SAR Kindergarten 2550

Page 1

รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย

โรงเรียนดุสิตวิทยา เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒ สังกัด สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. ๒๕๕๐


บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๐๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๓๒-๒๑๑๒๖๐ โทรสาร ๐๓๒-๒๑๑๐๒๙ e-mail : info@dusitwittaya.ac.th website : dusitwittaya.ac.th สังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ ๑.๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ๑ ถึง ระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริการ ๑๕ ตาบลในอาเภอบ้านโป่ง ได้แก่ ตาบลบ้านโป่ง ตาบลท่าผา ตาบลกรับใหญ่ ตาบลปากแรต ตาบลหนองกบ ตาบลหนองอ้อ ตาบลดอนกระเบื้อง ตาบลสวนกล้วย ตาบล นครชุมน์ ตาบลบ้านม่วง ตาบลคุ้งพยอม ตาบลหนองปลาหมอ ตาบลเขาขลุง ตาบลเบิกไพร ตาบลลาดบัวขาว รวมถึงเขตอาเภอและจังหวัดใกล้เคียงด้วย ๒. ข้อมูลด้านการบริหาร ๒.๑ ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล วุฒิการศึกษาสูงสุด ศศม. สาขา บริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๕ จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา ๕ ปี ๒.๒ ผู้ช่วยผู้บริหาร ๔ คน ได้แก่ ชื่อ-สกุล นางสายชล พรหมดา วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. ชื่อ-สกุล นางสาวดิษยา กุโลภาส วุฒิการศึกษาสูงสุด MS.HRM. ชื่อ-สกุล นางสาวพิกุล สุขวิสุทธิ์ วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. ชื่อ-สกุล นางสมพร เปรมจิตต์ วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. ๒.๓ ประวัติ คาขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ โดยมี นางดวงสิริ กุโลภาส เป็น ผู้รับใบอนุญาตและผู้จัดการ นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล เป็นครูใหญ่ ระดับการศึกษาที่เปิดสอน ระดับก่อนประถมศึกษาถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ คาขวัญของโรงเรียน คือ ขยันเรียน เพียรทาดี มีอัธยาศัย


วัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา คือ ส่งเสริมพัฒนานักเรียนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เพื่อให้ความรู้ความสามารถและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครู บุคลากรให้มีความสุข ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ เพื่อสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงส่งเสริมพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพด้วย ปรัชญาของโรงเรียน คือ เรียนดี มีน้าใจ ใฝ่หาความรู้ เชิดชูสถาบัน วิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ นักเรียนโรงเรียนดุสิตวิทยา เป็นคนดี เก่ง มีความสุข รักษ์ ประชาธิปไตย ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม



๒.๔ ระบบโครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา แผนภูมิการบริหารงานโรงเรียนดุสิตวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ผู้รับใบอนุญาต – ผู้จัดการ นางดวงสิริ กุโลภาส ผู้ช่วยผู้จัดการ นายธีรภัทร กุโลภาส

คณะกรรมการอานวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

ที่ปรึกษาโรงเรียน นายเสวี กุโลภาส

คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ครูใหญ่ นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล

ผช.ครูใหญ่ฝ่ายวิชาการ นางสายชล พรหมดา

หัวหน้าแผนงานวิชาการ อนุบาล - งานพัฒนาหลักสูตร - งานพัฒนาการเรียน การสอน - งานพัฒนาครูผู้สอน - งานสารสนเทศ - งานพัฒนาการวัดและ ประเมินผลการเรียน

หัวหน้าแผนงานวิชาการ ประถม - งานปรัชญาและนโยบาย ของโรงเรียน - งานพัฒนาหลักสูตร - งานพัฒนาครูผู้สอน - งานพัฒนาการเรียนการ สอน - งานวัดผลประเมินผล - งานพัฒนาประสิทธิผล การเรียน - งานพัฒนาห้องสมุด

ผช.ครูใหญ่ฝ่ายบริการ นางสาวพิกุล สุขวิสุทธิ์

หัวหน้าแผนงานกิจกรรม นักเรียน - งานปกครองนักเรียน - งานกิจกรรมนักเรียน - งานแนะแนว

หัวหน้าแผนงานอาคาร สถานที่และบริการ - งานดูแลอาคารสถานที่ - งานจัดซ่อมบารุงรักษา และพัสดุครุภัณฑ์ - งานบริการและความ ปลอดภัย - งานโภชนาการและ อนามัย

ผช.ครูใหญ่ฝ่ายปกครอง นางสาวดิษยา กุโลภาส

หัวหน้าแผนงาน บุคลากร - งานปกครองบุคลากร - งานพัฒนาบุคลากร - งานสวัสดิการบุคลากร

หัวหน้าแผนงาน สัมพันธ์ชุมชน - งานร่วมกิจกรรมกับ ชุมชน - งานให้บริการแก่ชุมชน - งานช่วยเหลือและ สนับสนุนจากชุมชน

ผช.ครูใหญ่ฝ่ายธุรการและการเงิน นางสมพร เปรมจิตต์

หัวหน้าแผนงานธุรการ

หัวหน้าแผนงานการเงิน

- งานสารบรรณ - งานทะเบียนนักเรียน - งานสวัสดิการต่าง ๆ ของครู

- ค่าเล่าเรียน - เงินเดือนบุคลากร - บัญชีรับ-จ่ายของ ร.ร. - เงินสวัสดิการต่าง ๆ


๓. ข้อมูลนักเรียน ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ดังนี้ ๑) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด ๑,๕๕๔ คน ๒) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ระดับชั้น

เพศ ชาย ๕๙ ๑๑๓ ๘๙ ๒๕๓ ๖๘ ๗๘ ๗๑ ๙๐ ๘๙ ๑๐๒ ๔๙๘ ๗๕๑

อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ รวม ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด ๓) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม

๔) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ๕) มีนักเรียนปัญญาเลิศ

คน คน

๒๒๘ คน

๖) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ -

คน

๗) จานวนนักเรียนต่อห้องเฉลี่ย

๔๐

คน

๘) สัดส่วนครู : นักเรียน

๑ : ๒๕

๙) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน

คน

๑๐)สถิติการขาดเรียน/เดือน

๑๕

คน

รวม หญิง ๗๔ ๙๑ ๘๓ ๒๔๘ ๙๒ ๗๘ ๘๔ ๑๑๒ ๑๐๗ ๘๒ ๕๕๕ ๘๐๓

๑๓๓ ๒๐๔ ๑๖๔ ๕๐๑ ๑๖๐ ๑๕๖ ๑๕๕ ๒๐๒ ๑๙๖ ๑๘๔ ๑,๐๕๓ ๑,๕๕๔


๔. ข้อมูลบุคลากร ประเภทบุคลากร ครูใหญ่ ผู้ช่วยครูใหญ่ ครูประจาการ ครูอัตราจ้าง นักการ/ภารโรง อื่นๆ ......................... รวม

เพศ ชาย

หญิง

๓ ๖

๑ ๔ ๕๘ ๑๐ ๑๕

๘๗

มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาความถนัด

ระดับการศึกษาสูงสุด ต่ากว่า ป.ตรี สูงกว่า ป.ตรี ป.ตรี ๑ ๓ ๑ ๕๙ ๒ ๑๐ ๑๕ ๒๕

๖๑ -

๖๒

คน คน

อายุ เฉลี่ย

ประสบการณ์ สอนเฉลี่ย

๔๘ ๔๑ ๓๘ ๓๑ ๔๖

๒๙ ๑๘ ๑๒ ๓ ๖

(๑๐๐ %) ( - )

๕. สภาพชุมชนโดยรวม ๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนเมือง มีประชากรในอาเภอบ้านโป่ง ประมาณ ๑๕๕,๗๔๘ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทิศเหนือ ติดต่อ สถานีรถไฟบ้านโป่ง ทิศใต้ ติดต่อ วัดบ้านโป่ง ทิศตะวันออก ติดต่อ ทางรถไฟสายใต้ ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้าแม่กลอง อาชีพหลักของชุมชน คืออาชีพเกษตรกรรม ได้แก่การทานา ทาสวน ทาไร่ รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ 2 ฝั่งของแม่น้าแม่กลอง จึงมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกจากนี้ประชากรยังประกอบอาชีพรับจ้าง ขายของชา และธุรกิจ ส่วนตัวด้วย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และอิสลาม ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ การแข่งขันเรือยาวและลอยกระทง ประเพณีกินเจ แห่เทียนพรรษาช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา และประเพณีวันสงกรานต์ ๕.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ม.๖ – ปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ ๖๐ นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๙.๗๖ รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๑๗๐,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน


๕.๓ โอกาสของสถานศึกษากับความร่วมมือในด้านต่างๆ ของชุมชน โรงเรียนตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน มีตลาดและวัดอยู่ใ กล้ มีเส้นทางการคมนาคมที่สะดวกสบาย รวมถึง ตั้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น สระน้าโกสินารายณ์ ตลาดปลาสวยงาม วัดบ้านโป่ง รวมถึงอยู่ใกล้กับหน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่สาคัญ เช่น ที่ว่าการอาเภอบ้านโป่ง สถานีตารวจภูธรอาเภอบ้านโป่ง โรงพยาบาลบ้านโป่ ง เทศบาลเมืองบ้านโป่ง สถานีรถไฟบ้านโป่ง รวมถึงแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ คือ แม่น้าแม่กลอง ซึ่งโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการด้วยดี และชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีกับสถานศึกษา ๕.๔ ข้อจากัดของสถานศึกษากับความร่วมมือของชุมชน โรงเรียนดุสิตวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชน ดังนั้นจึงได้รับเงินสนับสนุนจากชุมชนน้อยมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งอาเภอบ้านโป่งมีโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาลอยู่จานวนมาก ดังนั้นจึงมีโอกาสน้อยที่โรงเรียน จะได้รับ เงินสนับสนุนจากชุมชน ๖.โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้ระดั บชาติ และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น / จานวนชั่วโมงที่จัดให้เรียนต่อปี / ระบบการเรียนรู้ที่เน้นเป็นพิเศษ โรงเรียนดุสิตวิทยา จัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เป็น ๓ ระดับ คือ ระดับอนุบาล ๑ อายุระหว่าง ๓-๔ ปี อนุบาล ๒ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี อนุบาล ๓ อายุระหว่าง ๕-๖ ปี ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็ก ปีละ ๒ ภาคเรียน โดยกาหนดเป็น ๔๐ สัปดาห์ โดยประมาณ ซึ่งกาหนดรายละเอียดการจัดประสบการณ์ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้รายปี ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ( ๓ ปี )

ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ( ๔ ปี )

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ( ๕ ปี )

สาระตามหลักสูตร

เวลาเรียน สัปดาห์

สาระตามหลักสูตร

เวลาเรียน สัปดาห์

ปฐมนิเทศ

ปฐมนิเทศ

๑. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - ส่วนต่างๆของร่างกาย - คนเก่งเล่นของเล่น - สุขนิสัย - มารยาทไทย - ชือ่ - สกุล ๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ สถานที่แวดล้อมเด็ก - โรงเรียนแสนสนุก - ครอบครัวอันอบอุ่น - อาชีพที่หนูชอบ - วันสาคัญ

๒ ๒ ๒ ๒ ๑

๒ ๒ ๑ ๔

เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - หนูรู้สะอาด - ประสาทสัมผัส - เล่นกับเพื่อนๆ - อยู่ดีมีสุข - เด็กดีมีคุณธรรม เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ สถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวอันอบอุ่น - โรงเรียนแสนสนุก - บุคคลสาคัญ - วันสาคัญ - อาชีพ

๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๒ ๒ ๒ ๒ ๒

สาระตามหลักสูตร ปฐมนิเทศ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - รักษาสุขภาพร่างกาย ให้แข็งแรง - ประสาทสัมผัส - เด็กดีมีคุณธรรม - รู้ระเบียบวินัย - รักเขารักเรา เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ สถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวอันอบอุ่น - โรงเรียนแสนสนุก - วันสาคัญ - บุคคล + อาชีพ - ชุมชนของเรา

เวลาเรียน สัปดาห์

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๒ ๒ ๓ ๒ ๑


๙ ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ( ๓ ปี ) สาระตามหลักสูตร ปฐมนิเทศ ๓. ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต - ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

๔. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - อาหาร - หนูเดินทางไกล - วิทยาศาสตร์น่ารู้ - ของดีเมืองบ้านโป่ง - โครงงาน

ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ( ๔ ปี )

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ( ๕ ปี )

เวลาเรียน สัปดาห์

สาระตามหลักสูตร

เวลาเรียน สัปดาห์

สาระตามหลักสูตร

เวลาเรียน สัปดาห์

ปฐมนิเทศ

ปฐมนิเทศ

๔ ๔ ๔

ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต - ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

๒ ๑ ๒ ๑ ๒

สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - อาหาร - การติดต่อสื่อสาร - เทคโนโลยีล้าหน้า - ของดีเมืองบ้านโป่ง - โครงงาน

๕ ๓ ๑ ๒

ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต - อากาศ ฤดูกาล - กลางวัน กลางคืน - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

๖ ๓ ๑ ๒

๓ ๑ ๓ ๒ ๒

สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - อาหาร - การติดต่อสื่อสาร - การคมนาคม - ของดีเมืองบ้านโป่ง - โครงงาน

๓ ๑ ๒ ๓ ๒

๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ๗.๑ อาคารเรียนและอาคารประกอบ ๓ หลัง ได้แก่ อาคารเรียน ๓ หลัง ๗.๒ จานวนห้องเรียน ๖๐ ห้องเรียน ๘. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร ปีงบประมาณปี ๒๕๔๙ โรงเรียนได้รับเงินอุ ดหนุนรายหัวนักเรียนเป็นเงิน ๗,๑๗๓,๒๐๔.๒๖ บาท (เจ็ดล้านหนึ่งแสนเจ็ดหมื่นสามพันสองร้อยสี่บาทยี่สิบหกสตางค์ )


โรงเรียน มีพื้นที่ ๕ ไร่ ๒ งาน ๗๕ ๑/๑๐ ตารางวา ทรัพยากรที่จาเป็น มีดังนี้ - คอมพิวเตอร์ มีจานวนทั้งหมด ๑๑๒ เครื่อง ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๑๐๒ เครื่อง ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้ ๑๐๐ เครื่อง ใช้ในงานบริหาร ๑๐ เครื่อง - คอมพิวเตอร์ notebook จานวน ๓ เครื่อง - โทรทัศน์ จานวน ๖๕ เครื่อง - วิทยุเทป จานวน ๘๐ เครื่อง - เครื่องฉายสไลด์-โปรเจคเตอร์ จานวน ๓ เครื่อง - เครื่อง Vitualizer จานวน ๑ เครื่อง - เครื่อง Copy Print จานวน ๓ เครื่อง - เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน ๒ เครื่อง - กล้องถ่ายรูปDigital จานวน ๒ เครื่อง - Access Point สาหรับใช้บริการ Wireless Internet จานวน ๒ เครื่อง จานวนห้องประกอบ มีดังนี้ - ห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง - ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง - ห้องจริยธรรม ๑ ห้อง - ห้องปฏิบัติการทางภาษา ๑ ห้อง - ห้องสมุด ๑ ห้อง - ห้องพยาบาล ๑ ห้อง พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม/นันทนาการ ได้แก่ สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สระว่ายน้า

๑๐

๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ - ห้องสมุดมีขนาด ๑๐ x ๑๘ ตารางเมตร - จานวนหนังสือในห้องสมุด ๑๑,๓๑๘ เล่ม - หนังสือในห้องสมุดสืบค้นด้วยระบบ โปรแกรมสืบค้นข้อมูล PLS3 ของกรมการศึกษานอก โรงเรียน - มีแหล่งข้อมูลที่สืบค้นทาง Internet ได้ ๔ เครื่อง คิดสัดส่วนจานวนนักเรียน : เครื่อง = ๒ : ๑ - จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ คิดเป็น ร้อยละ ๙๐.๑๒ ต่อปี แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ห้องสมุด ๒. ห้องศูนย์สื่อ ๓. สระว่ายน้า ๔. สนามกีฬา และสนามเด็กเล่น

สถิติการใช้ ( จานวนครั้ง / ปี ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ตลาด ๒. สถานที่ราชการต่างๆ ๓. วัด ๔. ซาฟารีเวิลด์

สถิติการใช้ ( จานวนครั้ง / ปี ) ๑ ๑ ๑ ๑


๑๑

๑๐. ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ประสบความสาเร็จ ชื่องาน / โครงการ / กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ๒. โครงการกีฬาสี ๓. โครงการพัฒนาการศึกษา ๔. โครงการประชุมผู้ปกครอง ๕. โครงการวันสาคัญ ๖. โครงการตลาดนัดวิชาการ ๗. โครงการบัณฑิตน้อย ๘. โครงการกายบริหาร ๙. โครงการทัศนศึกษา ๑๐. โครงการหนูน้อยมารยาทงาม ๑๑. โครงการพัฒนาครูผู้สอน ๑๒. โครงการนิเทศการสอน ๑๓. โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๔. กิจกรรมนั่งสมาธิยามเช้า ๑๕. กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง ๑๖. กิจกรรมวันวิชาการ ๑๗. กิจกรรมอนุบาลสัมพันธ์ ๑๘. กิจกรรมการเล่านิทาน ๑๙. กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ ๒๐. กิจกรรม Fun Find Focus ๒๑. กิจกรรมศุกร์หรรษา ๒๒. กิจกรรมหนูรักธรรมะ

หลักฐานยืนยันความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รูปถ่าย รูปถ่าย , วุฒิบัตร รูปถ่าย , ใบตอบรับการเข้าร่วมประชุมของผู้ปกครอง รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย , วุฒิบัตร รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย,วุฒิบัตร รูปถ่าย รูปถ่าย , วุฒิบัตร รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย

๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง โรงเรียนดุสิตวิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบแรก เมื่อวันที่ ๒๕- ๒๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียน ซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้


๑๒ การศึกษาขั้นพื้นฐาน: การศึกษาปฐมวัย

ผลประเมิน อิงเกณฑ์ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึง 3.43 ดี ประสงค์ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 3.47 ดีมาก มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ 3.60 ดี ดนตรีและกีฬา มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด 3.57 ดีมาก สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและ มีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผูเ้ รียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร 3.53 ดีมาก มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก 3.50 ดีมาก การเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ 3.87 ดีมาก ทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ด้านครู มาตรฐานที่ 8 ครูมีคุณวุฒ/ิ ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่ 3.87 ดีมาก รับผิดชอบและมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่าง 3.53 ดีมาก มีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ 10 ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการ 4.00 ดีมาก บริหารจัดการ มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างและการ 3.86 ดีมาก บริหารงานอย่างเป็นระบบ ครบวงจรให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการ 3.51 ดีมาก สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียนและ 4.00 ดีมาก ท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความ 3.67 ดีมาก ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัย  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา คะแนน ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

4

ดีมาก

3.72

ดีมาก

4 4

ดีมาก ดีมาก

3.81 3.74

ดีมาก ดีมาก

4

ดีมาก

3.80

ดีมาก

4 4

ดีมาก ดีมาก

3.79 3.77

ดีมาก ดีมาก

4

ดีมาก

3.75

ดีมาก

4

ดีมาก

3.94

ดีมาก

4

ดีมาก

3.77

ดีมาก

3

ดี

3.50

ดีมาก

3

ดี

3.43

ดี

4

ดีมาก

3.76

ดีมาก

3

ดี

3.50

ดีมาก

3

ดี

3.34

ดี

ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๑๑.๑ ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ได้วิเคราะห์แต่ละมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัย ควร ส่งเสริมผู้เรียนในด้านการแสดงความรัก เคารพ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และแสดงออกซึ่งการตอบแทนพระคุณอย่างเหมาะสม มารยาทในการรับประทาน


อาหาร การแบ่งปัน ของเล่น/สิ่งของ แก่เพื่อนและผู้อื่น การให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเหมาะสมตามวัย และ การใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือ ความซื่อสัตย์ และการออมโดยสอดแทรกให้ความรู้ในระหว่างการจัด กิจกรรมต่างๆ อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง และครู ควรพัฒนาได้เข้ารับการอบรม ศึกษาดูงานเกี่ยวกับเทคนิค การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ ให้ครูนาผลการประเมินการพัฒนาการแก้ไขปรับปรุง ส่งเสริมผู้เรียน และสนับสนุนให้ครูนาผลการประเมินไปวางแผนร่วมกับผู้ปกครองในการพัฒนาผู้เรียน สร้าง เครื่องมือฝึกทักษะ กระบวนการคิดหลายๆ รูปแบบ

๑๓

๑๑.๒ การนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ จากผลการประเมิน ผู้บริหารควรจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและแผนปฏิบัติการ ประจาปีแยกออกจากการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ และตัวบ่งชี้ความสาเร็จ ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก การกาหนดตัวบ่งชี้ ความสาเร็จในการจัดทาโครงการตามแผน ควรมีความชัดเจน วัดผลได้ตรงตามเป้าหมาย


๑๔

บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๒.๑ รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกทีด่ ีต่ออาชีพสุจริต ๓.๑ ทางานจนสาเร็จและภูมิใจในผลงาน ๓.๒ เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากการเรียนรู้ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น ๕.๑ มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็ก ๕.๒ มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๕.๓ มีทักษะในการสื่อสาร ๕.๔ มีทักษะในการสังเกตและสารวจ ๕.๕ มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทักษะในเรื่องจานวน ปริมาณ น้าหนัก และการกะประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔ /

/

๙๐ ๙๐ ๙๐

/

๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐

/

/


๑๕

มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง ๖.๑ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้ ๖.๒ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และสนุกกับ การเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๗.๑ รักการออกกาลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้ ๗.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๙๐ ๙๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔ /

๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐

/

๙๐

/

๙๐ ๙๐ ๙๐

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ความสามรถ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมี ครูพอเพียง ๙.๑ มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความ คิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน)

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔ /


๑๖

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามรถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ความเช้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการ เรียนรู้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริง โดยคานึงถึง พัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการจัด ประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไปใช้พัฒนา เด็ก

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔

/

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นา และมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริเริ่ม มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นาทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริหารงานวิชาการและการจัดการ ๑๑.๔ มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้เกี่ยวข้องพึง พอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการ บริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริหารงานที่มี ความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์ ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ครอบคลุม และทันต่อการใช้งาน

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔ /

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/


๑๗

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริหารงานและ การพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และประสบการณ์การ เรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๔.๑ มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่งเสริมให้ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ๑๔.๓ มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ และสื่ออุปกรณ์การเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการผ่านการเล่นและ เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่งต่อข้อมูลของเด็กอย่าง เป็นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนาผลไปปรับปรุงการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัด ประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพเด็ก อย่างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่างทั่วถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการทางสมอง ตอบสนอง ความสนใจ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/


๑๘

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเด็ก ๑๖.๓ มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วย ตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๑๖.๔ มีห้องเรียน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สเี ขียว และสิ่ง อานวยความสะดวกพอเพียงและอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กร ทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อ พัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน ๑๘.๑ เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และบริการชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ) ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง ๔ /

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

/


๑๙

ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑.

โครงการ / กิจกรรมที่วางแผนดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าวข้า งต้นมีดังนี้ ชื่อโครงการ / กิจกรรม ตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการกีฬาสี สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการพัฒนาการศึกษา สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการประชุมผู้ปกครอง สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการวันสาคัญ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการตลาดนัดวิชาการ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการบัณฑิตน้อย สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการกายบริหาร สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการทัศนศึกษา สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการหนูน้อยมารยาทงาม สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการพัฒนาครูผู้สอน สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการนิเทศการสอน สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ โครงการส่งเสริมสุขภาพ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมนั่งสมาธิยามเช้า สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมวันวิชาการ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมอนุบาลสัมพันธ์ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมการเล่านิทาน สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมศุกร์หรรษา สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐ กิจกรรมหนูรักธรรม สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๘๐


บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี

๒๐

ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ โรงเรียนมีการดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาจนบรรลุความสาเร็จ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ดังนี้ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนได้กาหนดเป็นนโยบายไว้ในแผนกลยุทธ์ธรรมนูญโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจาปี มีโครงการและกิจกรรมหลากหลายที่ส่งเสริมทั้งทางด้านระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด มีเมตตา กรุณา การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และการเสียส ละเพื่อส่วนรวม ซื่อสัตย์สุจริต ทางโรงเรียนจึงมีการจัดโครงการและ กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอบรมหน้าแถว แบบบันทึกคุณธรรมจริยธรรม แบบประเมินพัฒนาการ แบบ บันทึกการจัดกิจกรรมเสรีเล่นตามมุมต่าง ๆ กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู แฟ้มสะสม ผลงาน กิจกรรมการเรียนรู้สู่โลกกว้าง และโครงการหนูน้อยมารยาทงาม ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๘๔% มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติ ตามข้อตกลงร่วมกัน ๘๕% มีความซื่อสัตย์สุจริต ๘๗% มีความกตัญญูกตเวที ๘๖% มีเมตตากรุณา มี ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ๘๓% ประหยัดรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๘๘% มี มารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ๘๓% มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจก รรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๒ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนจัดกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น เรียนรู้สู่ โลกกว้าง หนูน้อยชมตลาด เที่ยวชมร้านต้นไม้ ไปไปรษณีย์ สถานีตารวจ สถานีรถ ไฟ ห้องสมุดประชาชน กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในวันลอยกระทง แบบบันทึกคุณธรรมจริยธรรม แบบ บันทึกอบรมหน้าแถว วิจัยในชั้นเรียน ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่าง ๆ เด็กมีความกระตือรือร้น สนใจเข้าร่วมกิจกรรมถึงร้อยละ ๘๘ มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๓ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้


๒๑

โรงเรียนมีความตระหนักที่จะพัฒนาเด็ กให้มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตอย่างเด่นชัด โดยจัดโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้เด็กได้ฝึกฝนทั้งการทางานเป็นทีม และรายบุคคลทุกระดับชั้น โดยจัดให้มีการทาโครงงานต่าง ๆ กิจกรรมเสรี ศิลปะ ดนตรี โครงการกีฬาสี โครงการตลาดนัดวิชาการ เต้นแอโรบิค กิจกรรมอนุบาลสัมพันธ์ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กสนใจกระตือรือร้นในการทางาน ทางานจนสาเร็จตามลาดับขั้นตอน และชื่นชมในผลงาน ร้อยละ ๙๕ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต สามารถทางานแ ละเล่นร่วมกับผู้อื่น มีความเป็นผู้นา ผู้ตามที่ดี ร้อยละ ๙๕

มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของ มาตรฐานที่ ๔ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนได้ปฏิบัติตามแผนงานและโครงการเพื่อพัฒนาเด็กให้มีความรู้ ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ชัดเจนซึ่งจะ ศึกษาได้จากแฟ้มพัฒนาตนเองของเด็กทุกคนทุกชั้นเรียน มีการจัดทาโครงงานตลาดนัดวิชาการ กิ จกรรมวันแม่ กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมการเล่านิทาน บันทึกการอ่านจากนิทานเพื่อนรัก โครงการปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน เล่มโปรดบุ๊คคลับ รวมถึงการจัดกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์และกิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้ เด็กได้พัฒนาตามศักยภาพ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และวิสัยทัศน์ ร้อยละ ๙๐ เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้ ร้อยละ ๙๐ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๘๕ เด็กมีจินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ร้อย ละ ๙๕ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นตามหลักสูตร โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๕ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปีที่ปรากฏโครงการและกิจกรรมการพัฒนา ที่หลากหลาย เช่น โครงการพัฒนาครูผู้สอน โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุ ด ภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ กิจกรรม ต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้นได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง โครงการทัศนศึกษา กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่


๒๒

วารสารโรงเรียน แผนการจัดการเรี ยนรู้ โครงการนิเทศการสอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานระดับชั้น อนุบาล กิจกรรมหน้าเสาธง แบบประเมินรายบุคคลด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม ด้าน สติปัญญา แบบประเมินตัวบ่งชี้ บันทึกการปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา แบบบันทึกคาพูดเด็ก แบบบั นทึกการตรวจ สุขภาพ บันทึกการรับนักเรียนกลับบ้าน แบบบันทึกการเล่นตามมุม โครงการเยี่ยมบ้าน ตารางแสดง พัฒนาการเด็ก การวัดส่วนสูง- ชั่งน้าหนัก สารสัมพันธ์ลูกรัก การประเมินความพร้อมด้านการอ่าน สมุดงาน เด็ก ตารางกิจกรรมประจาวัน บัญชีเรียกชื่อ ระเบียนสะ สม สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึก คุณธรรม จริยธรรม บันทึกการอบรมหน้าแถว เป็นต้น ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีความพร้อมและทักษะเบื้องต้น ๘๗% เด็กมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก ๘๗% เด็กมีทักษะในการสื่อสารที่เหมาะสมกับวัย ๙๐% เด็กมีทักษะในการสังเกตและสารวจ ๘๒% เด็กมีทักษะใน เรื่องมิติสัมพันธ์และการกะประมาณสามารถเชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ ๘๗% เด็กมีความรู้เรื่องตนเอง บุคคลที่เกี่ยวข้องธรรมชาติ และสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ๘๘% มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๖ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนได้จัดทาโครงงาน โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง ทัศนศึกษา หาความรู้จากแหล่งเรี ยนรู้ ภายนอก ในระดับอนุบาล ๒-๓ มีห้องคอมพิวเตอร์ที่มีความทันสมัยไว้บริการนักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ และ ในแต่ละห้องเรียนมีมุมหนังสือทุกประเภทสาหรับบริการเด็กที่สนใจ รวมถึงจัดให้มีโครงการตลาดนัดวิชาการ ตามความถนัด ความชอบให้เด็กได้เลือกเรียน กิจกรรมวางทุกงานอ่านทุกคนโดยมีพี่ประถมมาเล่านิทาน ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๘๑ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่านร้อยละ ๘๑ เด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวและสนุกกับการเรียนรู้ได้ร้อยละ ๙๕ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๗ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดโครงการและกิจกรรมที่หลายหลาย เช่น ตลาดนัดวิชาการ โครงงานต่าง ๆ แอโรบิคยามเช้า การตรวจสุขภาพร่างกาย แบบบันทึกพัฒนาการ โครงการอนามัยโรงเรียน โครงการส่งเสริม สุขภาพในเขตเทศบาลเมืองบ้านโป่ง โครงการกีฬาสี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การอบรมหน้าแถว และการประเมินพัฒนาการด้านต่าง ๆ กิจกรรมนั่งสมาธิยามเช้า กิจกรรมศุกร์หรรษา กิจกรรมสวดมนต์ วันศุกร์


๒๓

ผลดาเนินงาน พบว่า เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร้อยละ ๙๐ รักการออกกาลังกาย ดูแลสุขภาพ และ ช่วยเหลือตนเองได้ ร้อยละ ๘๖ เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ ๙๕ ผู้เรียนเห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมาร้อยละ ๙๕ เด็กมี ความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ร้อยละ ๙๐ เด็กร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กล้าพูด กล้า คุย เข้ากับเพื่อน ๆ ได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ ๙๐ มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๘ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีสุนทรียภาพ โดยเด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปะ เช่น การวาดภาพ ระบายสี การปั้น การประดิษฐ์ การพับสี การเป่าสี การฉีก- ปะ การพับกระดาษ การขดเชือก การปะติดด้วย เศษวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมแอโรบิคยามเช้า กิจกรรมศุกร์หรรษา กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ส่งเสริมให้ เด็กมีความรู้ความสามารถด้านการเคลื่อนไหว กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มีการจัด กิจกรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ร้ อยละ ๙๐ มี ความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ร้อยละ ๙๐ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ร้อยละ ๙๐ มี ความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านการเคลื่อนไหว ร้อยละ ๘๐ มาตรฐานด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ครูมีวุฒิ /ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่น พัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๙ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีครูเพียงพอตามเกณฑ์ กค. ( ศธ ๑๓๐๕/๔๖๖ ลงวันที่ ๑๑ มิ.ย. ๒๕๔๕) ซึ่งในปี การศึกษา ๒๕๔๙ มีครูจานวน ๑๘ คน / เด็ก / คน ( ๑ : ๒๘) ครูได้รับการพัฒนาและอบรมในวิชาที่สอนไม่ ต่ากว่า ๒๐ ชั่วโมง / ปี ร้อยละ ๑๐๐ ครูสอนตรงกับวิชาเอกหรือความถนัด ครูจบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ ๑๐๐ ครูทุกคนมีแฟ้มพัฒนางานครู ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง มีสื่อสารสัมพันธ์บ้านกับ โรงเรียน ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น มีการแต่งตั้งบุคลากรมอบหมายภาระงานต่าง ๆ เช่น เป็น คณะกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร เป็นคณะกรรมการเลือกตั้งสมาชิ กวุฒิสภาของอาเภอบ้านโป่ง ร่วมงานประเพณีหรือวันสาคัญต่างๆ เช่น การเดินเทิดพระเกียรติวันพ่อ ถวายพวงมาลาวันปิยมหาราช เป็นต้น


๒๔

ผลการดาเนินงาน พบว่า ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ครูมีวุฒิ มีความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่น พัฒนาตนเอง เข้ ากับชุมชนได้ มีครูพอเพียง ร้อยละ ๘๘ และเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนตามโอกาสอันควร ได้ดี มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิท ธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่ อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๐ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนสนับสนุนให้ครูผู้สอนเข้ารับการอบรม สัมมนาเรื่อง การวิเคราะห์หลักฐานการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา การปฏิรูปการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การทาวิจัยในชั้นเรียน การประเมิน พัฒนาการตามรูปแบบต่าง ๆ การวัดผลตามสภาพจริง โดยเฉลี่ยครูทุกคนได้รับการส่งเสริมให้เข้ารับการ ฝึกอบรม สัมมนา ปีละประมาณ ๔ ครั้ง นอกจากนี้ ยังมีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูทาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีเ ครื่องมือวัดและประเมิน และจัดทา โครงงาน แบบประเมินพฤติกรรมเด็กทั้ง ๔ ด้าน แฟ้มสะสมผลงานของผู้เรียน ครูจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการตามวันและสนองความต้องการของเด็กแต่ละคน จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในห้องเรียนที่สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนกระตือรือร้นในการเรียนรู้ มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการดาเนินงาน พบว่า ครูร้อยละ ๘๙ มีความสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ ครูได้ ประเมินพัฒนาการของเด็กครบทุกด้านอย่างเหมาะสมตามวัย และสอดคล้องกับสภาพจริงของการเรียนรู้ มีการ พัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคล และครูได้มีการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุง ส่งเสริมเด็ก ครูได้นาผล ประเมินพัฒนาการของเด็กมาปรับการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กให้เต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อผู้เรียนบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๑โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความยุติธรรม รับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รับฟังปัญหาของคณะครู เปิดโอกาสให้คณะครูมีส่วนร่วมในการบริหาร มีการแบ่งงานตาม ความเหมาะสมอย่างเป็นระบบ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความมุ่งมั่นในการบริหาร จัดให้มีการ ประชุมร่วมกันของคณะครูร่วมจัดทา แผนกลยุทธ์ ธรรมนูญโรงเรียน แผนปฏิบัติงานประจาปี จัดให้มี โครงการ กิจกรรมต่างๆ ตามที่กาหนดไว้ในแผนโดยส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการปฏิบัติงานตามแผนไม่น้อย กว่า ร้อยละ ๘๐ ของแผนงาน บริหารงานโดยเห็นแก่ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ อุทิศตนให้กับงาน มา


๒๕

ปฏิบัติหน้าที่โดยสม่าเสมอ พัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับการอบรม สัมมนา ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอยู่ตลอดเวลา มีการ นิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครู ส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อ ใช้สื่อในการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย จัด ให้มีโครงการผลิตสื่อ พัฒนาสื่อ สนับสนุนให้มีห้องปฏิบัติการต่างๆ ในการพัฒนาการเรียนการสอนของครู สนับสนุนจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ประชุมคณะกรรมการอานวยการโรงเรียน อย่าง ต่อเนื่อง ให้คาปรึกษาชี้แนะแนวทางด้านวิชาการ แก่คณะครู เป็นผู้นาทางด้านวิชาการ พัฒนาด้านวิชาการ โรงเรียน ส่งเสริมโครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ พัฒนากิจกรรมชมรม พัฒนาครูและนักเรียนให้บรรลุ ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ทั้ง ๑๘ มาตรฐาน และนาผลการประเมินมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการดาเนินงาน พบว่า ผู้ร่วมงานและผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการบริหารงาน ร้อยละ ๑๐๐ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็น ระบบครบวงจร โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๒ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดทาธรรมนูญโรงเรียน มีโครงสร้าง แผนภูมิการบริหารงาน แผนปฏิบัติการ ประจาปี ปฏิทินปฏิบัติงานประจาปี สมุดคาสั่ง สมุด บันทึกการประชุม บันทึกการประชุมคณะกรรมการ อานวยการโรงเรียน บันทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน บันทึกการอบรมสัมมนาของครู แผนกลยุทธ์ข้อมูลสารสนเทศ แผนนิเทศและติดตามผลการเรียน ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก บัญชี รับจ่ายของสถานศึกษา รายงานประเมินตนเอง บันทึกการประชุมคณะกรรมการนักเรียน ผลการดาเนินงาน พบว่า มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๓ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดทาธรรมนูญโรงเรียน คาสั่งโรงเรียน บันทึกการประชุมคณะกรรมการ อานวยการโรงเรียน บันทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนปฏิบัติงานประจาปี ปฏิทิน ปฏิบัติงานประจาปี ระเบียบการส่งเสริมความสัมพันธ์และร่วมมือ กับชุมชน บันทึกกระประชุม บันทึกการ เยี่ยมบ้านเด็ก โครงการประชุมผู้ปกครอง โครงการวันสาคัญทางศาสนา โครงการมอบทุนการศึกษา การ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย อัคคีภัย หนังสือถึงผู้ปกครอง การแต่งกายอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย โครงการวันเด็ก วารสารโรงเรียน โครงการรณ รงค์ต่อต้านยาเสพติด โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สื่อทางด้าน หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น การช่วยเหลืองานประเพณีต่าง ๆ การให้บริการอาคารสถานที่จัดกิจกรรมต่าง ๆ ของ ชุมชน มีผู้นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรต่าง ๆ ร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน


๒๖

ร่วมกาหนดนโยบายของสถานศึกษา มีการตรวจสอบและถ่วงดุล ได้แก่ การจัดทาระบบบัญชีทุกประเภท มี คาสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติและตรวจสอบอย่างชัดเจน ผลการดาเนินงาน พบว่า มีการดาเนินงานเป็นขั้นตอน จัดเก็บข้อมูลบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มีหลักฐานการ ปฏิบัตงิ านครบถ้วน เช่น รูปถ่าย และรายละเอียดการดาเนินงานของโครงการต่าง ๆ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๔ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น ได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง ทัศนศึกษา วารสาร โรงเรียน แผนจัดการเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษา โครงการนิเทศการสอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานทุก ระดับชั้น สื่อประกอบการเรียนการสอ น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ มุมหนังสือภายใน ห้องเรียน แบบบันทึกประเมินพัฒนาการของเด็กต่าง ๆ แฟ้มพัฒนาผู้เรียน โครงการตลาดนัดวิชาการ ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและตั ดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้น รักสถานศึกษา เด็กกล้าแสดงออกเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย และ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับ ดีมาก มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๕ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้นได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง โครงการจัดทัศนศึกษา วารสารโรงเรียน แผนจัดการ เรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่น หนังสือนิทานเพื่อนรัก โครงการนิเทศการสอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานทุกระดับชั้น สื่อประกอบการเรียนการสอน ห้องศูนย์สื่อ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ มุมหนังสือภายในห้องเรียน แฟ้มพัฒนาผู้เรียน ตลาดนัดวิชา การ กิจกรรมบัณฑิต น้อย กิจกรรมกีฬาสี แอโรบิค นันทนาการ กิจกรรมวันสาคัญต่าง ๆ ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียน รักสถานศึกษา เด็กกล้าแสดงออก เกิดการเรียนรู้ที่มี ความหมายและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษาทีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตาม ธรรมชาติเต็มศักยภาพ


โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๖ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้

๒๗

โรงเรียนมีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง บันทึกการประชุม สมุดคาสั่งโรงเรียน ทะเบียนแหล่งเรียนรู้ ทะเบียนแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น มีสื่อการเรียนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มี สื่อธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ น้าตกจาลอง สวนหย่อม สนามเด็กเล่น บ้านจาลอง อ่างปลาสวยงาม สวนสัตว์ จาลอง มีอุปกรณ์กีฬา ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ มุมหนังสือ อุปกรณ์เล่นบทบาทสมมติ มีแหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ผลการดาเนินงาน พบว่า จากสภาพแวดล้อมและบริการดังกล่าว ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาและ ตัดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียนและรักสถานศึกษา เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายและ นาไปใช้ได้จริง มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๗ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่โลกกว้าง จัดกิจกรรมทัศนศึกษา โดยนาเด็กนักเรีย นระดับชั้นอนุบาล และผู้ปกครองที่สนใจไปทัศนศึกษาในสถานที่ต่าง ๆ เช่น พาเด็กเที่ยวชมตลาดสดบ้านโป่ง เด็กไปไหว้พระ ที่วัดบ้านโป่ง เที่ยวชมห้องสมุดประชาชน เด็กเยี่ยมชมสถานีรถไฟ ไปรษณีย์ อาเภอบ้านโป่ง มีการจัด โครงการตลาดนัดวิชาการ โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน มีการทาบุญในวันเด็ก การแข่งขันกีฬา สีภายใน การสรงน้าพระพุทธรูปเนื่องในวันสงกรานต์ ผลการดาเนินงาน พบว่า จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เด็กได้ เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีในท้ องถิ่น และร่วมกันอนุรักษ์ ภูมิใจในถิ่นเกิดและร่วมกันสืบสานให้คง อยู่กับท้องถิ่นด้วย ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้ อยู่ในระดับ ดีมาก มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถานบันทางวิชาการ และ องค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๘ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนได้จัดให้ผู้ปกครอง คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น การทา บุญใน วันเด็ก การแข่งขันกีฬาสีภายใน การสรงน้าพระพุทธรูปเนื่องในวันสงกรานต์ การมอบทุนการศึกษาให้แก่ นักเรียนที่เรียนดีของโรงเรียนดุสิตวิทยาเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และมี โครงการตลาดนัดวิชาการ โรงเรียนให้บริการสถานที่ในการจัด ประชุม จัดอบรม และจัดงานเลี้ยงต่าง ๆ และ ให้บริการในการยืมอุปกรณ์ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ


๒๘

ผลการดาเนินงาน พบว่า จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมให้โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมีความสัมพันธ์อันดี ต่อกัน ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้ อยู่ในระดับ ดีม าก จากการดาเนินงาน สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ได้ดังนี้ มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที๑่ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ๒.๑ รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๓.๑ ทางานจนสาเร็จและภูมิใจในผลงาน ๓.๒ เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากการเรียนรู้ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น ๕.๑ มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็ก ๕.๒ มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๕.๓ มีทักษะในการสื่อสาร ๕.๔ มีทักษะในการสังเกตและสารวจ ๕.๕ มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทักษะในเรื่องจานวน ปริมาณ น้าหนัก และการกะประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔


๒๙

มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง ๖.๑ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้ ๖.๒ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และสนุกกับ การเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตทีด่ ี ๗.๑ รักการออกกาลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้ ๗.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๔ ๔

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ความสามรถ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมี ครูพอเพียง ๙.๑ มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟังความ คิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน)

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔


๓๐

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามรถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ความเช้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการ เรียนรู้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริง โดยคานึงถึง พัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการจัด ประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไปใช้พัฒนา เด็ก

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นา และมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของ วิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริเริ่ม มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นาทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริหารงานวิชาการและการจัดการ ๑๑.๔ มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้เกี่ยวข้องพึง พอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการ บริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริหารงานที่มี ความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์ ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ครอบคลุม และทันต่อการใช้งาน

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔


๓๑

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริหารงานและ การพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และประสบการณ์การ เรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๔.๑ มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่งเสริมให้ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ๑๔.๓ มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ และสื่ออุปกรณ์การเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการผ่านการเล่นและ เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่งต่อข้อมูลของเด็กอย่าง เป็นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนาผลไปปรับปรุงการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนาแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัด ประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพเด็ก อย่างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่างทั่วถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการทางสมอง ตอบสนอง ความสนใจ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔


๓๒

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเด็ก ๑๖.๓ มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วย ตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๑๖.๔ มีห้องเรียน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และสิ่ง อานวยความสะดวกพอเพียงและอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้และภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กร ทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อ พัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน ๑๘.๑ เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และบริการชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

หมายเหตุ

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

๔ ๓ ๒ ๑

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔

ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง


๓๓

บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้ ๔.๑ สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม ด้านผู้บริหาร โรงเรียนมีการ จัดองค์กรโครงสร้างการบริหารอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุเป้าหมายทาง การศึกษา ทั้งนี้เนื่องจากได้รับความร่วมมือจากชุมชนในการพัฒนาเป็นอย่างดี ด้านการเรียนการสอน ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละสาระการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์น่าพอใจและครูมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ และมีประสบการณ์ในการสอนเป็นอย่างดี ด้านผู้เรียน ผู้เรียนมีระเบียบวินัย มีความซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบ มีสุขภาพพลานามัยที่ดี ร่าเริง แจ่มใส รู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง และมีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ดี มีทักษะ ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ รู้จักแสวงหาความรู้ต่างๆทั้งในและนอกโรงเรียน ๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา จุดเด่น สถานศึกษามีทรัพยากรด้านการบริการครบถ้วนมีครูเพียงพอ และมีความรู้ความสามารถในการ จัดการเรียนการสอนในแต่ละสาระการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ รวมถึงมีการการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย และมีการประเมินผล ตามสภาพจริง ทาให้มีการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนดีขึ้น จุดที่ควรพัฒนา เนื่องจากหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนดุสิต วิทยา เริ่มใช้ปีการศึกษา ๒๕๔๗ ใน ระดับชั้นอนุบาล ๑ – ๓ ซึ่งหลักสูตรอาจจะยังไม่สมบูรณ์ คงจะพบข้อบกพร่องและพัฒนาให้เหมาะสมยิ่งขึ้นต่อไป ๔.๓ แนวการพัฒนาในอนาคต โรงเรียนจะนาหลักสูตรสถานศึกษามาวิเคราะห์ เพื่อหาสาระหลักสูตรเพื่อพัฒนาให้หลักสูตรมี ความเหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น ครูทุกคนมีวุฒิทางครูระดับปริญญาตรี สาหรับครู ที่จบไม่ตรงสาขาที่สอน ทางโรงเรียนจะส่งเสริมให้เข้ารับการศึกษา ฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความชานาญ ทางการสอนมากยิ่งขึ้น ด้านการเรียนการสอนจัด กิจกรรมเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นกระบวนการคิด การวัดผล และประเมินผลตามสภาพจริง มีการวิจัยในชั้นเรียน การทาโครงงาน การศึกษานอกสถานที่ รวมถึงการใช้สื่อ ประกอบการเรียนการสอนให้มากขึ้น มีสื่อการสอนที่พอเพียงกับผู้เรียน และมีวิธีการเรียนการสอนที่หลากหลาย อยู่เสมอ


๓๔

ภาคผนวก


๓๕

ลงนามผู้เขียนรายงาน ลงชื่อ (นางดวงสิริ ลงชื่อ (นายธีรภัทร

ผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการโรงเรียนดุสิตวิทยา กุโลภาส) ผู้ช่วยผู้จัดการโรงเรียนดุสิตวิทยา กุโลภาส)

ลงชื่อ ครูใหญ่โรงเรียนดุสิตวิทยา (นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล) ลงชื่อ ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายปกครอง (นางสาวดิษยา กุโลภาส) ลงชื่อ (นางสายชล

ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายวิชาการ พรหมดา)

ลงชื่อ ผู้ช่วยครูใหญ่ฝ่ายบริการ (นางสาวพิกุล สุขวิสุทธิ์) ลงชื่อ (นางสมพร

ผู้ช่วยครูใหญ่ฝา่ ยธุรการ เปรมจิตต์)

ลงชื่อ (นางมาลา

หัวหน้าวิชาการอนุบาล

ลงชื่อ (นางเจริญ

ด้วงพันธุ์ ) หัวหน้าระดับอนุบาล ๓ ใจรัก)

ลงชื่อ หัวหน้าระดับอนุบาล ๒ (นางชวิศา เดชารัตนเจริญกิจ ) ลงชื่อ หัวหน้าระดับอนุบาล ๑ (นางณัฐกานต์ จันทร์งาม )


๓๖


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.