คู่มือประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา

Page 1

คู่มอื การประเมินผลการเรียน หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรียนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓

ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โรงเรียนดุสิตวิทยา สํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาราชบุรี เขต ๒


คํานํา กระทรวงศึกษาธิการได้มีคาํ สั่งให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรี ยนต้นแบบและโรงเรี ยนที่มีความพร้อมการใช้หลักสู ตรในปี การศึกษา ๒๕๕๓ และใช้ใน โรงเรี ยนทัว่ ไปในปี การศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒ จึง ได้ดาํ เนินการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และจัดทําเอกสารประกอบหลักสู ตรขึ้น เพื่อใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการจัดการ เรี ยนการสอนของโรงเรี ยน เพื่อให้กระบวนการนําหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบตั ิอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้ง ร่ วมกันรับผิดชอบและทํางานร่ วมกันอย่างเป็ นระบบ คู่มือการประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับนี้เป็ นเอกสารประกอบหลักสู ตรที่มีความสําคัญที่ จะเป็ นกรอบและแนวทางให้การปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรเป็ นไปตาม หลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิท่ีเป็ นข้อกําหนดของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาข้ นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้งในเรื่ อง ระเบียบ หลักเกณฑ์ และแนวทางการวัดผลและประเมินผล ขอขอบคุณผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันพิจารณาจัดทําคู่มือฉบับนี้ สําเร็ จด้วยดีและเ ป็ น ประโยชน์ในการเป็ นคู่มือการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ต่อไป

(นายธีรภัทร กุโลภาส) ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา


คู่มอื การประเมินผลการเรียนตามหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ....................................................

โดยที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ หมวด ๔ มาตราที่ ๒๖ กําหนดให้การวัดและประเมินผล การตัดสิ นผลการเรี ยน การผ่านช่วงชั้น และการจบหลักสู ตร เป็ นอํานาจหน้าที่ของสถานศึกษา และหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดให้สถานศึกษาต้องจัดทําระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ตาม หลักสู ตรสถานศึษาให้ ก สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิท่ีเป็ นข้อกําหนดของหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาข้ นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยได้จดั ทําคู่มือการวัดและประเมินผลการเรี ยนให้ สอดคล้องกับระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ตามหลักสู ตรสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้ อ ๑ การบังคับใช้การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ดังนี้ ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็ นต้นไป

หมวด ๑

หลักการในการประเมินผลการเรียน

ข้ อ ๒ การประเมินผลการเรี ยนให้เป็ นไปตามหลักการต่อไปนี้ ๒.๑ สถานศึกษาเป็ นผูร้ ับผิดชอบการประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน โดยเปิ ดโอกาสให้ทุกฝ่ าย ที่ เกี่ยวข้องมีส่วนร่ วม ๒.๒ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตอ้ งสอดคล้งอและครอบคลุมมาตรฐานการเรี ยนรู ้ /ตัวชี้วดั ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ท่ีกาํ หนดในหลักสู ตรและจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๒.๓ การประเมินผูเ้ รี ยนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรม การเรี ยนรู ้ การร่ วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปใน กระบวนการเรี ยนการสอน ตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับและรู ปแบบการศึกษา ๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนต้อง ดําเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผูเ้ รี ยนได้อย่าง รอบด้านทั้งด้าน ๓


ความรู ้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับ สิ่ งที่ตอ้ งการวัด ธรรมชาติวชิ า และ ระดับชั้นของผูเ้ รี ยน โดยตั้งอยูบ่ นพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได้ ๒.๕ การประเมินผลการเรี ยนรู ้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุ งพัฒนาผูเ้ รี ยน พัฒน าการจัดการเรี ยนรู้ และตัดสิ นผลการเรี ยน ๒.๖ เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนและผูมี้ ส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรี ยนรู้ ๒.๗ ให้มีการเทียบโอนผลการเรี ยนระหว่างสถานศึกษาและรู ปแบบการศึกษาต่าง ๆ ๒.๘ ให้สถานศึกษาจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็ นหลักฐานการประเมินผล การเรี ยนรู้ รายงานผลการเรี ยน แสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยน

หมวด ๒

วิธีการประเมินสาระการเรียนรู้

ข้ อ ๓ การประเมินผลสาระการเรี ยนรู ้เพื่อปรับปรุ งการเรี ยน ให้ถือปฏิบตั ิดงั นี้ ๓.๑ แจ้งให้ผเู ้ รี ยนทราบตัวชี้วดั ชั้นปี วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู้เกณฑ์ การผ่านตัวชี้วดั ชั้นปี และเกณฑ์ข้ นั ตํ่าของการผ่านรายวิชา ก่อนสอนรายวิชานั้น ๓.๒ ประเมินผลก่อนเรี ยน เพื่อศึกษาความรู ้พ้ืนฐานของผูเ้ รี ยนประเมินผลระหว่างเรี ยน เพื่อ ตรวจสอบพัฒนาการของผูเ้ รี ยนว่าบรรลุตามตัวชี้วดั ชั้นปี เพือ่ จัดการสอนซ่อมเสริ ม และเพือ่ นําคะแนนจาก การวัดและประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายปี โดยให้ว ั ดและประเมินตามตัวชี้วดั รายปี การวัดผลและ ประเมินผลระหว่างเรี ยน โดยวัดและประเมินผลระหว่างเรี ยนเป็ นระยะ ๆ โดยให้สถานศึกษาใช้ตวั ชี้วดั ใน หลักสู ตรเป็ นเป้ าหมายในการประเมิน ๓.๓ วัดผลปลายปี / ปลายภาค เพื่อตรวจสอบผลการเรี ยน ตัดสิ นแบบ ได้ – ตก ให้ใช้ระดับผลการ เรี ยน โดยวัดให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับตัวชี้วดั ชั้นปี ที่สาํ คัญตามที่หลักสู ตรสถานศึกษากําหนด ข้ อ ๔ การตัดสิ นผลการเรี ยน ให้นาํ คะแนนระหว่างปี /ระหว่างภาค มารวมกับคะแนนปลายปี / ปลายภาค ตามอัตราส่ วน ๘๐ : ๒๐ แล้วนํามาเปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรี ยน ข้ อ ๕ ให้ใช้ตวั เลขแสดงระดับผลการเรี ยน เทียบกับช่วงร้อยละของคะแนน ในแต่ละรายวิชา กําหนดระดับผลการเรี ยนเป็ น ๘ ระดับ ในระดับประถมศึกษา ดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนน ๘๐ – ๑๐๐ ระดับผลการเรี ยน ๔ หมายถึง ผลการเรี ยนดีเยีย่ ม ช่วงคะแนน ๗๕ - ๗๙ ระดับผลการเรี ยน ๓.๕ หมายถึง ผลการเรี ยนดีมาก ช่วงคะแนน ๗๐ - ๗๔ ระดับผลการเรี ยน ๓ หมายถึง ผลการเรี ยนดี ช่วงคะแนน ๖๕ - ๖๙ ระดับผลการเรี ยน ๒.๕หมายถึง ผลการเรี ยนค่อนข้างดี ช่วงคะแนน ๖๐ - ๖๔ ระดับผลการเรี ยน ๒ หมายถึง ผลการเรี ยนน่าพอใจ ช่วงคะแนน ๕๕ - ๕๙ ระดับผลการเรี ยน ๑.๕ หมายถึง ผลการเรี ยนพอใช้ ๔


ช่วงคะแนน ๕๐ - ๕๔ ระดับผลการเรี ยน ๑ หมายถึง ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ ช่วงคะแนน ๐ - ๔๙ ระดับผลการเรี ยน ๐ หมายถึง ผลการเรี ยนตํ่ากว่าเกณฑ์ข้ นั ตํ่า ข้ อ ๖ ให้ใช้อกั ษรแสดงผลการเรี ยนที่เงื่อนไขในแต่ละรายวิชาดังนี้ ผ หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาทั้งหมดที่จดั กิจกรรมของแต่ละปี /ภาค และผ่านจุดประสงค์ของกิจกรรมที่ สถานศึกษากําหนด ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจุดประสงค์กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มผ หมายถึง ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินโดยมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของ เวลาทั้งหมดที่จดั กิจกรรมของแต่ละปี /ภาค และไม่ผา่ นจุดประสงค์ของกิจกรรมที่สถานศึกษากําหนด

หมวด ๓

การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ

ข้ อ ๗ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็ นเงื่อนไขหนึ่งที่ผเู้ รี ยนทุกคนจะต้องได้รับ การประเมินผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนดการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผ่านรายชั้นให้ถือ ปฏิบตั ิดงั นี้ ๗.๑ ให้คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการ กําหนดมาตรฐานและแนว ทางการประเมิน เกณฑ์การตัดสิ น และแนวดําเนินการซ่อมเสริ มปรับปรุ งผูเ้ รี ยนให้เหมาะสมกับระดับชั้น ๗.๒ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนสื่ อความ มี หน้าที่จดั ทําเครื่ องมือประเมิน สรุ ปรวบรวมข้อมูลจากผูเ้ กี่ยวข้อง และตัดสิ นผลการประเมิน ๗.๓ คณะกรรมการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ดําเนินการ ประเมิน และสรุ ปผลการประเมินของผูเ้ รี ยน เสนอต่อคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร เพื่อให้ความเห็นชอบ และเสนอผูบ้ ริ หารอนุมตั ิผลต่อไป ๗.๔ ให้ประชาสัมพันธ์ แจ้งผูเ้ รี ยนและผูเ้ กี่ยวข้องให้ทราบจุดประสงค์ ของการประเมิน การอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ๗.๕ ให้ประเมินผลการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน เมื่อผูเ้ รี ยนสิ้ นสุ ดการเรี ย นรู ้ทุกกลุ่ม สาระการเรี ยนรู ้เป็ นรายปี ของแต่ละชั้นในระดับประถมศึกษา ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด ข้ อ ๘ เกณฑ์การตัดสิ นผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขี ยนให้ตดั สิ นเป็ นรายปี ในระดับ ประถมศึกษา โดยให้ตดั สิ นผลเป็ น ๓ ระดับ คือ ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน และ กรณี ที่ไม่ผา่ นให้สถานศึกษา ดําเนินการซ่อมเสริ ม ข้ อ ๙ นําผลการประเมินเสนอคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการเพื่อให้ความเห็นชอบ และเสนอผูบ้ ริ หารอนุมตั ิผลการตัดสิ นการผ่านปลายปี / ปลายภาค และการผ่านระดับชั้นต่อไป


หมวด ๔

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้ อ ๑๐ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็ นเงื่อนไขหนึ่งที่ผเู ้ รี ยนทุกคนจะต้องได้รับการ ประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนดจึงจะได้รับการพิจารณาให้ข้ ึนชั้น เป็ นการพั ฒนาผูเ้ รี ยนตามที่ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด เป็ นลักษณะที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนอันเป็ น คุณลักษณะที่สังคมต้องการ ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม จิตสํานึก สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมี ความสุ ข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจึงได้กาํ หนดหลักเกณฑ์ในการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ถือปฏิบตั ิดงั นี้ ๑๐.๑ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ กําหนด แนวทาง เป้ าหมาย กิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การประเมิน และปรับปรุ งซ่อมเสริ ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ๑๐.๒ ให้มีการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทั้งใน และนอกห้องเรี ยน ในห้องเรี ยน ให้ครู ผสู้ อนเป็ นผูป้ ระเมินผูเ้ รี ยน นอกห้องเรี ยนให้ ครู ผสู ้ อนประจําชั้น ประจําวิชา และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ร่ วมกัน ประเมินผูเ้ รี ยนเป็ นระยะ ๆ เพื่อให้มีการสั่งสมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๑๐.๓ ให้มีวธิ ี การประเมินที่หลากหลาย โดยใช้เครื่ องมือที่เหมาะสมกับกิจกรรมพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่จะประเมิน ๑๐.๔ ให้ครู ประจําชั้นในระดับประถมศึกษา รวบรวมข้อมูล การประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ จากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง และนําเสนอคณะกรรม การพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพื่อวินิจฉัย พิจารณาตัดสิ นผลการประเมินและเสนอผูบ้ ริ หารอนุมตั ิผลการตัดสิ นการผ่านรายภาค และการผ่านรายปี ต่อไป ๑๐.๕ ผูเ้ รี ยนที่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ให้บนั ทึกข้อมูล “ดีเยี่ยม” หรื อ “ดี” หรื อ “ผ่าน”และ รายงานให้ผปู ้ กครองทราบ ๑๐.๖ ผูเ้ รี ยนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินให้จดั กิจกรรมซ่อมเสริ มเพื่อปรับปรุ งแก้ไข เช่น จัดกิจกรรมเพือ่ เสริ มสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมตามแนวทางที่สถานศึกษากําหนด ๑๐.๗ ให้ประชาสัมพันธ์ แจ้งให้ผเู ้ รี ยน ผูเ้ กี่ยวข้องให้ทราบจุดประสงค์ของการ ประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐.๘ ผูเ้ รี ยนที่ไม่ได้รับการประเมินผลรวมคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะไม่ได้รับการ อนุมตั ิให้จบหลักสู ตร จนกว่าจะได้รับการประเมินให้เรี ยบร้อยเสี ยก่อน


หมวด ๕

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

ข้ อ ๑๑ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน เป็ นกิจกร รมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ตาม มาตรฐานการเรี ยนรู ้ของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ยงิ่ ขึ้น และเป็ นเงื่อนไขสําคัญอีกประการ หนึ่งของหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูเ้ รี ยนทุกคนจะต้องเข้าร่ วมกิจกรรมให้ครบตามที่สถานศึกษา กําหนดจึงจะได้รับตัดสิ นให้ผา่ นช่วงชั้น โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจึงได้กาํ หนดหลักเกณฑ์ในการประเมินกิจกรรม พัฒนาผูเ้ รี ยนให้ถือปฏิบตั ิดงั นี้ ๑๑.๑ ให้มีคณะกรรมการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน กําหนดเกณฑ์การประเมินและ แนวดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๑.๒ ให้ผรู ้ ับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละกิจกรรม เป็ นผูป้ ระเมินกิจกรรมของ ผูเ้ รี ยนตามจุดประสงค์สาํ คัญและเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมแต่ละกิจกรรมด้วยวิธีหลากหลาย เป็ นรายปี ในระดับ ประถมศึกษา และนําข้อมูลการประเมินเสนอต่อคณะกรรมการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๑.๓ ให้คณะกรรมการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน สรุ ปและประเมินผลการประเมิน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล เพือ่ ตัดสิ นตามเกณฑ์ท่ีโรงเรี ยนกําหนดทุกชั้นเรี ยน และนําเสนอผล การประเมินให้ผบู ้ ริ หารพิจารณาอนุมตั ิ ๑๑.๔ ให้ประชาสัมพันธ์ แจ้งให้ผเู ้ รี ยน ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ให้ทราบ วัตถุประสงค์ขอ งการ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๑.๕ การให้ระดับผลการเรี ยนการเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้ระดับผลการประเมิน เป็ น“ผ่าน” และ “ไม่ผา่ น” ๑๑.๖ ผูเ้ รี ยนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด กรณี ที่ไม่ผา่ นการ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนเข้ ารับการซ่อมเสริ มในส่ วนที่ไม่ผา่ น หรื อเลือกกิจกรรมใหม่ จน ครบทุกกิจกรรม ตามหลักสู ตรของสถานศึกษา ๑๑.๗ รายงานการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละกิจกรรมให้ผเู้ กี่ยวข้องทราบ

หมวด ๖

การตัดสิ นผลการเรียน

ข้ อ ๑๒ หลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาํ หนดโครงสร้าง เวลาเรี ยน มาตรฐานการเรี ยนรู ้ตวั ชี้วดั การ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ที่สถานศึกษาต้องจัดให้ ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา จึงกําหนดหลักเกณฑ์การวัดและ ประเมินผลการเรี ยนรู ้ เพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนให้ถือปฏิบตั ิ ดังนี้ ๗


๑๒.๑ การตัดสิ นผลการเรียน ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้น ผูส้ อนต้องคํานึงถึงการพัฒนานักเรี ยนแต่ละคน เป็ นหลัก และต้อง เก็บข้อมูลของนักเรี ยนทุกด้านอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรี ยน รวมทั้งสอน ซ่อมเสริ มผูเ้ รี ยนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ โดยมีหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ดังนี้ (๑) ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมด (๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านเกณฑ์ในทุกตัวชี้วดั (๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา ไม่นอ้ ยกว่าระดับ “ ๑ ” จึงจะ ถือว่าผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากําหนด (๔)นักเรี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน ในระดับ “ ผ่าน ” ขึ้นไป มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึ งประสงค์ในระดับ“ ผ่าน ” ขึ้นไป และมีผลการประเมินกิจกรรมพัฒนานักเรี ยน ในระดับ “ ผ่าน ” ๑๒.๒ การให้ ระดับผลการเรียน ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา ให้ระดับผลการเรี ยนหรื อระดับคุณภาพการ ปฏิบตั ิของนักเรี ยน เป็ นระบบตัวเลขแสดงระดับ ผลการเรี ยนเป็ น ๘ ระดับดังนี้ ระดับผลการเรี ยน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐

ความหมาย ผลการเรี ยนดีเยีย่ ม ผลการเรี ยนดีมาก ผลการเรี ยนดี ผลการเรี ยนค่อนข้างดี ผลการเรี ยนน่าพอใจ ผลการเรี ยนพอใช้ ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้นั ตํ่า ผลการเรี ยนตํ่ากว่าเกณฑ์

ช่วงคะแนนร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐ ๗๕ - ๗๙ ๗๐ - ๗๔ ๖๕ - ๖๙ ๖๐ - ๖๔ ๕๕ - ๕๙ ๕๐ - ๕๔ ๐ - ๔๙

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั ให้ระดับผลการ ประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น


การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิจกรรม การปฏิบตั ิ กิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด และให้ผลการเข้าร่ วมกิจกรรมเป็ นผ่าน และ ไม่ผา่ น ๑๒.๓ การเลือ่ นชั้ น หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดเกณฑ์การเลื่อนชั้น คือ ๑) ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษา ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ๒) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านเกณฑ์ในทุกตัวชี้วดั ๓) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ น ผลการเรี ยนทุกรายวิชา ๔) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กําหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๒.๔ การเรี ยนซํ้าชั้น ผูเ้ รี ยนที่ไม่ผา่ นรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปัญหา ต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซํ้าชั้นได้ ทั้งนี้ให้คาํ นึงถึงวุฒิ ภาวะและความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ผูเ้ รี ยนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุมตั ิเลื่อนชั้นเรี ยน สถานศึกษาต้องจัดให้เรี ยนซํ้าชั้น ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนขาดคุณสมบัติขอ้ ใดข้อหนึ่ง คณะกรรมการ บริ หารงานวิชาการของโรงเรี ยน สามารถพิจารณาเลื่อนชั้นได้ ในกรณี ดงั นี้ ๑) ผูเ้ รี ยนมีเวลาเรี ยนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเนื่องจากสาเหตุจาํ เป็ น หรื อเหตุสุดวิสยั แต่มี คุณสมบัติตามข้ออื่น ๆ ครบถ้วน ๒) ผูเ้ รี ยนผ่านมาตรฐานและตัวชี้วดั ไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากําหนดในแต่ละ รายวิชา แต่พิจารณาเห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริ มได้ในปี การศึกษาถัดไปและมีคุณสมบัติขอ้ อื่นๆ ครบถ้วน ๓) ผูเ้ รี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๓ มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทยและ คณิ ตศาสตร์ อยูใ่ นเกณฑ์พอใช้ และผูเ้ รี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ - ๖ มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยูใ่ นเกณฑ์ผา่ น ๑๒.๕ การสอนซ่อมเสริ ม เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรี ยนรู้และเป็ นการให้ โอกาสแก่ผเู้ รี ยนได้มีเวลาเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ เพิม่ ขึ้น โรงเรี ยนดุสิตวิทยา จัดให้มีการเรี ยนซ่อมเสริ ม ในกรณี ดังต่อไปนี้ ๑) ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ /ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ต้องจัดการ สอนซ่อมเสริ ม ปรับความรู ้ /ทักษะพื้นฐาน ๒) การประเมินระหว่างเรี ยน ผู ้ เรี ยนไม่สามารถแสดงความรู ้ ทักษะกระบวนการ หรื อ เจตคติ / คุณลักษณะ ที่กาํ หนดไว้ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ /ตัวชี้วดั


๓) ผลการเรี ยนไม่ถึงเกณฑ์และ/หรื อตํ่ากว่าเกณฑ์การประเมิน ต้องจัดการสอนซ่อม เสริ มก่อนจะให้ผเู ้ รี ยนสอบแก้ตวั ๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยนไม่ผา่ น ส ามารถจัดสอนซ่อมเสริ มในภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ให้อยูใ่ น ดุลยพินิจของสถานศึกษา ๑๒.๖ หลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดเกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา ดังนี้ (๑) นักเรี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา /กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรี ยน ที่ กําหนด (๒) นักเรี ยนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กาํ หนด (๓) นักเรี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่กาํ หนด (๔) นักเรี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่กาํ หนด (๕) นักเรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่กาํ หนด

หมวด ๗

การเทียบโอนผลการเรียน ข้ อ ๑๔ โรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้กาํ หนดแนวทางในการเทียบโอนผลการเรี ยนของนักเรี ยนในกรณี ต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การออกกลางคันและขอกลับ เข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศ และขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ รวมถึงการจั ดการศึกษาโดย ครอบครัว นักเรี ยนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรี ยนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่าง น้อย ๑ ภาคเรี ยน โดยโรงเรี ยนจะกําหนดรายวิชา /จํานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสมและ ความสอดคล้องกับหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยน การพิจารณาการเทียบโอนให้ดาํ เนินการ ดังนี้ ๑๔.๑ พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึ่ งจะให้ขอ้ มูลที่แสดงความรู ้ ความสามารถของ นักเรี ยนในด้านต่าง ๆ ๑๔.๒ พิจารณาจากความรู ้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบตั ิจริ ง การทดสอบ การสัมภาษณ์ ๑๔.๓ พิจารณาจากความสามารถ และการปฏิบตั ิจริ ง

๑๐


๑๔.๔ ในกรณี มีเหตุผลจําเป็ นระหว่งาเรี ยน นักเรี ยนสามารถแจ้งคว ามจํานงขอไปศึกษาบา ง รายวิชาในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนํามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการของสถานศึกษา ๑๔.๕ การเทียบโอนผลการเรี ยนให้ดาํ เนินการในรู ปของคณะกรรมการการเทียบโอนจํานวน ๓ คน ๑๔.๖ การเทียบโอนให้ดาํ เนินการดังนี้ ๑) กรณี ผขู ้ อเทียบโอนมีผลการเรี ยนมาจากหลักสู ตรอื่น ให้นาํ รายวิชาหรื อหน่วยกิตที่มี ตัวชี้วดั /มาตรฐานการ เรี ยนรู ้/ผลการเรี ยนรู ้ท่ีคาดหวัง/จุดประสงค์/เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่นอ้ ยกว่รา้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผลการเรี ยนและพิจารณาให้ระดับผลการเรี ยนให้สอดคล้องกับหลักสู ตรที่รับเทียบโอน ๒) กรณี การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักาน ฐ (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเครื่ องมือที่หลากหลายและให้ระดับผลให้สอดคล้องกับหลักสู ตรที่รับเทียบโอน ๓) กรณี การเทียบโอนที่นกั เรี ยนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดาํ เนินการตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การเรื่ องหลักการและแนวปฏิบตั ิการเทียบชั้นการศึกษาสําหรับนักเรี ยนที่เข้าร่ วม โครงการแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรี ยนให้เป็ นไปตามประกาศของกร ะทรวงศึกษาธิ การและแนว ปฏิบตั ิทีเ่ กี่ยวข้อง

หมวด ๘

เอกสารหลักฐานการศึกษา

ข้ อ ๑๕ เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสําคัญที่บนั ทึกผลการเรี ยน ข้ อมูลและสารสนเทศที่ เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑๕.๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกําหนด ๑) ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ. ๑) เป็ นเอกสารแสดงผลการเรี ยนและรับรองผลการเรี ยน ของผูเ้ รี ยนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน โรงเรี ยนจะบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้ผเู ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล เมื่อผูเ้ รี ยนจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖) หรื อเมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี ๒) ประกาศนียบัตร (ปพ. ๒) เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิ ทธิ์ ของผู้ จบการศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผจู ้ บการศึกษาภาคบังคับ และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๑๑


๓) แบบรายงานผูส้ าํ เร็ จการศึกษา (ปพ. ๓) เป็ นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสู ตรโดยบันทึก รายชื่อและข้อมูลของผูจ้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖) ผูจ้ บ การศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓) และผูจ้ บการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ ๖) ๑๕.๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่โรงเรียนกําหนด เป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทําขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรี ยนรู้ และข้อมูลสําคัญ เกี่ยวกับ นักเรี ยน ได้แก่ ๑) แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ. ๔) เป็ นเอกสารรายงานผลการ ประเมินคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ๒) แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน (ปพ. ๕) เป็ นเอกสารที่ผสู้ อนจะบันทึกข้อมูลการ ประเมินผลการเรี ยนรู ้รายวิชาต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยน ๓) แบบรายงานการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนรายบุคคล (ปพ. ๖) เป็ นเอกสารบันทึก และรายงาน พัฒนาการ และผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ ๔) ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. ๗) เป็ นเอกสารรับรองผลการศึกษาของผูเ้ รี ย นเป็ นการชัว่ คราว ๕) ระเบียนสะสม (ปพ. ๘) เป็ นเอกสารบันทึกพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยน ๖) สมุดบันทึกผลการเรี ยนรู ้ (ปพ. ๙) เป็ นเอกสารแสดงรายวิชาต่าง ๆ ตามโครงสร้างหลักสู ตรของ สถานศึกษาแต่ละช่วงชั้น และบันทึกผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในแต่ละรายวิชา เพือ่ ใช้สาํ หรับ สื่ อสารหลักสู ตรและผลการเรี ยนของนักเรี ยนให้ผเู ้ กี่ยวข้อง ทราบ สามารถใช้เป็ นหลัก ฐาน การศึกษา และใช้เป็ นข้อมูลในเอกสารเพือ่ เทียบโอนผลการเรี ยน

๑๒


คู่มอื ประเมิน การอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนดุสิตวิทยา หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โรงเรี ยนดุสิตวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒


การประเมินการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็ นการประเมินศั กยภาพของผูเ้ รี ยนในการ อ่าน การฟัง การดูและกา รรับรู ้ จากหนังสื อ เอกสารและสื่ อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้ วนํามาคิด วิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นาํ ไปสู่ การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่ องต่างๆ และ ถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่ งสะท้อนถึงสติปัญญา ความรู ้ ความเข้าใจ ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ แ ก้ปัญหาและสร้างสรรค์จินตนาการอย่งเหมาะสมและมี า คุณค่าแก่ตนเอง สังคมและ ประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์ และทักษะในการเขียนที่มีสาํ นวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและ ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผอู ้ ่านได้อย่างชัดเจนตามระดับ ความสามารถในแต่ละระดับชั้น การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สรุ ปผลเป็ นรายปี ราย ภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็ นข้อมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรี ยนและการจบการศึกษาระดับต่าง ๆ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่ อความ เป็ นเงื่อนไขสําคัญที่สถานศึกษา กําหนดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนต้องได้รับการประเมินให้ผา่ นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด จึงจะได้รับ การตัดสิ นการศึกษาแต่ละระดับชั้น ทั้งนี้เพราะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จะช่วยให้ผเู ้ รี ยน ได้รับการฝึ กฝนให้มีความสามารถพื้นฐานของการเรี ยนรู ้ในทุก ๆ ด้านอย่างจริ งจัง อันเป็ นสิ่ ง สําคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในส่ วนของประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสู ตรสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาํ หนดขั้นตอนใน ดําเนินการประเมิน ดังนี้

๑๔


ขั้นตอนการพัฒนาและประเมินการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของโรงเรียนดุสิตวิทยา ประชุมชี้แจงแนวการส่ งเสริ ม/พัฒนา กําหนด เกณฑ์

คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

ดําเนินการส่ งเสริ ม/พัฒนา ควบคู่กบั การจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้ ๘ กลุ่มสาระ

ครู ผสู้ อน

วัดผล ประเมินผล บันทึกผล (สรุ ปผล)

ครู ผสู้ อน ครู ที่ปรึ กษา/ครู ประจํา ชั้น หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย

ประมวลผล สรุ ปผล ไม่ผา่ น

คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผ่าน ดีเยีย่ ม ดี

ซ่อมเสริ ม

ผ่าน บันทึกผล

- ครู ประจําชั้น

- ครู ที่ปรึ กษา - นายทะเบียน

๑. ขั้นตอนในดําเนินการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๑.๑ คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร และ คณะกรรมการบริ หารงานวิชาการของ โรงเรี ยน ร่ วมกันกําหนดเกณฑ์มาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แนวทางการดําเนินการ และวิธีการประเมิน ตลอดจนเกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ และแนวทางการซ่อมเสริ มปรับปรุ งผูเ้ รี ยน โดยกําหนดวิธีการประเมินและเกณฑ์ ดังนี้ คือ ใช้วธิ ี การบูรณาการความสามารถ การอ่าน คิ ดวิเคราะห์และเขียน เข้ ากับหน่วยการเรี ยนรู้ ในรายวิชาที่มีสดั ส่ วนเพียงพอสามารถเป็ นตัวแทนได้ เมื่อนําหน่วยการเรี ยนรู้ไปจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู้ แต่ละรายวิชาแล้ว มีผลการประเมินของผูเ้ รี ยนเป็ นผลงานในหน่วยการเรี ยนรู้ ให้นาํ ผลการ ประเมินนั้นนับเข้าเป็ นผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

๑๕


๑.๒ สร้างเกณฑ์การคุณภาพการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน พร้อมทั้งตัวชี้วดั ความสามารถ ดังนี้ เกณฑ์ คุณภาพผลงานการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่ อความ ประเด็น ระดับคะแนน การประเมิน ๓ ๒ ๑ การนําเสนอเนื้อหา - เรี ยงลําดับเรื่ องราวได้ - เรี ยงลําดับเรื่ องราวได้ - เรี ยงลําดับเรื่ องราวได้ เหมาะสม ไม่วกวน เหมาะสม ไม่วกวน แต่มีการวกวนบ้าง - แสดงความคิดเห็น - แสดงความคิดเห็น - แสดงความคิดเห็น ประกอบได้อย่างมี ประกอบได้อย่างมี ประกอบ เหตุผลและสร้างสรรค์ เหตุผล - ข้อมูลสนับสนุน หรื อ ประเด็นยังไม่ชดั เจน - นําเสนอประเด็นสําคัญ - นําเสนอข้อมูลชัดเจน ที่ทาํ ให้เห็นความ แต่บางประเด็นไม่ ชัดเจน ชัดเจน ของเรื่ อง ประเมินสิ่ งทีเ่ ป็ น ประโยชน์ ในการดําเนินชีวติ ได้ ถูกต้อง การใช้ภาษา - เขียนสะกดคําถูกต้อง - เขียนสะกดคําถูกต้อง - เขียนสะกดคําถูกต้อง ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี เลือกใช้คาํ ตรง เลือกใช้คาํ ตรง เลือกใช้คาํ ตรง ความหมาย ความหมาย ความหมาย - ใช้ภาษาเหมาะสมกับ - ใช้ภาษาเหมาะสมกับ ระดับภาษา ระดับภาษา - ใช้ภาษาสื่ อสารตรง จุดประสงค์ ๑.๓ ประกาศแนวทางในการประเมินให้กบั ผูเ้ รี ยน ผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และชี้แจง ให้เกิดความเข้าใจ ๑.๔ คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากสถานศึกษาให้ทาํ หน้าที่ในการประเมินการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่ อความ เป็ นผูจ้ ดั ทําเครื่ องมือประเมิน สรุ ปรวบรวมข้อมูล และตัดสิ น ผลการประเมิน ๑๖


๑.๕ คณะกรรมการดําเนินการประเมิน และนําเสนอผลการประเมินต่อคณะ กรรมการบริ หารหลักสู ตร และวิชาการของสถานศึกษาเพื่อให้ความเห็นชอบ และนําเสนอผูบ้ ริ หาร อนุมตั ิผล ๒. การประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนปลายปี /ปลายภาค เป็ นการประเมินความสามารถการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เมื่อสิ้ นปี การศึกษา เพื่อสรุ ปความสามารถของผูเ้ รี ยนในแต่ละปี การศึกษา โดยให้ดาํ เนินการ ดังนี้ ๒.๑ ผูม้ ีหน้าที่ประเมิน ทําการตรวจสอบหรื อประเมินผูเ้ รี ยนในความรับผิดชอบตาม วิธีการและเครื่ องมือที่กาํ หนด เพือ่ ให้ได้ข ้ อมูลความสามารถของผูเ้ รี ยนด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนอย่างเหมาะสม ครบถ้วนตามศักยภาพที่แท้จริ งของผูเ้ รี ยน รายงานคณะกรรมการ ดําเนินการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผูม้ ีหน้าที่ประเมินสรุ ปผลการประเมินเมื่อสิ้ นภาค เรี ยนที่/ปี การศึกษา เพือ่ แจ้งให้ผเู ้ รี ยนได้ทราบสถานภาพของตน และทําการปรับปรุ งแก้ไขตนเอง ได้ ๒.๒ คณะกรรมการดําเนินการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สรุ ปผลการ ประเมินเมื่อสิ้ นสุ ดปี การศึกษา ๒.๓ ตัดสิ นผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามเกณฑ์ ๒.๔ แจ้งผลการประเมินให้ผเู ้ รี ยนและผูป้ กครองทราบ ๒.๕ ดําเนินการซ่อมเสริ ม ปรับปรุ ง แก้ไข ผูเ้ รี ยนในส่ วนที่ไม่ผา่ นการประเมิน ๓. การประเมินตัดสิ นการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพือ่ เลื่อนชั้นเรี ยน การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของผูเ้ รี ยนเมื่ อจบการศึกษา แต่ละช่วงชั้น เพือ่ พิจารณาตัดสิ นผูเ้ รี ยนผ่านช่วงชั้นตามเกณฑ์ท่ีหลักสู ตรกําหนด การประเมิน ผูเ้ รี ยนเพือ่ ตัดสิ นการเลื่อนชั้นให้ใช้ผลการประเมินปลายปี ชั้นเป็ นการประเมินเพือ่ ตัดสิ นเลื่อนชั้น โดยดําเนินการดังนี้ ๓.๑ ผูม้ ีหน้าที่ประเมิน ทําการตรวจ สอบหรื อประเมินผูเ้ รี ยนในความรับผิดชอบตาม วิธีการและเครื่ องมือที่กาํ หนดให้ได้ขอ้ มูลความสามารถของผูเ้ รี ยนด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียนสื่ อความอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามศักยภาพของผูเ้ รี ยน รายงานคณะกรรมการดําเนินการ ประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ๓.๒ คณะกรรมการดําเนินการประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน พิจารณาตัดสิ นการ ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ท่ีกาํ หนด ๓.๓ ดําเนินการซ่อมเสริ ม ปรับปรุ ง แก้ไข ผูเ้ รี ยนในส่ วนที่ไม่ผา่ นการประเมินแล้ว ประเมินใหม่

๑๗


๓.๔ จัดส่ งผลการประเมินเสนอคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิ ชาการของ สถานศึกษาให้ความเห็นชอบ เพื่อนําเสนอให้ผบู ้ ริ หารสถานศึกษาอนุมตั ิผลการตัดสิ นการเลื่อน ชั้นต่อไป

๑๘


แบบบันทึกการอ่ าน คิด วิเคราะห์ เขียน โรงเรียนดุสิตวิทยา ประถมศึกษาปี ที่ ......... / ........ ภาคเรียนที่ ................... ปี การศึกษา ................... เลขที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘

ชื่อ - สกุล

การอ่ าน คิด วิเคราะห์ และเขียน จากสาระการเรียนรู้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

สรุ ปการประเมิน

หมายเหตุ


คู่มอื ประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โรงเรี ยนดุสิตวิทยา สํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาราชบุรี เขต ๒


การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนอันเป็ นคุณลักษณะที่ สังคมต้องการ ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม จิตสํานึก สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมี ความสุ ข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดซึ่ ง มี อยู่ ๘ คุณลักษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพี ยง มุ่งมัน่ ใน การทํางาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลุผลได้น้ นั ต้องอาศัยการบริ หาร จัดการและการมีส่วนร่ วมจากทุกฝ่ าย ได้แก่ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ที่ปรึ กษา ครู ผสู ้ อน ผู ้ ปกครองและชุมชนที่ตอ้ งมุ่งขัดเกลา บ่มเพาะ ปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้เกิดขึ้นแก่ผเู ้ รี ยน โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจัดให้มีการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน โดยนําพฤติกรรมบ่งชี้ หรื อพฤติกรรมที่แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละด้านที่วเิ คราะห์ไว้ บูรณาการในการจั ดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนแล ะโครงการพิเศษต่าง ๆ ที่ โรงเรี ยนจัดทําขึ้น เช่น โครงการวันสําคัญ โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรรมะ โครงการ Let’s Recycle หรื อกิจกรรมที่องค์กรใน ท้องถิ่นจัดขึ้น เป็ นต้น สําหรับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั โรงเรี ยนจัดให้มีการประเมินเป็ นระยะ ๆ และ รายงานผลการประเมินเป็ นรายปี เพื่อให้มีการสั่งสมและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการนําไปใช้ใน ชีวติ ประจําวันและประเมินผลสรุ ปเมื่อจบระดับการศึกษาชั้นประถมปี ที่ ๖

๒๑


โครงสร้ างของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษาโรงเรียนดุสิตวิทยา

ในการกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ทางโรงเรี ยนได้ใช้คุณลักษณะที่สังคม ต้องการ ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม จิตสํานึก สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดซึ่ง มีอยู่ ๘ คุณลักษณะ เป็ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง ๖. มุ่งมัน่ ในการทํางาน ๗. รักความเป็ นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ข้ อที่ ๑ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ นิยาม รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ ธํารงไว้ ซึ่ งความเป็ นชาติไทย ศรัทธา ยึดมัน่ ในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ผูท้ ี่รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ คือ ผูท้ ี่มีลกั ษณะซึ่ งแสดงออกถึงการเป็ นพลเมืองดีของชาติ มีความ สามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็ นชาติไทย ปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความ จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ตัวชี้วดั ๑.๑ เป็ นพลเมืองดีของชาติ ๑.๒ ธํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นชาติไทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ข้ อที่ ๒ ซื่อสั ตย์ สุจริต นิยาม ซื่ อสัตย์สุจริ ต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมัน่ ในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม ความเป็ นจริ งต่อตนเองและผูอ้ ื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒๒


ผูท้ ี่มีความซื่อสัตย์สุจริ ต คือ ผูท้ ี่ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลัก ความจริ ง ความถูกต้องในการดําเนินชีวติ มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทําผิด ตัวชี้วดั

๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อผูอ้ ื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ

ข้ อที่ ๓ มีวนิ ัย นิยาม มีวนิ ยั หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมัน่ ในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรี ยนและสังคม ผูท้ ี่มีวนิ ยั คือ ผู ้ที่ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และ สังคม เป็ นปกติวสิ ัย ไม่ละเมิดสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น ตัวชี้วดั ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และ สังคม ข้ อที่ ๔ ใฝ่ เรียนรู้ นิยาม ใฝ่ เรี ยนรู ้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยน แสวงหา ความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน ผูท้ ี่ใฝ่ เรี ยนรู ้ คือ ผูท้ ี่มีลกั ษณะซึ่ งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วม กิจกรรม แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยนอย่างสมํ่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้ สื่ ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู ้ วิเคราะห์ สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ถ่ายทอดเผยแพร่ และ นําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ ตัวชี้วดั ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรม ๔.๒ แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน ด้วยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้สามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ ข้ อที่ ๕ อยู่อย่ างพอเพียง นิยาม อยูอ่ ย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดําเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข ผูท้ ี่อยูอ่ ย่างพอเพียง คือ ผูท้ ี่ดาํ เนินชีวติ อย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง ๒๓


อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่าง ๆ มีการวางแผน ป้ องกันความเสี่ ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วดั ๕.๑ ดําเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ข้ อที่ ๖ มุ่งมัน่ ในการทํางาน นิยาม มุ่งมัน่ ในการทํางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทํา หน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสําเร็ จตามเป้ าหมาย ผูท้ ี่มุ่งมัน่ ในการทํางาน คือ ผูท้ ี่มีล ั กษณะซึ่ งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกําลังกาย กําลังใจ ในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาํ เร็ จลุล่วงตาม เป้ าหมายที่กาํ หนดและมีความภาคภูมิใจในผลงาน ตัวชี้วดั ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ๖.๒ ทํางานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสําเร็ จตามเป้ าหมาย ข้ อที่ ๗ รักความเป็ นไทย นิยาม รักความเป็ นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่ วมอนุรักษ์ สื บทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่ อสารได้อย่า ง ถูกต้องและเหมาะสม ผูท้ ี่รักความเป็ นไทย คือ ผูท้ ี่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ สื บทอด เผยแพร่ ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญ�ู กตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่ อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วดั ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความ กตัญ�ูกตเวที ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๗.๓ อนุรักษ์ และสื บทอดภูมิปัญญาไทย ข้ อที่ ๘ มีจิตสาธารณะ นิยาม มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออก ถึงการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมหรื อสถานการณ์ท่ี ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผอู ้ ื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรื อร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน ๒๔


ผูท้ ี่มีจิตสาธารณะ คือ ผูท้ ี่มีลกั ษณะเป็ นผูใ้ ห้และช่วยเหลือผูอ้ ื่น แบ่งปัน เสี ยสละความสุ ขส่ วนตน เพือ่ ทําประโยชน์แก่ส่วนรวม เ ข้าใจ เห็นใจผูท้ ี่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบตั ิเพื่อแก้ปัญหา หรื อร่ วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชนโดยไม่หวัง สิ่ งตอบแทน ตัวชี้วดั ๘.๑ ช่วยเหลือผูอ้ ่ืนด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน ๘.๒ เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชน และสังคม

การพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรี ยนได้ดาํ เนินการพัฒนา และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็ นขั้นตอนที่ชดั เจน สามารถ ตรวจสอบกลับการดําเนินงานได้ ซึ่ งขั้นตอนการดําเนินการวัดและประเมินคุณลักษ ณะอันพึงประสงค์ มี ขั้นตอนดังนี้ ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนา และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา เพื่อ ๑.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนาและแนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการ ปรับปรุ งแก้ไขปรับพฤติกรรม ๑.๒ พิจารณาตัดสิ นผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายปี และจบการศึกษาแต่ละ ระดับ ๑.๓ จัดระบบการปรับปรุ งแก้ไขปรับพฤติกรรมด้วยวิธีการอันเหมาะสม และส่ งต่อข้อมูลเพื่อ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๒) พิจารณานิยามหรื อความหมายของคุณลักษณะแต่ละตัว พร้อมทั้งกําหนดพฤติกรรมบ่งชี้หรื อ พฤติกรรมที่แสดงออกของคุณลักษณะแต่ละตัว ๓) กําหนดเกณฑ์และแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้สอดคล้องกับบริ บทและ จุดเน้นของสถานศึกษา กําหนดระดับคุณภาพ หรื อเกณฑ์ในการประเมินตามที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานกําหนดไว้ ๓ ระดับ คือ ดีเยีย่ ม ดี และ ผ่าน กํา หนดประเด็นการประเมินให้สอดคล้องกับตัวชี้วดั คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔) ใช้วธิ ี การวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยค่าฐานนิยม (Mode) แล้วตัดสิ นผลตามเกณฑ์ท่ีกาํ หนดไว้ นําผล การตัดสิ นให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พิจารณาเพื่อดําเนินการส่ งเสริ ม พัฒนาต่อไป ๕) ให้ครู ผสู ้ อนแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และผูท้ ี่ได้รับมอบหมายรับผิดชอบการพัฒนาและ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รูปแบบการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนดุสิตวิทยา การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ เป็ นการ ประเมินคุณลักษณะที่สังคมต้องการ ในด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม จิตสํานึก สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่น ๒๕


ในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานกําหนด ซึ่ งกําหนดให้ดาํ เนินการดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรี ยน กําหนดแนวทาง การพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และแนวทางการปรับปรุ ง แก้ไขซ่อมเสริ มผูเ้ รี ยน ๒. กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์กาํ หนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา โดยคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ท่ีกาํ หนดขึ้นในหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนดุสิตวิทยา เป็ นคุณลักษณะ ตามที่หลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดซึ่ง มีอยู่ ๘ คุณลักษณะ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู้ อยู่ อย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ในการทํางาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ ตามเกณฑ์คุณภาพผูเ้ รี ยนใน มาตรฐานสถานศึกษา ๓. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา กําหนดการพัฒนาไว้ ๒ ลักษณะ คือ ก. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในห้องเรี ยน กําหนดให้เป็ นหน้าที่ของผูส้ อนแต่ ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ดาํ เนินการพัฒนา ประเมินผล และแก้ไขปรับปรุ งผูเ้ รี ยนในระหว่างการ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ข. การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์นอกห้องเรี ยน กําหนดให้เป็ นหน้าที่ ของบุคลากร ของสถานศึกษา และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายร่ วมกันพัฒนา ประเมินผล และปรับปรุ งแก้ไขผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง ทั้งในขณะที่ร่วมกิจกรรม ดําเนินชีวติ ประจําวัน ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ๔. กําหนดวิธีการประเมินและเครื่ องมือการประเมินของสถานศึกษาให้เหมาะสมกับธรรมชาติ และวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน โดยใช้ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕. การประเมินผูเ้ รี ยน ดําเนินการประเมินผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง เมื่อสิ้ นสิ้ นปี ให้ผสู้ อนและผูท้ ่ี เกี่ยวข้องกับประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ส่งผลการประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสง ค์ของผูเ้ รี ยน ทุกคนที่รับผิดชอบให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ๖. การประมวลผลการประเมินรายปี ให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของสถานศึกษา ครู ประจําชั้น และครู วดั ผล ดําเนินการประมวลผลตามเกณฑ์ที่สถานศึก ษากําหนด โดยใช้ฐานนิยม และพิจารณาตัดสิ นผลการประเมินคุณลักษณะแต่ละประการตามเกณฑ์ที่กาํ หนด ดังนี้

๒๖


ความหมายของผลการประเมินคุณภาพคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของสถานศึกษา ดีเยีย่ ม

หมายถึง

ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะในการปฏิบตั ิจนเป็ นนิสัย และนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันเพื่อประโยชน์ สุ ขของตนเองและสังคม

ดี

หมายถึง

ผูเ้ รี ยนมีคุณลักษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับของสังคม

ผ่าน

หมายถึง

ผูเ้ รี ยนรับรู ้และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และ เงื่อนไขที่สถานศึกษากําหนด

๖. การแจ้งผล และการซ่อมเสริ ม คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลั กษณะอันพึง ประสงค์ของสถานศึกษาแจ้งผลการตัดสิ นผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนให้ครู ประจํา ชั้นของผูเ้ รี ยนนําไปกรอกในเอกสารแบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และแจ้งให้ผเู้ รี ยน และผูป้ กครองทราบ พร้อมกับดําเนินการปรับปรุ งแก้ไขผูเ้ รี ยนที่ไม่ผ่ านเกณฑ์การประเมินตามแนวทางที่ กําหนดไว้ ๗. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เลื่อนชั้นเรี ยนและจบการศึกษาระดับการศึกษาตาม หลักสู ตร การพิจารณาสรุ ปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อตัดสิ นให้ผเู้ รี ยนเลื่อนชั้นเรี ยน และจบการศึกษาระดับการศึกษา ให้คณ ะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษาสรุ ปผลการประเมินเป็ นรายปี และนําเสนอผูบ้ ริ หารสถานศึกษาเพื่ออนุมตั ิ ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนไม่ ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประการใดประการหนึ่ งจะต้องเข้ารับการอบรมและปฏิบตั ิ กิจกรรมคุณความดีชดเชยตามที่ ให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษามอบหมายจนครบถ้วนก่อน จึงจะได้รับการอนุมตั ิให้เลื่อนชั้นเรี ยนหรื อจบการศึกษา

๒๗


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๓ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วดั ที่ ๑.๑ เป็ นพลเมืองดีของชาติ ตัวชี้วดั ๑.๑ เป็ นพลเมืองดี ของชาติ

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ อธิ บายความหมายของเพลงชาติได้ ถูกต้อง ๑.๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ หน้าที่พลเมืองดี ของชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๑.๑ เป็ นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ ผ่าน (๐)

๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพ ไม่ ปฏิบัติ ธงชาติ ร้องเพลง ชาติ และ อธิบายความหมาย ของเพลงชาติได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ถูกต้อง ๑.๑.๒ ปฏิบตั ิตนตาม สิ ทธิ หน้าที่ พลเมืองดีของชาติ ๑.๑.๓ มีความสามัคคี ปรองดอง

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ยืนตรงเมื่อได้ยนิ เพลง ชาติ ร้องเพลงชาติและ อธิ บายความหมายของ เพลงชาติได้ถูกต้อง ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ และ หน้าที่ของนักเรี ยน และ ให้ความร่ วมมือ ร่ วมใจ ในการทํากิจกรรมกับ สมาชิ กในชั้นเรี ยน

ยืนตรงเมื่อได้ยนิ เพลง ชาติ ร้องเพลงชาติและ อธิ บายความหมายของ เพลงชาติได้ถูกต้อง ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ และ หน้าที่ของนักเรี ยน และ ให้ความร่ วมมือ ร่ วมใจ ในการทํากิจกรรมกับ สมาชิ กในโรงเรี ยน

ยืนตรงเมื่อได้ยนิ เพลง ชาติ ร้องเพลงชาติและ อธิ บายความหมายของ เพลงชาติได้ถูกต้อง ปฏิบตั ิตนตามสิ ทธิ และ หน้าที่ของนักเรี ยน และ ให้ความร่ วมมือ ร่ วมใจ ในการทํากิจกรรมกับ สมาชิ กในโรงเรี ยนและ ชุมชน

๒๘


ตัวชี้วดั ที่ ๑.๒ ธํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นชาติไทย ตัวชี้วดั ๑.๒ ธํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ น ชาติไทย

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๒.๑ เข้าร่ วม ส่ งเสริ ม สนับสนุนกิจกรรมที่ สร้างความสามัคคี ปรองดองที่เป็ น ประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชนและสังคม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้ อง ยกย่องความเป็ นชาติ ไทย

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๑.๒ ธํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นชาติไทย พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๒.๑ เข้าร่ วม ส่ งเสริ ม สนับสนุน กิจกรรมที่สร้าง ความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็ น ประโยชน์ต่อ โรงเรี ยน ชุมชน และสังคม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกป้ อง ยกย่อง ความเป็ นชาติไทย

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑) เข้าร่ วมกิจกรรมที่สร้าง ความสามัคคี ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อ โรงเรี ยนและชุมชน

๒๙

ดี (๒) เข้าร่ วมกิจกรรมและมี ส่ วนร่ วมในการจัด กิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อ โรงเรี ยนและชุมชน

ดีเยี่ยม (๓) เข้าร่ วมกิจกรรมและมี ส่ วนร่ วมในการจัด กิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อ โรงเรี ยน ชุมชนและ สังคม ชื่ นชมในความ เป็ นชาติไทย


ตัวชี้วดั ที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตนตามหลักของศาสนา ตัวชี้วดั ๑.๓ ศรัทธา ยึดมัน่ และ ปฏิบตั ิตนตามหลัก ของศาสนา

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๓.๑ เข้าร่ วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ๑.๓.๒ ปฏิบตั ิตนตามหลักของศาสนาที่ตน นับถือ ๑.๓.๓ เป็ นแบบอย่างที่ดีของศาสนิ กชน

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตนตามหลักของศาสนา พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๓.๑ เข้าร่ วมกิจกรรม ทางศาสนาที่ตน นับถือ ๑.๓.๒ ปฏิบตั ิตนตาม หลักของศาสนาที่ ตนนับถือ ๑.๓.๓ เป็ นแบบอย่างที่ ดีของศาสนิกชน

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

เข้าร่ วมกิจกรรมทาง ศาสนาที่ตนนับถือและ ปฏิบตั ิตนตามหลักของ ศาสนาตามโอกาส

เข้าร่ วมกิจกรรมทาง ศาสนาที่ตนนับถือและ ปฏิบตั ิตนตามหลักของ ศาสนาอย่างสมํ่าเสมอ

เข้าร่ วมกิจกรรมทาง ศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบตั ิตนตามหลักของ ศาสนาอย่างสมํ่าเสมอ และเป็ นแบบอย่างที่ดี ของศาสนิ กชน

๓๐


ตัวชี้วดั ที่ ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบัน ๑.๔.๑ เข้าร่ วมและมีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรม พระมหากษัตริ ย ์ ที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ๑.๔.๒ แสดงความสํานึกในพระมหากรุ ณาธิ คุณ ของพระมหากษัตริ ย ์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ งความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์ เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๑. ๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ พฤติกรรมบ่ งชี้ ๑.๔.๑ เข้าร่ วมและมี ส่ วนร่ วมในการ จัดกิจกรรมที่ เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์ ๑.๔.๒ แสดงความ สํานึกในพระ มหากรุ ณาธิคุณ ของ พระมหากษัตริ ย ์ ๑.๔.๓ แสดงออกซึ่ ง ความจงรักภักดี ต่อสถาบัน พระมหากษัตริ ย ์

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

เข้าร่ วมกิจกรรมที่ เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริ ยต์ ามที่ โรงเรี ยนและชุมชน จัดขึ้น

เข้าร่ วมกิจกรรมและมี ส่ วนร่ วมในการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวกับ สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ตามที่โรงเรี ยนและ ชุมชนจัดขึ้น

เข้าร่ วมกิจกรรมและมี ส่ วนร่ วมในการจัด กิจกรรมที่เกี่ยวกับ สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ตามที่โรงเรี ยนและ ชุมชนจัดขึ้น ชื่ นชมใน พระราชกรณี ยกิจ พระปรี ชาสามารถของ พระมหากษัตริ ยแ์ ละ พระราชวงศ์

๓๑


๒. ซื่อสั ตย์ สุจริต ตัวชี้วดั ที่ ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ตัวชี้วดั ๒.๑ ประพฤติตรงตาม ความเป็ นจริ งต่อ ตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๒.๑.๑ ให้ขอ้ มูล ที่ถูกต้องและเป็ นจริ ง ปราศจาก ความลําเอียง ๒.๑.๒ ปฏิบตั ิตนโดยคํานึงถึงความถูกต้อง ละอายและเกรงกลัวต่อการกระทําผิด ๒.๑.๓ ปฏิบตั ิตามคํามัน่ สัญญา

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ ผ่าน (๐)

๒.๑.๑ ให้ขอ้ มูลที่ ไม่ปฏิบตั ิ ถูกต้องและเป็ น จริ งปราศจาก ความลําเอียง ๒.๑.๒ ปฏิบตั ิตนโดย คํานึงถึงความ พฤติกรรมบ่งชี้ ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวต่อ การกระทําผิด ๒.๑.๓ ปฏิบตั ิตาม คํามัน่ สัญญา

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องและ เป็ นจริ ง ปฏิบตั ิในสิ่ งที่ ถูกต้อง ทําตามสัญญาที่ ตนให้ไว้กบั เพื่อน พ่อ แม่ หรื อผูป้ กครอง และครู

ให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องและ เป็ นจริ ง ปฏิบตั ิในสิ่ งที่ ถูกต้อง ทําตามสัญญาที่ ตนให้ไว้กบั เพื่อน พ่อ แม่ หรื อผูป้ กครอง และ ครู ละอายและเกรงกลัว ที่จะทําความผิด

ให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องและ เป็ นจริ ง ปฏิบตั ิในสิ่ งที่ ถูกต้อง ทําตามสัญญาที่ ตนให้ไว้กบั เพื่อน พ่อ แม่ หรื อผูป้ กครอง และ ครู ละอายและเกรงกลัว ที่จะทําความผิด เป็ น แบบอย่างที่ดีดา้ นความ ซื่อสัตย์

๓๒


ตัวชี้วดั ที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อ ผูอ้ ่ ืนทั้งทางกาย วาจา ใจ ตัวชี้วดั ๒.๒ ประพฤติตรงตาม ความเป็ นจริ งต่อ ผูอ้ ่ ืนทั้งทางกาย วาจา ใจ

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสิ่ งของหรื อผลงานของผูอ้ ื่น มาเป็ นของตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนต่อผูอ้ ่ืนด้วยความซื่อตรง ๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อ ผูอ้ ่ ืนทั้งกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่ งชี้ ๒.๒.๑ ไม่ถือเอา สิ่ งของหรื อผลงานของ ผูอ้ ื่นมาเป็ นของตนเอง ๒.๒.๒ ปฏิบตั ิตนต่อ ด้วยความซื่อตรง ๒.๒.๓ ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้อง

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ไม่นาํ สิ่ งของ และ ผลงานของผูอ้ ่ืนมาเป็ น ของตนเอง ปฏิ บัติตน ต่อผูอ้ ่ืนด้วยความ ซื่อตรง

ไม่นาํ สิ่ งของ และ ผลงานของผูอ้ ่ืนมาเป็ น ของตนเอง ปฏิบตั ิตน ต่อผูอ้ ่ืนด้วยความ ซื่ อตรง ไม่หา ประโยชน์ ในทางที่ไม่ถูกต้อง

ไม่นาํ สิ่ งของ และ ผลงานของผูอ้ ่ืนมาเป็ น ของตนเอง ปฏิบตั ิตน ต่อผูอ้ ่ืนด้วยความ ซื่ อตรง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้องและเป็ น แบบอย่างที่ดีแก่ เพื่อนด้านความซื่ อสัตย์

๓๓


๓. มีวนิ ัย ตัวชี้วดั ที่ ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยนและสังคม ตัวชี้วดั ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม

พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน ๓.๑.๑ ทํา (ปฏิบตั ิตน) ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ - สังเกตพฤติกรรม ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ไม่ละเมิดสิ ทธิ ของผูอ้ ื่น ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวติ ประจําวัน และรับผิดชอบในการ ทํางาน

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๓.๑ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรี ยนและสังคม พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ ผ่าน (๐)

ไม่ปฏิบตั ิ ๓.๑.๑ ทํา (ปฏิบตั ิตน) ตามข้อตกลงกฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ ครอบครัวโรงเรี ยน และสังคม ไม่ละเมิด สิ ทธิของผูอ้ ่ ืน ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาใน การปฏิบตั ิกิจกรรม ต่าง ๆ ในชีวิต ประจําวันและ รับผิดชอบในการ ทํางาน

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของ ครอบครัว และโรงเรี ยน ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชี วิตประจําวัน

ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของ ครอบครัว และโรงเรี ยน ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ในชี วิตประจําวัน และ รับผิดชอบในการ ทํางาน

ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบของ ครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ไม่ละเมิด สิ ทธิ ของผูอ้ ื่น ตรงต่อ เวลาในการปฏิบตั ิ กิจกรรมต่าง ๆ ใน ชี วิตประจําวัน และ รับผิดชอบในการ ทํางาน

๓๔


๔. ใฝ่ เรียนรู้ ตัวชี้วดั ที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรม ตัวชี้วดั ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรี ยนและเข้า ร่ วมกิจกรรม

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๔.๑.๑ ตั้งใจเรี ยน ๔.๑.๒ เอาใจใส่ และมีความเพียรพยายามใน การเรี ยนรู ้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรี ยนและเข้าร่ วมกิจกรรม พฤติกรรมบ่ งชี้ ๔.๑.๑ ตั้งใจเรี ยน ๔.๑.๒ เอาใจใส่ และมี ความเพียร พยายามในการ เรี ยนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่ วม กิจกรรมการ เรี ยนรู้ต่าง ๆ

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

เข้าเรี ยนตรงเวลา ตั้ งใจ เรี ยน เอาใจใส่ ในการ เรี ยน มีส่วนร่ วมในการ เรี ยนรู ้และเข้าร่ วม กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ เป็ นบางครั้ง

เข้าเรี ยนตรงเวลา ตั้งใจ เรี ยน เอาใจใส่ และมี ความเพียรพยายามใน การเรี ยนรู ้ มีส่วนร่ วม ในการเรี ยนรู ้และเข้า ร่ วมกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ต่าง ๆ บ่อยครั้ง

เข้าเรี ยนตรงเวลา ตั้งใจ เรี ยน เอาใจใส่ และมี ความพยายามในการ เรี ยนรู ้ มีส่วนร่ วมใน การเรี ยนรู ้และเข้าร่ วม กิจกรรมการเรี ยนรู ้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก โรงเรี ยนเป็ นประจํา

๓๕


ตัวชี้วดั ที่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยนด้วยการเลือกใช้ สื่ อ อย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้สามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ ตัวชี้วดั ๔.๒ แสวงหาความรู ้จาก แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรี ยน ด้วยการเลือกใช้ สื่ ออย่างเหมาะสม สรุ ป เป็ นองค์ความรู ้สามารถ นําไปใช้ในชีวติ ประจําวัน ได้

พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน -สังเกตพฤติกรรม ๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้จากหนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ สื่ อ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรี ยนรู้ท้งั ภายในและภายนอก โรงเรี ยน และเลือกใช้ส่ื อได้อย่าง เหมาะสม ๔.๒.๒ บันทึกความรู ้ วิเคราะห์ขอ้ มูล จากสิ่ งที่ เรี ยนรู ้ สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ ๔.๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู ้ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ และนําไปใช้ในชีวติ ประจําวัน

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๔.๒ แสวงหาความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยนด้วยการเลือกใช้สื่อ อย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้สามารถนําไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ ผ่าน (๐)

๔.๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหา ไม่ปฎิบตั ิ ความรู้จาก หนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ภายในและ ภายนอกโรงเรี ยน และเลือกใช้ส่ื อได้ อย่างเหมาะสม ๔.๒.๓ บันทึกความรู ้ วิเคราะห์ขอ้ มูลจาก สิ่ งที่เรี ยนรู้ สรุ ปเป็ น องค์ความรู้ ๔.๒.๔ แลกเปลี่ยน ความรู้ดว้ ยวิธีการ ต่าง ๆ และนําไปใช้ ใน ชีวิตประจําวัน

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ศึกษาค้นคว้าความรู ้จาก หนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ สื่ อ เทคโนโลยี แหล่งเรี ยนรู ้ท้ งั ภายใน และภายนอกโรงเรี ยน เลือกใช้ส่ื อได้อย่าง เหมาะสม และมีการ บันทึกความรู ้

ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ จากหนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ สื่ อ เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่ง เรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและ ภายนอกโรงเรี ยน และเลือกใช้ส่ื อได้อย่าง เหมาะสม มีการบันทึก ความรู ้ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ กับผูอ้ ื่นได้

ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ จากหนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ สื่ อ เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่ง เรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและ ภายนอกโรงเรี ยน และเลือกใช้ส่ื อได้อย่าง เหมาะสม มีการบันทึก ความรู ้ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และนําไปใช้ใน ชี วิตประจําวันได้

๓๖


๕. อยู่อย่ างพอเพียง ตัวชี้ วดั ที่ ๕.๑ ดําเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ตัวชี้วดั ๕.๑ ดําเนินชีวติ อย่าง พอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม

พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน ๕.๑.๑ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่ งของ - สังเกตพฤติกรรม เครื่ องใช้ เวลา ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่ วนกลางอย่างประหยัด คุม้ ค่าและเก็บรักษาอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏิบตั ิตนและตัดสิ นใจด้วยความ รอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรี ยบผูอ้ ื่นและไม่ทาํ ให้ผอู ้ ื่น เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผูอ้ ่ืนกระทํา ผิดพลาด

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๕.๑ ดําเนินชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่ งชี้ ๕.๑.๑ ใช้ทรัพย์สินของ ตนเอง เช่น เงิน สิ่ งของ เครื่ องใช้ เวลา ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่าและเก็บรักษา ดูแลอย่างดี ๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของ ส่วนกลางอย่าง ประหยัด คุม้ ค่าและเก็บรักษาอย่างดี ๕.๑.๓ ปฏิบตั ิตนและ ตัดสิ นใจด้วย ความรอบคอบ มีเหตุผล ๕.๑.๔ ไม่เอาเปรี ยบผูอ้ ื่น และไม่ทาํ ให้ ผูอ้ ื่น เดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมื่อผูอ้ ื่นกระทํา ผิดพลาด

ไม่ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ใช้ทรัพย์สินของ ตนเองและทรัพยากร ของส่ วนรวมอย่าง ประหยัด คุม้ ค่า เก็บ รักษาดูแลอย่างดี รอบคอบ มีเหตุผล

ใช้ทรัพย์สินของ ตนเองและทรัพยากร ของส่ วนรวมอย่าง ประหยัด คุม้ ค่า เก็บ รักษาดูแลอย่างดี รอบคอบ มีเหตุผล ไม่เอาเปรี ยบผูอ้ ื่น และไม่ทาํ ให้ผอู ้ ื่น เดือดร้อน

ใช้ทรัพย์สินของ ตนเองและทรัพยากร ของส่ วนรวมอย่าง ประหยัด คุม้ ค่า เก็บ รักษาดูแลอย่างดี รอบคอบ มีเหตุผล ไม่เอาเปรี ยบผูอ้ ื่น ไม่ทาํ ให้ผอู ้ ื่น เดือดร้อนและให้อภัย เมื่อผู้อื่นทําผิดพลาด

๓๗


ตัวชี้วดั ที่ ๕.๒ มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ ๕.๒ มีภมู ิคุม้ กันในตัวที่ ๕.๒.๑ วางแผนการเรี ยน การทํางานและการใช้ ชีวติ ประจําวันบนพื้นฐานของข้อมูล ดี ปรับตัวเพือ่ อยูใ่ น ความรู ้ ข่าวสาร สังคมได้อย่างมี ๕.๒.๒ รู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ความสุ ข สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัวเพื่อ อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๕.๒ มีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข พฤติกรรมบ่ งชี้ ๕.๒.๑ วางแผนการเรี ยน การ ทํางานและการใช้ ชีวิตประจําวันบนพื้นฐาน ของข้อมูล ความรู ้ ข่าวสาร ๕.๒.๒ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ของสังคมและ สภาพแวดล้อม ยอมรับ ปรับตัวร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ อย่างมีความสุข

ไม่ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑) ใช้ขอ้ มูล ความรู ้ ข่าวสาร ในการวาง แผนการเรี ยนการ ทํางานและใช้ใน ชี วิตประจําวันรับรู ้ การเปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน และสภาพแวดล้อม

๓๘

ดี (๒) ใช้ขอ้ มูล ความรู ้ ข่าวสารในการวาง แผนการเรี ยน การ ทํางานและใช้ใน ชีวติ ประจําวัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน สังคมและ สภาพแวดล้อม

ดีเยี่ยม (๓) ใช้ขอ้ มูล ความรู ้ ข่าวสารในการวาง แผนการเรี ยน การ ทํางานและใช้ใน ชีวติ ประจําวัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของ ครอบครัว ชุมชน สังคม สภาพแวดล้อม และ ปรับตัวอยูร่ ่ วมกับ ผูอ้ ่ืนได้อย่างมี ความสุ ข


๖. มุ่งมัน่ ในการทํางาน ตัวชี้วดั ที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ ต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ที่ได้รับ ในหน้าที่การงาน มอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการทํางานให้ สําเร็ จ ๖.๑.๓ ปรับปรุ งและพัฒนาการทํางานด้วย ตนเอง

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน พฤติกรรมบ่ งชี้ ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั ิ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทํางานให้สาํ เร็ จ ๖.๑.๓ ปรับปรุ งและพัฒนาการ ทํางานด้วยตนเอง

ไม่ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สําเร็ จ มีการปรับปรุ ง การทํางานให้ดีข้ ึน

ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สําเร็ จ มีการปรับปรุ ง และพัฒนาการ ทํางานให้ดีข้ ึน

ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายให้ สําเร็ จ มีการปรับปรุ ง และพัฒนาการ ทํางานให้ดีข้ ึนด้วย ตนเอง

๓๙


ตัวชี้วดั ที่ ๖.๒ ทํางานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสําเร็ จตามเป้ าหมาย ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ ๖.๒.๑ ทุ่มเททํางาน อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหา ๖.๒ ทํางานด้วยความ และอุปสรรคในการทํางาน เพียรพยายาม และ อดทนเพือ่ ให้งาน ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการ ทํางาน สําเร็ จตามเป้ าหมาย ๖.๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๖.๒ ทํางานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสําเร็ จตามเป้ าหมาย พฤติกรรมบ่ งชี้ ๖.๒.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั ิ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๖.๒.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การทํางานให้สาํ เร็ จ ๖.๒.๓ ปรับปรุ งและพัฒนาการ ทํางานด้วยตนเอง

ไม่ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ทํางานด้วยความขยัน อดทน และพยายาม ให้งานสําเร็ จตาม เป้ าหมาย และชื่ นชม ผลงานด้วยความภา ภูมิใจ

ทํางานด้วยความขยัน อดทน และพยายาม ให้งานสําเร็ จตาม เป้ าหมาย ไม่ยอ่ ท้อ ต่อปั ญหาในการ ทํางาน และชื่ นชม ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ

ทํางานด้วยความขยัน อดทน และพยายาม ให้งานสําเร็ จตาม เป้ าหมายในเวลาที่ กําหนดไม่ยอ่ ท้อต่อ ปั ญหาแก้ปัญหา อุปสรรคในการ ทํางาน และชื่ นชม ผลงานด้วยความ ภาคภูมิใจ

๔๐


๗. รักความเป็ นไทย ตัวชี้วดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญ�ู กตเวที ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ ๗.๑.๑ แต่งกายและมีมารยาท ๗.๑ ภาคภูมิใจใน งดงามแบบไทย มีสัมมา ขนบธรรมเนียม คารวะ กตัญ�ูกตเวทีต่อผู้ ประเพณี ศิลปะ มีพระคุณ วัฒนธรรมไทยและ มีความ ๗.๑.๒ ร่ วมมือกิจกรรมที่ กตัญ�ูกตเวที เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนําให้ผอู้ ่ืน ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๗.๑ ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญ�ูกตเวที พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ผ่าน (๐)

๗.๑.๑ แต่งกายและมี มารยาท ไม่ปฏิบตั ิ งดงามแบบไทย มีสมั มาคารวะ กตัญ�ู กตเวทีต่อผูม้ ี พระคุณ ๗.๑.๒ ร่ วมมือกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ไทย ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนําให้ผอู ้ ื่น ปฏิบตั ิ ตาม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ปฏิบตั ิตนเป็ นผูม้ ี มารยาทแบบไทยมี สัมมาคารวะกตัญ�ู กตเวทีต่อผูม้ ีพระคุณ และแต่งกายแบบ ไทย เข้าร่ วมหรื อมี ส่ วนร่ วมในกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ ประเพณี ศิลปะและ วัฒนธรรมไทย

ปฏิบตั ิตนเป็ นผูม้ ี มารยาทแบบไทยมี สัมมาคารวะกตัญ�ู กตเวทีต่อผูม้ ีพระคุณ และแต่งกายแบบ ไทย ด้วยความ ภาคภูมิใจเข้าร่ วม หรื อมีส่วนร่ วมใน กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

ปฏิบตั ิตนเป็ นผูม้ ี มารยาทแบบไทยมี สัมมาคารวะกตัญ�ู กตเวทีต่อผูม้ ีพระคุณ และแต่งกายแบบ ไทย ด้วยคว าม ภาคภูมิใจเข้าร่ วม หรื อมีส่วนร่ วมใน การจัดกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ไทย ชักชวนแนะนํา เพื่อนและคนอื่น ปฏิบตั ิตาม ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี ศิลปะและ วัฒนธรรมไทย

๔๑


ตัวชี้วดั ที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วดั ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ ภาษาไทยในการ สื่ อสารได้อย่าง ถูกต้อง

พฤติกรรมบ่ งชี้ ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่ อสาร ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง พฤติกรรมบ่ งชี้ ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและ เลขไทย ในการสื่ อสารได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม ๗.๒.๒ ชักชวน แนะนํา ให้ผอู้ ื่นเห็นคุณค่า ของการใช้ ภาษาไทยที่ถูกต้อง

ไม่ผ่าน (๐)

ไม่ ปฏิบัติ

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ใช้ภาษาไทย เลขไทย ในการสื่ อสารได้ ถูกต้องเหมาะสม และ แนะนําให้ผอู ้ ื่นใช้ ภาษาไทยที่ถูกต้อง

ใช้ภาษาไทย เลขไทย ในการสื่ อสารได้ ถูกต้อง เหมาะสม และแนะนํา ชักชวนให้ ผูอ้ ื่นใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง

ใช้ภาษาไทย เลขไทย ในการสื่ อสารได้ ถูกต้องเหมาะสม และ แนะนํา ชักชวนให้ ผูอ้ ื่นใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้องเป็ นประจําเป็ น แบบอย่างที่ดีดา้ นการ ใช้ภาษาไทย

๔๒


ตัวชี้วดั ที่ ๗.๓ อนุรักษ์ สื บทอด ภูมิปัญญาไทย ตัวชี้วดั ๗.๓ อนุรักษ์ สื บทอด ภูมิปัญญาไทย

พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน ๗.๓.๑ นําภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถี - สังเกตพฤติกรรม ชีวติ ๗.๓.๒ ร่ วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา ไทย ๗.๓.๓ แนะนํา มีส่วนร่ วมในการสื บทอดภูมิ ปั ญญาไทย

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๗.๓ อนุรักษ์ สื บทอด ภูมิปัญญาไทย พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ผ่าน (๐)

๗.๓.๑ นําภูมิปัญญาไทยมาใช้ ไม่ปฏิบตั ิ ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๗.๓.๒ ร่ วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับภูมิปัญญาไทย ๗.๓.๓ แนะนํา มีส่วนร่ วมใน การสื บทอดภูมิปัญญา ไทย

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

สื บค้นภูมิปัญญาไทย ที่ใช้ในท้องถิ่น เข้า ร่ วมและชักชวนคน ในครอบครัวหรื อ เพือ่ นเข้าร่ วม กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับภูมิปัญญาไทย และใช้ภมู ิปัญญาไทย ในชี วิตประจําวัน

สื บค้นภูมิปัญญาไทย ที่ใช้ในท้องถิ่น เข้า ร่ วมและชักชวนคน ในครอบครัวหรื อ เพื่อนเข้าร่ วม กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับภูมิปัญญาไทยใช้ และแนะนําให้เพื่อน ใช้ภมู ิปัญญาไทยใน ชีวติ ประจําวัน

สื บค้นภูมิปัญญาไทย เข้าร่ วมและชักชวน คนในครอบครัว เพื่อนหรื อผูอ้ ื่นเข้า ร่ วมกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับภูมิ ปั ญญาไทยและ แนะนําให้เพื่อนใช้ ภูมิปัญญาไทยใน ชี วิตประจําวันและมี ส่ วนร่ วมในการสื บ ทอดภูมิปัญญาไทย

๔๓


๘. มีจิตสาธารณะ ตัวชี้วดั ที่ ๘.๑ ช่วยเหลือผูอ้ ่ืนด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ ๘.๑ ช่วยเหลือผูอ้ ่ืนด้วย ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู ทาํ งานด้วย ความเต็มใจ ความเต็มใจโดย ไม่หวังผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทํางานให้ผอู ้ ื่นด้วยกําลังกาย กําลังใจ และกําลังสติปัญญา โดยไม่ หวังสิ่ งตอบแทน ๘.๑.๓ แบ่งปันสิ่ งของ ทรัพย์สินและอื่น ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรื อสร้างความสุ ข ให้กบั ผูอ้ ่ืน

วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๘.๑ ช่วยเหลือผูอ้ ่ืนด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤติกรรมบ่ งชี้ ๘.๑.๑ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู ทาํ งาน ด้วยความเต็มใจ ๘.๑.๒ อาสาทํางานให้ ผูอ้ ่ืนด้วยกําลังกาย กําลังใจและ กําลังสติปัญญาโดยไม่ หวังสิ่ งตอบแทน ๘.๑.๓ แบ่งปันสิ่ งของ ทรัพย์สินและอื่น ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรื อ สร้างความสุขให้กบั ผูอ้ ่ ืน

ไม่ ผ่าน (๐) ไม่ปฏิบตั ิ

ผ่าน (๑) ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครู ทาํ งาน อาสา ทํางาน และแบ่งปั น สิ่ งของให้ผ อู้ ่ ืนด้วย ความเต็มใจ

๔๔

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครู ทาํ งาน อาสา ทํางาน ช่วยคิด ช่วยทํา และแบ่งปั นสิ่ งของให้ ผูอ้ ื่นด้วยความเต็มใจ

ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครู ทาํ งาน อาสา ทํางาน ช่วยคิด ช่วยทํา และแบ่งปั นสิ่ งของและ ช่วยแก้ปัญหาให้ผอู ้ ื่น ด้วยความเต็มใจ


ตัวชี้วดั ที่ ๘.๒ เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชน และสังคม ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่ งชี้ วิธีการประเมิน - สังเกตพฤติกรรม ๘.๒.๑ ดูแลรักษาสาธารณสมบัติและ ๘.๒ เข้าร่ วมกิจกรรมที่ สิ่ งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ เป็ นประโยชน์ต่อ ๘.๒.๒ เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อ โรงเรี ยน ชุมชน โรงเรี ยน ชุมชนและสังคม และสังคม ๘.๒.๓ เข้าร่ วมกิจกรรมเพือ่ แก้ปัญหาหรื อร่ วม สร้างสิ่ งที่ดีงามของส่ วนรวมตาม สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นด้วยความ กระตือรื อร้น เกณฑ์ การให้ คะแนน ตัวชี้วดั ที่ ๘.๒ เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชน และสังคม พฤติกรรมบ่ งชี้

ไม่ ผ่าน (๐)

๘.๒.๑ ดูแลรักษา ไม่ปฏิบตั ิ สาธารณสมบัติ และสิ่ งแวดล้อม ด้วยความเต็มใจ ๘.๒.๒ เข้าร่ วมกิจกรรม ที่เป็ นประโยชน์ ต่อโรงเรี ยน ชุมชนและสังคม ๘.๒.๓ เข้าร่ วมกิจกรรม เพือ่ แก้ปัญหา หรื อร่ วมสร้าง สิ่ งที่ดีงามของ ส่วนรวมตาม สถานการณ์ที่ เกิดขึ้นด้วยความ กระตือรื อร้น

ผ่าน (๑)

ดี (๒)

ดีเยี่ยม (๓)

ดูแล รักษาทรัพย์สมบัติ สิ่ งแวดล้อมของ ห้องเรี ยน โรงเรี ยน และ เข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อ สังคมและ สาธารณประโยชน์ของ โรงเรี ยนด้วยความ เต็มใจ

ดูแล รักษาทรัพย์สมบัติ สิ่ งแวดล้อมของ ห้องเรี ยน โรงเรี ยน ชุมชนและเข้าร่ วม กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ของ โรงเรี ยนด้วยความ เต็มใจ

ดูแล รักษาทรัพย์สมบัติ สิ่ งแวดล้อมของ ห้องเรี ยน โรงเรี ยน ชุมชนและเข้าร่ วม กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ของ โรงเรี ยนและชุมชน ด้วยความเต็มใจ

๔๕


แบบสรุ ปคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนดุสิตวิทยา ชั้น ..............................................รายวิชา................................... ปี การศึกษา ..................... ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๕ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘

ชื่อ - สกุล

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียน ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

สรุปการประเมิน

หมายเหตุ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.