SAR Kinderkarten 2551

Page 1

รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย

โรงเรียนดุสิตวิทยา เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต ๒ สังกัด สานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. ๒๕๕๑


คานา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๖ มาตรา ๔๗, ๔๘, ๔๙, ๕๐ และ ๕๑ ได้กาหนดให้ทุกสถานศึกษา ต้องผ่านการประกันคุณภาพการศึกษาจากองค์กรหรือหน่วยงานภายนอก ในการ นี้ โรงเรียนดุสิตวิทยาได้ตระหนักถึงความสาคัญและภารกิจในการเตรียมความพร้อมในการรับการประเมิน คุณภาพสถานศึกษา จึงได้ร่วมมือกันระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครองดาเนินการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกฝ่ายของโรงเรียนมีค วามรู้ ความเข้าใจและร่วมมือกัน ปฏิบัติภารกิจต่างๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพของโรงเรียนในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษายิ่งขึ้น รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษา ฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงด้วยดีโดยได้รับความ ร่วมมือจากบุคลากรทุกฝ่าย ทางคณะผู้จัดการจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๒


สารบัญ คานา ........................................................................................................................................................................................................ ก สารบัญ .................................................................................................................................................................................................... ข บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ......................................................................................................................................................................... ๑ ๑. ข้อมูลทั่วไป ................................................................................................................................................................................ ๑ ๒. ข้อมูลด้านการบริหาร .............................................................................................................................................................. ๑ ๓. ข้อมูลนักเรียน ................................................................................................................................................................... ๔ ๔. ข้อมูลบุคลากร .......................................................................................................................................................................... ๕ ๕. สภาพชุมชนโดยรวม............................................................................................................................................................... ๕ ๖. โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้ระดับชาติ และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น /จานวนชั่วโมงที่จัดให้เรียนต่อปี / ระบบการเรียนรู้ที่เน้นเป็นพิเศษ ................................................................................................................................................ ๗ ๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่........................................................................................................................................................ ๘ ๘. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร.................................................................................................................................. ๘ ๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ ........................................................................................................................... ๙ ๑๐. ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ................................................................................................................................ ๑๐ ๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ...................................................................................................................... ๑๑ ๑๑.๑ ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ................................................................................................. ๑๒ ๑๑.๒ การนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ .................................................................................................... ๑๒ บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี ....................................................................................................................... ๑๓  มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก ................................................................................................................................................ ๑๓  มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................... ๑๔  มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ........................................................................................................... ๑๕ โครงการ / กิจกรรมที่วางแผนดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้นมีดังนี้ ................. ๑๙ บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี ........................................................................................................................ ๒๐  มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก ................................................................................................................................................ ๒๐ มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมที่พึงประสงค์ ....................................................................... ๒๐ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ..................................................................... ๒๐ มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ...... ๒๐ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ ...................................................................................................................................................................... ๒๑ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นตามหลักสูตร ................................................................... ๒๑ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒ นาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๒๒ ข


มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ............................................................................... ๒๒ มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ...................... ๒๓  มาตรฐานด้านการเรียนการสอน .................................................................................................................................... ๒๔ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ครูมีวุฒิ /ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนา ตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง ................................................................................................................. ๒๔ มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ๒๔  มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา .......................................................................................................... ๒๕ มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ................................... ๒๕ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็น ระบบครบวงจร ๒๕ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ................................ ๒๕ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ .................... ๒๖ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย .................................. ๒๖ มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษาทีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ ๒๗ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ............................... ๒๗ มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถานบันทางวิชาการ และ องค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน ................................................................................. ๒๘ บทที่ ๔ ...............................................................................................................................................................................................๓๕ สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้ ..............................................................................................................................................๓๕ ๔.๑ สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม ................................................................................................................................๓๕ ด้านผู้บริหาร ..........................................................................................................................................................................๓๕ ด้านการเรียนการสอน .........................................................................................................................................................๓๕ ด้านผู้เรียน ..............................................................................................................................................................................๓๕ ๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา .............................................................................................................๓๕ จุดเด่น .....................................................................................................................................................................................๓๕ จุดที่ควรพัฒนา ......................................................................................................................................................................๓๕ ๔.๓ แนวการพัฒนาในอนาคต ............................................................................................................................................... ๓๖ ภาคผนวก .......................................................................................................................................................................................... ๓๗ แผนที่การเดินทางมาโรงเรียนดุสิตวิทยา ...............................................................................................................................๓๘ คณะผู้เขียนรายงาน .................................................................................................................................................................... ๓๙ ค


บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ๑. ข้อมูลทั่วไป ๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์ ๗๐๑๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๓๒๒๑ ๑๒๖๐ โทรสาร ๐ ๓๒๒๑ ๑๐๒๙ e-mail: info@dusitwittaya.ac.th website: www.dusitwittaya.ac.th สังกัดสานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ ๑.๒ เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ๑ ถึง ระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริการ ๑๕ ตาบลในอาเภอบ้านโป่ง ได้แก่ ตาบลบ้านโป่ง ตาบลท่าผา ตาบลกรับให ญ่ ตาบลปากแรต ตาบลหนองกบ ตาบลหนองอ้อ ตาบลดอนกระเบื้ อง ตา บลสวนกล้วย ตาบล นคร ชุมน์ ตาบลบ้านม่วง ตาบลคุ้งพยอม ตาบลหนองปลาหมอ ตาบลเขาขลุง ตาบลเบิกไพร ตาบลลาด บัวขาว รวมถึงเขตอาเภอและจังหวัดใกล้เคียงด้วย

๒. ข้อมูลด้านการบริหาร ๒.๑ ชื่อ-สกุลผู้บริหาร นายธีรภัทร กุโลภาส วุฒิการศึกษาสูงสุด คม. สาขา บริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา ปี ๙ เดือน ๒.๒ ผู้ช่วยผู้บริหาร ๕ คน ได้แก่ ชื่อ-สกุล นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษม. สาขา บริหารการศึกษา ชื่อ-สกุล นางสายชล พรหมดา วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสาวดิษยา กุโลภาส วุฒิการศึกษาสูงสุด MS.HRM. สาขา บริหารงานบุคคล ชื่อ-สกุล นางสาวพิกุล สุขวิสุทธิ์ วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสมพร เปรมจิตต์ วุฒิการศึกษาสูงสุด คบ. สาขา บริหารการศึกษา ๒.๓ ประวัติ คาขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา โรงเรียนดุสิตวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตาบลบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ โดยมี นางดวงสิริ กุโลภาส เป็นผู้รับใบอนุญาต และผู้จัดการ นายธีรภัทร กุโลภาส เป็นผู้อานวยการโรงเรียน ระดับการศึกษาที่เปิดสอนระดับก่อนประถมศึกษาถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ คาขวัญของโรงเรียน คือ ขยันเรียน เพียรทาดี มีอัธยาศัย ๑


วัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา คือ ส่งเสริมพัฒนานักเรียนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เพื่อให้ความรู้ความสามารถและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่ดีของชาติส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาครู บุคลากรให้มีความสุข ความสาม ารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ เพื่อสามารถ ปฏิ บัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงส่งเสริมพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ด้วย ปรัชญาของโรงเรียน คือ เรียนดี มีน้าใจ ใฝ่หาความรู้ เชิดชูสถาบัน วิสัยทัศน์ของโรงเรียน คื อ นักเรียนโรงเรียนดุสิตวิทยา เป็นคนดี เก่ง มีความสุข รักษ์ ประชาธิปไตย ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พันธกิจและเป้าหมายสถานศึกษา พันธกิจ ๑. ส่งเสริมการพัฒนานักเรียนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๒. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรอย่างต่อเนื่องให้มีความรู้ ความสามารถและเจต คติที่ดีต่อวิชาชีพ ๓. ส่งเสริมการพัฒนาระบบบริหารและการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนดุสิตวิทยา เป็นคนมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยและมีความรั บผิดชอบสูง มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีและสุขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีความเป็นประชาธิปไตย ใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ครูมีความรู้ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ สามารถ ปฏิบัติงานได้บรรลุผลและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งโรงเรี ยนเป็นที่ยอมรับและเป็นที่พึงพอใจของชุมชน


๒.๔ ระบบโครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา แผนภูมิการบริหารงานโรงเรียนดุสิตวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๑


๓. ข้อมูลนักเรียน ที่ตั้ง ภูมิภาค หลักสูตรของสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ดังนี้ ๑) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด ๑,๕๑๓ คน ๒) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ระดับชั้น

เพศ

เตรียมอนุบาล อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ รวม ประถมศึกษาปีที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด

ชาย ๓๑ ๘๖ ๘๗ ๘๙ ๒๙๓ ๖๙ ๕๗ ๗๕ ๗๐ ๗๕ ๗๗ ๔๒๓ ๗๑๖

๓) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม

๔) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ

-

หญิง ๑๖ ๕๙ ๘๖ ๖๔ ๒๒๕ ๗๘ ๙๒ ๗๘ ๗๘ ๑๐๒ ๑๐๔ ๕๓๒ ๗๕๗ คน

คน

๕) มีนักเรียนปัญญาเลิศ ๖) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

รวม

๗๐ -

คน

คน

๗) จานวนนักเรียนต่อห้องเฉลี่ย

๔๐

๘) สัดส่วนครู : นักเรียน

๑ : ๒๕ คน

๙) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน

๒ ๔

คน

คน

๔๗ ๑๔๕ ๑๗๓ ๑๕๓ ๕๑๘ ๑๔๗ ๑๔๙ ๑๕๓ ๑๔๘ ๑๗๗ ๑๘๑ ๙๕๕ ๑,๔๗๓


๑๐)สถิติการขาดเรียน/เดือน

คน

๔. ข้อมูลบุคลากร ประเภทบุคลากร ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน ครูประจาการ ครูพี่เลี้ยง นักการ/ภารโรง อื่นๆ ......................... รวม

เพศ ชาย

หญิง

๑ ๕๕ ๑๑ ๑๙

๑๐

๘๖

มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก มีครูทสี่ อนวิชาตรงตามวิชาความถนัด

ระดับการศึกษาสูงสุด ต่ากว่า ป.ตรี สูงกว่า ป.ตรี ป.ตรี ๑ ๑ ๕๗ ๑๑ ๑๕ ๒๖ ๕๘

๕๗ คน -

อายุ เฉลี่ย (ปี) ๓๕ ๕๑ ๓๘ ๒๘ ๔๖

ประสบการณ์ ในตาแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี) ๑ ๓๐ ๑๒ ๔ ๖

๒ (๑๐๐ %) คน ( -

)

๕. สภาพชุมชนโดยรวม ๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนเมือง มีประชากรในอาเภอบ้านโป่ง ประมาณ ๑๕๕,๗๔๘ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทิศเหนือ ติดต่อ สถานีรถไฟบ้านโป่ง ทิศใต้ ติดต่อ วัดบ้านโป่ง ทิศตะวันออก ติดต่อ ทางรถไฟสายใต้ ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้าแม่กลอง อาชีพหลักของชุมชน คืออาชีพเกษตรกรรม ได้แก่การทานา ทาสวน ทาไร่ รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ ๒ ฝั่งของแม่น้าแม่กลอง จึงมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกจากนี้ประชากรยังประกอบอาชีพรับจ้าง ขายของชา และธุรกิจ ส่วนตัวด้วย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และอิสลาม ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้ จักโดยทั่วไป คือ การแข่งขันเรือยาวและลอยกระทง ประเพณีกินเจ แห่เทียนพรรษาช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา และประเพณีวันสงกรานต์ ๕.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ม.๖ – ปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ ๖๐ ๕


นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๙.๗๖ รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๑๗๐,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน ๕.๓ โอกาสของสถานศึกษากับความร่วมมือในด้านต่างๆ ของชุมชน โรงเรียนตั้งอยู่ในแหล่งชุมชน มีตลาดและวัดอยู่ใกล้ มีเส้นทางการคมนาคมที่สะดวกสบาย รวมถึง ตั้งอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น สระน้าโกสินารายณ์ ตลาดปลาสวยงาม วัดบ้านโป่ง รวมถึงอยู่ใกล้กับ หน่วยงานราชการต่างๆ ที่สาคัญ เช่น ที่ว่าการอาเภอบ้านโป่ง สถานีตารวจภูธรอาเภอบ้านโป่ง โรงพยาบาลบ้านโป่ง เทศบาลเมืองบ้านโป่ง สถานีรถไฟบ้านโป่ง รว มถึงแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ คือ แม่น้าแม่กลอง ซึ่งโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการด้วยดี และชุมชนมีความสัมพันธ์อันดี กับสถานศึกษา ๕.๔ ข้อจากัดของสถานศึกษากับความร่วมมือของชุมชน โรงเรียนดุสิตวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชน ดังนั้นจึงได้รับเงินสนั บสนุนจากชุมชนน้อยมาก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งอาเภอบ้านโป่งมีโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาลอยู่จานวนมาก ดังนั้นจึงมีโอกาสน้อยที่ โรงเรียนจะได้รับ เงินสนับสนุนจากชุมชน


๖. โครงสร้างหลักสูตรสาระการเรียนรู้ระดับชาติ และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น/จานวนชั่วโมงที่ จัดให้เรียนต่อปี/ระบบการเรียนรู้ที่เน้นเป็นพิเศษ โรงเรียนดุสิตวิทยา จัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เป็น ๓ ระดับ คือ ระดับอนุบาล ๑ อายุ ระหว่าง ๓-๔ ปี อนุบาล ๒ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี อนุบาล ๓ อายุระหว่าง ๕-๖ ปี ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ ให้แก่เด็กปีละ ๒ ภาคเรียน โดยกาหนดเป็น ๓๖ สัปดาห์ โดยประมาณ ซึ่งกาหนดรายละเอียดการจัด ประสบการณ์ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้รายปี ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ( ๓ ปี ) สาระตามหลักสูตร ๑. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู้จักกัน - ต้อนรับนักเรียนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูน้อยมารยาทดี - เด็กไทยน้าใจงาม ๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรียนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ

ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ( ๔ ปี ) เวลา เรียน สัปดาห์ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ( ๕ ปี )

เวลา เรียน สัปดาห์

สาระตามหลักสูตร ๑. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู้จักกัน - ต้อนรับนักเรียนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูน้อยมารยาทดี - เด็กไทยน้าใจงาม ๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อม เด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรียนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ

สาระตามหลักสูตร

เวลา เรียน สัปดาห์

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๑. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู้จักกัน - ต้อนรับนักเรียนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูน้อยมารยาทดี - เด็กไทยน้าใจงาม

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรียนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑


ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ( ๓ ปี ) สาระตามหลักสูตร ๓. ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งมีชีวิต - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่งไม่มีชีวิต - ธรรมชาติน่ารู้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๔. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - สีสันอันสดใส - รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผัส - ชั่ง ตวง วัด - สิ่งของในบ้าน - เครื่องมือเครื่องใช้ - เครื่องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่อสาร - เทคโนโลยี

ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ( ๔ ปี ) เวลา เรียน สัปดาห์

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ ( ๕ ปี ) เวลา เรียน สัปดาห์

สาระตามหลักสูตร

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

ธรรมชาติรอบตัว - สิง่ มีชีวิต - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่งไม่มีชีวิต - ธรรมชาติน่ารู้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - สีสนั อันสดใส - รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผัส - ชั่ง ตวง วัด - สิ่งของในบ้าน - เครื่องมือเครื่องใช้ - เครื่องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่อสาร - เทคโนโลยี

สาระตามหลักสูตร

เวลา เรียน สัปดาห์

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

ธรรมชาติรอบตัว - สิ่งมีชีวิต - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่งไม่มีชวี ิต - ธรรมชาติน่ารู้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก - สีสนั อันสดใส - รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผัส - ชั่ง ตวง วัด - สิ่งของในบ้าน - เครื่องมือเครื่องใช้ - เครื่องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่อสาร - เทคโนโลยี

๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑

๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ๗.๑ อาคารเรียนและอาคารประกอบ ๓ หลัง ได้แก่ อาคารเรียน ๓ หลัง ๗.๒ จานวนห้องเรียน ๖๐ ห้องเรียน

๘. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร ปีงบประมาณปี ๒๕๕๑ โรงเรียนได้รับเงินอุดหนุนรายหัวนักเรียนเป็นเงิน ๗,๖๓๙,๖๑๒.๒๐ บาท (เจ็ดล้านหกแสนสามหมื่นเก้าพันหกร้อยสิบสองบาทยี่สิบสตางค์) โรงเรียน มีพื้นที่ ๕ ไร่ ๒ งาน ๗๕ ๑/๑๐ ตารางวา - คอมพิวเตอร์ มีจานวนทั้งหมด ๙๖ ๘

ทรัพยากรที่จาเป็น มีดังนี้ เครื่อง


-

ใช้เพื่อการเรียนการสอน ๘๔ เครื่อง ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้ ๙๖ เครื่อง ใช้ในงานบริหาร ๑๒ เครื่อง - คอมพิวเตอร์ notebook จานวน ๓ เครื่อง โทรทัศน์ จานวน ๖๕ เครื่อง วิทยุเทป จานวน ๘๐ เครื่อง เครื่องฉายสไลด์-โปรเจคเตอร์ จานวน ๓ เครื่อง เครื่อง Vitualizer จานวน ๑ เครื่อง เครื่อง Copy Print จานวน ๓ เครื่อง - เครื่องถ่ายเอกสาร จานวน ๒ เครื่อง - กล้องถ่ายรูป Digital จานวน ๒ เครื่อง - Access Point สาหรับให้บริการ Wireless Internet จานวน ๘ เครื่อง จานวนห้องประกอบ มีดังนี้ - ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง - ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง - ห้องจริยธรรม ๑ ห้อง - ห้องปฏิบัติการทางภาษา ๑ ห้อง - ห้องสมุด ๑ ห้อง - ห้องพยาบาล ๑ ห้อง พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรม/นันทนาการ ได้แก่ สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สระว่ายน้า พื้นที่บริเวณใต้อาคาร ๒

๙. แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ -

ห้องสมุดมีขนาด ๑๐ × ๑๘ ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุด ๑๑,๖๙๙ เล่ม หนังสือในห้องสมุดสืบค้นด้วยระบบโปรแกรมสืบค้นข้อมูลของบริษัทอินโฟโปร ซอฟต์แวร์ จากัด มีแหล่งข้อมูลที่สืบค้นทาง Internet ได้ ๑ เครื่อง คิดสัดส่วนจานวนนักเรียน : เครื่อง เท่ากับ ๒๐ : ๑ จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ คิดเป็น ร้อยละ ๖๒.๔๐ ต่อปี

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ห้องสมุด ๒. ห้องศูนย์สื่อ ๓. สระว่ายน้า ๔. สนามกีฬา และสนามเด็กเล่น

สถิติการใช้ ( จานวนครั้ง / ปี ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ตลาดบ้านโป่ง ๒. สถานที่ราชการต่างๆ ๓. วัดบ้านโป่ง ๔. ซาฟารีเวิลด์

สถิติการใช้ ( จานวนครั้ง / ปี ) ๑ ๑ ๑ ๑


๑๐. ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ประสบความสาเร็จ ชื่องาน / โครงการ / กิจกรรม

หลักฐานยืนยันความสาเร็จ รูปถ่าย,เหรียญรางวัล รูปถ่าย,ใบตอบรับการเข้าร่วมประชุมของผู้ปกครอง รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย,วุฒิบัตร รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย รูปถ่าย

๑.โครงการกีฬาสี ๒. โครงการประชุมผู้ปกครอง ๓. โครงการวันสาคัญ ๔. โครงการตลาดนัดวิชาการ ๕. โครงการบัณฑิตน้อย ๖. กิจกรรมแอโรบิค ๗. โครงการหนูน้อยมารยาทงาม ๘. โครงการพัฒนาครูผู้สอน ๙. โครงการนิเทศการสอน ๑๐. โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑. โครงการนั่งสมาธิยามเช้า ๑๒. โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง ๑๓. โครงการวันวิชาการ ๑๔. โครงการอนุบาลสัมพันธ์ ๑๕. กิจกรรมการเล่านิทาน ๑๖. โครงการศุกร์หรรษา ๑๗. โครงการหนูรักธรรมะ

๑๐


๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง โรงเรียนดุสิตวิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสอง เมื่อวันที่ ๒๕- ๒๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครู และด้านผู้เรียน ซึ่งสรุปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็นตารางดังต่อไปนี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน: การศึกษาปฐมวัย

ผลประเมิน อิงเกณฑ์ ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ

ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึง ๓.๔๓ ดี ประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓.๔๗ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ๓.๖๐ ดี ดนตรีและกีฬา มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด ๓.๕๗ ดีมาก สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ต รองและ มีวิสัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ๓.๕๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก ๓.๕๐ ดีมาก การเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน ๓.๘๗ ดีมาก สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่ ๓.๘๗ ดีมาก รับผิดชอบและมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่าง ๓.๕๓ ดีมาก มีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการ ๔.๐๐ ดีมาก บริหารจัดการ มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างและการ ๓.๘๖ ดีมาก บริหารงานอย่างเป็นระบบ ครบวงจรให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรียนการ ๓.๕๑ ดีมาก สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีหลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียนและ ๔.๐๐ ดีมาก ท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพันธ์และความ ๓.๖๗ ดีมาก ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัย  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๑๑

ผลประเมิน อิงสถานศึกษา คะแนน ระดับคุณภาพ

ค่าเฉลี่ย

ระดับ คุณภาพ

ดีมาก

๓.๗๒

ดีมาก

๔ ๔

ดีมาก ดีมาก

๓.๘๑ ๓.๗๔

ดีมาก ดีมาก

ดีมาก

๓.๘๐

ดีมาก

๔ ๔

ดีมาก ดีมาก

๓.๗๙ ๓.๗๗

ดีมาก ดีมาก

ดีมาก

๓.๗๕

ดีมาก

ดีมาก

๓.๙๔

ดีมาก

ดีมาก

๓.๗๗

ดีมาก

ดี

๓.๕๐

ดีมาก

ดี

๓.๔๓

ดี

ดีมาก

๓.๗๖

ดีมาก

ดี

๓.๕๐

ดีมาก

ดี

๓.๓๔

ดี

ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา


๑๑.๑ ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ได้วิเคราะห์แต่ละมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัยควรส่งเสริมผู้เรียนในด้านการแสดงความรัก เคารพ พ่อ แม่ ผู้ ปกครอง และแสดงออกซึ่งการตอบแทนพระคุณอย่างเหมาะสม มารยาทในการรับประทานอาหาร การ แบ่งปัน ของเล่น /สิ่งของ แก่เพื่อนและผู้อื่น การให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเหมาะสมตามวัย และการใช้เวลา ว่างในการอ่านหนังสือ ความซื่อสัตย์ และการออมโดยสอดแทรกให้ความรู้ในระหว่างกา รจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง และครูควรพัฒนาได้เข้ารับการอบรม ศึกษาดูงานเกี่ยวกับเทคนิคการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ ให้ครูนาผลการประเมินการพัฒนาการแก้ไขปรับปรุงส่งเสริม ผู้เรียน และสนับสนุนให้ครูนาผลการประเมินไปวางแผนร่วมกั บผู้ปกครองในการพัฒนาผู้เรียน สร้าง เครื่องมือฝึกทักษะ กระบวนการคิดหลายๆ รูปแบบ ๑๑.๒ การนาผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ จากผลการประเมิน ผู้บริหารควรจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและแผนปฏิบัติการ ประจาปีแยกออกจากการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดปรัชญา วิสัยทัศ น์ เป้าหมาย พันธกิจ และตัวบ่งชี้ ความสาเร็จตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก การ กาหนดตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการจัดทาโครงการตามแผน ควรมีความชัดเจน วัดผลได้ตรงตามเป้าหมาย

๑๒


บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปี มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

 มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที่๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม ๒.๑รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับ ผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๓.๑ สนใจและกระตือรือร้นในการทางาน ๓.๒ ทางานจนสาเร็จและภูมิใจในผลงาน ๓.๓ เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ๓.๔มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากการเรียนรู้ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น ๕.๑ มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ – เล็ก ๑๓

๙๕

๙๔ ๙๔ ๙๖ ๙๔ ๙๔ ๙๕

๙๔

     

๙๓

๙๕

๙๕

๙๔ ๙๔ ๙๕ ๙๕ ๙๒ ๙๖ ๙๐ ๙๐ ๙๕ ๙๘

         


ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๕.๒ มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๕.๓ มีทักษะในการสื่อสาร ๕.๔ มีทักษะในการสังเกตและสารวจ ๕.๕ มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทักษะในเรื่องจานวน ปริมาณ น้าหนัก และการกะ ประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนา ตนเอง ๖.๑ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้ ๖.๒ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และ สนุกกับการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ๗.๑ รักการออกกาลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเอง ได้ ๗.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และ ผู้อื่น มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว

๙๕ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๖ ๙๒ ๙๑

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

๔       

๘๗

๙๔

๙๔

๙๕ ๙๒ ๙๒ ๙๓ ๙๖ ๙๕

    

๙๖ ๙๗ ๙๒

๑๐๐

 

 มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ความ สามรถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับ ชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง ๑๔


ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๙.๑ มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟัง ความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือ เทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากร สนับสนุน) มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามรถในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ความเช้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น สาคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริง โดย คานึงถึงพัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการ จัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไป ใช้พัฒนาเด็ก

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

๔       

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา

๑๐๐

๑๑.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ

๑๐๐

 มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา

๑๕


ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ของวิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริเริ่ม มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นาทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริหารงานวิชาการและการ จัดการ ๑๑.๔ มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบ วงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริหารงาน ที่มีความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม สถานการณ์ ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการ บริหารงานและการพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษา โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๔.๑ มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่งเสริมให้ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของ ๑๖

๑๐๐ ๑๐๐

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

๔  

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

    

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐


ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ เด็ก ๑๔.๓ มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ และสื่ออุปกรณ์การเรียนที่เอื้อ ต่อ การเรียนรู้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการผ่านการ เล่นและเด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่งต่อข้อมูลของ เด็กอย่างเป็นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนาผลไปปรับปรุงการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การจัดประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพเด็กอย่างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่าง ทั่วถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการทางสมอง ตอบสนองความสนใจ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ ดนตรี และการ

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐

 

๑๐๐ ๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

เคลื่อนไหว

๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมสืบสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการ บริการที่ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตาม ศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่ เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ เด็ก ๑๗

๑๐๐ ๑๐๐

 


ผลสาเร็จที่คาดหวัง (ร้อยละ)

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพตัวบ่งชี้ที่คาดหวัง

๑๖.๓ มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

๑๐๐

๑๖.๔ มีห้องเรียน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และ สิ่งอานวยความสะดวกพอเพียงและอยู่ในสภาพใช้การได้ดี

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๐๐

๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้า มามีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน ๑๘.๑ เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และ บริการชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

๑๘

๑๐๐ ๑๐๐

 


โครงการ / กิจกรรมที่วางแผนดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าว ข้างต้นมีดังนี้ ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗.

ชื่อโครงการ / กิจกรรม โครงการกีฬาสี โครงการประชุมผู้ปกครอง โครงการวันสาคัญ โครงการตลาดนัดวิชาการ โครงการบัณฑิตน้อย กิจกรรมแอโรบิค โครงการหนูน้อยมารยาทงาม โครงการพัฒนาครูผู้สอน โครงการนิเทศการสอน โครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการนั่งสมาธิยามเช้า โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง โครงการวันวิชาการ โครงการอนุบาลสัมพันธ์ กิจกรรมการเล่านิทาน โครงการศุกร์หรรษา โครงการหนูรักธรรมะ

ตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐ สาเร็จตามโครงการร้อยละ ๙๐

๑๙


บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี ในปีการ ศึกษา ๒๕๕๑ โรงเรียนมีการดาเนินงานตามแผนพัฒน ความสาเร็จตามมาตรฐานการศึกษาขั้นปฐมวัย ดังนี้

าคุณภาพการศึกษาจนบรรลุ

 มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เ พื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนได้กาหนดเป็นนโยบายไว้ในแผนกลยุทธ์ธรรมนูญโรงเรียน แผนปฏิบั ติการประจาปี มี โครงการและกิจกร รมหลากหลายที่ส่งเสริมทั้งทางด้านระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด มี เมตตากรุณา การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และการเสียสละเพื่อส่วนรวม ซื่อสัตย์สุจริต ทางโรงเรียนจึงมีการจัด โครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอบรมหน้าแถว แบบบันทึกคุณธรรมจริยธรรม แบบประเมิน พัฒนาการ แบบการจัดกิจกรรมเสรีเล่นตามศูนย์ต่างๆ กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู แฟ้มสะสมผลงาน กิจกรรมการเรียนรู้สู่โลกกว้าง และโครงการหนูน้อยมารยาทงาม แบบประเมินพัฒนาการ และการวิเคราะห์กิจกรรม โครงการกีฬาสี โครงการกีฬาสีอนุบาลสัมพันธ์ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ร้อ ยละ ๙๕ มี ระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ร้อยละ ๙๔ มีความซื่อสัตย์สุจริต ร้อยละ ๙๔ มี ความกตัญญูกตเวทีร้อยละ ๙๖ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ร้อยละ ๙๔ ประหยัด รู้จัก ใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมร้อยละ ๙๔ มีมารยามและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทยร้อยละ ๙๕ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๒ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนจัดกิจก รรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น เรียนรู้สู่โลก กว้าง หนูน้อยชมตลาด เที่ยวชมร้านต้นไม้ ไปไปรษณีย์ สถานีตารวจ สถานีรถไฟ ห้องสมุดประชาชน ไปวัดบ้านโป่ง กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในวันลอยกระทง แบบบันทึกคุณธรรมจริย ธรรม แบบบันทึก อบรมแถวหน้า วิจัยในชั้นเรียน การรักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน ประหยัดน้าประหยัดไฟ ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่างๆ เด็กมีความกระตือรือร้น สนใ จเข้าร่วมกิจกรรมถึงร้อยละ ๙๔ มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๓ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ ๒๐


โรงเรียนมีความตระหนักที่จะพัฒนาเด็กให้มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน ร่วมกั บผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริตอย่างเด่นชัด โดยจัดโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้เด็กได้ฝึกฝนทั้งการทางานเป็นทีม และรายบุคคลทุกระดับชั้น โดยจัดให้มีการทาโครงงานระดับต่างๆ กิจกรรมเสรี ศิลปะ ดนตรี โครงการกีฬาสี โครงการตลาดนัดวิชาก าร เต้นแอโรบิค กิจกรรมอนุบาล สัมพันธ์ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้และ มีความรู้สึกที่ดีต่อ อาชีพสุจริตร้อยละ ๙๕ เด็กมีความสนใจและกระตือรือร้นในการทางาน ร้อยละ ๙๔ ทางานจนสาเร็จ ตามลาดับขั้นตอน และชื่นชมในผลงา นร้อยละ ๙๕ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ร้อยละ ๙๕ สามารถ ทางานและเล่นร่วมกับผู้อื่นร้อยละ ๙๕ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจ กรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๔ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและโครงการเพื่อพัฒนาเด็กให้มีความรู้ ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมี วิสัยทัศน์ชัดเจนซึ่งจะ ศึกษาได้จากแฟ้มพัฒนาตนเองของเด็กทุกคนทุกชั้นเรียน มีการจัดทาโครงการตลาดนัดวิชาการ กิจกรรมวัน แม่ กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมการเล่านิทาน โครงการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านเล่มโปรดบุ๊คคลับ รวมถึงการ จัดกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรร มเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรม เสรี กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์และกิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กได้พัฒนาตามศักยภาพ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ ร้อยละ ๙๒ เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่ เกิดจากการเรียนรู้ ร้อยละ ๙๖ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๙๐ เด็กมีจินตนาการและ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ร้อยละ ๙๐ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้นที่จาเป็นตามหลักสูตร โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๕ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนจัดทาแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจาปีที่ปรากฏโครงการและกิจกรรมการพัฒนาที่ หลากหลาย เช่น โครงการพัฒนาครูผู้สอน โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ภูมิปัญญา ท้องถิ่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ห้องปฏิบัติการต่างๆ เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ กิจกรรม ต่างๆที่โรงเรียนจัดขึ้น ได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง กิจกรรมห้องสมุดเ คลื่อนที่ วารสารโรงเรียน แผนการจัดประสบการณ์ โครงการนิเทศการสอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานต่างๆ กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมศุกร์หรรษา แบบประเมินพัฒนาการ แบบประเมินตัวบ่งชี้ บันทึกการปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา แบบบันทึกคาพูดเด็ก แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ บันทึกการรับนักเรียนกลับบ้าน ตารางแสดงพัฒนาการ ๒๑


เด็ก การวัดส่วนสูง- ชั่งน้าหนัก สารสัมพันธ์ลูกรัก การประเมินความพร้อมด้านการอ่าน สมุดงานเด็ก ตารางกิจกรรมประจาวัน ระเบียนสะสม สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน แบบ บันทึกคุณธรรม-จริยธรรม บันทึกการอบรมหน้าแถว เป็นต้น ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีความพร้อมและทักษะเบื้อ งต้นที่จาเป็นตามหลักสูตรร้อยละ ๙๕ เด็กมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็กร้อยละ ๙๘ เด็กมีทักษะในการสื่อสารที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๙๔ เด็กมีทักษะในการสังเกตและสารวจ ร้อยละ ๙๕ เด็กมีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ร้อยละ ๙๖ เชื่อมโยง ความรู้และทักษะต่างๆร้อยละ ๙๒ เด็กมีความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเอง เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ เรื่องราวธรรมชาติรอบตัวและสิ่งต่างๆรอบตัวเด็กร้อยละ ๙๖ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๖ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนได้จัดทาโค รงงาน โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ใน ระดับอนุบาล ๒-๓ มีห้องคอมพิวเตอร์ที่มีความทันสมัยไว้บริการนักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ และในแต่ ละห้องเรียนมีมุมหนังสือทุกประเภทสาหรับบริการเด็กที่สนใจ มีห้องศูนย์สื่อ รวมถึงจัด ให้มีโครงการตลาด นัดวิชาการตามความถนัด ความชอบให้เด็กได้เลือกเรียน กิจกรรมวางทุกงานอ่านทุกคน กิจกรรมเล่า นิทาน ผลการดาเนินงาน พบว่าเด็กมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่องร้อยละ ๙๐ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่านร้อยละ ๘๗ เด็กมี ความกระตือรือร้นใน การเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัวและสนุกกับการเรียนรู้ร้อยละ ๙๔ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของ มาตรฐานที่ ๗ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ตลาดนัดวิชาการ โครงงานต่างๆ แอโรบิคยามเช้า การตรวจสุขภาพ แบบบันทึกพัฒนาการ โครงการอนามัยนักเรียน โครงการส่งเสริม สุขภาพในเขตเทศบาลเ มืองบ้านโป่ง โครงการกีฬาสี โครงการกีฬาสีสัมพันธ์ กิจกรรมชเล็นจ์เดย์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การอบรมหน้าแถว และการประเมินพัฒนาการด้านต่างๆ กิจกรรมนั่งสมาธิ ยามเช้า กิจกรรมศุกร์หรรษา กิจกรรมสวดมนต์วันศุกร์ โครงการหนูน้อยรักธรรม ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร้อยละ ๙๔ รักการออกกาลัง กาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้ ร้อยละ ๙๕ เด็กมีน้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ ๙๒ เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมึ นเมาร้อยละ ๙๒ เด็กมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมร้อยละ ๙๓ เด็กร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กล้า พูด กล้าคุย เข้ากับเพื่อนๆได้อย่างเหมาะสมร้อยละ ๙๖

๒๒


มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๘ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีสุนทรียภาพ โดยเด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปะ เช่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การประดิษฐ์ การพับสี การเป่าสี การฉีก- ปะ การตัดปะ การพับกระดาษ การขดเชือก การ ประติดด้วยเศษวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมยามเช้า กิจกรรมศุกร์หรรษา กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ความสามารถด้านการเคลื่อนไหว กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้าน มี การจัดกิจกรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน กีฬาอนุบาลสัมพันธ์ ผลการดาเนินงาน พบว่า เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและการ เคลื่อนไหว ร้อยละ ๙๕ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ร้อยละ ๙๖ มีความสนใจและร่วม กิจกรรมด้านดนตรีร้อยละ ๙๗ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านการเคลื่อนไหวร้อยละ ๙๒

๒๓


 มาตรฐานด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ครูมีวุฒิ /ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่น พัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๙ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีครูเพียงพอตามเกณฑ์ กค . ( ศธ ๑๓๐๕ /๔๖๖ ลงวันที่ ๑๑ มิ.ย. ๒๕๔๕ ) ซึ่งในปี การศึกษา ๒๕๕๑ มีครูจานวน ๒๔ คน / เด็ก ๕๒๘ คน ( ๑ : ๒๒) ครูได้รับการพัฒนาและอบรมในวิชาที่ สอนไม่ต่ากว่า ๒๐ ชั่วโมง / ปี ร้อยละ ๑๐๐ ครูสอนตรงกับวิชาเอกหรือความถนัด ครูจบปริญญาตรีหรือ เทียบเท่า ร้อยละ ๑๐๐ ครูทุกคนมีแฟ้มพัฒนางานครู ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง มีสื่อสาร สัมพันธ์บ้านกับโรงเรียน ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น มีการร่วมแข่งขันกีฬาอนุบาลสัมพันธ์ กีฬาบ้าน โป่งเกมส์ครั้งที่ ๑ และร่วมแข่งขันกีฬาจังหวัด ร่วมงานประเพณีหรือวันสาคัญต่างๆ เช่น การเดิน เทิดพระเกียรติวันพ่อ ถวายพวงมาลาวันปิยมหาราช เป็นต้น ผลการดาเนินงาน พบว่า ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ครูมีวุฒิ มีความรู้ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ มีครูพอเพียง ร้อยละ ๘๘ และเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน ตามโอกาสอันควรได้ดี มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๐ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนสนับสนุนให้ครูผู้สอนเข้ารับการอบรม สัมมนาเรื่อง การวิเคราะห์หลักฐานการจัดทา หลักสูตรสถานศึกษา การปฏิรูปการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การทาวิจัยในชั้นเรียน การ ประเมินพัฒนาการตามรูปแบบต่าง ๆ การวัดผลตามสภาพจริง โดยเฉลี่ยครูทุกคนได้รับการส่งเสริมให้เข้ารับ การฝึกอบรม สัมมนา ปีละประมาณ ๔ ครั้ง นอกจากนี้ ยังมีการจัด ทาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยมีสื่อและอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน ครูทาวิจัยเพื่อ พัฒนาผู้เรียน มีเครื่องมือวัดและประเมิน และจัดทาโครงงาน แบบประเมินพฤติกรรมเด็กทั้ง ๔ ด้าน แฟ้ม สะสมผลงานของผู้เรียน ครูจั ดกิจกรรมและประสบการณ์ที่สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยและสนองความ ต้องการของเด็กแต่ละคน จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในห้องเรียนที่สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการดาเ นินงาน พบว่าครูร้อยละ ๑๐๐ มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพโดยเน้นเด็กเป็นสาคัญ ครูได้ประเมินพัฒนาการของเด็กครบทุกด้านอย่างเหมาะสมตามวัย และ สอดคล้องกับสภาพจริงของการเรียนรู้ มีการพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคล และครูได้มีการประเมินเพื่ อ แก้ไข ปรับปรุง ส่งเสริมเด็ก ครูได้นาผลประเมินพัฒนาการของเด็กมาปรับการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนา เด็กให้เต็มศักยภาพ ๒๔


 มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อผู้เรียนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๑โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น รับฟังปัญหาของคณะครู เปิดโอกาสให้คณะครูมีส่วนร่วมในการบริหาร มีการแบ่งงานตามความ เหมาะสมอย่างเป็นระบบ ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความมุ่งมั่นในการบริหาร จัดให้มีการ ประชุม ร่วมกันของคณะครูร่วมจัดทา แผนกลยุทธ์ ธรรมนูญโรงเรียน แผนปฏิบัติงานประจาปี จัดให้มี โครงการ กิจกรรมต่างๆ ตามที่กาหนดไว้ ในแผนโดยส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการปฏิบัติงานตามแผนไม่น้อย กว่า ร้อยละ ๘๐ ของแผนงาน บริหารงานโดยเห็นแก่ประ โยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ อุทิศตนให้กับงาน มา ปฏิบัติหน้าที่โดยสม่าเสมอ พัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับการอบรม สัมมนา ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอยู่ตลอดเวลา มีการนิ เทศการสอนเพื่อพัฒนาครู ส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อ ใช้สื่อในการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย จัดให้มี โครงการผลิตสื่อ พัฒนาสื่อ สนับสนุนให้มีห้องปฏิบัติการต่า งๆ ในการพัฒนาการเรียนการสอนของครู สนับสนุนจัดให้มีกา รประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ประชุม คณะกรรมการอานวยการโรงเรียน อย่าง ต่อเนื่อง ให้คาปรึกษาชี้แนะแนวทางด้านวิชาการ แก่คณะครู เป็นผู้นาทางด้านวิชาการ พัฒนาด้านวิชาการ โรงเรียน ส่งเสริมโครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ พัฒนาครูและนักเรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัย ทั้ง ๑๘ มาตรฐาน และนาผลการประเมินมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการดาเนินงาน พบว่า ผู้ร่วมงานและผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการบริหารงาน ผลการ ประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในเกณฑ์ดีมาก มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง ระบบการบริ หารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็น ระบบครบวงจร โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๒ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดทาแผนกลยุทธ์ก ารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโครงสร้าง แผนภูมิการบริหารงาน แผนปฏิบัติการประจาปี ปฏิทินปฏิบัติงานประจาปี สมุดคาสั่ง สมุดบันทึกการประชุมมีการติดต่อสื่อสารโดย ใช้ระบบอีเมลล์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการอานวยการโรงเรียน บันทึกการอบรมสัมมนาของครู แผน กลยุทธ์ข้อมูลสารสนเทศ แผนนิเทศและติดตามผลการเรียน ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็ก บัญชีรับ จ่ายของสถานศึกษา รายงานประเมินตนเอง บันทึกการประชุมคณะกรรมการนักเรียน ผลการดาเนินงาน พบว่า สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้างระบบบริหารงานและพัฒนาองค์กร อย่างเป็นระบบครบวงจร ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ๒๕


ของมาตรฐานที่ ๑๓ โดยดาเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดทา แผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คาสั่งโรงเรียน บันทึกการประชุม คณะกรรมการอานวยการโรงเรียน แผนปฏิบัติงานประจาปี ปฏิทินปฏิบัติงานประจาปี ระเบียบการส่งเสริม ความสัมพันธ์และร่วมมือกับชุมชน บันทึกกระประชุม โครงการประชุมผู้ปกครอง โคร งการวันสาคัญทาง ศาสนา โครงการมอบทุนการศึกษา การช่วยเหลือเด็กพิการทางสมองและพิการซ้าซ้อน หนังสือถึงผู้ปกครอง การแต่งกายอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย โครงการวันเด็ก วารสารโรงเรียน โครงการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ สื่อทางด้านหนังสือพิม พ์ท้องถิ่น การช่วยเหลืองานประเพณีต่าง ๆ การ ให้บริการอาคารสถานที่จัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน มีผู้นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรต่างๆ ร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกาหนดนโยบายของสถานศึกษา มีการตรวจสอบและ ถ่วงดุล ได้แก่ การจัดทาระบบบัญชีทุกประเภท มีคาสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติและตรวจสอบอย่างชัดเจน ผลการดาเนินงาน พบว่า มีการดาเนินงานเป็นขั้นตอน จัดเก็บข้อมูลบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มี หลักฐานการปฏิบัติงานครบถ้วน เช่น รูปถ่าย และรายละเอียดการดาเนินงานของโครงการต่าง ๆ ผลการ ประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดีมาก มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๔ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้น ได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง วารสารโรงเรียน แผนการจัด ประสบการณ์กิจกรรมบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรสถานศึกษา โครงการนิเทศการ สอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานทุกระดับชั้น สื่อประกอบการเรียนการสอน ห้องส มุด ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ มุมหนังสือภายในห้องเรียน แบบบันทึกประเมินพัฒนาการ แฟ้มพัฒนาผู้เรียน โครงการตลาด นัดวิชาการ ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และตัดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมี ความกระตือรือร้น รักสถานศึกษา เด็กกล้าแสดงออก และสามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับ ดีมาก มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริม ต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๕ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดขึ้นได้แก่ โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง โครงการจัดทัศนศึกษา วารสาร โรงเรียน แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลั กสูตร สถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่น หนังสือนิทานเพื่อนรัก โครงการนิเทศการสอน วิจัยในชั้นเรียน โครงงานระดับอนุบาล สื่อประกอบการเรียนการสอน ห้องศูนย์สื่อ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ มุมหนังสือ ภายในห้องเรียน แฟ้มพัฒนาผู้เรียน ตลาดนัดวิชาการ โครงการบั ณฑิตน้อย โครงการกีฬาสี กิจกรรมแอโร บิค กิจกรรมวันสาคัญต่าง ๆ ๒๖


ผลการดาเนินงาน พบว่า กิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิด แก้ปัญหาและตัดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียน รักสถานศึกษา เด็กกล้าแสดงออก เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับ ดี มาก มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษาทีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้ เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๖ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนมีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรท้องถิ่น รายงานการประเมินตนเอง บันทึกการ ประชุม สมุดคาสั่งโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ มีสื่อการเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีสื่อธ รรมชาติ เช่น ต้นไม้ น้าตกจาลอง สวนหย่อม สนามเด็กเล่น บ้านจาลอง อ่างปลาสวยงาม สวนสัตว์จาลอง มีอุปกรณ์กีฬา ห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ มุมหนังสือ อุปกรณ์เล่นบทบาทสมมติ มีแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยจัดโครงการเรียนรู้สู่โลกกว้าง ผลการดาเนินงานพบว่า จากสภาพแวดล้อมและบริการดังกล่าว ส่งเสริมให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์ คิด สังเคระห์ แก้ปัญหาและตัดสินใจ ส่งเสริมให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียนและรักสถานศึกษา เกิดการ เรียนรู้และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับ ดีมาก มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๗ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ จัดโครงการการเรียนรู้สู่โลกกว้าง โดยนาเด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาลและผู้ปกครองที่สนใจไปทัศน ศึกษาในสถานที่ต่าง ๆ เช่น พาเด็กเที่ยวชมตลาดสดบ้านโป่ง เด็กไปไหว้พระที่วัดบ้านโป่ง เที่ยวชม ห้องสมุดประชาชน เด็กเยี่ยมชมสถานีรถไฟ ไปรษณีย์ อาเภอบ้านโป่ง และชมสวนดอกไม้ มีการจัด โครงการตลาดนัดวิชาการ โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน มีการทาบุญในวันเด็ก การแข่งขัน กีฬาสีภายใน การสรงน้าพระพุทธรูปเนื่องในวันสงกรานต์ ร่วมสังสรรค์ ร่วมแข่งขันกีฬาบ้านโป่งเกมส์และ กีฬาจังหวัด ผลการดาเนินงาน พบว่า จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมให้โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ อันดีต่อกัน เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีในท้องถิ่น และร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ภูมิใจในถิ่นเกิดและร่วมกันสืบสานวัฒนธรรมให้คงอยู่กับท้องถิ่นต่อไป ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้ อยู่ ในระดับ ดีมาก

๒๗


มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถานบันทางวิชาการ และ องค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๘ โดยดาเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรียนได้จัดให้ผู้ปกครอง คนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น การทาบุญในวันเด็ก การแข่งขันกีฬาสีภายใน การสรงน้าพระพุทธรูปเนื่องในวันสงกรานต์ การมอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียน ที่เรียนดีของโรงเรียนดุสิตวิทยาเนื่องในวันเฉลิมพระชน มพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และมี โครงการตลาดนัดวิชาการ ซึ่งได้มีการเชิญผู้ปกครอง หรือผู้มีความรู้ในด้านต่างๆในท้องถิ่นเข้ามาให้ความรู้ และร่วมจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน โรงเรียนให้บริการสถานที่ในการจัดประชุม จัดอบรม และจัดงานเลี้ยง ต่าง ๆ และให้บริการในการยืมอุปกรณ์ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ ผลการดาเนินงาน พบว่า จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ส่งเสริมให้โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมี ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ผลจากการประเมินตามตัวบ่งชี้ อยู่ในระดับ ดีมาก

๒๘


จากการดาเนินงาน สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ได้ดังนี้ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้  มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที่๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ๔ ประสงค์ ๑.๑ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน ๔ ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริต ๔ ๔ ๑.๓ มีความกตัญญูกตเวที ๔ ๑.๔ มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ๔ ๑.๕ ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๔ ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๔ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนา ๔ สิ่งแวดล้อม ๒.๑ รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการ ๔ ๔ เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์ ๔ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทางานจนสาเร็จ ทางานร่วมกับ ๔ ผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๔ ๓.๑ สนใจและกระตือรือร้นในการทางาน ๔ ๓.๒ ทางานจนสาเร็จและภูมิใจในผลงาน ๔ ๓.๓ เล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ ๔ ๓.๔ มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต ๔ มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และ ๔ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๔ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดจากการเรียนรู้ ๔ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔ ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ ๔ ๔ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น ๕.๑ มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็ก ๔ ๕.๒ มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๔ ๒๙


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๕.๓ มีทักษะในการสื่อสาร ๕.๔ มีทักษะในการสังเกตและสารวจ ๕.๕ มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทักษะในเรื่องจานวน ปริมาณ น้าหนัก และการกะ ประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนา ตนเอง ๖.๑ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้ ๖.๒ มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และ สนุกกับการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ ดี ๗.๑ รักการออกกาลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเอง ได้ ๗.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา ๗.๔ มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และ ผู้อื่น มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว  มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ความ สามรถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับ ชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง ๓๐

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๔ ๔ ๔

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน ๔

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔


ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๙.๑ มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟัง ความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือ เทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากร สนับสนุน) มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามรถในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ความเช้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น สาคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริง โดย คานึงถึงพัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการ จัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไป ใช้พัฒนาเด็ก  มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๓๑

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๑.๒ มีความคิดริเริ่ม มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นาทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริหารงานวิชาการและการ จัดการ ๑๑.๔ มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบครบ วงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริหารงาน ที่มีความคล่องตัวสูงและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม สถานการณ์ ๑๒.๒มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องพึงพอใจผลการ บริหารงานและการพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษา โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริหารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ๑๔.๑ มีหลักสูตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่งเสริมให้ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของ เด็ก ๓๒

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๔

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔


ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๔.๓ มีการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ และสื่ออุปกรณ์การเรียนที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการผ่านการ เล่นและเด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่งต่อข้อมูลของ เด็กอย่างเป็นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนาผลไปปรับปรุงการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การจัดประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพเด็กอย่างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่าง ทั่วถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการทางสมอง ตอบสนองความสนใจ และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ ดนตรี และการ เคลื่อนไหว ๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมสืบสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาไทย ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม ความเป็นประชาธิปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการ บริการที่ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตาม ศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีอาคารสถานที่ เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ เด็ก ๓๓

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ๑๖.๓ มีการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ๑๖.๔ มีห้องเรียน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และ สิ่งอานวยความสะดวกพอเพียงและอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้า มามีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน ๑๘.๑ เป็นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และ บริการชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน หมายเหตุ

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ

๔ ๓ ๒ ๑

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ระดับคุณภาพ ตัวบ่งชี้ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔

๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

๓๔

ระดับคุณภาพ มาตรฐาน


บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนาไปใช้ ๔.๑ สรุปผลการดาเนินงานในภาพรวม ด้านผู้บริหาร โรงเรียนมีการจัดองค์กรโครงสร้างการบริหาร งานอย่าง เป็นระบบ ชัดเจน และ ครบวงจร ทาให้การแบ่งงาน รับผิดชอบในแต่ละส่วนมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารมีภาวะความเป็นผู้นาและให้การส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้รับความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีการส่งเสริมให้ครูได้รับการอบรมอย่างต่อเนื่อง จัดประชุมครูทุกเดือนเพื่อให้ทราบ ข่าวสารต่างๆ และเน้นการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ มีการเปิดรับฟังความคิดเห็นของครูในเรื่องสาคัญต่างๆ และ มีการดาเนินการในด้ านต่างๆเพื่อสร้าง ขวัญและกาลังใจแก่ครูสม่าเสมอ นอกจากนี้โรงเรียนยัง ได้รับความร่วมมือจาก บุคลากรทุกฝ่ายของโรงเรียนตลอดจนผู้ปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชนในการพัฒนาเป็นอย่างดี ด้านการเรียนการสอน ครูมีความรู้ในระดับปริญญาตรีทางด้านการศึกษาหรือสาขาที่เกี่ยวข้อ งและสอนตามความถนัด มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนในแต่ละสาระการเรียนรู้ ครูส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการสอนมากกว่า 10 ปี มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์น่า พอใจ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ ด้านผู้เรียน ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ ด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มีสุข ภาพพลานามัยที่ดี ร่าเริง แจ่มใส รู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง มีความ ซื่อสัตย์ และมีความรับผิด ชอบ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา มีทักษะ คิดริเริ่ม สังเคราะห์ มีความรู้ และทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุกด้าน มีความสนใจไฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง เล่น/ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ได้ และชื่นชมในผลงานตนเอง

๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา จุดเด่น สถานศึกษามีทรัพยากรด้านการบริการครบถ้วน มีครูเพียงพอ และมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียน การสอนในแต่ละสาระการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ รวมถึงมีการ การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย และมีการประเมินผลตามสภาพจริง ทา ให้มีการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนดีขึ้น จุดที่ควรพัฒนา เนื่องจากหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัยของโรงเรียนดุสิตวิทยา เริ่มใช้ปีการศึกษา ๒๕๔๗ ในระดับชั้น อนุบาล ๑ – ๓ ซึ่งหลักสูตรอาจจะยังไม่สมบูรณ์ คงจะพบข้อบกพร่องและพัฒนาให้เหมาะสมยิ่งขึ้นต่อไป

๓๕


นอกจากนี้ โรงเรียนควรมีการนาหลักการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ โรงเรียนมากขึ้น โดยจัดให้มีการสารวจความคิดเห็นของผู้ปกครองและชุมชน และนามาปรับปรุงหลักสูตรและ กิจกรรมการจัดประสบการณ์ รวมทั้งนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาปรับใช้ ให้เด่นชัดและเป็นรูปธรรมมากขึ้น ด้วย ในด้านอาคารสถานที่ โรงเรียนควร พัฒนาปรับปรุง อาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ และบริเวณโรงเรียนให้เอื้อต่อการ เสริมประสบการณ์เด็กปฐมวัยมากขึ้นด้วย

๔.๓ แนวการพัฒนาในอนาคต โรงเรียนจะนาหลั กสูตรสถานศึกษามาวิเคราะห์ เพื่อหาสาระหลักสูตรเพื่อพัฒนาให้หลักสูตรมีความ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง และท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น ครูทุกคนมีวุฒิทางครูระดับปริญญาตรี สาหรับ ครูที่จบไม่ตรงสาขาที่สอน ทางโรงเรียนจะส่งเสริมให้เข้ารับการศึกษา ฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความชานาญ ทางการสอนมากยิ่งขึ้น ด้านการเรียนการสอนจัดกิจกรรมเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นกระบวนการคิด การวัดผล และประเมินผลตามสภาพจริง เน้น การวิจัยในชั้นเรียน และการใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้เพิ่มขึ้น การทา โครงงาน การศึกษานอกสถานที่ และมีวิธีการเรียนการสอนที่หลากหลายอยู่เสมอ โรงเรียนจะดาเนินการปรับปรุงอาคาร สถานที่ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ให้ดียิ่งๆ ขึ้น โดยในปีที่ผ่านมา โรงเรียนได้ ดาเนินการก่อสร้างอาคารเรียนสาหรับนักเรียนปฐมวัย กาหนดแล้วเสร็จต้นปีการศึกษา ๒๕๕๓ เมื่อแล้ วเสร็จ อาคาร หลังนี้ จะสามารถทาให้โรงเรียนเพิ่มห้องปฏิบัติการต่างๆเพื่อเอื้อต่อการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยได้อย่างมี คุณภาพและประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น

๓๖


ภาคผนวก

๓๗


แผนที่การเดินทางมาโรงเรียนดุสิตวิทยา อ. บ้านโป่ง จ. ราชบุรี

๓๘


คณะผู้เขียนรายงาน ลงชื่อ (นางดวงสิริ ลงชื่อ (นายธีรภัทร

ผู้รับใบอนุญาต-ผู้จัดการโรงเรียนดุสิตวิทยา กุโลภาส) ผู้อานวยการโรงเรียนดุสิตวิทยา กุโลภาส)

ลงชื่อ รองผู้อานวยการโรงเรียนดุสิตวิทยา (นางสาวปราณี วรสุทธิ์พิศาล) ลงชื่อ (นางสาวดิษยา กุโลภาส)

ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง

ลงชื่อ (นางสายชล

ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ พรหมดา)

ลงชื่อ (นางสาวพิกุล สุขวิสุทธิ์)

ผู้ช่วยฝ่ายบริการ

ลงชื่อ (นางสมพร

ผู้ช่วยฝ่ายธุรการ

ลงชื่อ (นางมาลา

เปรมจิตต์) หัวหน้าวิชาการอนุบาล ด้วงพันธุ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าระดับอนุบาล ๓ (นางเจริญ

ใจรัก)

ลงชื่อ (นางชวิศา เดชารัตนเจริญกิจ)

หัวหน้าระดับอนุบาล ๒

ลงชื่อ (นางณัฐกานต์ จันทร์งาม )

หัวหน้าระดับอนุบาล ๑

๓๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.