คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 1

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือผูรับการฝก

0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09215212 ระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 1 ระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย เปนสวนหนึ่ง ของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ซึ่งไดดําเนินการ ภายใต โ ครงการพัฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมือ แรงงานด วยระบบการฝก ตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกได ใชเปนเครือ่ งมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟา เกี่ยวกับระบบ การสง จายไฟฟากําลั งของประเทศ การจ ายกํ าลั ง ไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและขนาดมิเ ตอรชนิดตาง ๆ รวมไปถึง ติดตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาวจึ ง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มีความสําคั ญ ต อ การพั ฒนาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึก ษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึง มากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 109215212 ระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย หัวขอวิชาที่ 1 0921521201 ระบบไฟฟากําลัง หัวขอวิชาที่ 2 0921521202 ระบบการสงจายไฟฟากําลังของประเทศไทย หัวขอวิชาที่ 3 0921521203 การจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ คณะผูจัดทําโครงการ

11 41 50 59

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรบั การฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขัน้ ตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงานหรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรบั การฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรบั วุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก ระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย รหัสโมดูลการฝก 09215212 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟากําลังได 2. อธิบายเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังของประเทศไทยได 3. อธิบายเกี่ยวกับการจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ ได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับระบบการสงจาย ผูรับการฝก ไฟฟากําลังในประเทศจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบ หัวขอที่ 1 : ระบบไฟฟากําลัง 0:15 0:15 ไฟฟากําลังได 2. อธิบายเกี่ยวกับระบบ หัวขอที่ 2 : ระบบการสงจายไฟฟากําลังของ 1:00 1:00 การสงจายไฟฟากําลัง ประเทศไทย ของประเทศไทยได 3. อธิบายเกี่ยวกับการจาย หัวขอที่ 3 : การจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟา 0:15 0:15 กําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและ และขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ ขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ ได รวมทั้งสิ้น 1:30 1:30 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921521201 ระบบไฟฟากําลัง (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟากําลังได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

ระบบการผลิตกําลังไฟฟา ระบบการสงกําลังไฟฟา ระบบการจําหนายกําลังไฟฟา ระบบการใชกําลังไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. เกี่ยวกับ กฟผ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.egat.co.th/index. php?option=com_content&view=article&id=140&Itemid=178 ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. ระบบไฟฟากําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://nongcom-electrical.blogspot.com/2014/10/blogpost_22.html 2558. ระบบการสงจายกําลังไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee02.pdf

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบไฟฟากําลัง ระบบไฟฟากําลัง หมายถึง โครงขายที่รวบรวมระบบและอุปกรณตาง ๆ เขาดวยกัน เพื่อเปลี่ยนพลังงานทีไ่ มใชไฟฟา เชน น้ํา หรือลม เปนตน ใหกลายเปนพลังงานไฟฟาในรูปแบบที่ตองการ และสงผานพลังงานไฟฟาดวยระดับแรงดันสูงไปยังแหลง หรือระบบที่ใชงาน โดยระบบไฟฟากําลังประกอบดวย 4 ระบบยอย ไดแก 1. ระบบการผลิตกําลังไฟฟา ระบบผลิตกําลังไฟฟา หมายถึง ระบบการเปลี่ยนพลังงานรูปแบบอื่น ๆ ใหกลายเปนพลังงานไฟฟา ผานกระบวนการ ภายในโรงไฟฟาซึ่งมีหลายรูปแบบ เชน โรงไฟฟาพลังไอน้ํา โรงไฟฟาพลังน้ํา โรงไฟฟานิวเคลียร โรงไฟฟาพลังงานลม เปนตน กระบวนการที่เปลี่ยนพลังงานรูปแบบอื่นเปนพลังงานไฟฟา สวนใหญจะผานรูปของพลังงานกลและใชพลังงานกลเปนตัวขับ (Prime Mover) เครื่อ งกํา เนิด ไฟฟา สํา หรับ แรงดัน ไฟฟาที่ไ ดจ ากเครื่อ งกํา เนิด ไฟฟา จะถูก สง มายัง สถานีไ ฟฟายอ ย หรือ ลานใกไฟฟา (Switch Yard) เพื่ อ เปลี่ ยนแรงดันไฟฟาใหสูง ขึ้น สถานีไฟฟายอ ยดัง กลาวยัง ติดตั้ง อุป กรณควบคุม และปอ งกันความผิดปกติ ที่ อ าจเกิ ดขึ้ นระหว างระบบผลิตกําลัง ไฟฟากับ ระบบสง กําลัง ไฟฟา ระบบผลิตกําลังไฟฟา หรือที่เรียกอีกอยางวา โรงไฟฟา (Power Plant) สําหรับการเรียกวา โรงไฟฟา จะนิยมเรียกตามลักษณะ ของแหลงพลังงาน หรือเรียกตามชนิดของตัวขับ โดยโรงไฟฟาประกอบไปดวยสวนสําคัญ 3 สวน ดังนี้ 1) ระบบผลิตกระแสไฟฟา ประกอบดวยตัวตนกําลัง หรือเครื่องกังหันไฟฟา ทําหนาที่เปนตัวหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา ที่ผลิตแรงดันไฟฟาน 3 เฟส โดยสวนใหญจะไมเกิน 20 กิโลโวลต เชน เครื่องกําเนิดไฟฟาที่เขื่อนภูมิพลผลิต แรงดันไฟฟาที่ 13.8 กิโลโวลต เปนตน ทั้งนี้ เนื่องจากหากแรงดันไฟฟามากกวา 20 กิโลโวลต จะกอใหเกิดอันตราย ตอฉนวนตัวนํา และสงผลตออายุการใชงานของโรงไฟฟาได 2) สวนลานไกไฟฟา หรือ Switchyard ทําหนาที่แปลงแรงดันที่ผลิตจากเครื่องกําเนิดไฟฟาใหสูงขึ้น เพื่อสงตอไปยัง สถานีไฟฟาที่อยูหางไกล ประกอบไปดวยหมอแปลงไฟฟากําลังที่ทาํ หนาที่แปลงแรงดันขึ้น และระบบปองกัน ทางไฟฟา 3) สวนปองกันการเดินเครื่องและการควบคุมไฟฟา ไดแก การปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา หมอแปลงไฟฟากําลัง และรีเลยตรวจจับความผิดปกติทางไฟฟา

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.1 โครงสรางของระบบสงจายไฟฟา

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.2 แสดงวงจรจําลองของระบบสงจายไฟฟา สําหรับโรงไฟฟาสามารถแยกตามประเภท ลักษณะ และวิธีการผลิตได ดังนี้ 1.1 โรงไฟฟาพลังน้ํา (Hydroelectric Power Plant) โรงไฟฟาที่อ าศัยหลักการเปลี่ยนแปลงสถานะพลังงานศัก ยของน้ําเปนพลังงานไฟฟา โดยอาศัยความแตกตาง ของระดับ น้ําเหนื อเขื่ อนและท ายเขื่ อน มาใช ห มุนกัง หันน้ําและเครื่องกําเนิดไฟฟา เพื่อ ใชในการผลิตกระแสไฟฟา สําหรับ องคป ระกอบหลัก ของโรงไฟฟาจะประกอบดว ย เขื่อ นกัก เก็บ น้ํา ทอ สง น้ํา กัง หันน้ํา เครื่อ งกําเนิดไฟฟา และหม อ แปลงไฟฟ า โรงไฟฟ า พลั ง น้ํา มี ค า บํ า รุ ง รั ก ษาน อ ย จึ ง สามารถเดิ น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า ได ร วดเร็ ว และ มีอ ายุก ารใชง านนาน โดยเหมาะกับ การใชผ ลิตไฟฟาเสริม ในชวงที่ตอ งการไฟฟาสูง สุด ดัง ภาพที่ 1.3 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.3 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาพลังน้ํา 1.2 โรงไฟฟากังหันกาซ (Gas Turbine Power Plant) โรงไฟฟาที่ใชกังหันกาซเปนเครื่องตนกําลัง โดยไดพลังงานจากการเผาไหมของสวนผสมระหวางกาซธรรมชาติ หรือ น้ํา มัน ดีเ ซล กั บ อากาศความดั น สู ง จากเครื่อ งอัด อากาศในหอ งเผาไหม จนเกิดเปนไอรอ นที่มีความดันและ อุณหภูมิสูง ดันใบกังหัน เพลา กังหัน และเครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา โรงไฟฟากังหันกาซมีประสิทธิภาพ ประมาณ 25 % สามารถเดินเครื่อ งไดอ ยางรวดเร็ว เหมาะสําหรับใชเ ปนโรงไฟฟาสํารอง เพื่อผลิตพลัง งานไฟฟา ในชวงความตองการใช ไฟฟาสูงสุด และกรณีฉุกเฉิน

ภาพที่ 1.4 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟากังหันกาช

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.3 โรงไฟฟาพลังงานความรอนกังหันไอน้ํา (Steam Turbine Power Plant) โรงไฟฟาที่ใชเ ครื่อ งกัง หันไอน้ําเปนเครื่อ งตนกําลัง โดยอาศัยเชื้อ เพลิง หลายอยาง เชน น้ํามันเตา ถานหิน และกา ซธรรมชาติ เปน ตน เครื่อ งกัง หัน ไอน้ํา เปน เครื่อ งจัก รกลความรอ นที่อ าศัย หลัก การเทอรโ มไดนามิก ส (Thermo Dynamics) และหลักการวัฏจักรแรนดิน (Rankine Cycle) ซึ่งจะใชน้ําที่อยูในหมอน้ํา (Steam Boiler) เปนตัวกลาง เมื่อ ไดรับ ความร อ นจากการเผาไหม เ ชื้ อ เพลิ ง สง ผลใหก ลายเปนไอน้ําที่มีอุณหภูมิและความดันสูง สําหรับ ไอน้ํา ที่มีอุณหภูมิและความดันสูงจะเขาไปยังเครื่องกังหันไอน้ํา เพื่อผลักใบกังหันใหหมุนขับเพลาของเครื่อ งกําเนิด ไฟฟา จนผลิตไฟฟาออกมาได

ภาพที่ 1.5 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาพลังงานความรอนกังหันไอน้ํา 1.4 โรงไฟฟาพลังความรอนรวม (Cogeneration or Combined Cycle Power Plant) ประกอบดวยโรงไฟฟา 2 ระบบรวมกัน คือ โรงไฟฟากังหันกาซ และโรงไฟฟากังหันไอน้ํา โดยนําความรอนจากไอเสีย ที่ออกจากเครื่องกังหันกาซที่มีอุณหภูมิสูงถึง 550 องศาเซลเซียส นํามาตมน้ําใหเปนไอน้ําดันกังหันไอน้ําใหหมุน ซึ่งตออยูกับ แกนเดียวกันของเครื่องกําเนิดไฟฟา และเครื่อ งกัง หันไอน้ําจะขับเครื่อ งกําเนิดไฟฟา เพื่อ ผลิตไฟฟาอีก เครื่องหนึ่ง ทําใหประสิทธิภาพสูงขึ้น

ภาพที่ 1.6 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.5 โรงไฟฟานิวเคลียร (Nuclear Power Plant) โรงไฟฟ า ที่ อ าศั ย พลั ง ความร อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น จากปฏิ กิ ริ ย าฟ ช ชั น ของเชื้ อ เพลิ ง ยู เ รเนี ย ม (Uranium) ซึ่ ง ใช ใ น กระบวนการผลิตไอน้ํา เพื่อเดินเครือ่ งกําเนิดไฟฟาที่เกิดขึ้นในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร (Nuclear Reactor) เครื่องดังกลาว จะแบงออกตามชนิดของสารระบายความรอน และสารหนวงปฏิกิรยิ านิวตรอน แตที่นิยมใชโดยทั่ว ๆ ไปแบงออกเปน 5 แบบ คือ แบบน้ําเดือด (Boiling Water Reactor) แบบอัดความดันน้ํา (Pressurized Water Reactor) แบบอัดความดันน้ําหนักมวล หรื อแบบแคนดู (Pressurized Heavy - Water Reactor) แบบใช ก าซฮี เลี ยมระบายความรอน (High - Temperature Gas Cooled Reactor) และแบบแลกเปลี่ยนความรอนโลหะเหลว (Liquid - Metal Fast Broader Reactor)

ภาพที่ 1.7 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟานิวเคลียร 1.6 โรงไฟฟาถานหิน (Coal Fired Thermoelectric Power Plant) โรงไฟฟาถานหิน เปนโรงไฟฟาที่มีความสําคัญสําหรับประเทศไทย เนื่องจากเปนโรงไฟฟาที่มีตนทุนตอหนวยการผลิต ถูกที่สุด สําหรับโรงไฟฟาถานหินที่ใหญที่สดุ ในประเทศไทย คือ โรงไฟฟาแมเมาะ ซึ่งใชถานหินลิกไนตจากเหมืองแมเมาะ มาใชในการผลิตไฟฟา ในการผลิตไฟฟา ถานหินจะถูกสงจาก Transfer House เขาสูไซโล โดยระบบสายพานลําเลียงปริมาณถานหิน 800 ตัน/ชั่วโมง จะถูกลําเลียงและปอนเขาสูตัวบดถานหินใหเปนเม็ดเล็กลงใหไดขนาดประมาณ 1/4 นิ้ว หรือเล็กกวา ซึ่งงายตอการเผาไหมเพื่อตมน้ําใน boiler น้ํา จะกลายเปนไอที่ความรอนสูงประมาณ 540 องศาเซลเซียส และมีความดั น ประมาณ 2,400 ปอนดตอตารางนิ้ว (psi) โดยจะอัดตัวกันอยูภายในทอ ตอมายัง Turbine พัดลมพลังสูงจะเปาอากาศ เขาสู Boiler เพื่อใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณยิ่งขึ้น ทําใหไอน้ํามีความดันถึง 2,400 psi ขับใบพัดของ Turbine ใหหมุนถึง ประมาณ 3,600 รอบตอวินาที (rpm) ตัว Turbine ซึ่งตออยูกับ Generator (เครื่องกําเนิดไฟฟา) จะผลิตพลังงานไฟฟา ออกมา สวนไอน้ําที่ออกจาก Turbine จะมี ค วามดัน ต่ํา ลงและจะไหลผา น Condenser และเปลี่ย นสภาพเปนน้ํา 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เพื่อ จะนํากลับ มาใช ได อี ก สวนอากาศเสียจากการเผาไหมจะถูกพัดลมดูด เพื่อจะนําไปปลอยที่ปลายปลองควันของ เสียที่เกิดจากการเผาไหม (ของเสียที่เกิดจากการเผาไหม ประกอบดวย CO, SO, NO, ash, slag, gypsum) และจะถูกกําจัด โดย Electrostatic precipitators นอกจากนี้ผ งเถา ละเอีย ด (Fine ash) 99% จะถูก กํา จัด ที่จุด นี้ดว ยเชนกัน จากนั้นจะถูกรวบรวมไวที่เก็บผงเถา (Ash silo) เพื่อนําไปใชประโยชนตอไป

ภาพที่ 1.8 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาถานหิน 1.7 โรงไฟฟาพลังงานลม (Wind-Electric Turbine) จะใชหลักการเหมือนเครื่องกําเนิดไฟฟาทั่วไป แตตัวตนกําลังขับ คือ แรงลม เมื่อลมพัดผานใบกังหัน (คลายใบพัดลม ขนาดใหญ) กังหันลมจะหมุน ซึ่งการหมุนนี้จะไปขับเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ติดตั้งอยูกับเพลาความเร็วสูง และหมุนไปตาม ความเร็วลม จนผลิตกระแสไฟฟาออกมาได กัง หันลมที่ใชในการผลิตไฟฟามีสวนประกอบที่สําคัญ คือ ใบกัง หัน ระบบควบคุม ระบบสงกําลัง และหอคอย การนําพลังงานลมมาใชในการผลิตไฟฟาในประเทศไทยมี 2 ลักษณะ คือ แบบตั้งอิสระ (Stand - Alone) และแบบตอเขากับระบบสายสงโรงไฟฟาพลังงานลม โดยปกติกงั หันผลิตกระแสไฟฟา จะทํางานที่ความเร็วลมตั้งแต 3 เมตรตอวินาที ขึ้นไปจนถึง 12 เมตรตอวินาที หากความเร็วลมสูงเกินไปจะมีร ะบบ ควบคุม การเบรกไมใหเครื่องกําเนิดไฟฟาหมุน เพื่อ ใหร ะบบการทํางานมีความปลอดภัย เชน โรงไฟฟาพลัง งานลม ลําตะคอง จังหวัดนครราชสีมา เปนตน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.9 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาพลังงานลม 1.8 โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย (Solar Farm) โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเกิดจากปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย ซึ่งพลังงานที่แผออกมา จากดวงอาทิตยจะอยูในรูปแบบคลื่นแมเหล็กไฟฟา มีคาพลังแสงอาทิตย 105 เทอราวัตต การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานไฟฟามี 2 วิธี คือ 1.8.1 กระบวนการโฟโตวอสเทอีก (Photovoltaic Conversion) การเปลี่ยนพลังงานไฟฟาโดยตรงจากแสง ที่ตกกระทบผานเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) 1.8.2 กระบวนการความรอน (Solar Thermodynamics Conversion) จะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปนความรอน แลวจึงเปลี่ยนตอเปนไฟฟา โดยจะมีสวนประกอบ 2 ชุด คือ ชุดเก็บสะสมความรอน และชุดอุปกรณ เปลี่ยนพลังงานความรอนเปนพลังงานไฟฟา สําหรับการผลิตกระแสไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยแบบตอกับระบบจําหนาย (PV Grid Connected - System) จะเปนระบบผลิตไฟฟาที่ถูกออกแบบมา เพื่อผลิตไฟฟาผานอุปกรณเปลี่ยนระบบไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับ เขาสูระบบสายสงไฟฟาโดยตรงที่ใชผลิตไฟฟาในเขตเมือง หรือพื้นที่ที่มีระบบจําหนายไฟฟาเขาถึง โดยมีอุปกรณระบบที่สําคัญ ประกอบดวย แผงเซลลแสงอาทิตย อุปกรณเปลี่ยนระบบไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับชนิดตอกับระบบจําหนายไฟฟา

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.10 แสดงหลักการทํางานของโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย 2. ระบบการสงกําลังไฟฟา ระบบสงพลังงานไฟฟาจากระบบผลิตไฟฟาไปยังระบบจําหนาย โดยเปนศูนยกลางการจายโหลด (Load Center) ซึ่ง จะตอ งคํานึง ถึงระยะทางที่ใกลที่สุดและประหยัดที่สุดในการสง พลัง งานไฟฟา สามารถใชสายอากาศเดินเหนือศีรษะ (Overhead Aerial Line) หรือใชสายเคเบิลเดินใตดิน (Underground Cable) ได ในกรณีที่สงดวยสายอากาศเดินเหนือศีรษะ จะมีสายเล็ก ๆ อยูขางบนสายสงไฟฟา เรียกวา สายดินเหนือศีรษะ (Overhead Ground Wire) สายดินเสนนี้จะตอตรงอยู กับเสาโครงเหล็ก (Steel Tower) มีห นาที่ปอ งกันมิใหแรงดันฟาผารบกวนสายสง และเปนตัวนํากระแสฟาผาลงสูดิน สําหรับระบบสงกําลังไฟฟาจะประกอบไปดวย 1) สถานียอยแปลงแรงดันไฟฟาใหสูงขึ้น (Step-Up Substation) 2) สายสงกําลังไฟฟา (Transmission Tine) หรือเรียกวา สายสง 3) สถานียอยตนทาง (Primary Substation) 4) สายสงกําลังไฟฟายอย (Subtransmission Line) หรือเรียกวา สายสงยอย ระดับ แรงดันไฟฟาที่สง ผานสายสง ไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทยในปจ จุบันมีร ะดับ 69 กิโ ลวัต ต 115 กิโลวัตต 132 กิโลวัตต 230 กิโลวัตต และ 500 กิโลวัตต โดยลักษณะของวงจรในระบบสงกําลังไฟฟา มีดังนี้

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.1 แบบเรเดียล (Radial System) เปนการจั ดวงจรกระจายออกเชิ ง รัศมี กลาวคือ สายสง ไฟฟายอ ยที่ตอ เชื่อ มระหวางสถานีไฟฟายอ ยตนทาง กับสถานีไฟฟายอยจําหนายตอแบบกระจายทุกสถานี ซึ่งระหวางสถานีไมมีการตอเชื่อมถึงกัน สําหรับการตอวงจรแบบเรเดียล เปนแบบประหยัดที่สุด แตมีความเชื่อถือต่ําที่สุด เพราะวาถาเกิดเหตุขัดของหรือฟอลต (Fault) ที่บัสหรือที่บริเวณสายสงยอย สงผลใหสถานีไฟฟายอยจําหนายขาดแรงดันไฟฟาทันที

ภาพที่ 1.11 การตอวงจรสายสงไฟฟายอยแบบเรเดียล สําหรับการปรับปรุงวงจรแบบเรเดียลใหมีความเชื่อถือมากขึ้น สามารถทําโดยการเดินสายสงไฟฟายอยเพิ่มขึ้นอีก 1 วงจร ในสวนของสถานีไฟฟายอยจําหนาย การเพิ่มแหลงจายสํารองขึ้นอีก 1 วงจร จะชวยใหระบบมีความตอเนื่องมากขึ้น เพราะถาเกิดเหตุขัดของที่สายของวงจรใดวงจรหนึ่ง จะเหลืออีกวงจรหนึ่งชวยจายไฟไดทันที ในทางปฏิบัติเบรกเกอร ทั้ง 2 ตัว ไมไดจายไฟพรอมกัน แตจะผลัดกันจายไฟที่ละวงจร โดยมีระบบล็อกซึ่งกันและกัน (Interlock) ไว 2.2 แบบลูป (Loop System) เปนการสงกําลังไฟฟาจากบัสของสถานีตนทางเขาสูสถานีไฟฟาจําหนายของแตละสถานี จากนั้นจะวนกลับมาที่เดิม ถาหากเกิดฟอลตที่สาย สงไฟฟายอย (ก) ก็ยังมีไฟฟาใชจากสายสงไฟฟายอย (ข) แตถาหากเกิดฟอลตขึ้นที่บัสของสถานีตนทาง ไฟฟาจะดับทั้งหมด

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.12 การตอวงจรสายสงไฟฟายอยแบบลูป การตอ วงจรแบบลูป จะมีขอ ดี กลาวคือ ในสภาวะปกติจะมีแรงดันตกนอ ย และถาเกิดฟอลตที่สายสวนใด ๆ สายสวนนั้นจะถูกตัดออกกลายเปนวงจรเรเดียล ยกตัวอยาง ถาเกิดฟอลตที่สายเชื่อมโยง (ค) เบรกเกอร B และ C จะตัดสายชุดนั้นออก หรือถาเกิดฟอลตที่สาย (ก) เบรกเกอร 1 และ A จะเปนตัวตัดสายออก ซึ่งการเกิดฟอลตทั้ง 2 กรณี สถานีจําหนาย 1 และสถานีจําหนาย 2 ก็จะยังจายไฟไดตามปกติ แตการตอวงจรแบบลูป เมื่อเกิดฟอลตจะมีระดับฟอลต (Fault level) รุนแรงกวาการตอวงจรแบบเรเดียลเพราะมีกระแสไหล 2 ทาง 2.3 แบบแท็ป-ทาย (Tap-Tie System) เปนการตอวงจรที่ตอแยก (Tap) ออกมาจากจุดเชื่อมโยง (Tie) ของแหลงจาย 2 แหง โดยจะมีสถานีไฟฟายอย จําหนาย 2 แหง ตอเชื่อมอยูกับสถานีไฟฟายอยตนทาง 2 แหง ถึงแมวงจรการตอจะคลายกับการตอแบบลูป แตในกรณีดังกลาว แหลงจายพลังงานจะอยูแยกจากกันแตละสถานี จึงทําใหมีความเชื่อถือกวาการตอแบบลูป กลาวคือ ถาสถานีตนทาง ขัดของหนึ่งแหง ก็ยังมีแหลงจายสํารองอีกหนึ่งแหง

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.13 การตอวงจรสายสงไฟฟายอยแบบแท็ป-ทาย 2.4 แบบเน็ตเวิรก (Network System) หรือเรียกอีกอยางวา แบบตาขาย เนื่องจากเปนการตอเชื่อมโยงระหวางสายสงไฟฟายอยจากหลาย ๆ สถานีตนทาง โดยวงจรแบบดังกลาวจะมีความเชื่อถือสูงกวาแบบอื่น ๆ สําหรับการตอวงจรแบบเน็ตเวิรกจะไมมีไฟฟาดับ จึงเหมาะที่จะใช ในยานธุรกิจ ชุมชนเมืองใหญ ๆ เนื่องจากความคลองตัวและความซับซอนของวงจรมาก จึงทําใหระบบนี้ตองใชระบบปองกัน ที่ยุงยาก บางที่อาจเรียกวา การตอวงจรแบบกริต (Gird System)

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.14 การตอวงจรสายสงไฟฟายอยแบบเน็ตเวิรก 3. ระบบการจําหนายกําลังไฟฟา ระบบที่ทําหนาทีร่ ับแรงดันไฟฟาจากระบบสงกําลังไฟฟาเพือ่ จายไปยังผูบริโภค ระบบจายกําลังไฟฟาประกอบดวย 1) สถานีไฟฟายอยจําหนาย (Secondary Substation) 2) สายปอนหรือสายจําหนายแรงสูง (Primary Distribution Line or High Tension Feeder) 3) หมอแปลงจําหนาย (Distribution Transformer) 4) สายจายหรือสายจําหนายแรงต่ํา (Secondary Distribution Line or Low Tension Feeder) เมื่อสถานียอยจําหนายไดรับแรงดันไฟฟาจากสายสงยอย จะแปลงแรงดันไฟฟาใหมีพิกัดแรงดัน 12 กิโลวัตต 24 กิโลวัตต (กฟน.) และ 11 กิโลวัตต 22 กิโลวัตต และ 33 กิโลวัตต (กฟภ.) จากนั้นสงแรงดันไฟฟาผานสายปอน ใหผูใชไฟรายใหญ เชน โรงงานอุตสาหกรรม สวนราชการ ศูนยการคา หรืออาคารสิ่งปลูกสรางขนาดใหญ โดยผูใชไฟดังกลาวจะติดตั้งหมอแปลง ลดระดับแรงดันใหมีพิกัดแรงดัน 230/400 โวลต แลว นํา ไปจา ยโหลด หรือ การไฟฟา สง แรงดันไฟฟาไปยัง หมอ แปลง ของการไฟฟา เพื่อ ลดระดั บ แรงดั น และจําหนายทางดานแรงดันต่ํา แบงออกเปน ระบบจําหนาย 1 เฟส 2 สาย 230 โวลต ระบบจําหนาย 1 เฟส 3 สาย 230/460 โวลต และระบบจําหนาย 3 เฟส 4 สาย 230/400 โวลต หลังจากนั้นจึงสงพลังงานไฟฟา ผานสายจําหนายแรงต่ําไปยัง ผูใชไฟ โดยลัก ษณะของวงจรสายปอ นในระบบจําหนายกําลัง ไฟฟา มีดัง นี้ 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.1 แบบซิมเพิลเรเดียล (Simple Radial) เปนการตอวงจรแบบกระจายเชิงรัศมี ซึ่งเปนแบบที่นิยมใชกนั มาก

ภาพที่ 1.15 การตอวงจรสายปอนแบบซิมเพิลเรเดียล จากภาพที่ 1.16 การจัดวงจรไฟฟาของแตละสวนมีแผงควบคุมเปนศูนยกลางการจายโหลด รูปแบบวงจรดังกลาว จะใชสําหรับการจายไฟภายในอาคารที่มีโหลดอยูใกล ๆ กัน เชน ในโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน ถาเปนการจายไฟนอกอาคาร ที่มีโหลดหางไกลกัน เชน การจายไฟของการไฟฟาใหกับบานพัก อาศัย อาจจะตองใชอุปกรณควบคุมที่แตกตางกัน และไมมีแผงควบคุม เชน ใชดรอปเอาตฟวสคัตเอาต (Dropout Fuse Cutout) แทนเบรกเกอรสายปอนแรงสูง ใชฟวสแรงต่ํา แทนเบรกเกอรประธานแรงต่ํา และใชคัตเอาตแทนเบรกเกอรสายปอนแรงต่ําไดเชนกัน ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ใชหมอแปลงเพียงตัวเดียว 2) ใชอุปกรณควบคุมไมซบั ซอน 3) เมื่อเกิดฟอลตในระบบจะมีระดับต่ํา ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ถาเกิดฟอลตข้ึนที่บัสประธานแรงต่ําหรือที่หมอ แปลงจําหนายจะไมมีไฟใชทั้งระบบ ดังนั้นจึงเหมาะ ที่จะใชกับงานซึ่งไมตองการความเชื่อถือมากนัก เชน บานพักอาศัย สํานักงาน และอุตสาหกรรมขนาดเล็ก 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) คาโวลเตจเรกกูเลชั่น (Voltage Regulation) และประสิทธิภาพต่ํา เนื่องจากสงพลังงานจากแหลงจายเดียว ดวยสายปอนแรงต่ํา สงผลใหมีแรงดันตกและกําลังสูญเสียในสายมาก 3) มีราคาแพงขึ้นเมื่อสายปอนยาว สําหรับการตอวงจรสายปอนจะใชไดกับความตองการใชกําลังไฟฟาสูงสุด ไมเกิน 1,000 กิโลโวลตแอมป (kVA) 3.2 แบบลูปไพรมารี่เรเดียล (Loop Primary Radial) การตอวงจรสายปอนแบบลูปไพรมารี่เรเดียล เปนการสงดวยระบบแรงสูงเหมือนวงจรชิมเพิ่ลเรเดียลที่ปรับปรุงใหม แตสายปอนแรงสูงตอเปนลูปทําใหกระแสไหลผานได 2 ทาง ซึ่งกรณีแรงดันตกในสายจะลดลง และยังทําใหความตอเนื่อง ของระบบดีขึ้น ถาหากเกิดฟอลตบนสายชวงใดก็ตาม สามารถตัดสายชวงนั้นออกไดเปนชวง ๆ โดยที่การจายไฟยังเปนปกติ แตการตอวงจรแบบนี้จะมีราคาแพงกวาการตอแบบซิมเพิลเรเดียล และขณะเกิดฟอลตจะมีระดับฟอลตสูง

ภาพที่ 1.16 การตอวงจรสายปอนแบบลูปไพรมารีเรเดียล 3.3 แบบแบงคเซกันดารเรเดียล (Banked Secondary Radial) การตอวงจรสายปอนแบบแบงคเซกันดารเรเดียล จากภาพที่ 1.17 ทางดานแรงสูงตอเปนลูปเหมือนลูปไพรมารี่เรเดียล และดานแรงต่ําสามารถตอ วงจรเชื่อ มถึงกัน โดยผานโหลดเบรกสวิตชได การตอวงจรแบบดังกลาวสามารถจา ยไฟ ไดตอเนื่องมาก 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ถาระบบขัดของในสวนใดจะสามารถแกไขใหมีสภาพดีขึ้นดังเดิมไดโดยเร็ว เชน ถาเกิด ฟอลตที่ลูปแรงสูง หรือหมอแปลงสามารถโอนโหลดทางดานแรงต่ําไปชวยไดทันที 2) ลูปสายปอนแรงต่ําจะชวยแกปญหาการตอโหลดเกินพิกัดหมอแปลงได เพราะพลังงานสามารถดึงมาจาก สวนอื่นภายในลูปได ดังนั้น การสตารทมอเตอรขนาดใหญจึงไมทําใหเกิดแรงดันไฟตก 3) สามารถตอโหลดแสงสวางและโหลดกําลังรวมในวงจรเดียวกันได ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ขณะเกิดฟอลตจะมีระดับฟอลตสงู มาก เบรกเกอรจะตองมีพิกัดตัดกระแส (Interrupting Capacity) สูง 2) เปนระบบทีล่ งทุนสูง

ภาพที่ 1.17 การตอวงจรสายปอนแบบแบงคเชกันดารี่เรเดียล 3.4 แบบไพรมารี่ซีเล็กทีฟเรเดียล (Primary Selective Radial) จากภาพที่ 1.18 จะเห็นวาทางดานแรงสูงมีสายปอนใหเลือก 2 วงจร จึงทําใหความเชื่อถือของระบบดีขึ้น 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.18 การตอวงจรสายปอนแบบไพรมารี่ซีเล็กทีฟเรเดียล ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ถาเกิดเหตุขัดของบนสายปอนแรงสูงของวงจรใดวงจรหนึ่งอาจใชอีกวงจรหนึ่งแทนได จึงสามารถจายไฟ ใหกับโหลดไดตามปกติ 2) ขณะเกิดฟอลตในระบบ ระดับฟอลตจะไมสูงมากนัก เนื่องจากกระแสฟอลตไหลมาจากแหลงจายแหงเดียว ดังนั้น พิกัดตัดกระแสที่เลือกใชกับเบรกเกอรจึงไมสูงมากนัก ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ - จะมีราคาแพงกวาแบบซิมเพิลเรเดียล เพราะตองเดินสายสํารองอีกหนึง่ วงจร 3.5 แบบเซกันดารี่ซีเล็กทีฟเรเดียล (Secondary Selective Radial) โดยปกติเบรกเกอรเชื่อมโยงจะเปดวงจร ดังนั้น การจายโหลดจึงแยกกันจายวงจร ซึ่งเบรกเกอรเชื่อมโยงจะล็อก ซึ่งกันและกัน (Interlock) กับเบรกเกอรประธานแรงต่ําทั้ง 2 ตัว จึงไมสามารถจะปดเองได นอกจากเบรกเกอรประธานแรงต่าํ ตัวใดตัวหนึ่งถูกเปด 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ขณะเกิดฟอลตขึ้นที่สายปอนแรงสูงหรือหมอแปลง เบรกเกอรเชื่อมโยงจะทํางานทันที จึงสามารถจาย โหลดไดตอเนื่อง 2) เนื่องจากหมอแปลงจายโหลดไมเต็มพิกัด จึงมีแรงดันโวลเตจเรกกูเลชั่นต่ํา ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) จะตองใชหมอแปลงขนาดใหญกวาความจําเปน เพราะตองเผือกําลังในการจายโหลดไวอีก ส วนหนึ่ง เมื่ออีกวงจรหนึ่งมีเหตุขัดของ 2) ราคาติดตั้งสูง

ภาพที่ 1.19 การตอวงจรสายปอนแบบเซกันดารี่ซเี ล็กทีฟเรเดียล 3.6 แบบซิมเพิลเน็ตเวิรก (Simple Network) จากภาพที่ 1.20 จะเห็ น ได ว า มี เ บรกเกอรช นิด พิเ ศษที่ถูก ออกมาแบบมาเพื่อ ปอ งกัน พลัง งานยอ นกลับ โดยมีเ นตเวิรก รี เ ลย เ ป นตั วควบคุ ม 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.20 การตอวงจรสายปอนแบบซิมเพิลเน็ตเวิรก ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) สามารถจายพลังงานไดตอเนื่อง 2) มีความคลองตัวสูงทุกสภาวะโหลด สามารถปรับโหลดที่เพิ่มขึ้นเกินพิกัดของหมอแปลงไดทันที 3) ความสม่ําเสมอของแรงดัน ทําใหพลังงานสูญเสียในสายลดลง ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ขณะเกิดฟอลตจะมีระดับฟอลตสงู เบรกเกอรจะตองมีพกิ ัดตัดกระแสสูง 2) คาใชจายในการติดตั้งระบบสูงมาก เนื่องจากการตอวงจรแบบซิมเพิลเน็ตเวิรก มีราคาแพงและวงจรซับซอน จึ ง ปรั บ ปรุง เป น แบบซิ ม เพิ ล สปอ ตเน็ตเวิรก (Simple Spot Network) ซึ่ง ความซับ ซอ นจะลดลง แตมีความตอเนื่องสูงเหมือนเดิม ดังแสดงในภาพที่ 1.21

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.21 การตอวงจรสายปอนแบบซิมเพิลสปอตเน็ตเวิรก วงจรแบบซิมเพิลสปอตเน็ตเวิรก เปนระบบที่มีสายปอนแรงสูงและหมอแปลงเปนแหลงจายสํารอง แทนลูปแรงต่ํา ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ขณะเกิดฟอลตขึ้นที่สายปอนแรงสูงหรือหมอแปลงแหงใดแหงหนึ่งก็ยังมีการจายไฟไดตามปกติ 2) เหมาะใชกับอาคารหรือบริเวณที่มีโหลดหนาแนนมาก ๆ โดยมีราคาติดตั้งประหยัดกวาแบบซิมเพิลเน็ตเวิรก ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) ความคลองตัวในการเคลื่อนยายโหลดจะลดลง ซึ่งวงจรแบบซิมเพิลสปอตเน็ตเวิรกจะเนนความตอเนื่อง ของการบริการเปนอันดับแรก โดยถือความคลองตัวเปนอันดับรอง 2) ความสม่ําเสมอของแรงดันลดลง

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.7 แบบไพรมารี่ซีเล็กทีฟเน็ตเวิรก (Primary Selective Network) เปนวงจรที่นิยมใชกันมากในโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับการจายโหลดในสภาวะปกติจะเฉลี่ยโหลดโดยใหหมอ แปลงตอกับสายปอนแรงสูงเทา ๆ กัน 2 วงจร เพื่อใหมีแรงดันตกในสายนอย สําหรับการออกแบบขนาดสายปอนแรงสูง แตละวงจรจะตองสามารถปรับโหลดไดทั้งหมด เมื่อเกิดเหตุขัดของบนสายวงจรใดวงจรหนึ่ง ขอดีของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ 1) มีราคาถูกกวาแบบซิมเพิลเน็ตเวิรก 2) สามารถจายโหลดไดตอเนื่อง 3) มีความคลองตัวสูง ขอเสียของวงจร อาจสรุปไดดังนี้ - ขณะเกิดฟอลตจะมีระดับฟอลตสงู เบรกเกอรจะตองมีพกิ ัดตัดกระแสสูง

ภาพที่ 1.22 การตอวงจรสายปอนแบบไพรมารี่ซีเล็กทีฟเน็ตเวิรก

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. ระบบการใชกําลังไฟฟา ระดับแรงดันไฟฟาของระบบจําหนายไฟฟาแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับแรงดันไฟฟาทางดานปฐมภูมิ หรือทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) และระดับแรงดันไฟฟาทางดานทุติยภูม หรือทางดานแรงต่ํา (Low Voltage : LV) 4.1 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) 4.1.1 ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟานครหลวง มีแรงดัน 2 ระดับ คือ 12 กิโลโวลต และ 24 กิโลโวลต ชนิด 3 สาย

ภาพที่ 1.23 ระดับแรงดันไฟฟาของระบบจําหนายกําลังของการไฟฟานครหลวง 4.1.2 ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟาสวนภูมิภาค มีแรงดัน 3 ระดับ ดังนี้ 1) ระดับแรงดัน 11 กิโลโวลต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้มีใชงาน 3 จังหวัด ไดแก เชียงใหม ลําปาง และลําพูน

ภาพที่ 1.24 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 11 กิโลโวลต ของระบบจําหนายกําลังของการไฟฟาสวนภูมิภาค

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) ระดับแรงดัน 22 กิโลโวลต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้มีใชงานเกือบทั่วประเทศ

ภาพที่ 1.25 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 22 kV ของระบบจําหนายกําลังของการไฟฟาสวนภูมิภาค 3) ระดับแรงดัน 33 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้มีใชงานในภาคใต ตั้งแตจังหวัดระนองลงไป และในภาคเหนือที่จังหวัดเชียงราย ขอแตกตางระหวางแรงดัน 33 กิโลโวลต กับระบบแรงดัน 11 กิโลโวลต และ 22 กิโลโวลต คือ สายดิน จะอยูดานบนสุดของวงจร นอกจากจะทําหนาที่ เปนจุดตอลงดินแลว ยังเปนเกราะปองกันฟาผาอีกดวย

ภาพที่ 1.26 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 33 กิโลโวลต ของระบบจําหนายกําลังของการไฟฟาสวนภูมิภาค 4.2 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา (Low Voltage: LV) การไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค มีระดับแรงดันแรงดันทางดานแรงต่ํา 2 ระบบ คือ 1 เฟส และ 3 เฟส

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4.2.1 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส สามารถแบงออกเปน 1) ระบบ 1 เฟส 2 สาย 230 โวลต

ภาพที่ 1.27 ระดับแรงดันทางทานแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย 230 โวลต 2) ระบบ 1 เฟส 3 สาย 230/460 โวลต

ภาพที่ 1.28 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 3 สาย 230/460 โวลต 4.2.2 ระดับ แรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ระดับ แรงดันไฟฟา 230/400 โวลต ซึ่ง ระบบมีความคลองตัวสูงในการใชงาน โดยสามารถใชกับโหลดแสงสวาง (Lighting) และโหลดกําลัง (Power) ได เพราะระบบนี้มีแรงดัน 2 ระดับ คือ แรงดัน 1 เฟส 230 โวลต (เปนแรงดันระหวางสายไลน กับสายนิวทรัล) และแรงดัน 3 เฟส 400 โวลต (เปนแรงดันระหวางสายไลนกับสายไลน) 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.29 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 230/400 โวลต

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ในระบบผลิตกําลังไฟฟา ลานไกไฟฟา ทําหนาที่อะไร ก. แปลงแรงดันที่ผลิตจากเครื่องกําเนิดไฟฟา ข. เปนตัวตนกําลังใหเครื่องกําเนิดไฟฟาผลิตแรงดัน ค. ปองกันเครื่องกําเนิดไฟฟา เมื่อเกิดความปดปกติทางไฟฟา ง. จําหนายกําลังไฟฟาไปยังผูใชงาน 2. ขอใด ไมใชแบบเครื่องกําเนิดไฟฟาในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร ก. แบบน้ําเดือด ข. แบบใชกาซฮีเลียมระบายความรอน ค. แบบอัดความดันน้ําหนักมวล หรือแบบแคนดู ง. แบบแลกเปลี่ยนความรอนกึ่งโลหะ 3. ขอใด คือ ขอเสียของการตอวงจรสายสงไฟฟายอยแบบเรเดียล ก. หากเกิดเหตุขัดของบริเวณสายยอย จะสงผลใหสถานีไฟฟายอยจําหนายสูญเสียแรงดันไฟฟาทันที ข. หากเกิดเหตุขัดของบริเวณสายยอย จะสงผลใหสถานีไฟฟายอยจําหนายขาดแรงดันไฟฟาทันที ค. หากเกิดเหตุขัดของบริเวณสายยอย จะสงผลใหสถานีไฟฟายอยจําหนายปลดแรงดันไฟฟาทันที ง. หากเกิดเหตุขัดของบริเวณสายยอย จะสงผลใหสถานีไฟฟายอยจําหนายจายแรงดันไฟฟาเพิ่มทันที 4. เบรกเกอรชนิดพิเศษ ในวงจรสายปอนแบบซิมเพิลเน็ตเวิรก มีคุณสมบัติอยางไร ก. สามารถปองกันพลังงานยอนกลับวงจร ข. สามารถปองกันพิกัดกระแสเกินวงจร ค. สามารถปองกันพลังงานดวยการตัดสายหากเกิดฟอลต ง. สามารถปองกันแรงดันไมใหลดลง

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขอใด คือ ระบบที่แรงดันทางดานแรงสูง ที่มีใชงานในจังหวัดเชียงใหม ก. ระดับแรงดัน 33 กิโลโวลต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ข. ระดับแรงดัน 44 กิโลโวลต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ค. ระดับแรงดัน 11 กิโลวัตต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ง. ระดับแรงดัน 22 กิโลโวลต เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921521202ระบบการสงจายไฟฟากําลังของประเทศไทย (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังของประเทศไทยได

2. หัวขอสําคัญ 1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2. การไฟฟาสวนภูมิภาค 3. การไฟฟานครหลวง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝก หรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. เกี่ยวกับ กฟผ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.egat.co.th/index. php?option=com_content&view=article&id=140&Itemid=178 ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. ระบบไฟฟากําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://nongcom-electrical.blogspot.com/2014/10/blog-post_22.html 2558. ระบบการสงจายกําลังไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee02.pdf

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ระบบการสงจายไฟฟากําลังของประเทศไทย 1. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงาน ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงพลังงาน กระทรวงการคลัง ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ หลั ก ในการผลิ ต และจัด จํา หนา ยพลัง งานไฟฟา ใหแ กก ารไฟฟา นครหลวง (กฟน.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ผูใชไฟฟาตามกฎหมายกําหนด และประเทศใกลเคียง 1.1 การผลิตไฟฟา และรูปแบบของโรงไฟฟา กฟผ. ผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาของ กฟผ. ซึ่งตั้งอยูทุกภูมิภาคของประเทศ รวมจํานวนทั้งสิ้น 40 แหง มีกําลังผลิตรวมทัง้ สิน้ 15,010.13 เมกะวัตต ประกอบดวยโรงไฟฟาหลายรูปแบบ ไดแก โรงไฟฟาพลังความรอน 3 แหง โรงไฟฟาพลังความรอน รวม 6 แหง โรงไฟฟาพลังน้ํา 22 แหง โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน 8 แหง และโรงไฟฟาดีเซล 1 แหง 1.2 การรับซื้อไฟฟา นอกจากการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาแลว กฟผ. ยังรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญที่มีกําลังผลิตไฟฟา ซึ่งขายเขาระบบไมต่ํากวา 90 เมกะวัตต และผูผลิตไฟฟาเอกชนรายเล็กที่มีกาํ ลังผลิตไฟฟาซึง่ ขายเขาระบบ 10-90 เมกะวัตต รวมทั้งรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาในประเทศเพื่อนบาน ไดแก สปป.ลาว และมาเลเซีย 1.3 การสงไฟฟา กฟผ. ดําเนินการจัดสงไฟฟาที่ผลิตจากโรงไฟฟาและที่รับซื้อจากผูผลิตไฟฟารายอื่นผานระบบสงไฟฟาของ กฟผ. โดยสวนใหญจะเปนระบบสายอากาศ ซึ่งเปนระบบสายสงแรงดันสูง 4 ระดับ คือ 1) 500 กิโลโวลต 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ 2) 230 kV 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ 3) 115 kV 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ 4) 69 kV 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ ระบบสายสงแรงดันสูง 500 กิโลโวลต เปนระบบแรงสูงพิเศษ (EHV) ซึ่งเปนระบบใหมที่สามารถสงกําลังไฟฟา ไดเปนจํานวนมากขึ้น และลดการสูญเสียในสายสงจายไฟฟาทําใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เพื่อจําหนายไฟฟาใหแก กฟน. กฟภ. และผูใชไฟฟาที่รับซื้อโดยตรง นอกจากนี้ กฟผ. ยังจําหนายไฟฟาใหการไฟฟาของประเทศเพื่อนบานดวย ไดแก สปป. ลาว ดวยระบบสงไฟฟาแรงดัน 115 กิโลโวลต และ 22 กิโลโวลต และมาเลเซีย ดวยระบบไฟฟาแรงสูงกระแสตรง (HVDC) 300 กิโลโวลต 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. การไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟาสวนภูมิภาค มีหนาที่ในการใหบริการดานการจัดจําหนายพลังงานไฟฟา ใหกับผูใชไฟภายในประเทศทุกจังหวัด ยกเวน 3 จัง หวัดในความรับผิดชอบของการไฟฟานครหลวง (กฟน.) รวมถึงภายนอกประเทศ โดยรับซื้อพลังงานไฟฟา จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) และผูผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก 2.1 ระบบการจําหนายแรงดันกฟภ. จําหนายแรงดันไฟฟา 2 ระบบ ไดแก ระบบแรงดันสูง และระบบแรงดันต่ํา 2.1.1 ระบบการจําหนายแรงดันสูงกฟภ. จําหนายไฟฟาแรงดันสูง โดยแบงระบบแรงดันออกเปน 2 ระบบ คือ 1) ระบบแรงดัน 22 กิโลโวลต Conventional Solidly Grounded System เปนระบบ 3 เฟส แรงดัน 22 กิโลโวลต ใชใดเกือบทุกจังหวัดของประเทศไทย ยกเวนภาคใต ตั้งแตจังหวัดระนองลงไป

ภาพที่ 2.1 ระบบแรงดัน 22 กิโลโวลต Conventional Solidly Grounded System 2) ระบบแรงดัน 33 กิโลโวลต Multi- Grounded System With Overhead Ground Wire เปนระบบ 3 เฟส แรงดัน 33 กิโ ลโวลต ประกอบดวยสายเฟส 3 สาย และสาย Overhead Ground Wire 1 สาย สวนระบบ 1 เฟส จะประกอบดวยสายเฟส 1 สาย และสาย Overhead Ground Wire 1 สาย

ภาพที่ 2.2 ระบบแรงดัน 33 kV Multi- grounded System With Overhead Ground Wire 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.1.2 ระบบการจําหนายแรงดันต่ํา กฟภ. จําหนายไฟฟาแรงดันต่ํา โดยแบงระบบแรงดันออกเปน 2 ระบบ คือ 1) ระบบแรงดันต่ํา 1 เฟส ซึ่ง มีทั้ง แบบ 1 เฟส 2 สาย 230 โวลต และแบบ 1 เฟส 3 สาย 460/230 โวลต โดยแบบ 1 เฟส 3 สาย จะเปนรูปแบบเกาที่จายใหกับไฟถนน

ภาพที่ 2.3 ระบบการจําหนายแรงดันต่ํา 1 เฟส 2) ระบบแรงดันต่ํา 3 เฟส 4 สาย มีแรงดันมาตรฐาน คือ 400/230 โวลต

ภาพที่ 2.4 ระบบการจําหนายแรงดันต่ํา 3 เฟส 4 สาย 2.2 แหลงพลังงานไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค มีพื้นที่รับผิดชอบดานพลังงานไฟฟาเกือบทั้งประเทศ จึงตองมีแหลงผลิตพลังงานไฟฟา หลายชองทาง ดังตอไปนี้ 1) ผลิ ตเอง โดยใช เ ครื่ องยนต ดีเซลเปนตัวขับเครื่อ งกําเนิดไฟฟา มีกําลัง การผลิตตั้ง แต 22 กิโ ลวัตตถึง 1,250 กิโลวัตต แตการผลิตกําลังไฟฟาเองแบบนี้มีตนทุนการผลิตที่สูง จึงไมคุมกับการลงทุน 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) ซื้อจาก กฟผ. โดย กฟผ. จะเปนผูจัดตั้งสถานีแปลงแรงดัน และติดตั้งหมอแปลงลดระดับ แรงดันสูง จากระบบสายสงแรงดันสูงของ กฟผ. ซึ่งเปนระบบแรงดัน 230, 115 และ 69 กิโลโวลต โดยแปลงลงมา เปนแรงดันตามระบบจําหนายของ กฟภ. 3) ซื้อจาก กฟน. ชองทางนี้จะใชในเขตจําหนายแรงดันไฟฟาของ กฟภ. ที่อยูใกลเขตจําหนายแรงดันไฟฟา ของกฟน. เชน จังหวัดปทุมธานี เปนตน 4) ซื้อ จากการพลังงานแหง ชาติโดยการพลังงานแหง ชาติไดสรางเขื่อน และโรงจัก รไฟฟาพลังน้ําขนาด 1,000 กิโลวัตต เพื่อจายพลังงานไฟฟาใหกับจังหวัดแมฮองสอนและจังหวัดใกลเคียง 3. การไฟฟานครหลวง การไฟฟานครหลวง มีห นาที่ใหบ ริการดานการจัดจําหนายพลัง งานไฟฟาแกผูใชไฟฟาภายในเขตกรุง เทพมหานคร สมุทรปราการ และนนทบุรี โดยจําแนกการสงระบบกําลังไฟฟาออกเปน 3 ระบบ ดังนี้ 3.1 ระบบการสงกําลังไฟฟายอย กฟน. จะรับ กําลังไฟฟาจากการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) และผูผ ลิตไฟฟาพลัง งานหมุนเวียน ขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer) แลวทําการสงกระแสไฟฟาไปยังสถานีไฟฟายอยในระบบแรงดันสูง ไดแก 230, 115 และ 69 กิโลโวลต 3.2 ระบบการจําหนาย กฟน. มีสถานีไฟฟายอยอยูหลายแหง โดยแตละแหงจะมีหมอแปลงไฟฟากําลังจํานวน 2-4 ชุด แตละชุดจายไฟฟา ใหกับหลายสายปอน ซึ่งแตละชุดของสายปอนจะจายโหลดไดประมาณ 8 เมกะโวลตแอมป (MVA) ที่ 12 กิโลโวลต หรือ 15 เมกะโวลตแอมป ที่ 24 กิโลโวลต โดย กฟน. มีโครงการที่จะเปลี่ยนแรงดันระบบจําหนายจาก 12 กิโลโวลต เปน 24 กิโลโวลต 3.3 ระบบการใชกําลังไฟฟา กฟน. จะติดตั้งหมอแปลงในบริเวณที่จะใชไฟฟา โดยหมอแปลงจําหนายจะแปลงแรงดันไฟฟาจากระดับ แรงดัน 12 กิโลโวลต หรือ 24 กิโลโวลต ไปเปนระดับแรงดัน 416/240 โวลต 3 เฟส 4 สาย ถึงแมวาแรงดันต่ําของหมอ แปลง จะมีพิกัดแรงดัน 416/240 โวลต 3 เฟส 4 สาย

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใชระบบสายสงแรงดันสูง ของ กฟผ ก. 500 กิโลโวลต 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ ข. 230 กิโลโวลต 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ ค. 120 กิโลโวลต 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ ง. 69 กิโลโวลต 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิรตซ 2. ระบบแรงดัน 22 กิโลโวลต ของการไฟฟาสวนภูมิภาค ใชไดเกือบทุกจังหวัด ยกเวนจังหวัดใด ก. จังหวัดระนอง ข. จังหวัดเชียงใหม ค. จังหวัดเพชรบูรณ ง. จังหวัดขอนแกน 3. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับระบบการจําหนายแรงดันต่ํา 1 เฟส ของ กฟภ. ก. จายใหกบั ไฟในเกาะขนาดเล็ก ข. จายใหกบั ไฟสนามกีฬา ค. จายใหกบั ไฟในรานสะดวกซื้อขนาดใหญ ง. จายใหกบั ไฟถนน 4. แหลงผลิตพลังงานชองทางใด อยูใกลเขตจําหนายแรงดันไฟฟาในจังหวัดปทุมธานี ก. ซื้อจากโรงจักรไฟฟาพลังน้ํา ข. ซื้อจาก กฟผ. ค. ซือ้ จาก กฟน. ง. ซื้อจากการพลังงานแหงชาติ

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. สถานีไฟฟายอยของ กฟน. แตละแหงมีหมอแปลงไฟฟากําลังเทาใด ก. จํานวน 1 - 2 ชุด ข. จํานวน 2 - 4 ชุด ค. จํานวน 4 - 6 ชุด ง. จํานวน 6 - 8 ชุด

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921521203 การจายกําลังไฟฟาใหกับผูใ ชไฟฟาและขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับการจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. การจายกําลังไฟฟาใหกบั ผูใชไฟฟา 2. ขนาดมิเตอรของการไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟานครหลวง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย. เกี่ยวกับ กฟผ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.egat.co.th/index. php?option=com_content&view=article&id=140&Itemid=178 ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. ระบบไฟฟากําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://nongcom-electrical.blogspot.com/2014/10/blog-post_22.html 2558. ระบบการสงจายกําลังไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://montri.rmutl.ac.th/assets/ee02.pdf

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟาและขนาดมิเตอรชนิดตาง ๆ 1. การจายกําลังไฟฟาใหกับผูใชไฟฟา จะพิจารณาวาอาคารที่อยูอาศัยหรือสถานประกอบการแตละแหง มีการใชไฟฟาปริมาณเทาไร ถาหากมีการใชโหลด นอยกวา 300 กิโ ลโวลตแอมป ทางการไฟฟาฯ จะจายระบบแรงดันต่ําให แตหากอาคารหรือสถานประกอบการมีการใชโหลด ตั้งแต 300 กิโลโวลตแอมปขึ้นไป การไฟฟา ฯ จะจายระบบแรงดันปานกลางให และสําหรับอาคารหรือสถานประกอบการ ที่มีป ริม าณการใชไฟฟ าสู ง มาก ทางการไฟฟ าฯ จะจายระบบแรงดันไฟฟาสูง คือ 115 กิโ ลโวลต หรือ 69 กิโ ลโวลต ซึ่งอาจตองมีการสรางสถานีไฟฟายอยขึ้น

ภาพที่ 3.1 ระบบแรงดันไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ในตารางที่ 3.1 จะเปนขอมูลของระบบจําหนายแรงดันไฟฟาของทั้งการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค ตารางที่ 3.1 ระบบจําหนายแรงดันไฟฟา ระบบจําหนาย

การไฟฟานครหลวง

< 300 kVA ระบบจําหนายแรงดันต่ํา ระบบ 416/240 V 3 เฟส 4 สาย

ระบบจําหนาย แรงดันปานกลาง

ระบบจําหนายแรงดันสูง

การไฟฟาสวนภูมิภาค < 250 kVA ระบบ 400/230 V 3เฟส 4 สาย

≥ 300 - 15,000 kVA ระบบ 12/24 V 3 เฟส 3 สาย

≥ 250 – 10,000 kVA ระบบ 22/33 V 3 เฟส 3 สาย

> 15,000 kVA

> 15,000 kVA

ระบบ 69/115V 3 เฟส 3 สาย

ระบบ 115V 3 เฟส 3 สาย

2. ขนาดมิเตอรของการไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟานครหลวง ในการติดตั้งมิเตอรสําหรับอาคารหรือสถานประกอบการตาง ๆ จะตองพิจารณาจากขนาดของมิเตอรที่เหมาะสมกับโหลด โดยมิเตอรจะแบงออกเปนหลายขนาด ดังตารางที่ 3.2

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ตารางที่ 3.2 ขนาดของมิเตอรทเี่ หมาะสมกับโหลด

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

จากตารางในขางตน ผูขอใชไฟฟาควรทราบรายละเอียดดังตอไปนี้ 1) การไฟฟานครหลวงจะเปนผูกําหนดขนาด จํานวน และตําแหนง ที่จ ะติดตั้ง เครื่อ งวัด ฯ ผูขอใชไ ฟฟา สามารถขอทราบรายละเอียดไดกอนการติดตั้ง 2) สถานที่ ใ ช ไ ฟฟ า ทั่ ว ไปที่ ข อใช ไ ฟฟา แรงต่ํา จะอยูหา งจากสายไฟฟา แรงต่ํา หรือ แรงสูง ที่ตอ งปก เสา และพาดสายไฟฟาแรงต่ําไมเกิน 4 ตน และมีระยะทางตามแนวสายไฟฟาไมเกิน 140 เมตร 3) เครื่องวัดหนวยไฟฟา 1 เฟส หมายถึง เครื่องวัดหนวยไฟฟาที่ใชกับแรงดันไฟฟา 220 โวลต 2 สาย 4) เครือ่ งวัดหนวยไฟฟา 3 เฟส หมายถึง เครื่องวัดหนวยไฟฟาที่ใชกับแรงดันไฟฟา 380/220 โวลต 4 สาย 5) ในกรณีที่ผูขอใชไฟฟาแรงต่ํา วาจางการไฟฟานครหลวงเดินสายไฟฟา และติดตั้ง อุปกรณไฟฟาทั้งหมด การไฟฟานครหลวงไมคิดคาตรวจไฟฟา

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด เปนโหลดที่เหมาะสมกับการใชในอาคารหรือสถานประกอบการ ก. 300 กิโลโวลตแอมป ข. มากกวา 100 แตไมเกิน 300 กิโลโวลตแอมป ค. มากกวา 200 กิโลโวลตแอมป แตไมเกิน 300 กิโลโวลตแอมป ง. 300 กิโลโวลตแอมป ขึ้นไป 2. ชอใด เปนระบบการจําหนายแรงดันต่ําของการไฟฟานครหลวง ก. ระบบ 416/240 โวลต 3 เฟส 4 สาย ข. ระบบ 400/230 โวลต 3เฟส 4 สาย ค. ระบบ 12/24 โวลต 3 เฟส 3 สาย ง. ระบบ 22/33 โวลต 3 เฟส 3 สาย 3. หนวยงานใด เปนผูกําหนดขนาด จํานวน และตําแหนงที่จะติดตั้งเครื่องวัดฯ ใหแกผูขอใชไฟฟา ก. สถานีไฟฟา กฝผ. ข. สถานีที่ใชไฟฟาทั่วไป ค. กระทรวงพลังงาน ง. การไฟฟานครหลวง 4. การสรางสถานีไฟฟายอย จะมีในระบบจําหนายแรงดันไฟฟาแบบใด ก. ระบบแรงดันไฟฟาต่ํา ข. ระบบแรงดันไฟฟากลาง ค. ระบบแรงดันไฟฟาสูง ง. ระบบแรงดันไฟฟาทุกแบบ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. การไฟฟานครหลวงไมคิดคาตรวจไฟฟากับหนวยงานใด ก. ผูขอใชไฟฟาแรงต่ํา ข. ผูขอใชไฟฟาแรงกลาง ค. ผูขอใชไฟฟาแรงสูง ง. ผูขอใชไฟฟาแรงทุกแบบ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คณะผูจัดทําโครงการ ผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางอัจฉรา 3. นายธวัช 4. นายสุรพล

สุโกศล แกวกําชัยเจริญ เบญจาทิกลุ พลอยสุข

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ที่ปรึกษา 1. นายธีรพล 2. นายเสถียร 3. นายประเสริฐ

ขุนเมือง พจนโพธิ์ศรี สงวนเดือน

ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

5. นายวินัย

ใจกลา

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม หอสุขสิริ บุญเถื่อน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.