คู่มือผู้รับการฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 9

Page 1



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คูมือผูรับการฝก 0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 9 09215220 ดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คํา นํา

คูมือผูรับการฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 9 อุปกรณปองกันกระแสเกิน เปนสวนหนึ่งของหลักสูตร ฝ ก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ได พั ฒ นาขึ้ น เพื่อ ใช เ ปนเอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ซึ่งไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่อ ใหค รูฝ ก ไดใ ชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัดการการฝก อบรมใหเปนไปตามหลัก สูตร กลาวคือ อธิบ ายเกี่ยวกับ คุณสมบัติและหลัก การ ทํา งานของดวงโคมไฟฟา วิธีก ารการบํา รุง รัก ษาและแกป ญ หาขอ ขัด ของของดวงโคมไฟฟา รวมไปถึง ติด ตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการไดทั้ง รูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอมตามความสะดวกของ ตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมี ครูฝก หรือ ผูส อนคอยให คําปรึ ก ษา แนะนํ าและจั ดเตรียมการฝก ภาคปฏิบัติ รวมถึง จัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาวจึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผู วางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวกและไดรบั ประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 9 09215220 ดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ หัวขอวิชาที่ 1 0921522001 ดวงโคมไฟฟา คณะผูจัดทําโครงการ

11 27

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก ขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนือ้ หา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชง านระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดัง ภาพในหนา 2 ซึ่ง รายละเอียดการใชงานของผูเขารับการฝกสามารถดูไดจากลิงค mlearning.dsd.go.th/download/files/trainee.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ผูรับการฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถฝกอบรมได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝกโดยใชสื่อสิ่งพิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ศูนยฝกอบรม

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝกตรวจและประเมินผล 2) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 3) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงใหครูฝกตรวจ และประเมินผล โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ผู รั บ การฝ กดาวน โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ซึ่ง วิธีก ารดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 2 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิ เ คชัน DSD m-Learning ใน Google Play Store จากนั้ น กดดาวนโ หลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ผูรับการฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

5. การวัดและประเมินผล 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC) 6

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรมเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวย ฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปนทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนา ฝมือแรงงานหรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรบั การฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรบั วุฒิบัตร วพร. สาขาชาง ไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 9 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก ดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ รหัสโมดูลการฝก 09215220 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติและหลักการทํางานของดวงโคมไฟฟาได 2. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาและแกไขขอขัดของของดวงโคมไฟฟาได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟา ผูรับการฝก ชนิดตาง ๆ จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 8 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู :เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรบั การฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติและ หัวขอที่ 1: ดวงโคมไฟฟา 1:00 1:00 หลักการทํางานของ ดวงโคมไฟฟาได 2. อธิบายวิธีการการบํารุงรักษา และแกปญ  หาขอขัดของของ ดวงโคมไฟฟาได รวมทั้งสิ้น 1:00 1:00 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921522001 ดวงโคมไฟฟา (ใบแนะนํา) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. คุณสมบัติและหลักการทํางานของดวงโคมไฟฟา 2. การบํารุงรักษาและแกไขขอขัดของดวงโคมไฟฟา

2. หัวขอสําคัญ 1. คุณสมบัติและหลักการทํางานของดวงโคมไฟฟา 2. การบํารุงรักษาและแกไขขอขัดของดวงโคมไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝก อุปกรณชวยฝกสามารถเลือกใชงานได 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝก เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมิน เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือผูรับการฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อใชในการทดสอบ - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการศึกษาภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. การรับการฝกอบรม 1. ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) แลวสงใหครูฝกหรือระบบประเมินผลตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผรู ับการฝกเขาฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) แลวสงให ครูฝกหรือระบบประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบกอนฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎีตามวิธีที่เลือกฝกอบรม 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ผูรบั การฝกสงแบบทดสอบหลังฝก ใหครูฝกหรือระบบประเมินผลภาคทฤษฎี โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมิน แบบทดสอบกอนฝก

7.บรรณานุกรม ธนบูรณ ศศิภานุเดช. 2530. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. วิทย อนจร. 2556. การสองสวาง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ.

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ดวงโคมไฟฟา 1. คุณสมบัติและหลักการทํางานของดวงโคมไฟฟา โคมไฟฟา หรือ นิ ยมเรี ยกกั นสั้ น ๆ ว า โคมไฟ มีห นาที่ในการบัง คับ ทิศทางของแสงใหสอ งไปในทิศทางที่ตอ งการ ทําใหป ระสิท ธิภาพในการใชง านหลอดไฟฟาสูง มากขึ้น คุณภาพของโคมไฟฟ านั้ นจะคํานึง ถึง หลาย ๆ องคป ระกอบ เชน ความปลอดภัยของโคม วัสดุที่ใช อุณหภูมิสะสมในโคม การกระจายของแสง หรือแสงบาดตา เปนตน โคมไฟจะมีหนาที่ ดังตอไปนี้ - ใชปองกันหลอดไฟฟาและอุปกรณประกอบจากแรงกระทบจากภายนอก - ใชในการจับยึดหลอดไฟฟาและอุปกรณประกอบ - ใชบังคับทิศทางของแสงใหเปนไปตามทิศทางที่ตองการ - ใชประดับเพื่อความสวยงาม สวนประกอบของโคมไฟฟามีดังตอไปนี้ - หลอดไฟ มี ห น า ที่ เ ป น แหล ง กํา เนิด แสงสวา งและอุป กรณค วบคุม การทํา งานตามชนิด ของหลอดไฟ เชน สตารทเตอร บัลลาสต และฐานหลอดไฟพรอมสาย เปนตน เพื่อเชื่อมตอกับวงจรไฟฟา - ตัวโคมไฟฟา มีหนาที่ในการกระจายแสงและปองกันหลอดไฟ จากการกระแทก ฝุน ความชื้น และฝน เปนตน หรือ ออกแบบมาเพื่อ การใชง านในรูป แบบตาง ๆ เชน โคมไฟบางชนิดไดรับ การออกแบบ เพื่อ ปอ งกัน ไฟฟาลัดวงจร หรือการเกิดประกายไฟ เพื่อความปลอดภัยในการใชงานในสถานที่ซึ่งมีสารไวไฟ สําหรับการติดตั้งโคมไฟฟาสามารถติดตั้งได 3 ลักษณะ ไดแก ยึดติดกับเพดานหอง ติดฝงเขาไปในเพดาน และติดหอยต่ํากวา เพดานนอกจากนี้ ในการเลือ กลักษณะการติดตั้งจะขึ้นอยูกับรูปทรงทิศทางการกระจายแสงของโคมไฟ ระดับ ความสูง ของเพดาน ความสวยงาม และความยากงายในการติดตั้ง 1.1 คุณภาพของโคมไฟฟา สามารถพิจารณาไดจากองคประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1.1.1 อั ต ราส ว นของแสงจากโคมไฟฟา คือ อัต ราสว นปริม าณแสงที่อ อกจากโคมไฟฟาตอ ปริม าณแสง ที่ออกจากตัวหลอดไฟ หากอัตราสวนมีคามาก จะทําใหประสิทธิภาพในการสะทอนแสงของโคมไฟฟา อยูในระดับที่ดี 1.1.2 อุณหภูมิสะสมในโคมไฟฟา โดยในการทํางานของหลอดไฟจะเกิดความรอนขึ้น หากเปดใชงานเปนเวลานาน และไมมีการระบายอากาศ จะสงผลใหหลอดไฟและโคมไฟฟารอนมากกวาปกติ ซึ่งทําใหประสิทธิภาพ

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

การสองสวางของโคมไฟฟานั้นลดลง ยกเวนหลอดอินแคนเดสเซนตที่ความรอนจะสงผลใหอายุการใชงานลดลง ซึ่งจะแตกตางจากหลอดฟลูออเรสเซนตที่ปริมาณแสงสวางจะลดลง 1.1.3 แสงบาดตาหรือแสงจา คือ แสงที่ตกกระทบดวงตาแลวทําใหตามองเห็นวัตถุไดยากกวาปกติ หรืออาจทําให มองไมเห็น จึงควรเลือกโคมไฟฟาที่มีแสงบาดตาอยูในเกณฑที่ยอมรับได โดยแสงบาดตาหรือ แสงจา สามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1) แสงทางตรง โดยมีสาเหตุมาจากโคมไฟฟามีความสวางมากเกินไป ทําใหการบังแสงไมเพียงพอ 2) แสงสะทอน โดยมีสาเหตุมาจากพื้นผิวมีความวาว และไดรับแสงมากเกินไป 1.1.4 ความปลอดภัยของโคมไฟฟา คือ โคมไฟฟาตองไมเสียรูปทรง ซึ่งสามารถกอใหเกิดอันตรายตอผูปฏิบัติงาน ในการบํารุงรักษา เชน การเปลี่ยนหลอดไฟ หรือเช็ดทําความสะอาดโคมไฟฟา เปนตน 1.1.5 วัสดุที่ใชทําโคมไฟฟา ควรมีความทนทาน ทนตอความรอนและแสงสะทอนไดดี ไมสึกกรอนหรือลอกงาย คงทนตอความรอน และสะทอนแสงไดดี 1.1.6 การกระจายแสงของโคมไฟฟา ซึ่ง แตกตางกันตามชนิดของโคม จึง ควรเลือกโคมไฟฟาใหเหมาะสม กับการใชงาน ดังนั้น ควรเลือกโคมไฟฟาใหเหมาะสมกับงานดวย 1.2 ระดับการปองกันอันตรายจากโคมไฟฟา (Class of Protection) การแบงระดับการปองกันอันตรายจากโคมไฟฟามาตรฐานยุโรป แบงออกเปน 3 อยาง คือ 1) CLASS 1 เปนโคมไฟฟาทีม่ ีการตอตัวถังของโคมไฟฟาลงดิน จึงสามารถสัมผัสไดโดยไมมีอนั ตราย 2) CLASS 2 เปนโคมไฟฟาที่หอหุมสวนที่มีไฟฟาดวยฉนวน ทําใหไมสามารถเขาถึงสวนที่มีไฟได 3) CLASS 3 เปนโคมไฟฟาที่ใชระดับแรงดันไฟฟาต่ํามาก คือ นอยกวา 50 โวลต ซึ่งไมเปนอันตราย ตอมนุษย

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.3 มาตรฐานระดับการปองกันของโคมไฟฟา ตามมาตรฐานของ IEC (International Electro Technical Commission) ระดับ การปองกันของโคมไฟฟา จะเขียนดวยสัญลักษณ IP (Ingress Protection) แลวตามดวยเลขกํากับ 2 ตัว หากการปองกันประเภทใดไมไดกําหนด อาจแสดงดวย “-” หรือ “x” หรือ เวนชอ งวางไว ซึ่ง ในตารางที่ 1.1 จะแสดงความหมายของเลขกํากับการปองกัน หลังสัญลักษณ IP ตารางที่ 1.1 ความหมายเลขกํากับการปองกันหลังสัญลักษณ IP ตัวเลขที่ 1

ตัวเลขที่ 2

ประเภทการปองกันวัตถุจากภายนอก

ประเภทการปองกันของเหลว

(ของแข็ง / ฝุน) เลข

ระดับการปองกัน

เลข

ระดับการปองกัน

0

ไมมีการปองกัน

0

ไมมีการปองกัน

1

ปองกันวัตถุที่มีขนาดใหญกวา 50 มม.

1

ปองกันน้ําหยดเฉพาะแนวดิ่ง

2

ปองกันน้ําหยดและสาด ทํามุมไมเกิน

เชน สัมผัสดวยมือ 2

ป อ งกั น วั ต ถุ ที่มีข นาดใหญ ก ว า 12.5 มม. เชน สัมผัสดวยนิ้วมือ

3

15 องศา

ปองกันวัตถุที่มีขนาดใหญกวา 2.5 มม.

3

เชน เครื่องมือ 4

ปองกันน้ําหยดและสาด ทํามุมไมเกิน 60 องศา

ปองกันวัตถุที่มีขนาดใหญกวา 1 มม.

4

เชน เครื่องมือเล็ก ๆ

ปองกันน้ําสาด (Splashing Water)

5

ปองกันฝุนละอองไดบางสวน

5

ปองกันน้ําที่พนหรือฉีดแรงดันต่ํา (Jetting Water)

6

ปองกันฝุนละอองไดทั้งหมด

6

ปองกันน้ําที่พนหรือฉีดแรงดันสูง (Powerful Jetting Water)

-

7

แชหรือจมน้ําไดชั่วคราว (Temporary Immersion)

-

8

ปองกันน้ํา ใชติดตั้งใตน้ําได (Continuous Immersion)

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

จากตารางเราสามารถเทียบคา IP ไดดังตัวอยางตอไปนี้ 1. IP00 หมายถึง ไมสามารถปองกันของแข็งหรือฝุนและน้ําได 2. IP22 หมายถึง สามารถปองกันของแข็งหรือฝุน ขนาดเสนผาศูนยกลางมากกวา 12 มิลลเมิตร และปองกัน ปริมาณน้ําที่หยดเอียง 15 องศาได 3. IP65 หมายถึง สามารถปองกันฝุนละอองไดทั้งหมด และปองกันน้ําที่พนหรือฉีดใสแบบไมแรงมาก 4. IP6X หมายถึง สามารถปองกันฝุนละอองไดทั้งหมด แตไมปองกันน้ํา หมายเหตุ ประเภทการปอ งกันวัตถุจากภายนอกในบางครั้งอาจจะไมไดห มายถึง การปอ งกันสิ่ง แปลกปลอม จากภายนอกเขามาภายในตัวอุปกรณไดเ พียงอยางเดียว แตอ าจจะหมายถึง การปองกันไมใหผูใชไปสัมผัส โดยตรง กับชิ้นสวนภายใน เชน แผงวงจรหรือสายไฟ เปนตน ตัวอยางเชน วัตถุขนาด 50 มิลลิเมตร หมายถึง ปองกันไมใหหลังมือ ของผูใชสัมผัสกับชิ้นสวนภายใน และขนาด 12 มิลลิเมตร หมายถึง ปองกันไมใหนิ้วมือของผูใชสัมผัสกับชิ้นสวนภายใน เปนตน 1.4 โคมไฟฟาที่นิยมใชกันในปจจุบัน โคมไฟฟาที่นิยมใชกันในปจจุบันนั้น จะมีหลายชนิด ขึ้นอยูกับการใชง าน โดยโคมไฟฟาที่ใชกันอยางแพรหลาย มีดังนี้ 1.3.1 โคมไฟฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Luminaire) โคมไฟฟลูออเรสเซนตมีหลายรูปแบบ ซึ่งเหมาะกับ งานที่แตกตางกัน โดยรูปแบบที่นิยมใชกันมาก ไดแก 1) โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบเปลือย (Bare Type Luminaire) โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบเปลือย ใหแสงลักษณะออกทางดานขาง เหมาะสําหรับติดตั้งเพดานที่สูงไมเกิน 4 เมตร เชน หองเก็บของ ที่จอดรถ พื้นที่ใชงานไมบอยและไมตองการความสวยงาม เปนตน

ภาพที่ 1.1 โคมไฟฟลูออเรสเซนตแบบเปลือย

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2) โคมไฟฟลู อ อเรสเซนต ก รองแสง (Diffuser Luminaire) โคมไฟฟลู อ อเรสเซนตก รองแสง โดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ แบบเกร็ดแกว แบบขาวขุน และแบบผิวสม โคมประเภทนี้มีทั้งแบบ ติดตั้งฝงฝา ติดลอย เหมาะกับการใชงานที่ไมตองการแสงสวางมาก เชน ในพื้นที่โรงพยาบาล ที่ไมใหแสงรบกวนคนไข และมีประสิทธิภาพต่ําไมเหมาะกับการประหยัดพลังงาน

ภาพที่ 1.2 โคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง 3) โคมไฟฟลูอ อเรสเซนตต ะแกรง (Louver Luminaire) โคมไฟฟลูอ อเรสเซนตต ะแกรง ซึ่งตะแกรงโดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ แบบขวาง แบบชองถี่ และแบบพาราโบลิก โดยโคมไฟชนิดนี้ มี ทั้ ง แบบติ ด ลอยและแบบฝง ฝา มีสว นประกอบเปน ตัว ขวางซึ่ง ชว ยลดแสงบาดตา และ แผนสะทอนแสงดานขาง ที่ชวยในการควบคุมการสะทอนแสงไปในทิศทางที่ตองการ โดยทั่วไป แผนสะทอนแสงและตัวขวางจะทําจากอะลูมิเนียม มีทั้งแบบกระจายและแบบเงา

ภาพที่ 1.3 โคมไฟฟลูออเรสเซนตตะแกรง 4) โคมไฟฟลูออเรสแบบโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Type Luminaire) โคมไฟฟลูออเรสเซนต แบบโรงงานอุตสาหกรรม เปนโคมที่มีแผนสะทอนแสงเพื่อควบคุมแสงใหไปในทิศทางที่ตองการ แผสะทอนแสงอาจทําจากแผนอลูมิเนียม แผนเหล็กพนสีขาว หรือวัสดุอื่นที่มีการสะทอนแสงสูง

ภาพที่ 1.4 โคมไฟฟลูออเรสเซนตโรงงานอุตสาหกรรม 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.3.2 โคมไฟดาวนไลท (Downlight Luminaire) โคมไฟดาวนไลท หรือโคมไฟสองลง ใชไดกับหลอดไฟหลายชนิด เชน หลอดเผาไสธรรมดา หลอดเผาไส แบบสะทอนแสง และหลอดฮาโลเจน เปนตน โดยติดตั้งบนพื้นผิวเพดานหรือติดตั้งแบบฝงฝาเพดาน แสงสวางจะ สองใตดวงโคมและมีการกระจายแสงดานขางเล็กนอย

ภาพที่ 1.5 โคมไฟดาวนไลท 1.3.3 โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง โคมไฟโรงงานหลอดปลอ ยประจุความดันไอสูง สามารถใชไดกับ หลอดปลอ ยประจุความดันไอสูง เชน หลอดเมทัลฮาไลด และหลอดโซเดียมความดันไอสูง เปนตน โคมไฟประเภทนี้สวนใหญจะมีตัวสะทอนแสง เปนแบบอะลูมิเนียมหรือตัวหักเหแสงพลาสติก ซึ่งขึ้นอยูกับการใชงานในแตละอุตสาหกรรม และระดับความสูง ของการกระจายแสงที่ตองการ ซึ่งการกระจายแสงของโคมไฟชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ โคมแบบลําแสงกวาง เหมาะสําหรับการติดตั้งที่ความสูงระดับ 4 - 7 เมตร และโคมแบบลําแสงแคบ เหมาะสําหรับการติดตั้งที่ความสูง ประมาณ 6 เมตร

ภาพที่ 1.6 โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.3.4 โคมไฟสาดสอง (Floodlight Luminaire) โคมไฟสาดสอ ง หรือ โคมไฟฟลัดไลท ใชกับ หลอดกาซดิสชารจ ความดันสูง ตัวโคมสามารถกันน้ําได การกระจายแสงมีทั้งแบบกวาง แบบแคบ และแบบปรับทิศทางไดตามการใชงาน สวนใหญใชสําหรับใหแสงสวาง ภายนอกอาคาร เชน สนามกีฬาทั้งสนามกลางแจงและในรม

ภาพที่ 1.7 โคมไฟสาดสอง 1.3.5 โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน (Emergency Light) โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน เปนโคมที่มีอุปกรณสําหรับการใหแสงสวางฉุกเฉินในกรณีที่แสงปกติลมเหลว หรือเมื่อเครื่องปองกันกระแสเกินเปดวงจร ใหแสงสวางที่เพียงพอตอการหนีภัยอยางปลอดภัย ทั้งนี้ วงจรไฟฟา สําหรับ โคมชนิดนี้จ ะตอ งแยกเปนอิส ระจากอุป กรณไฟฟาอื่น ๆ สําหรับ แบตเตอรี่ที่ใชจ ะเปนชนิดปดผนึก และไมตองการมีการบํารุงรักษา สามารถจายไฟฟาสํารองฉุกเฉินสําหรับทางเดิน หองโถง บันได ไดตอเนื่องไม นอยกวา 120 นาที

ภาพที่ 1.8 โคมไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

1.3.6 โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน (Emergency Exit Sign) โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน เปนโคมไฟฟาชุดสําเร็จที่ใหความสวางกับปายทางออกฉุกเฉินหรือทางหนีไฟ ไปยังภายนอกอาคาร เพื่อใหเห็นไดอยางชัดเจนทั้งในสภาวะปกติและสภาวะฉุกเฉิน มีแหลงจายไฟสํารองในตัว ซึ่งตองจายไฟสําหรับปายทางออกฉุกเฉินไดตอเนื่องไมนอยกวา 120 นาที

ภาพที่ 1.9 โคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน 2. การบํารุงรักษาและแกไขขอขัดของดวงโคมไฟฟา 2.1 การบํารุงรักษาอุปกรณไฟฟาแสงสวาง การแกไขขอขัดของของดวงโคมไฟฟา มีดังนี้ 2.1.1 สํารวจระดับความสวางและการใชงานอยูเ สมอ 2.1.2 ทําความสะอาดโคมไฟ ฝาครอบกระจายแสง เพดานผนัง กระจกหนาตางอยางเปนประจํา 2.1.3 ควรเปลี่ยนหลอดแสงสวางเปนกลุมแทนที่จะเปลี่ยนทุกครั้งเมื่อ หลอดเสีย จะเปนการชวยประหยัด คาใชจายจากคาแรงและคาหลอดแสงสวางที่ลดลงจากการซื้อครั้งละจํานวนมาก อีกทั้งยังใหความสวางคงที่ (ระยะเวลาที่ควรเปลี่ยนหลอดใหไดผลคุมคา คือ รอยละ 60 - 80 ของอายุการใชงานหลอด) 2.2 การแกไขขอขัดของของดวงโคมไฟฟา 2.2.1 อาการหลอดสั่น หรือกระพริบตลอดเวลา 1) Starter เสีย สามารถทดสอบไดโดยถอด Starter ออกขณะที่หลอดไฟติดอยู ถาหลอดไฟหยุดกระพริบ แสดงวา Starter เสีย ใหเปลี่ยนใหม 2) หากเปนหลอดไฟที่พึ่งใชไดไมนาน อาจเกิดจากกาซที่อยูในหลอดยังไมคงที่ ใหลองเปดทิ้งไว 15 - 30 นาที 3) แรงดันไฟฟาต่ําเกินไป เมื่อ เกิดไฟตกหรือ อาจมีก ารจายกระแสไฟไมถึง 200V จะสง ผลให หลอดกระพริบได สามารถแกไขดวยการติดหมอแปลงไฟ หรือ Line Stabilizer ที่คอยรักษา แรงดันไฟใหคงที่ นอกจากนี้ยังชวยยืดอายุของอุปกรณไฟฟาไดอีกดวย 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.2.2 ใชเวลานานกวาหลอดจะสวาง 1) Starter เสื่อมหรือเสีย ใหลองนํา Starter จากหลอดไฟอื่นมาใสแทน 2) หลอดเสื่อม ใหสังเกตที่ไสหลอด (ตรงปลายทั้ง 2 ขาง) ถามีสีดํามาก ๆ ควรเปลี่ยนใหม 3) แรงดันไฟต่ํา สามารถทดสอบโดยใช Meter วัดไฟ เพื่อดูคากระแสคงที่ 200 - 220 โวลต หรือไม 2.2.3 มีเสียงดังเวลาเปด - สาเหตุสวนใหญมาจากตัว Ballast เพราะเปนเสียงจากแกนแมเหล็กในตัว Ballast เกิดจากการสั่น 2.2.4 ขั้วหลอดไฟดําเร็วกวาปกติ เกิดจาก - ตัว Ballast จ ายกระแสไฟมีปญ หา อาจลองเปลี่ยน Ballast ใหม หรือ จะเปลี่ยนมาใชเปน Ballast Electronic ที่มีราคาแพงกวาไมมากแตคุณภาพดี 2.2.5 หลอดไฟไมติดหรือไมมีไฟเขาหลอด เกิดจาก 1) ขาหลอดหรือขั้วสตารทเตอรหลอม 2) Starter เสื่อม 3) หลอดเสือ่ มคุณภาพ 4) Ballast เสื่อม 5) ตรวจสอบจุดตอของวงจร 6) ขันยึดสกรูใหแนน 7) เปลี่ยนอุปกรณ 2.2.6 หลอดไฟใหแสงสวางไมสม่ําเสมอ หรือแรงดันไฟฟาตก 1) หลอดเสื่อมคุณภาพ 2) Ballast เสื่อมคุณภาพ 3) ไมใชกระแสไฟฟาพรอมกันหลาย ๆ จุด 4) เปลี่ยนอุปกรณ 2.2.7 มีเสียงขณะเปดหลอดไฟ หรือติดตั้ง Ballast ไมแนน 1) อุปกรณในตัว Ballast หลวม 2) ขายึดหลอดหลวม 3) Ballast เสื่อมคุณภาพ 4) ขันยึดสกรูตามจุดตาง ๆ 5) เปลี่ยนอุปกรณ 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

2.2.8 หลอดไฟติด ๆ ดับ ๆ หรือขาหลอดหลวม 1) Starter เสีย 2) Ballast เสียหรือใชขนาดไมเหมาะสม 3) หลอดเสือ่ มคุณภาพ 4) แรงดันไฟตก 5) ขันสกรูยึดขาหลอดใหแนน 6) เปลีย่ นอุปกรณใหม 7) ไมใชกระแสไฟฟาพรอมกันหลายจุด 2.2.9 หลอดไฟขาดทันที เมื่อเปดสวิตช หรือตอวงจรผิด 1) ใช Ballast ผิดขนาดของหลอด 2) แรงดันไฟฟาสูงกวาขนาดของหลอด 3) ตรวจสอบการตอวงจร 4) เปลี่ยน Ballast ใหเหมาะสมกับชนิดของหลอดไฟฟา 5) เปลีย่ นหลอดใหถูกตองกับแรงดันไฟฟา 2.2.10 หลอดไฟติดชา หรือหลอดเสื่อม 1) Ballast หรือ Starter เสื่อม 2) ขันยึดสกรูที่ขาหลอดใหแนน 3) กระแสไฟฟาตก 4) ขาหลอดหลวม 5) เปลี่ยนอุปกรณ 6) ไมใชกระแสไฟพรอมกันหลาย ๆ จุด 2.2.11 หลอดไฟเสีย หรือหลอดเสื่อมเร็ว - ปดเปด บอยเกินไป 1) Starter เสื่อม 2) ใชไฟฟาเมื่อจําเปน 3) ใช Ballast ขนาดไมเหมาะสม 4) เปลี่ยนอุปกรณ 5) Ballast เสื่อมคุณภาพ 6) ทําความสะอาดหรือเปลี่ยนสวิตช 7) หนาสัมผัสสวิตชสกปรก 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. อุณหภูมิสะสมในโคมไฟฟา สงผลอยางไรตอหลอดอินแคนเดสเซนต ก. สงผลใหอายุการใชงานลดลง ข. สงผลใหปริมาณแสงสวางลดลง ค. สงผลให ballast เสีย ง. สงผลใหสีของแสงไฟเปลี่ยนไป 2. แสงบาดตาทางตรง เกิดจากสาเหตุอะไร ก. โคมไฟฟาเสียรูปทรง ข. พื้นผิวมีความดานและหยาบ ค. โคมไฟฟามีความสวางมากเกินไป ง. พื้นผิวมีความวาวมากเกินไป 3. ขอใด เทียบคา IP6X ของระดับการปองกันไดถูกตอง ก. ไมสามารถปองกันของแข็งหรือฝุนและน้ําได ข. สามารถปองกันฝุนละอองไดทั้งหมด และปองกันน้ําที่พนหรือฉีดใสแบบไมแรงมาก ค. สามารถปองกันฝุนละอองไดบางสวน และปองกันน้ําหยดเฉพาะแนวดิ่ง ง. สามารถปองกันฝุนละอองไดทั้งหมด แตไมปองกันน้ํา 4. ขอใด ไมใชรูปแบบของโคมไฟฟลูออเรสเซนตกรองแสง ก. แบบเกร็ดแกว ข. แบบชองถี่ ค. แบบขาวขุน ง. แบบผิวสม

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

5. โคมไฟโรงงานหลอดปลอยประจุความดันไอสูงแบบลําแสงกวาง เหมาะกับการติดตั้งที่ความสูงระดับใด ก. ระดับ 4 - 7 เมตร ข. ระดับ 8 - 10 เมตร ค. ระดับ 11 - 14 เมตร ง. ระดับ 15 - 18 เมตร 6. ขอใด คือเวลาการจายไฟไดตอเนื่องของโคมไฟฟาปายทางออกฉุกเฉิน ก. ไมนอยกวา 90 นาที ข. ไมนอ ยกวา 100 นาที ค. ไมนอยกวา 110 นาที ง. ไมนอ ยกวา 120 นาที 7. อาการหลอดสั่นที่มสี าเหตุเกิดจากหากแรงดันไฟฟาต่ําเกินไป มีวิธีการแกไขอยางไร ก. เปลี่ยนหลอดใหม ข. เปลี่ยน ballast ใหม ค. การติดหมอแปลงไฟ ง. ปดแลวเปดคางไว 15 - 30 นาที 8. ขอใด เปนสาเหตุใหหลอดไฟขาดทันทีเมื่อเปดสวิตช ก. อุปกรณในตัว ballast หลวม ข. แรงดันไฟฟาสูงกวาขนาดของหลอดไฟ ค. แรงดันไฟตก ง. กระแสไฟไมสม่ําเสมอ

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

9. ขอใด คือ ระยะเวลาที่ควรเปลี่ยนหลอดไฟ ก. รอยละ 60 - 80 ของอายุการใชงานหลอด ข. รอยละ 50 ของอายุการใชงานหลอด ค. รอยละ 30 - 40 ของอายุการใชงานหลอด ง. รอยละ 90 ของอายุการใชงานหลอด 10. ขอใด ไมใชวิธีการบํารุงรักษาดวงโคมไฟฟา ก. ทําความสะอาดเปนประจําอยูเสมอ ข. สํารวจระดับความสวาง ค. ทดสอบการใหแสงสวาง ง. ไมใชกระแสไฟพรอมกันหลายจุด

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

กระดาษคําตอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

คณะผูจัดทําโครงการ ผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางอัจฉรา 3. นายธวัช 4. นายสุรพล

สุโกศล แกวกําชัยเจริญ เบญจาทิกลุ พลอยสุข

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ที่ปรึกษา 1. นายธีรพล 2. นายเสถียร 3. นายประเสริฐ

ขุนเมือง พจนโพธิ์ศรี สงวนเดือน

ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน ผูบริหารกรมพัฒนาฝมอื แรงงาน

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

5. นายวินัย

ใจกลา

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ 10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม หอสุขสิริ บุญเถื่อน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ผู รั บ การฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดับ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 9

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.