

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนประเมินผลรวม ชิ้นงาน

การประเมินผลชิ้นงาน

คะแนน

(ASSESSMENT CRITERIA)

(TEST PIECES) D150PF

การตรวจสอบดวยสายตา

40

(Visual Test) การตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง

45

(Fracture Test) การประกอบชิ้นงานตามแบบและขอกําหนด

5

(Assembly According to Prints & Specification) ความปลอดภัย และความสามารถในการปฏิบัติ

10

(Safety andCompetency Interpretation) รวมคะแนน

100

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 70 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920730302 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

สวมใสและใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางถูกตอง เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณไดอยางถูกตอง เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง ปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ขั้นตอนการสวมใสและการใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ขั้นตอนการเตรียมพื้นที่การปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณ ขั้นตอนการเตรียมชิ้นงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ขั้นตอนการทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อม ขั้นตอนการตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ขั้นตอนการจัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ผูรับการฝกอานและทําความเขาใจกับใบงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน และเกณฑการวัด และประเมินผลงาน 2. ผูรับการฝกเขารับการฝกที่ศูนยฝกอบรมที่ลงทะเบียนหรือจองไว 3. ผูรับการฝกอานระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการฝกของหนวยฝก 4. ผูรับการฝกฟงคําชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ผูรับการฝกปฏิบัติงานตามใบงาน แลวสงใหครูฝกตรวจประเมินผล 6. ผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 สามารถขอทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝกกับครูฝก

6. การวัดผล ผูรับการฝกสงผลงานในการฝกภาคปฏิบัติใหครูฝกตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะจบหลักสูตร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

7. บรรณานุกรม กระทรวงแรงงาน. 2550. วิธีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองวาเปนผูผานการ ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๓. ม.ป.ท. มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ยุคล จุลอุภัย. ม.ป.ป. เทคโนโลยีการเชื่อมมิก/แมกและฟลักซคอร เลม 1. : ม.ป.ท.

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. สวมใสและใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลไดอยางถูกตอง 2. เตรียมพื้นที่การปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 3. เตรียมเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง 4. เตรียมชิ้นงานไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติงานเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 8. จัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือและอุปกรณไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 18 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหเชื่อมเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - หนากากเชื่อม - แวนตานิรภัย - ถุงมือเชื่อม - เอี๊ยมกันไฟ - รองเทานิรภัย 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ปฏิบัติงานเชื่อมในพื้นที่ที่มีการระบายอากาศดี 2. หามทํางานเชื่อม ตัด ขัดหรือลับสิ่งใด ๆ ใกลกับวัตถุ ของเหลว ไอระเหยและฝุนไวไฟหรือที่ติดไฟได 3. จัดใหมีอุปกรณดับเพลิงที่เหมาะสมไวในพื้นที่ใกลเคียง 4. ใชเฉพาะอุปกรณที่ผานการรับรองและอยูในสภาพดีเทานั้น และปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิต 5. กอนการปฏิบัติงาน ใหตรวจสอบอุปกรณเพื่อดูจุดเชื่อมตอตาง ๆ ที่หลวมและสายไฟตาง ๆ ที่ฉีกขาด รวมทั้ง ตองตรวจดูใหแนใจวาเครื่องจักรตาง ๆ ไดมีการตอสายดินอยางถูกตองเหมาะสม 6. ยกยายถังบรรจุแกสดวยวิธีการที่ปลอดภัย โดยปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนการใชงานและจัดเก็บถังบรรจุแกส อยางถูกตอง 7. ดูแลพื้นที่ทางเดินและบันไดตาง ๆ ไมใหมีสายไฟและอุปกรณตาง ๆ วางกีดขวางอยู 8. ใหบุคคลอื่นยืนอยูในระยะหางที่ปลอดภัยจากพื้นที่ปฏิบัติงานเชื่อมและงานตัด 9. เรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลสําหรับการเกิดแผลไหม การสูดดมแกสพิษ การหมดสติและการบาดเจ็บของดวงตา 10. รับทราบถึงจุดที่ตั้งของฝกบัวและอางลางตาฉุกเฉินและวิธีการใชงานอุปกรณเหลานั้น

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควง

จํานวน 1 ชุด

2. คีมจับชิ้นงานรอน

จํานวน 1 ดาม

3. คีมตัดลวดเชื่อม

จํานวน 1 ดาม

4. เครื่องเจีย

จํานวน 1 ตัว

5. เครื่องเชื่อมมิก / แม็ก และอุปกรณประกอบ

จํานวน 1 ชุด

6. ตะไบ

จํานวน 1 อัน

7. น้ํายาฉีดหัวครอบ

จํานวน 1 กระปอง

8. ประแจ

จํานวน 1 อัน

9. แปรงลวด

จํานวน 1 ดาม

10. มาตรวัดอัตราไหลและชุดควบคุมแกสปกปอง

จํานวน 1 ชุด

1.5 การเตรียมชิ้นงานเชื่อมและวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกส CO2 หรือ แกสผสม Ar + CO 2

จํานวน 1 ขวด

2. ทอเหล็กกลาคารบอน W01 (AWS D1.1 Group I) ขนาด ∅150 sch40 x 125 มิลลิเมตร

จํานวน 14 ชิ้น

3. ใบหินเจีย ขนาด ∅100 x 2 มิลลิเมตร

จํานวน 3 ใบ

4. ใบหินเจีย ขนาด ∅100 x 4 มิลลิเมตร

จํานวน 3 ใบ

5. ลวดเชื่อม ER70S-6 ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.8 มิลลิเมตร

จํานวน 1 มวน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอน รอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม H-L045 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. การเตรียมชิ้นงานตามแบบที่กําหนด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

บากขอบมุ ม ชิ้ น งานให ไ ด 30 องศา สวมชุดปฏิบัติการชาง ตลอดความยาว

และอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตราย และตรวจสอบ ค ว า ม พ ร อ ม ข อ ง เครื่องมือและอุป กรณ ทุกครั้งกอนใชงาน

2. เจียหนาฐานรอยตอ

เจียหนาฐานรอยตอใหมีขนาด 1.6 มิลลิเมตร ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จากการเจียงาน

3. ทําความสะอาดผิวหนาชิ้นงาน

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ชิ้ น ง า น ใ ห ผิ ว ห น า ปราศจากคราบหนา สแลก สนิม ความชื้น น้ํามัน และฝุน

4. การจับตําแหนงชิ้นงานตามทาเชื่อมที่กําหนด

วางทอชิ้นงานเชื่อมบนโตะใหดานที่บากขอบ อยูดานบน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. การเชื่อมยึด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ดั ด ลวดรู ป ตั ว วี ว างขวางบนขอบท อ ใหระหวางปลายลวดเปนตําแหนง 6 นาฬิกา

6. วางทออีกทอนหนึ่งบนลวดดัดรูปตัววี

วางท อ อี ก ท อ นหนึ่ ง บนลวดดั ด รู ป ตั ว วี ควรจัดขอบทอ โดยใหขอบบากอยูดานลาง

การเชื่อมยึด

7. เชื่อมยึดทอ

เชื่อมยึดทอตรงตําแหน ง 6 นาฬิกา และ 12 นาฬิกา

8. ลําดับและทิศทางการเชื่อม

ลําดับและทิศทางการเชื่อม ดังภาพ

ลําดับการเชื่อม

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ใหตรงกัน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ทิศทางการเชื่อม

การสายลวดเชื่อม

9. คาพารามิเตอรในการเชื่อม

ปรับตั้งคาพารามิเตอรในการเชื่อม

ปรั บตั้ งค าพารามิ เตอร ใหตรงตามที่กําหนด

10. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 7 - 10 มิลลิเมตร การเชื่อมแนวราก

ตรวจสอบความพร อม

ใชคีมตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น

ข อ ง หั ว เ ชื่ อ ม ก อ น

7 - 10 มิลลิเมตร

ปฏิบัติงาน

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 11. ยึดชิ้นงานใหแกนทออยูในแนวระดับ

คําอธิบาย จับยึดชิ้นงานใหแกนทออยูในแนวระดับ

ขอควรระวัง ใช คี ม จั บ ชิ้ น งานร อ น จั บ หรื อ เคลื่ อ นย า ย ชิ้ น งานที่ ร อ น ไม ใ ช ถุ ง มื อ ห นั ง ห ยิ บ จั บ เพราะอาจไหมได

12. ตั้งมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

วางหัวเชื่อมที่ตําแหนง 6 นาฬิกา ตั้งมุมนํา ควรมีฉากปองกั น แสง 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

ในการอารก เพื่อไมให รบกวนผูอื่น

13. เริ่มเชื่อมจาก 6 นาฬิกา ถึง 9 นาฬิกา

เริ่ ม เชื่ อ มจาก 6 นาฬิ ก า ถึ ง 9 นาฬิ ก า ควรใชเทคนิคการเชื่อม โ ด ย เ ชื่ อ ม ด า น ห ลั ง ข อ ง จุ ด เ ชื่ อ มยึ ด ใหเหมาะสม ประมาณ 6 มิล ลิเมตร จากนั้น เชื่อมตอ จาก 9 นาฬิกา ถึง 12 นาฬิกา

14. เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็วสม่ําเสมอ

เคลื่อนที่หัวเชื่อมดวยความเร็ว สม่ํ าเสมอ ถ า แนวรากกว า งขึ้ น ให ส า ยลวดเชื่ อ ม นอยลง เชื่อมอีกดานหนึ่งแบบเดียวกัน

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 15. รอยเชื่อมแนวรากที่ได

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

รอยเชื่ อ มแนวรากที่ ไ ด ผิ ว หน า จะนู น เล็กนอย และเกิดการหลอมลึกสมบูรณ

16. ทําความสะอาดแนวราก

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนงทาเชื่อม ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร

17. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 6 - 9 มิลลิเมตร เชื่อมแนวเติม ใหลวดเชื่อมมีระยะยื่น 6 - 9 มิลลิเมตร

18. ตั้งมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

ตั้งมุมนํา 80-90 องศากับผิวชิ้นงาน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 19. ทําความสะอาดแนวเติม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนงทาเชื่อม ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร

20. ตัดปลายลวดเชื่อมใหมีระยะยื่น 4 - 7 มิลลิเมตร เชื่อมแนวทับหนา ใหลวดเชื่อมมีระยะยื่น 4 - 7 มิลลิเมตร

21. ใชมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

22. ทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อม

ใชมุมนํา 80 - 90 องศากับผิวชิ้นงาน

ควรใชเทคนิคการเชื่อม

สายหัวเชื่อมเพื่อเชื่อมซอนแนวเติม

ใหเหมาะสม

เคาะและใชเครื่องเจียขัดในตําแหนงทาเชื่อม ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จ า ก ก า ร เ จี ย ง า น กระเด็นถูกสายไฟของ เครื่องจักร

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

23. ตรวจสอบชิ้นงาน

ขอควรระวัง

ตรวจสอบชิ้นงานหลังเชื่อมเสร็จ

ป รั บ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุปกรณใหอยูในสภาพ พร อ มใช ง านเช น เดิ ม หลั ง จากปฏิ บั ติ ง าน เสร็จ

3. ตรวจสอบชิ้นงานเชื่อม ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด 1. การตรวจสอบดวยวิธีพินิจ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

บริ เ วณเริ่ ม ต น และจุ ด สุ ด ท า ยของแนว ตองไมมีกองนูนผิดปกติ ไมมีสแลกฝง ไมมีรูพรุน ไมมี เชื่อม

รอยแตกปลาย ไมมีรอยเวาผิดปกติ

2

รอยขีดอารกบนผิวหนาชิ้นงาน

ตองไมมี

3

ผิวชิ้นงานและหนารอยเชื่อมไดขจัดส

ขจัดได 70% ขึ้นไป

แลก และสะเก็ดเชื่อม 4

ผิวหนารอยเชื่อมมีการเจีย

ยอมใหมีไดไมเกิน 1 ตร.ซม.

5

รอยเชื่อมมีรูพรุน

ตองไมมี

6

รอยเชื่อมมีรอยกัดขอบ

ยอมใหมีไดความลึกไมเกิน 0.5 มม.

7

รอยเชื่อมมีรอยขอบซอน

ตองไมมี

8

รอยเชื่อมมีสแลกจมเห็นที่ผิว

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน 2.0 มม.

9

ความนูนของรอยเชื่อมดานหนา

10

รอยเชื่อมไมเต็มรองบาก

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน h ≤ 0.15b

11

รอยเชื่อมเกิดการตอขอบเยื้อง

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน 1.2 มม.

12

รอยเชื่อมฐานรากหลอมละลายสมบูรณ ตองไมมีขอบกพรอง

ตองไมมี

ตลอดแนว 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

13

รอยเชื่อมฐานรากเกิดการยอย

14

รอยเชื่อมฐานรากเกิดการยุบเวา

ยอมใหมีไดขนาดไมเกิน h ≤ 1+0.15b

15

ชิ้นงานเกิดการบิดตัวเชิงมุม

ยอมไดไมเกิน 7 องศา

16

ความสมบูรณของรอยเชื่อมดานหนา

ตองไมมีขอบกพรอง

17

ความกวางของรอยเชื่อม

ยอมใหมีความกวางแตกตางไดไมเกิน 3 มม.

18

ความสม่ําเสมอเกล็ดรอยเชื่อม

ยอมใหมีระยะหางของเกล็ดรอยเชื่อมไดไมเกิน 3 มม.

ตองไมมี

2. การตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การดัดโคงดานหนา

ชิ้นงานหลังดัดโคงยอมใหมีรอยแตกไดไมเกิน 1 มม.

ทดสอบการดัดดานหนา

2

การดัดโคงดานแนวฐานราก

ชิ้นงานหลังดัดโคงยอมใหมีรอยแตกไดไมเกิน 1 มม.

ทดสอบการดัดดานราก

3. การปฏิบัติงานตามแบบและการปฏิบัติงานตามขอกําหนด ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

การประกอบชิ้นงานตามแบบ

ตามแบบกําหนด

2

การวางชิ้นงานตามตําแหนงทาเชื่อม

ยอมใหมีผิดพลาดไดไมเกิน 5 องศา

3

การใชชนิดกระแสไฟเชื่อม

ตามแบบกําหนด

4

การตอขั้วกระแสไฟเชื่อม

ตามแบบกําหนด

5

การเลือกใชประเภทลวดเชื่อม

ตามแบบกําหนด

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

4. ความปลอดภัยและความสามารถในการปฏิบัติงาน ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

1

การใชเครื่องเชื่อมและอุปกรณ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

การตอขั้วเชื่อมที่ปลอดภัย

ความถูกตองตามขอกําหนด

3

การใชอุปกรณจับยึดและอุปกรณ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ชวยงาน 4

การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

5

การปองกันอุบัติเหตุในการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการ

6

การเจีย การตะไบ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การเคาะสแลก การใชสกัด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การเก็บรักษาเครื่องมือ

ความถูกตองตามขอกําหนด

9

การทําความสะอาดชิ้นงาน และบริเวณ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทํางาน

10

เวลาในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

11

การใชวัสดุอยางประหยัด

ความถูกตองตามขอกําหนด

12

ขณะปฏิบัติงานทําใหคนอื่นบาดเจ็บ

ไมยินยอม

13

ทําใหเครื่องและอุปกรณชํารุด

ไมยินยอม

14

การทําใหเกิดเพลิงไหม

ไมยินยอม

4. วิเคราะหผล นําชิ้นงานมาวิเคราะหขอบกพรองที่เกิดขึ้นวาอยูในเกณฑการยอมรับหรือไม แลวหาวิธีการแกไขรวมกับครูฝก

5. การจัดเก็บรักษาเครื่องเชื่อม เครื่องมือ และอุปกรณ 1. ปดเครื่องปอนลวดโดยหมุนปุมปรับความเร็วปอนลวดไปที่ 0 2. ปดระบบจายแกสปกปอง 3. ปดวาลวที่ทอแกส 4. ปดสวิตชที่ดามหัวเชื่อมแกสปกปองที่คางในสายจะไหลออก 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

5. ปดวาลวที่โฟลวมิเตอร 6. ปดสวิตชเครื่องเชื่อม 7. ทําความสะอาดสายเชื่อมแลวมวนเก็บ 8. ทําความสะอาดสายดินแลวมวนเก็บ 9. ทําความสะอาดเครื่องเชื่อมและโตะเชื่อม 10. ทําความสะอาดเครื่องมือตาง ๆ 11. เก็บเศษโลหะแลวนําไปทิ้งในที่เฉพาะ 12. ทําความสะอาดพื้นที่บริเวณเตรียมงานและที่เชื่อม

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการตรวจสอบดวยสายตา (Visual Inspection Test) ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

1

2 3

4

บริเวณเริ่มตนและจุดสุดทายของแนวเชื่อมสมบูรณ

ถาไมมี ให 10 คะแนน

หรือไม?

มีจุดบกพรองอยางใดอยางหนึ่งหรือทั้งหมด

(Start and end of weld occurred incomplete fusion and crater crack or not?)

ให 4 คะแนน มีมากกวา1 จุดบกพรอง ให 1 คะแนน

มีรอยขีดอารกบนผิวหนาชิ้นงานหรือไม?

ถาไมพบรอยขีดอารก ให 10 คะแนน

(Are stray arc strikes absent?)

ถาพบรอยขีดอารก ให 1 คะแนน

ผิวชิ้นงานและหนาแนวเชื่อมไดขจัดสแลก และสะเก็ด ขจัดได 90% ให 10 คะแนน เชื่อมออกไดหมดหรือไม? ขจัดได 80% ถึง 89% ให 7 คะแนน (Is all surface slag and spatter removed from

ขจัดได 70% ถึง 79% ให 4 คะแนน

joint and surrounding area?)

ขจัดไดนอยกวา 70% ให 1 คะแนน

ผิวหนาแนวเชื่อมมีการเจียหรือไม?

ไมมีรอยเจีย ให 10 คะแนน

(Is the weld face of weld free from grinding?)

รอยเจียไมเกิน 1 ตร.ซม. ให 7 คะแนน

10

10 10

10

รอยเจียเกิน 1 ตร.ซม. ให 1 คะแนน 5

แนวเชื่อมมีรูพรุนหรือไม? (Is the weld metal free of surface porosity?)

ถาไมมีรูพรุน ให 10 คะแนน ถามีรูพรุน ให 1 คะแนน

10

6

แนวเชื่อมมีรอยกัดขอบหรือไม?

ไมเกิดรอยกัดแหวง ให 10 คะแนน

10

(Is the weld joint free from undercut?)

มีรอยกัดแหวง ให 1 คะแนน

แนวเชื่อมมีรอยขอบซอนหรือไม?

ไมมีรอยขอบซอน ให 10 คะแนน

(Is the weld joint completely or free of

มีหนึ่งจุด ให 4 คะแนน

overlap?)

ถามากกวา 1 จุด ให 1 คะแนน

แนวเชื่อมมีสแลกจมเห็นที่ผิวหรือไม? (Is the weld joint completely or free of surface

มีขนาดไมเกิน 0.2s ให 10 คะแนน มีขนาดเกิน 0.2s แตไมเกิน 0.3s ให 7 คะแนน

slag)

มีขนาดเกิน 0.3s แตไมเกิน 0.4s ให 4 คะแนน

7

8

10

10

มีขนาดเกิน 0.4s ให 1 คะแนน 9

แนวเชื่อมดานหนานูนเกินไปหรือไม?

h ≤ + 0.1b ให 10 คะแนน

(Is the weld joint free of excessive face

h ≤ + 0.15b ให 7 คะแนน

reinforcement?)

h ≤ + 0.25b ให 4 คะแนน มากกวา 0.25b ให 1 คะแนน

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

10

ชิ้นงาน (TEST PIECES) H-L045


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

10

แนวเชื่อมเต็มรองบากหรือไม

ถาเติมเต็มให 10 คะแนน

(Is the butt weld groove completely filled?)

ถาลึกจากผิวงาน 0.5 มม. ให 7 คะแนน

10

ถาลึกจากผิวงาน 1.0 มม. ให 4 คะแนน ถาลึกกวา 1.5 มม. ให 4 คะแนน 11

12

แนวเชื่อมเกิดการตอขอบเยื้องหรือไม?

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.1t มม. ให 7 คะแนน

(Is the weld joint free from linear (high / low)

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.15t มม. ให 6 คะแนน

misalignment?)

ถาเยื้อง (h) นอยกวา 0.25t มม. ให 4 คะแนน ถาเยื้อง (h) มากกวา 0.25t มม. ให 1 คะแนน

แนวเชื่ อ มฐานรากหลอมละลายสมบู ร ณ ต ลอดแนว ถาหลอมละลายสมบูรณ ให 10 คะแนน หรือไม? (Is the root weld completely penetration

10

10

ถาไมหลอมละลายสมบูรณให 1 คะแนน

convexity ?) 13

แนวเชื่อมฐานรากเกิดการยอยเกินไปหรือไม? (Is the joint free of excessive penetration?)

ถารากยอยไมเกิน 1มม. + 0.3b ให 10 คะแนน ถ า รากย อ ยไม เ กิ น 1มม. + 0.6b ให 7 คะแนน

10

ถารากยอยไมเกิน 1มม. + 1.2b ให 4 คะแนน ถารากยอยมากกวานี้ ให 1 คะแนน 14

แนวเชื่อมฐานรากเกิดการยุบเวามากเกินไปหรือไม?

ถารอยยุบ (h)ไมเกิน 0.5 มม. ให 10 คะแนน

10

( Is the weld penetration free of excessive root ถารอยยุบ (h)เกิน 1.0 มม. ให 7 คะแนน

15

concavity “Suck Back”?)

ถารอยยุบ (h)เกิน 1.5 มม. ให 4 คะแนน ถารอยยุบ (h) มากกวานี้ ให 1 คะแนน

ชิ้นงานเกิดการบิดตัวเชิงมุมหรือไม?

α ไมมากกวา 5° ให 10 คะแนน

(Is the weld joint free from angular distortion?)

α มากกวา 5° แตไมเกิน 7° ให 7 คะแนน

10

α มากกวา 7° แตไมเกิน 8° ให 4 คะแนน α มากกวา 8° ให 1 คะแนน 16

รอยตอแนวเชื่อมดานหนาสมบูรณหรือไม

มีขนาดนูนมากกวา 2 มม. แตไมเกิน 3 มม.

(In the weld joint on the capping layer completely or not)

ให 7 คะแนน มีขนาดนูนมากกวา 4 มม.แตไมเกิน 5 มม. ให 4 คะแนน มีขนาดนูนมากกวา 5 มม. ให 1 คะแนน

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

10

ชิ้นงาน (TEST PIECES) H-L045


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดการใหคะแนนอางอิง

คะแนน เต็ม

(MARKING ASPECT)

ตาม ISO 5817 ระดับ C

Max score

17

ความกวางแนวเชื่อมสม่ําเสมอหรือไม

ตางกันมากกวา 2 มม. แตไมเกิน 3 มม.

(Is the bead width uniform and regular)

ให 7 คะแนน

10

ตางกันเกิน 2 มม. แตไมเกิน 4 มม. ให 4 คะแนน ตางกันเกิน 4 มม. ให 1 คะแนน 18

เกล็ดแนวเชื่อมสม่ําเสมอหรือไม

ถาเกล็ดแนวเชื่อมสม่ําเสมอตลอดแนว

(Are ripples uniform and regular)

ให 10 คะแนน

10

ถามีความหางระหวางเกล็ดแนวเชื่อมเกิน 3 มม. ให 1 คะแนน คะแนนเต็ม

180

180/4.5 = 40

40

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชิ้นงาน (TEST PIECES) H-L045


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง (BENDING TEST) ลําดับที่

คะแนน เต็ม

ชิ้นงาน (TEST

b) ทดสอบการดัดดานหนา ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

Max. SCORE

PIECES)

ชิ้นงานหลังดัดโคง สมบูรณไมปรากฏรอยแตกหัก ให 22.5 คะแนน

22.5

a) ทดสอบการดัดดานราก รายการตรวจสอบ (MARKING ASPECT) 1

การดัดโคงดานหนามีรอยแตกหรือไม

รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 1.0 มม. ให 15 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 2.0 มม. ให 10 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง > 2.0 มม. ให 1 คะแนน 2

การดัดโคงดานแนวรากฐานมีรอยแตก หรือไม

ชิ้นงานหลังดัดโคง สมบูรณไมปรากฏรอยแตกหัก ให 22.5 คะแนน

22.5

รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 1.0 มม. ให 15 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง ≤ 2.0 มม. ให 10 คะแนน รอยแตกหลังดัดโคง > 2.0 มม. ให 1 คะแนน รวม

45

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

H-L045


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนการประกอบชิ้นงานตามแบบและขอกําหนด ลําดับที่ ชิ้นงานที่ 2 H-L045

รายการตรวจสอบ (MARKING ASPECT)

ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

- การประกอบชิ้นงานตามแบบ

ไมผิด ให 5 คะแนน

- การวางชิ้นงานตามตําแหนงทาเชื่อม - การใชชนิดกระแสไฟเชื่อม

ผิด 1 จุด ให 3 คะแนน ผิด 2 จุดหรือมากกวาให 1 คะแนน

คะแนน(SCORE) เต็ม 5

- การตอขั้วกระแสไฟเชื่อม - การเลือกใชประเภทลวดเชื่อม คะแนน

5

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนความปลอดภัยและความสามารถในการปฏิบัติงาน ลําดับที่

รายการตรวจผล (MARKING ASPECT)

ขอกําหนดการใหคะแนน (MARKING CRITERIA)

ชิ้นงานที่ 2

ไมผิด ให 10 คะแนน

H-L045

คะแนน(SCORE) เต็ม 10

ผิด 1 จุด ให 5 คะแนน ผิด 2 จุดหรือมากกวาให 1 คะแนน คะแนน

10

หมายเหตุ รายการการตรวจสอบ (MARKING ASPECT) 1. การใชเครื่องเชื่อมและอุปกรณ ถูกตองหรือไม 2. การตอขั้วเชื่อมที่ปลอดภัย 3. การใชอุปกรณจับยึดและอุปกรณชวย 4. การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล ถูกตองหรือไม 5. การปองกันอุบัติเหตุในการทํางาน ถูกตองหรือไม 6. การเจีย การตะไบ ถูกตองหรือไม 7. การเคาะสแลก การใชสกัด ถูกตองหรือไม 8. การเก็บรักษาเครื่องมือ 9. การทําความสะอาดชิ้นงาน และบริเวณทํางาน 10. เวลาในการปฏิบัติงาน 11. การใชวัสดุอยางประหยัด 12. ขณะปฏิบัติงานทําใหคนอื่นบาดเจ็บ 13. ทําใหเครื่องและอุปกรณชํารุด 14. การทําใหเกิดเพลิงไหม

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ได


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

ใบใหคะแนนประเมินผลรวม ชิ้นงาน

การประเมินผลชิ้นงาน

คะแนน

(ASSESSMENT CRITERIA)

(TEST PIECES) H-L045

การตรวจสอบดวยสายตา

40

(Visual Test) การตรวจสอบดวยวิธีดัดโคง

45

(Fracture Test) การประกอบชิ้นงานตามแบบและขอกําหนด

5

(Assembly According to Prints & Specification) ความปลอดภัย และความสามารถในการปฏิบัติ

10

(Safety andCompetency Interpretation) รวมคะแนน

100

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 70 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 11

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.