คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 7

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คูมือผูรับการฝก 0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 7 09215218 การแกตัวประกอบกําลัง ของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คํา นํา

คูมือ ผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 7 การแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันต่ํา ตามหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3ซึ่ ง ได ดํา เนิ น การ ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานด ว ยระบบการฝก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ การแก ตั ว ประกอบ กํา ลั ง ของระบบไฟฟ า แรงดั น ไฟฟ า ต่ํา รวมไปถึงติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือ สมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝก อบรม และต อ งการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝก ปฏิบัติจ ะดําเนินการในรูป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตอ งการ โดยยึด ความสามารถของผูรับ การฝก เปนหลัก การฝก อบรมในระบบดัง กลา วจึง เปนรูป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพจะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถ ดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผู รั บ การฝ ก สามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตนเอง (Self-Learning) ที่ บ า นหรื อ ที่ ทํา งานและเข า รั บ การฝ ก ภาคปฏิ บั ติ ตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝกหรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผล ความรู ค วามสามารถกับ หน ว ยฝก โดยมี ค รู ฝ ก หรื อ ผูส อนคอยใหคํา ปรึก ษา แนะนํา และจั ด เตรีย มการฝ ก ภาคปฏิ บัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรบั การฝกไดมากยิ่งขึน้ ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะ ยาว จึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคตซึ่งหากมี การนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาและผู ป ระกอบอาชี พ อิ ส ระ สามารถเข า ถึ ง การฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาตนเองได อ ย า งสะดวก และไดรับ ประโยชน อ ย างทั่ วถึ ง มากยิ่ ง ขึ้ น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 7 09215218 การแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา หัวขอวิชาที่ 1 0921521801 ตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา คณะผูจัดทําโครงการ

11 24

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก การแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา รหัสโมดูลการฝก 09215218 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ - อธิบายการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ําได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับ ผูรับการฝก การแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ําจากหนวยงาน หรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู :เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรบั การฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม - อธิบายการแกตัวประกอบกําลัง หัวขอที่ 1: ตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟา 2:00 2:00 ของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา แรงดันไฟฟาต่ํา ได รวมทั้งสิ้น 2:00 2:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921521801 ตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ําได

2. หัวขอสําคัญ 1. ประโยชนของการแกตัวประกอบกําลัง 2. ความหมายของวัตต (Watt) วีเอ (VA) และวาร (Var) 3. การแกไขคาตัวประกอบกําลังโดยการติดตั้งคาปาซิเตอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา

7.บรรณานุกรม ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. สญชัย อึ้งสมรรถโกษา และยุทธพงศ ฉัตรกุลกวิน. ม.ป.ป.พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : โรงเรียนแสงทองโทรทัศน. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา การปรับ ปรุง คาตัวประกอบกําลัง หรือ เพาเวอรแฟคเตอร (Power Factor Correction) มีความสําคัญ อยางยิ่ง เนื่องจากเปนตัวที่ทําใหคาใชจายตาง ๆ เพิ่มขึ้นหรือลดลงได ระบบไฟฟาที่มีคาเพาเวอรแฟคเตอรต่ําจะมีความสูญ เสีย ในระบบสูง ดัง นั้น อุ ป กรณ ที่ นํามาใช ง านจํ าเป นตอ งมีขนาดใหญขึ้น ทําใหคาใชจายในการซื้อ อุป กรณตาง ๆ เพิ่ม ขึ้น เพราะฉะนั้นการปรับปรุงคาตัวประกอบกําลังใหมีคาสูง ๆ จึงมีความจําเปนตออาคารสํานักงานและโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อใชในการทํางาน สําหรับคากําลัง ไฟฟาจริง (กิโลวัตต) ที่ใชงานคงที่ ถาคาตัวประกอบกําลังยิ่ง ต่ํา (มุม θ ยิ่งมาก) กําลังไฟฟาเสมือ น และกระแสมีคามากขึ้น ในทํานองเดียวกันถาคาตัวประกอบกําลังยิ่งสูง (มุม θ ทําใหกําลังไฟฟาเสมือนและกระแสมีคาลดลง) คาตัวประกอบกําลังเปนดัชนีแสดงการใชกําลังไฟฟาจริงเปรียบเทียบกับกําลังไฟฟาเสมือนที่อยูในรูปของ cosθ

ภาพที่ 1.1 การเกิดเพาเวอรแฟคเตอรในระบบไฟฟา 1. ประโยชนของการแกตัวประกอบกําลัง 1.1 ตัวประกอบกําลังของโหลดชนิดตาง ๆ 1.1.1 รีซสี ทีฟโหลด (Resistive Load) ตัวประกอบกําลังจะเปน Unity pf เนื่องจากโหลดชนิดนี้ มีแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาในวงจรรวมเฟสกัน กําลังไฟฟาจริงจะเทากับกําลังไฟฟาปรากฏ

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

I θ=0

V 

;S = P

S = VI P = VI cos θ = VI cos0 o = VI Q = VI sinθ = VI sin 0 o = 0 VI P pf = cosθ = = = 1 S VI

1.1.2 อินดักทีฟโหลด (Inductive Load) อิ น ดั ก ที ฟ โหลด (Inductive Load) เป น ตั ว ประกอบกํ าลัง ที่เ กิด จากโหลดที่เ ปน อิน ดั ก ตีฟ จะเปน เพาเวอรแฟกเตอรชนิด Lagging pf เพราะโหลดชนิดนี้กระแสไฟฟาจะลาหลังแรงดันไฟฟาเปนมุม θ

P

Q

S S = P - jQ

pf = cos ( -θ ) = cosθ ( Lagging pf ) 1.1.3 คาปาซิทีฟโหลด (Capacitive Load) คาปาซิทีฟโหลด (Capacitive Load) เปนเพาเวอรแฟกเตอรที่เกิดจากโหลดที่เปนคาปาทีฟ จะเปน เพาเวอรแฟกเตอรชนิด Ledding pf เพราะโหลดชนิดนี้กระแสไฟฟาจะนําหนาแรงดันไฟฟาเปนมุม θ

S P

θ

Q

S = P + jQ pf = cos ( θ ) = cosθ ( Leading pf )

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2 ประโยชนของการแกตัวประกอบกําลัง 1.2.1 ประหยัดคาไฟฟา กําลังไฟฟาจริง (P) ผูใชไฟฟาจะไมไดจากคาปาซิเตอร แตจะไดจากเครื่องกําเนิดไฟฟาของการไฟฟา ฝายผลิตเท านั้ น ส วนกํ าลั งไฟฟ าเสมือน (Q) ผูใชไฟฟาสามารถสรางขึ้นไดโ ดยติดตั้งคาปาซิเตอรเปนตัวจาย กําลังไฟฟาใหกับโหลด ถาผูใชไฟฟาไมไดติดตั้งคาปาซิเตอรไว การไฟฟาจะตองใชทรัพยากรและเครื่องกําเนิดไฟฟา ขนาดใหญขึ้น เพื่อผลิตกําลังไฟฟาใหเพียงพอตอการใชงานในระบบไฟฟาของผูใชไฟฟา หากมีคาตัวประกอบ กําลังต่ํา ๆ การไฟฟาฝายผลิตจะตองจายกําลังไฟฟาเสมือนเปนจํานวนมาก ดังนั้น การไฟฟาจึงออกกฎควบคุม คาตัวประกอบกําลัง ของโรงงานตาง ๆ โดยกําหนดวา หากโรงงานใดมีคาตัวประกอบกําลัง ต่ํากวา 0.85 จะตองเสียคาปรับตัวประกอบกําลัง ในการลดคากําลังสูญเสียในสายการเพิ่ม คาตัวประกอบกําลัง จะทําใหกําลังสูญเสียในสายลดลง และ กําลังสูญเสียในสายจะสามารถหาได ดังนี้ - ระบบไฟฟาเฟสเดียว กําลังสูญเสีย = 2I2R - ระบบไฟฟาสามเฟส กําลังสูญเสีย = 3I2R 1.2.2 ชวยลดโหลดของหมอแปลง 62

เมื่อโหลดถูกใชงานมากยิ่งขึ้น ในขณะที่หมอแปลงมีขนาดเทาเดิม สงผลใหหมอแปลงมีขนาดไมเพียงพอ ตอ ความตองการ ทําใหหมอแปลงตองจายกระแสเกินพิกัด (Overload) วิธีก ารชวยลดโหลดของหมอแปลง คือ การติดตั้งหมอแปลงเพิ่มหรือการติดตั้งคาปาซิเตอรโดยคาปาซิเตอรที่ติดตั้งเพิ่มสามารถชวยจายกระแส หรือกําลังไฟฟาเสมือนที่แตเดิมหมอแปลงจะเปนตัวจายเองทั้งหมด ทําใหหมอแปลงเหลือแรงดันและสามารถ จายแรงดันไปชวยโหลดอื่นเพิ่มเติมได

ภาพที่ 1.2 หมอแปลงไฟฟา 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

1.2.3 ระดับแรงดันไฟฟาดีขึ้น เมื่อคาตัวประกอบกําลังสูงขึ้น ทําใหเกิดแรงดันตกในสายลดลง เนื่องจากคาปาซิเตอรเปนโหลดชนิดพิเศษ ในระบบไฟฟาที่กินกําลังไฟฟาจริงเพียงเล็กนอย แตสามารถจายกําลังไฟฟาเสมือนไดจากสูตร ดังนี้ กําหนดให

ΔV = I (R cos θ +XL sin θ ) R คือ ความตานทานของสาย

XL คือ รีแอกแตนซของสาย ประมาณ 0.4 – 0.9 μH/m กําลังไฟฟาสูงสุดทีส่ ามรถสงผานไดโดยมี n เปนเปอรเซ็นต แรงดันไฟฟาตกสูงสุดที่ยอมไดเปนดังนี้ P = √3VI cos θ ( ระบบ 3 เฟส ) ΔV =

nV √3

โดยทั่วไป n จะอยูระหวาง 5 – 10 เปอรเซ็นต 1.2.4 ลดคาไฟฟาที่สูญเสียไปในรูปของความรอนในสายไฟ และหมอแปลง คาปาซิเตอรสามารถลดคาไฟฟาในรูปของความรอนในสายไฟและหมอแปลงได เนื่องจากการติดตั้ง ตูคาปาซิเตอรในประเทศไทยสวนใหญจะติดตั้งตูคาปาซิเตอร (Cap Bank) ติดกับตู MDB หรือใกลกับหมอแปลงมาก 62

ทําใหการติดตั้งคาปาซิเตอรไมลดปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลในระบบได 2. ความหมายของวัตต (Watt) วีเอ (VA) และ วาร (VAR) 2.1 กําลังไฟฟาที่แทจริงที่ทําใหเกิดกําลังงานที่เปนประโยชนที่วงจรไดรับ จึงเรียกกําลังไฟฟาชนิดนี้วา กําลังไฟฟาจริง (True Power) เปนกําลังไฟฟาที่หาคาไดจากผลคูณของแรงดันไฟฟา กับกระแสไฟฟาในเทอมที่รวมเฟสกับแรงดันไฟฟา (VIcosθ) กําลังไฟฟาจริงใชแทนดวย P มีหนวยเปนวัตต (Watt) ซึ่งเขียนความสัมพันธไดดังสมการนี้คือ

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กํา ลัง ไฟฟาจริง หรือ อาจเรียกเปนกํา ลัง ไฟฟา เฉลี่ย กํา ลัง ไฟฟา ใชง านหรือ กํา ลัง ไฟฟา แอกทีฟ ในวงจรไฟฟา เมื่อ พิจารณาถึงกําลังไฟฟาที่เกิดขึ้นบนความตานทานที่เปนอุดมคติ แรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาจะมีเฟสรวมกัน (Inphase) ซึ่งภายใตเงื่อนไขนี้เพาเวอรแฟกเตอร (cosθ) จะมีคาเทากับหนึ่ง และกําลังไฟฟามีหนวยเปนวัตต ซึ่งจะได สมการกําลังไฟฟาจริง ดังสมการ

2.2 กําลังไฟฟาที่สูญเสียไปในวงจรในรูปของรีแอกทีฟ (Reactive Power) เปนกําลัง ไฟฟ าที่ ไม ส ามารถนํ ามาใช ใหเ กิดประโยชนไ ด จึง เรียกกําลัง ไฟฟาชนิดนี้วา กําลัง ไฟฟารีแอกทีฟ กําลังไฟฟาตานกลับ หรือกําลังไฟฟาจินตภาพ ซึ่งเปนกําลังไฟฟาที่หาคาไดจากผลคูณของแรงดันไฟฟากับกระแสไฟฟา ในเทอมที่ตางเฟสกัน แรงดั นไฟฟ าเป นมุม 90o (VIsinθ) ใชแทนดวยอัก ษร Q หนวยเปนวาร (Var ; Volt Ampere Reactive) เขียนความสัมพันธได ดังสมการ

เนื่อ งจากโหลดที่เปนตัวเหนี่ยวนําและตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟากระแสไฟฟาสลับ จะเห็นไดวา ตัวเหนี่ยวนํา และตัวเก็บประจุในอุดมคติ ของโหลดชนิดนี้ทําใหแรงดันไฟฟาตางเฟสกับกระแสไฟฟาเปนมุม 90o ดังนั้น กําลังไฟฟารีแอกทีฟ ยังคํานวณหาคาไดจากกําลังไฟฟาที่เกิดขึ้นบนตัวเหนี่ยวนําหรือบนตัวเก็บประจุไดสมการที่ 1 และ 2

สมการที่ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

สมการที่ 2 2.3 กําลังไฟฟาที่แหลงจายไฟฟาจายใหแกวงจร เปนกําลังไฟฟาที่ไดจากผลคูณของแรงดันไฟฟาที่วัดไดจากโวลตมิเตอร (V) กับกระแสไฟฟาที่วัดไดจากแอมมิเตอร (I) เรียกกําลังไฟฟานี้วา กําลังไฟฟาปรากฏ (Apparent Power) หรือกําลังไฟฟาเสมือน ใชแทนดวยอักษรตัว S มีหนวยเปน โวลดแอมแปร (VA) หาความสัมพันธได ดังสมการ

สมการที่ 1 กําลังไฟฟาที่ปรากฏอาจกลาวไดวา เปนกําลังไฟฟาที่เกิดขึ้นที่อิมพีแดนซของโหลด ดังนั้น จากสมการที่ 1 ขางตน อาจหาคากําลังไฟฟาปรากฏไดจากสมการที่ 2 คือ

สมการที่ 2 3. การแกไขคาตัวประกอบกําลังโดยการติดตั้งคาปาซิเตอร การติดตั้งคาปาซิเตอรหรือซิงโครนัสมอเตอร สามารถเปนแหลงกําเนิดกําลังไฟฟาเสมือนชวยจายใหกับเครื่อ งจักรกล เครื่องเชื่อม หมอแปลง เตาเผาอารก และมอเตอรตัวประกอบกําลังไฟฟาต่ํา ทําใหคาตัวประกอบกําลังมีคาสูงขึ้น

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 1.3 ซิงโครนัสมอเตอร

ภาพที่ 1.4 คาปาซิเตอร

3.1 การติดตั้งคาปาซิเตอร การติดตั้งคาปาซิเตอรสวนใหญจะมีราคาแพง จึงจะนิยมติดตั้งตัวคาปาซิเตอรไวทางดานแรงต่ํา เนื่องจากราคา ในการลงทุน และการติด ตั้ง จะต่ํา อีก ทั้ง ยัง ควบคุม การทํา งานไดง า ย และอยูใ กลโ หลดหรือ อุป กรณที่ตอ งการ กําลัง ไฟฟาเสมือ นมากกวา ในการติดตั้ง จะตอ คาปาซิเ ตอรแบบขนานเขากับ โหลดหรือ ขนานเขากับ ระบบไฟฟา (เพื่อไมใหมีผลกระทบกับการทํางานของโหลด เพราะกระแสที่ไหลเขาโหลดเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากอิมพีแดนซรวม เปลี่ยนแปลงถาตอในแบบอนุกรม) กรณีการติดตั้งในระบบ 3 เฟส จะตอคาปาซิเตอรแบบเดลตา เรียกวา คาปาซิเตอรแบงค (Capacitor Bank )

ภาพที่ 1.4 ลักษณะการติดตั้งคาปาซิเตอรเขากับโหลดในระบบ 3 เฟส สําหรับการปรับปรุงคาตัวประกอบกําลังไฟฟา จะเปนการลดคาใชจายในสวนของกําลังไฟฟาเสมือน และลดกําลังงาน สูญเสียในระบบไฟฟา ดังนั้น จึงจําเปนตองติดตั้งคาปาซิเตอร ณ จุดตาง ๆ ในระบบตามความตองการกําลังไฟฟาเสมือน ของโหลด ซึ่งอาจแยกไดเปน 3 ลักษณะ ดังนี้

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

3.1.1 การปรับปรุงที่ตัวโหลดแตละตัว (Individual Compensation) การปรับปรุงลักษณะนี้จะงายตอการติดตั้ง ซึ่งสามารถตอคาปาซิเตอรเขาที่โหลดแตละตัวไดโดยตรง นิยมใชกันมากในการปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟาของหลอดฟลูออเรสเซนตและมอเตอรไฟฟา การปรับปรุง ในลักษณะนี้จะเปนการติดตั้งที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากคาปาซิเตอรอยูใกลกับโหลด และจะชวยลด การสูญเสียและแรงดันตกในสายวงจรยอยได แตมีขอ เสีย คือ ราคาในการลงทุนอาจจะสูง เพราะจะตองใช คาปาซิเตอรเปนจํานวนมากเทา ๆ กับโหลดและถาโหลดไมไดใชงานบอย ๆ คาปาซิเตอรก็จ ะมีคาสัม ประสิทธิ์ การใชประโยชนต่ํา

ก) การติดตั้งคาปาซิเตอรหลังรีเลยโหลดเกิน

ข) การติดตั้งคาปาซิเตอรกอนหนารีเลยโหลดเกิน

ภาพที่ 1.5 ลักษณะการติดตั้งคาปาซิเตอรเขากับโหลดมอเตอรไฟฟา 3.1.2 การปรับปรุงที่กลุมของโหลด (Group Compensation) ลัก ษณนี้จะเปนการปรับปรุงคาเพาเวอรแฟคเตอรที่ใชคาปาซิเตอรชุดเดียวเขากับโหลดหลาย ๆ ตัว ซึ่งจะทําใหเสียคาใชจายในการลงทุนติดตั้งคาปาซิเตอรนอยลง สัมประสิทธิ์การใชประโยชนของคาปาซิเตอรสูงขึ้น แตก็มีขอเสีย คือ ในกรณีที่โหลดของวงจรมีการเปลี่ยนแปลงไปจะควบคุมใหคาเพาเวอรแฟคเตอรคงที่ไดยาก นอกจากนี้ จะตองมีการติดตั้งเซอรกิตเบรกเกอรเพื่อตัดตอคาปาซิเตอรโดยเฉพาะเพิ่มเขาไปอีก

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ภาพที่ 1.6 การปรับปรุงเพาเวอรแฟคเตอรที่กลุมของโหลด 3.1.3 การปรับปรุงที่ศูนยกลางของโหลด (Central Compensation) ลัก ษณะนี้เ ปนการปรับปรุง คาเพาเวอรแฟคเตอร โดยการติดตั้ง ชุดคาปาซิเ ตอรเขากับ ระบบไฟฟา ที่บริเวณแผงกระจายโหลดหลัก (ตูสวิตชบอรด) ของสถานประกอบการ และใชเครื่องควบคุมเพาเวอรแฟคเตอร อัตโนมัติคอยตรวจสอบและสั่งใหตัดและตอคาปาซิเตอรเขากับระบบไฟฟา ซึ่งนิยมใชกันมากเนื่อ งจากสามารถ ควบคุม ให คาเพาเวอร แฟคเตอร คงที่ ไดตลอดเวลา ไมวาโหลดในระบบจะเปลี่ยนแปลงไป แตมีคาใชจ า ย ในการลงทุนติดตั้งสูงกวาลักษณะอื่น ๆ

ภาพที่ 1.7 การปรับปรุงเพาเวอรแฟคเตอรที่ศูนยกลางของโหลด

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. เพราะเหตใด จึงนิยมใชการปรับปรุงที่ศูนยกลางของโหลด ก. อานคาสัมประสิทธิ์การใชประโยชนไดสงู ข. อานคาเพาเวอรแฟคเตอรคงที่ไดตลอดเวลา ค. อานคาประจุของคาปาซิเตอรคงที่ไดตลอดเวลา ง. อานคาคาแรงดันในวงจรยอยไดสูง 2. การตอคาปาซิเตอรในระบบ 3 เฟส เรียกวาอะไร ก. คาปาซิเตอรเซรามิก ข. คาปาซิเตอรพาวเวอร ค. คาปาซิเตอรแบงค ง. คาปาซิเตอรไบโพลาร 3. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับกําลังไฟฟารีแอกทีฟ ก. กําลังไฟฟาที่ไมนํามาใชใหเกิดประโยชนได ข. กําลังไฟฟาที่นํามาใชใหเกิดประโยชนได ค. กําลังไฟฟาที่ไมนําไปใชงานไดจริง ง. กําลังไฟฟาที่นํานําไปใชงานไดจริง 4. การปรับปรุงที่ตัวโหลดแตละตัว จะนิยมใชปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟาของอุปกรณชนิดใด ก. ตูหมอแปลง ข. หลอดฟลูออเรสเซนต ค. มอเตอรควบคุม ง. เตาเผาอารก

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

คณะผูจัดทําโครงการ ผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางอัจฉรา 3. นายธวัช 4. นายสุรพล

สุโกศล แกวกําชัยเจริญ เบญจาทิกลุ พลอยสุข

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ที่ปรึกษา 1. นายธีรพล 2. นายเสถียร 3. นายประเสริฐ

ขุนเมือง พจนโพธิ์ศรี สงวนเดือน

ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

5. นายวินัย

ใจกลา

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม หอสุขสิริ บุญเถื่อน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 7

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.