รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย
โรงเรียนดุสิตวิทยา
เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัดราชบุรี
สํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาราชบุรี เขต ๒
สั งกัด สํ านักบริหารงานคณะกรรมการส่ งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๕๒
เน
คํานํา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๖ มาตรา ๔๗, ๔๘, ๔๙, ๕๐ และ ๕๑ ได้กาํ หนดให้ทุกสถานศึกษา ต้องผ่านการประกันคุณภาพการศึกษาจากองค์กรหรื อหน่วยงานภายนอก ในการ นี้ โรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้ตระหนักถึงความสําคัญและภารกิจในการเตรี ยมความพร้อมในการรับการประเมิน คุณภาพสถานศึกษา จึงได้ร่วมมือกันระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผูป้ กครองดําเนินการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกฝ่ ายของโรงเรี ยนมีค วามรู ้ ความเข้าใจและร่ วมมือกัน ปฏิบตั ิภารกิจต่างๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพของโรงเรี ยนในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษายิง่ ขึ้น รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา ฉบับนี้ สําเร็ จลุล่วงด้วยดีโดยได้รับความ ร่ วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ าย ทางคณะผูจ้ ดั การจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผูจ้ ดั ทํา ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒
ก
สารบัญ
3
3
3
คํานํา ........................................................................................................................................................................................................ ก สารบัญ .................................................................................................................................................................................................... ๑ บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน......................................................................................................................................................................... ๑ ๑. ข้อมูล ทัว่ ไป ........................................................................................................................................................................ ๑ ๒. ข้อมูลด้านการบริ หาร ....................................................................................................................................................... ๑ ๓. ข้อมูลนักเรี ยน ................................................................................................................................................................... ๕ ๔. ข้อมูลบุคลากร .................................................................................................................................................................... ๖ ๕. สภาพชุมชนโดยรวม ........................................................................................................................................................ ๖ ๖. โครงสร้างหลักสู ตรสาระการเรี ยนรู ้ระดับชาติ และสาระการเรี ยนรู ้ทอ้ งถิ่น /จํานวนชัว่ โมงที่จดั ให้เรี ยนต่อปี / ระบบการเรี ยนรู ้ท่ีเน้นเป็ นพิเศษ ................................................................................................................................................ ๘ ๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ........................................................................................................................................................ ๙ ๘. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร .................................................................................................................................. ๙ ๙. แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ ....................................................................................................................... ๑๐ ๑๐. ผลการดําเนินงานในรอบปี ที่ผา่ นมา ............................................................................................................................... ๑๑ ๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ..................................................................................................................... ๑๒ ๑๑.๑ ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ................................................................................................ ๑๓ ๑๑.๒ การนําผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ .................................................................................................... ๑๓ บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ....................................................................................................................... ๑๔ มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก ................................................................................................................................................ ๑๔ มาตรฐานด้านการจัดการเรี ยนรู ้ ...................................................................................................................................... ๑๕ มาตรฐานด้านการบริ หารและการจัดการศึกษา ............................................................................................................ ๑๖ โครงการ / กิจกรรมที่วางแผนดําเนินการเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้นมีดงั นี้ ............... ๒๐ บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี ........................................................................................................................ ๒๑ มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก ................................................................................................................................................ ๒๑ มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ....................................................................... ๒๑ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม .................................................................... ๒๒ มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทํางานจนสําเร็ จ ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต .... ๒๓ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวจิ ารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ยั ทัศน์ ..................................................................................................................................................................... ๒๔ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู ้และทักษะเบื้องต้นที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตร .................................................................. ๒๕ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๒๖ 3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
๑
มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี ............................................................................... ๒๗ มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรี ยภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ...................... ๒๘ มาตรฐานด้านครู ................................................................................................................................................................ ๒๙ มาตรฐานที่ ๙ ครู มีคุณธรรม จริ ยธรรม ครู มีวฒ ุ ิ /ความรู ้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมัน่ พัฒนา ตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครู พอเพียง .................................................................................................................. ๒๙ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเน้นเด็กเป็ นสําคัญ .................................................................................................................................................................................................. ๓๐ มาตรฐานด้านการบริ หารและการจัดการศึกษา ........................................................................................................... ๓๑ มาตรฐานที่ ๑๑ ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าํ และมีความสามารถในการบริ หารจัดการศึกษา ................................... ๓๑ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กรโครงสร้าง ระบบการบริ หารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็ น ระบบครบวงจร ๓๒ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน .................................๓๓ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและกระบวนการเรี ยนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็ นสําคัญ .........................๓๔ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มคุณภาพเด็กอย่างหลากหลาย .......................................๓๕ มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้เด็กพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ ๓๖ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ............................... ๓๗ มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถานบันทางวิชาการ และ องค์กรภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู ้ในชุมชน .................................................................................. ๓๘ บทที่ ๔ .............................................................................................................................................................................................. ๔๕ สรุ ปผลการพัฒนาและการนําไปใช้............................................................................................................................................. ๔๕ ๔.๑ สรุ ปผลการดําเนินงานในภาพรวม .............................................................................................................................. ๔๕ ด้านผูบ้ ริ หาร ......................................................................................................................................................................... ๔๕ ด้านการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ................................................................................................................................ ๔๕ ด้านเด็ก .................................................................................................................................................................................. ๔๕ ๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ ท่ีเป็ นจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา ............................................................................................................. ๔๖ จุดเด่น ..................................................................................................................................................................................... ๔๖ จุดที่ควรพัฒนา ..................................................................................................................................................................... ๔๖ ภาคผนวก .......................................................................................................................................................................................... ๔๗ แผนที่เส้นทางการมาโรงเรี ยนดุสิตวิทยา .............................................................................................................................. ๔๘ สรุ ปผลการสํารวจความพึงพอใจผูป้ กครอง ครั้งที่ ๑/๒๕๕๒ ......................................................................................... ๔๙ คณะผูเ้ ขียนรายงาน ................................................................................................................................................................... ๕๒ 3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
๒
บทที่ ๑ ข้ อมูลพืน้ ฐาน ๑. ข้ อมูลทั่วไป
๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ตั้งอยูเ่ ลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณี ย ์ ๗๐๑๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๓๒๒๑ ๑๒๖๐ โทรสาร ๐ ๓๒๒๑ ๑๐๒๙ e-mail: info@dusitwittaya.ac.th website: www.dusitwittaya.ac.th สังกัดสํานักบริ หารงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ ๑.๒ เปิ ดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ๑ ถึง ระดับประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริ การ ๑๕ ตําบลในอําเภอบ้านโป่ ง ได้แก่ ตําบลบ้านโป่ ง ตําบลท่าผา ตําบลกรับใหญ่ ตําบลปากแรต ตําบลหนองกบ ตําบลหนองอ้อ ตําบลดอนกระเบื้ อง ตําบลสวนกล้วย ตําบลนคร ชุมน์ ตําบลบ้านม่วง ตําบลคุง้ พยอม ตําบลหนองปลาหมอ ตําบลเขาขลุง ตําบลเบิกไพร ตําบลลาด บัวขาว รวมถึงเขตอําเภอและจังหวัดใกล้เคียงด้วย
๒. ข้ อมูลด้ านการบริหาร
๒.๑ ชื่อ-สกุลผูบ้ ริ หาร นายธี รภัทร กุโลภาส วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คม. สาขา บริ หารการศึกษา ดํารงตําแหน่งที่โรงเรี ยนนี้ต้ งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบนั เป็ นเวลา ๑ ปี ๙ เดือน ๒.๒ ผูช้ ่วยผูบ้ ริ หาร ๕ คน ได้แก่ ชื่อ-สกุล นางสาวปราณี วรสุ ทธิ์ พิศาล วุฒิการศึกษาสู งสุ ด ศษม. สาขา บริ หารการศึกษา ชื่อ-สกุล นางสายชล พรหมดํา วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสาวดิษยา กุโลภาส วุฒิการศึกษาสู งสุ ด MS.HRM. สาขา บริ หารงานบุคคล ชื่อ-สกุล นางสาวพิกุล สุ ขวิสุทธิ์ วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสมพร เปรมจิตต์ วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา บริ หารการศึกษา ๒.๓ ประวัติ คําขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ตั้งอยูเ่ ลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัด ราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ โดยมี นางดวงสิ ริ กุโลภาส เป็ นผูร้ ับใบอนุญาต นางสาวดิษยา กุโลภาส เป็ นผูจ้ ดั การ และนายธี รภัทร กุโลภาส เป็ นผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน ระดับการศึกษาที่เปิ ดสอนระดับก่อนประถมศึกษาถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ คําขวัญของโรงเรี ยน คื อ ขยันเรี ยน เพีย รทําดี มีอธั ยาศัย ๑
วัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา คือ ส่ งเสริ มพัฒนา เด็กและนักเรี ยนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เพื่อให้ความรู ้ความสามารถและดํารงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข เป็ นพลเมืองที่ดีของชาติส่งเสริ ม สนับสนุนการพัฒนาครู บุคลากรให้มีความสุ ข ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ เพื่อสามารถ ปฏิบตั ิงานได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมถึงส่ งเสริ มพัฒนาระบบการบริ หารและการจัดการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพ ด้วย ปรัชญาของโรงเรี ยน คือ เรี ยนดี มีน้ าํ ใจ ใฝ่ หาความรู้ เชิดชูสถาบัน วิสัยทัศน์ของโรงเรี ยน คือ มุ่งคุณธรรม นําหน้าวิชาการ สานสัมพันธ์ชุมชน สนใจสิ่ งแวดล้อม พร้อมใช้ไอซี ที สุ ขภาพกายจิตดี มีชีวติ พอเพียง เคียงคู่ความเป็ นไทย วิสัยทัศน์ การศึกษาปฐมวัย ภายในปี 2552 โรงเรี ยนดุสิตวิทยามุ่งพัฒนาเด็ก ให้มีกระบวนการเรี ยนรู้โดยเน้นเด็กเป็ นสําคัญตามศักยภาพ ส่ งเสริ มให้มีพฒั นาการทางด้านร่ างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา ปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความเป็ นไทย รักประชาธิ ปไตยและศรัทธาในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ รักสิ่ งแวดล้อม มีความรู้ พื้นฐานคอมพิวเตอร์ มีทกั ษะพื้นฐานทางด้านกีฬา โดยครู ที่มีความรู ้ความสามารถในการจัดหลักสู ตร การจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ เพือ่ ให้เด็กมีศกั ยภาพ โดยประสานความร่ วมมือระหว่างโรงเรี ยน ชุมชน และท้องถิ่น เด็ก สามารถดํารงชีวติ อยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข พันธกิจ 1. พัฒนานักเรี ยนให้เป็ นผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความรู ้ความสามารถทางวิชาการ มีทกั ษะชีวติ มีสุขภาพกาย และจิตดี รักษ์ความเป็ นไทย ใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม 2. พัฒนาการบริ หารงานวิชาการและการจัดการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ให้เป็ นเลิศ โดยเน้นการนําสื่ อและ เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู ้มาใช้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ พร้อมทั้งจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรี ยนให้เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้ 3. ส่ งเสริ มให้ครู และบุคลากรพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้เป็ นผูม้ ีความรู ้ ความสามารถในวิชาชีพ และมี สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 4. เสริ มสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรี ยนกับผูป้ กครองและชุมชน 5. พัฒนาการบริ หารการจัดการสถานศึ กษาอย่างเป็ นระบบและมีประสิ ทธิ ภาพ โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง พันธกิจ การศึกษาปฐมวัย 1. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มพัฒนาการของเด็กครบทั้ง 4 ด้าน 2. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 3. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้เด็กมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ื่น อย่างเต็มศักยภาพของแต่ละบุคคล 4. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มเพื่อสร้างจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และประเพณี วฒั นธรรมของ ท้องถิ่น 5. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มความรักชาติ ศรัทธาในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ ๒
6. ส่ งเสริ มพัฒนาบุคลากรให้มีความรู ้ ความสามารถเป็ นครู มืออาชีพ ใช้วธิ ี และเทคนิคการสอนที่ หลากหลาย ประเมินพัฒนาการที่เหมาะสม 7. จัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ห้องประกอบการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ สื่ อวัสดุ-อุปกรณ์และ เทคโนโลยีท่ีเอื้อต่อการเรี ยนรู ้ 8. จัดให้มีการประชุมผูป้ กครองเพื่อให้เห็นความสําคัญในการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ระดับ ปฐมวัย อย่างถูกต้อง 9. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้เด็กมีทกั ษะพื้นฐานในด้านกีฬา ศิลปะ ดนตรี คอมพิวเตอร์ และภาษาอังกฤษ 10. ให้ชุมชนมีส่วนร่ วมในการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ 11. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้เด็กมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์และจินตนาการ เป้าประสงค์ นักเรี ยนโรงเรี ยนดุสิตวิทยาเป็ นผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม มีความรู ้ความสามารถทางวิชาการ มีทกั ษะชีวติ มีสุขภาพ กายและจิตดี รักษ์ความเป็ นไทย ใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม ครู มีความรู ้ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ สามารถ ปฏิบตั ิงานได้บรรลุผลและมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งโรงเรี ยนเป็ นที่ยอมรับและเป็ นที่พงึ พอใจของผูป้ กครองและ ชุมชน เป้าประสงค์ การศึกษาปฐมวัย 1. เด็กมีพฒั นาการทุกด้านเหมาะสมกับวัย ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. เด็กมีคุณธรรมจริ ยธรรมเหมาะสมกับวัย 3. เด็กมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูอ้ ื่น 4. สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่ร่มรื่ น สวยงาม อบอุ่นและปลอดภัย 5. เด็กมีความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ 6. บุคลากรทุกคนมีความรู ้ ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 7. สถานศึกษามีสื่ออุปกรณ์ที่หลากหลาย และทันสมัยเหมาะสมกับการเรี ยนรู ้ 8. ผูป้ กครองมีความเข้าใจในหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง 9. เด็กมีความสามารถทางด้านกีฬา ศิลปะ ดนตรี คอมพิวเตอร์ และภาษาอังกฤษ 10. เด็กได้รับประสบการณ์เรี ยนรู ้ จากชุมชนได้เหมาะสมกับวัย 11. เด็กมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์และจินตนาการ
๓
๒.๔ ระบบโครงสร้างการบริ หารของสถานศึกษา
แผนภูมกิ ารบริหารงานโรงเรียนดุสิตวิทยา ปี การศึกษา ๒๕๕๒
๔
๓. ข้ อมูลนักเรียน
หลักสู ตรของสถานศึกษา หลักสู ตรสถานศึกษา ตามแนวทางหลักสู ตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พ ๒๕๔๔ ปัจจุบนั โรงเรี ยนมีขอ้ มูลเกี่ยวกับจํานวนนักเรี ยน ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ดังนี้ ๑) จํานวนนักเรี ยนในเขตพื้นที่บริ การทั้งหมด ๑,๔๗๖ คน ๒) จํานวนนักเรี ยนจําแนกตามระดับชั้นที่เปิ ดสอน ระดับชั้น
เพศ
เตรี ยมอนุบาล อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ รวม ประถมศึกษาปี ที่ ๑ ประถมศึกษาปี ที่ ๒ ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๕ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ รวม รวมจํานวนนักเรียนทั้งหมด
ชาย ๓๐ ๙๙ ๘๙ ๘๒ ๓๐๐ ๘๑ ๖๘ ๕๘ ๘๐ ๖๙ ๗๔ ๔๓๐ ๗๓๐
หญิง ๑๙ ๖๐ ๗๗ ๘๗ ๒๔๓ ๗๐ ๘๑ ๙๔ ๗๗ ๗๙ ๑๐๒ ๕๐๓ ๗๔๖
๓) มีนกั เรี ยนที่มีความบกพร่ องเรี ยนร่ วม
๑
คน
๔) มีนกั เรี ยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
-
คน
๕) มีนกั เรี ยนปั ญญาเลิศ
๓๖
คน
๖) มีนกั เรี ยนต้องการความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ
๑
คน
ระดับปฐมวัย
๓๔
คน
ระดับประถมศึกษา
๓๙
คน
๗) จํานวนนักเรี ยนต่อห้องเฉลี่ย
๕
รวม ๔๙ ๑๕๙ ๑๖๖ ๑๖๙ ๕๔๓ ๑๕๑ ๑๔๙ ๑๕๒ ๑๕๗ ๑๔๘ ๑๗๖ ๙๓๓ ๑,๔๗๖
.ศ.
๘) สัดส่ วนครู : นักเรี ยนปฐมวัย
๑:๒๕ คน
๙) จํานวนนักเรี ยนที่ลาออกกลางคัน
คน
๑๐)สถิติการขาดเรี ยน/เดือน
๒๐
คน
๔. ข้ อมูลบุคลากร ประเภทบุคลากร ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน ครู ประจําการ ครู พี่เลี้ยง นักการ/ภารโรง ครู จา้ งสอน รวม
เพศ ชาย
หญิง
๑
-
-
๑ ๕๙ ๘ ๑๘
๓ -
๖ ๓ ๑๓
-
๘๖
มีครู ที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก มีครู ที่สอนวิชาตรงตามวิชาความถนัด
ระดับการศึกษาสู งสุ ด ตํ่ากว่า ป.ตรี สู งกว่า ป.ตรี ป.ตรี ๑ ๑ ๑ ๖๐ ๑ ๗ ๑ ๒๔ ๒ ๑ ๓๔ ๖๔ ๖๔
๖๒ คน คน
๓
อายุ เฉลี่ย (ปี ) ๓๖ ๕๒ ๓๕ ๓๓ ๔๙ ๔๑
ประสบการณ์ ในตําแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี ) ๒ ๓๒ ๑๖ ๘ ๑๔ ๒
๔๑
๑๒
(๑๐๐ %) (๑๐๐ %)
๕. สภาพชุ มชนโดยรวม
๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริ เวณโรงเรี ยนมีลกั ษณะ เป็ นชุมชนเมือง มีประชากรในอําเภอบ้านโป่ ง ประมาณ ๙๔,๓๔๓ คน ประกอบด้วย ชาย ๔๕,๓๖๐ คน หญิง ๔๘,๙๘๓ คน จํานวนครัวเรื อน ๒๙,๓๔๒ คน 1 บริ เวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรี ยน ได้แก่ ทิศเหนือ ติดต่อ สถานีรถไฟบ้านโป่ ง ทิศใต้ ติดต่อ วัดบ้านโป่ ง ทิศตะวันออก ติดต่อ ทางรถไฟสายใต้ ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้ าํ แม่กลอง อาชีพหลักของชุมชน คืออาชีพเกษตรกรรม ได้แก่การทํานา ทําสวน ทําไร่ รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ ๒ ฝั่งของแม่น้ าํ แม่กลอง จึงมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกจากนี้ประชากรยังประกอบอาชีพรับจ้าง ขายของชํา และธุรกิจ ส่ วนตัวด้วย 1
รายงานสถิติจาํ นวนประชากร และบ้าน รายจังหวัด รายอําเภอ และรายตําบล ณ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ กรมการปกครอง
๖
ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ คริ สต์ และอิสลาม ประเพณี /ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็ นที่รู้จกั โดยทัว่ ไป คือ การแข่งขันเรื อยาวและลอยกระทง ประเพณี กินเจ แห่เทียนพรรษาช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา และประเพณี วนั สงกรานต์ ๕.๒ ผูป้ กครองส่ วนใหญ่ อายุระหว่าง ๓๐ – ๓๙ ปี ประกอบอาชีพค้าขายและธุ รกิจส่ วนตัว ร้อยละ ๓๒, พนักงานบริ ษทั เอกชน ร้อยละ ๒๒ และ รับราชการ ร้อยละ ๑๙ ส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ประมาณ ๑๗๐,๐๐๐ บาท จํานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน ๕.๓ โอกาสของสถานศึกษากับความร่ วมมือในด้านต่างๆ ของชุมชน โรงเรี ยนตั้งอยูใ่ นแหล่งชุมชน มีตลาดและวัดอยูใ่ กล้ มีเส้นทางการคมนาคม ที่สะดวกสบาย รวมถึง ตั้งอยูใ่ กล้แหล่งเรี ยนรู ้ เช่น สระนํ้าโกสิ นารายณ์ ตลาดปลาสวยงาม วัดบ้านโป่ ง รวมถึงอยูใ่ กล้กบั หน่วยงานราชการต่างๆ ที่สาํ คัญ เช่น ที่วา่ การอําเภอบ้านโป่ ง สถานีตาํ รวจภูธรอําเภอบ้านโป่ ง โรงพยาบาลบ้านโป่ ง เทศบาลเมืองบ้านโป่ ง สถานีรถไฟบ้านโป่ ง รวมถึงแหล่งเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ คือ แม่น้ าํ แม่กลอง ซึ่ งโรงเรี ยนได้รับความร่ วมมือจากหน่วยงานราชการด้วยดี และชุมชนมีความสัมพันธ์อนั ดี กับสถานศึกษา ๕.๔ ข้อจํากัดของสถานศึกษากับความร่ วมมือของชุมชน โรงเรี ยนดุสิตวิทยา เป็ นโรงเรี ยนเอก ชน ดังนั้นจึงไ ด้รับเงินสนับสนุนจากชุมชนค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิง่ อําเภอบ้านโป่ งมีโรงเรี ยนรัฐบาลและโรงเรี ยนเทศบาลอยูจ่ าํ นวนมาก จึงทําให้โรงเรี ยนมี ข้อจํากัดในการระดมทุนในการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อด้านการศึกษา เช่น การสร้างอาคารหรื อห้องปฏิบตั ิการ ใหม่
๗
๖. โครงสร้ างหลักสู ตรสาระการเรียนรู้ ระดับชาติ และสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ /จํานวนชั่วโมงที่ จัดให้ เรียนต่ อปี /ระบบการเรียนรู้ ที่เน้ นเป็ นพิเศษ
โรงเรี ยนดุสิตวิทยา จัดทําหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย เป็ น ๓ ระดับ คือ ระดับอนุบาล ๑ อายุ ระหว่าง ๓-๔ ปี อนุบาล ๒ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี อนุบาล ๓ อายุระหว่าง ๕-๖ ปี ใช้เวลาในการจัดประสบการณ์ ให้แก่เด็กปี ละ ๒ ภาคเรี ยน โดยกําหนดเป็ น ๓๖ สัปดาห์ โดยประมาณ ซึ่ งกําหนดรายละเอียดการจัด ประสบการณ์ ดังนี้ หน่ วยการเรียนรู้ รายปี 0
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๑ ( ๓ ปี ) สาระตามหลักสู ตร ๑. เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู ้จกั กัน - ต้อนรับนักเรี ยนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่ างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูนอ้ ยมารยาทดี - เด็กไทยนํ้าใจงาม ๒. เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรี ยนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ
เวลา เรียน สัปดาห์ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๒ ( ๔ ปี ) สาระตามหลักสู ตร ๑. เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู ้จกั กัน - ต้อนรับนักเรี ยนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่ างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูนอ้ ยมารยาทดี - เด็กไทยนํ้าใจงาม ๒. เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อม เด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรี ยนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ
๘
เวลา เรียน สัปดาห์
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๓ ( ๕ ปี ) สาระตามหลักสู ตร
เวลา เรียน สัปดาห์
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๑. เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก - เรามารู ้จกั กัน - ต้อนรับนักเรี ยนใหม่ - นี่แหละตัวฉัน - ร่ างกายของฉัน - ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ - อาหารดีมีประโยชน์ - อนามัยดีมีสุข - หนูนอ้ ยมารยาทดี - เด็กไทยนํ้าใจงาม
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๒. เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานที่แวดล้อมเด็ก - ครอบครัวแสนรัก - บ้านของฉัน - โรงเรี ยนของฉัน - ชุมชนของฉัน - อาชีพในชุมชน - เที่ยวสนุกในชุมชน - จังหวัดของเรา - รักประเทศไทย - นานาประเทศ
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๑ ( ๓ ปี ) สาระตามหลักสู ตร ๓. ธรรมชาติรอบตัว - สิ่ งมีชีวติ - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่ งไม่มีชีวติ - ธรรมชาติน่ารู ้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๔. สิ่ งต่างๆรอบตัวเด็ก - สี สนั อันสดใส - รู ปร่ าง รู ปทรง ผิว สัมผัส - ชัง่ ตวง วัด - สิ่ งของในบ้าน - เครื่ องมือเครื่ องใช้ - เครื่ องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่ อสาร - เทคโนโลยี
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๒ ( ๔ ปี )
เวลา เรียน สัปดาห์
สาระตามหลักสู ตร
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ธรรมชาติรอบตัว - สิ่ งมีชีวติ - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่ งไม่มีชีวติ - ธรรมชาติน่ารู ้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
สิ่ งต่างๆรอบตัวเด็ก - สี สนั อันสดใส - รู ปร่ าง รู ปทรง ผิว สัมผัส - ชัง่ ตวง วัด - สิ่ งของในบ้าน - เครื่ องมือเครื่ องใช้ - เครื่ องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่ อสาร - เทคโนโลยี
ชั้นอนุบาลปี ที่ ๓ ( ๕ ปี )
เวลา เรียน สัปดาห์
สาระตามหลักสู ตร
เวลา เรียน สัปดาห์
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
ธรรมชาติรอบตัว - สิ่ งมีชีวติ - สัตว์น่ารัก - พืชน่ารัก - สิ่ งไม่มีชีวติ - ธรรมชาติน่ารู ้ - ฤดูกาล - คืนวันที่แปรเปลี่ยน - สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
สิ่ งต่างๆรอบตัวเด็ก - สี สนั อันสดใส - รู ปร่ าง รู ปทรง ผิว สัมผัส - ชัง่ ตวง วัด - สิ่ งของในบ้าน - เครื่ องมือเครื่ องใช้ - เครื่ องทุ่นแรง - คมนาคม - การติดต่อสื่ อสาร - เทคโนโลยี
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๗. ข้ อมูลด้ านอาคารสถานที่
๗.๑ อาคารเรี ยนและอาคารประกอบ ๓ หลัง ได้แก่ อาคารเรี ยน ๓ หลัง ๗.๒ จํานวนห้องเรี ยน ๔๐ ห้องเรี ยน
๘. ข้ อมูลด้ านงบประมาณและทรัพยากร
ปี งบประมาณปี ๒๕๕๒ โรงเรี ยนได้รับเงินอุดหนุนรายหัวนักเรี ยนทั้งสิ้ นเป็ นเงิน ๙,๕๙๔,๔๒๗.๖๘ บาท (เก้าล้านห้าแสนเก้าหมื่นสี่ พนั สี่ ร้อยยีส่ ิ บเจ็ดบาทหกสิ บแปดสตางค์) โรงเรี ยนมีพ้นื ที่ ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ๓/๑๐ ตารางวา มีทรัพยากรที่จาํ เป็ น มีดงั นี้ - คอมพิวเตอร์ มีจาํ นวนทั้งหมด ๙๖ เครื่ อง ๙
-
๒
ใช้เพือ่ การเรี ยนการสอน ๙๖ เครื่ อง ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตได้ ๙๖ เครื่ อง ใช้ในงานบริ หาร ๑๒ เครื่ อง - คอมพิวเตอร์ Notebook ๔ เครื่ อง โทรทัศน์ จํานวน ๖๕ เครื่ อง วิทยุเทป จํานวน ๘๐ เครื่ อง เครื่ องฉายสไลด์-โปรเจคเตอร์ จํานวน ๓ เครื่ อง เครื่ อง Vitualizer จํานวน ๑ เครื่ อง เครื่ อง Copy Print จํานวน ๓ เครื่ อง - เครื่ องถ่ายเอกสาร จํานวน ๒ เครื่ อง - กล้องถ่ายรู ป Digital จํานวน ๒ เครื่ อง - Access Point สําหรับให้บริ การ Wireless Internet จํานวน ๘ เครื่ อง จํานวนห้องประกอบ มีดงั นี้ - ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง - ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง - ห้องจริ ยธรรม ๑ ห้อง - English Learning Center ๑ ห้อง - ห้องสมุด ๑ ห้อง - ห้องพยาบาล ๑ ห้อง พื้นทีป่ ฏิบตั ิกิจกรรม/นันทนาการ ได้แก่ สนามกี ฬา สนามเด็กเล่น สระว่ายนํ้า พื้นที่บริ เวณใต้อาคาร
๙. แหล่ งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้ องถิน่ และการใช้ -
ห้องสมุดมีขนาด ๑๐ × ๑๘ ตารางเมตร จํานวนหนังสื อในห้องสมุด ๑๑,๖๙๙ เล่ม หนังสื อในห้องสมุดสื บค้นด้วยระบบโปรแกรมสื บค้นข้อมูลของบริ ษทั อินโฟโปร ซอฟต์แวร์ จํา กัด มีแหล่งข้อมูลที่สืบค้นทาง Internet ได้ ๑ เครื่ อง คิดสัดส่ วนจํานวนนักเรี ยน : เครื่ อง เท่ากับ ๒๐ : ๑ จํานวนนักเรี ยนที่ใช้หอ้ งสมุดในปี การศึกษานี้ คิดเป็ น ร้อยละ ๖๒.๔๐ ต่อปี
แหล่ งเรียนรู้ ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่ งเรียนรู้ ๑. ห้องสมุด ๒. ห้องศูนย์ส่ ื อ ๓. สระว่ายนํ้า ๔. สนามกีฬา และสนามเด็กเล่น
สถิตกิ ารใช้ ( จํานวนครั้ง / ปี ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
แหล่ งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ชื่อแหล่ งเรียนรู้ ๑. ตลาดบ้านโป่ ง ๒. สถานที่ราชการต่างๆ ๓. วัดบ้านโป่ ง ๔. ซาฟารี เวิลด์
๑๐
สถิตกิ ารใช้ ( จํานวนครั้ง / ปี ) ๑ ๑ ๑ ๑
๑๐. ผลการดําเนินงานในรอบปี ทีผ่ ่ านมา
• รางวัลพระราชทาน ประจําปี การศึกษา 2552 ในระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิ การ ให้เป็ นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัล พระราชทาน ประจําปี การศึกษา 2552 ในระดับก่อนประถมศึกษา ขนาดใหญ่ ของกลุ่มจังหวัดที่ ๕
• งาน / โครงการ / กิจกรรมทีป่ ระสบความสํ าเร็จ ชื่องาน / โครงการ / กิจกรรม
หลักฐานยืนยันความสําเร็จ
โครงการวันสําคัญ โครงการเด็กดุสิตฯใกล้ชิดธรรมะ ภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงการ DUSIT Reading Club โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ โครงการห้องสมุดไม่หยุดฝัน โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ โครงการ Let’s Recycle! โครงการตลาดนัดวิชาการ โครงการอนุบาลสัมพันธ์ โครงการกิจกรรมยามเช้า โครงการศุกร์ หรรษา โครงการดุสิตฯบัณฑิตน้อย โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โครงการนิเทศภายในโรงเรี ยน โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ โครงการสังสรรค์หรรษา โครงการผลิตและพัฒนาสื่ อ โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน โครงการบริ หารองค์ความรู ้สถานศึกษา โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา โครงการครู พบผูป้ กครอง โครงการพัฒนาห้องปฏิบตั ิการภาษาอังกฤษ
รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์, แฟ้ มผลงาน รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์, แฟ้ มผลงาน รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์, รายงาน รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์, แฟ้ มผลงาน เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เอกสารโครงการ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , วารสารดุสิตสาร ๑๑
๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง
โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสอง เมื่อวันที่ ๒๕- ๒๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผูบ้ ริ หาร ด้านครู และด้านเด็ก ซึ่ งสรุ ปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็ นตารางดังต่อไปนี้ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน: การศึกษาปฐมวัย
ผลประเมิน อิงเกณฑ์ ค่ าเฉลีย่ ระดับคุณภาพ
ด้านเด็ก มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริ ยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ๓.๔๓ ดี มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี ๓.๔๗ ดีมาก มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีสุนทรี ยภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ๓.๖๐ ดี ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด ๓.๕๗ ดีมาก สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและ มีวสิ ัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตร ๓.๕๓ ดีมาก มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รัก ๓.๕๐ ดีมาก การเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถ ๓.๘๗ ดีมาก ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครู มคี ุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่ ๓.๘๗ ดีมาก รับผิดชอบและมีครู เพียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครู มีความสามารถในการจัดการจัดประสบการณ์ ๓.๕๓ ดีมาก การเรี ยนรู้อย่างมีประสิ ทธิภาพและเน้นเด็กเป็ นสําคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าํ และมีความสามารถในการ ๔.๐๐ ดีมาก บริ หารจัดการ มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างและการ ๓.๘๖ ดีมาก บริ หารงานอย่างเป็ นระบบ ครบวงจรให้บรรลุเป้ าหมายการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการจัด ๓.๕๑ ดีมาก ประสบการณ์การเรี ยนรู้โดยเน้นเด็กเป็ นสําคัญ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีหลักสู ตรเหมาะสมกับเด็กและ ๔.๐๐ ดีมาก ท้องถิ่น มีสื่อการจัดประสบการณ์การเรี ยนรูท้ ี่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่ งเสริ มความสัมพันธ์และความ ๓.๖๗ ดีมาก ร่ วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัย สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
๑๒
ผลประเมิน อิงสถานศึกษา คะแนน ระดับคุณภาพ
ค่ าเฉลีย่ ระดับ คุณภาพ
๔ ๔ ๔
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
๓.๗๒ ๓.๘๑ ๓.๗๔
ดีมาก ดีมาก ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๘๐
ดีมาก
๔ ๔
ดีมาก ดีมาก
๓.๗๙ ๓.๗๗
ดีมาก ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๗๕
ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๙๔
ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๗๗
ดีมาก
๓
ดี
๓.๕๐
ดีมาก
๓
ดี
๓.๔๓
ดี
๔
ดีมาก
๓.๗๖
ดีมาก
๓
ดี
๓.๕๐
ดีมาก
๓
ดี
๓.๓๔
ดี
ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
๑๑.๑ ข้ อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ได้วเิ คราะห์แต่ละมาตรฐาน การศึกษาปฐมวัยควรส่ งเสริ มเด็กในด้านการแสดงความรัก เคารพ พ่อแม่ ผูป้ กครอง และแสดงออกซึ่ งการตอบแทนพระคุณอย่างเหมาะสม มารยาทในการรับประทานอาหาร การ แบ่งปัน ของเล่น /สิ่ งของ แก่เพื่อนและผูอ้ ื่น การให้ความช่วยเหลือผูอ้ ื่นอย่างเหมาะสมตามวัย และการใช้เวลา ว่างในการอ่านหนังสื อ ความซื่อสัตย์ และการออมโดยสอดแทรกให้ความรู ้ในระหว่างการจัดกิจกรรมต่า งๆ อย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่อง และครู ควรพัฒนาได้เข้ารับการอบรม ศึกษาดูงาน เกี่ยวกับเทคนิคการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องสมํ่าเสมอ ให้ครู นาํ ผลการประเมินการพัฒนาการแก้ไขปรับปรุ งส่ งเสริ ม เด็ก และสนับสนุนให้ครู นาํ ผลการประเมินไปวางแผนร่ วมกับผูป้ กครองในการพัฒนาเด็ก สร้างเครื่ องมือฝึ ก ทักษะ กระบวนการคิดหลายๆ รู ปแบบ ๑๑.๒ การนําผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ จากผลการประเมิน ผูบ้ ริ หารควรจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยและแผนปฏิบตั ิการ ประจําปี แยกออกจากการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย พันธกิจ และตัวบ่งชี้ ความสําเร็ จตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก การ กําหนดตัวบ่งชี้ความสําเร็ จในการจัดทําโครงการตามแผน ควรมีความชัดเจน วัดผลได้ตรงตามเป้ าหมาย
๑๓
บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้
มาตรฐานด้ านคุณภาพเด็ก
มาตรฐานที๑่ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ ๑.๑ มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้อตกลงร่ วมกัน ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ๑.๓ มีความกตัญ�ูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุ ณา มีความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ่ืน ๑.๕ ประหยัด รู้จกั ใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนา สิ่ งแวดล้ อม ๒.๑รับรู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิ ดจากการ เปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทํางานจนสํ าเร็จ ทํางานร่ วมกับ ผู้อนื่ ได้ และมีความรู้สึกทีด่ ีต่ออาชี พสุ จริต ๓.๑ สนใจและกระตือรื อร้นในการทํางาน ๓.๒ ทํางานจนสําเร็ จและภูมิใจในผลงาน ๓.๓ เล่นและทํากิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ่ืนได้ ๓.๔มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และ คิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้ และทักษะเบือ้ งต้ น ๑๔
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๙๕
๙๔ ๙๔ ๙๖ ๙๔ ๙๔ ๙๕
๙๔
๙๓
๙๕
๙๕
๙๔ ๙๔ ๙๕ ๙๕ ๙๒ ๙๖ ๙๐ ๙๐ ๙๕
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๕.๑ มีทกั ษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ – เล็ก ๕.๒ มีทกั ษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๕.๓ มีทกั ษะในการสื่ อสาร ๕.๔ มีทกั ษะในการสังเกตและสํารวจ ๕.๕ มีทกั ษะในเรื่ องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทกั ษะในเรื่ องจํานวน ปริ มาณ นํ้าหนัก และการกะ ประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู ้และทักษะต่างๆ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่ รู้ รักการอ่ าน และพัฒนา ตนเอง ๖.๑ รู ้จกั ตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่ รู ้ ๖.๒ มีความกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆรอบตัว และ สนุกกับการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ ดี ๗.๑ รักการออกกําลังกาย ดูแลสุ ขภาพ และช่วยเหลือตนเอง ได้ ๗.๒ มีน้ าํ หนัก ส่ วนสู ง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่ งเสพติดให้โทษและสิ่ งมอมเมา ๗.๔ มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่ าเริ ง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และ ผูอ้ ่ ืน มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้ าน ศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว
มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ ความ ๑๕
๙๘ ๙๕ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๖ ๙๒ ๙๑
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๗
๙๔
๙๔ ๙๕ ๙๒ ๙๒ ๙๓ ๙๖ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๒ ๑๐๐
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ สามรถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมัน่ พัฒนาตนเอง เข้ ากับ ชุ มชนได้ ดี และมีครูพอเพียง ๙.๑ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบั เด็ก ผูป้ กครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟัง ความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรื อตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจาํ นวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครู และบุคลากร สนับสนุน) มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นเด็กเป็ นสํ าคัญ ๑๐.๑ มีความรู ้ความเข้าใจเป้ าหมายการจัดการศึกษาและ หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็ น สําคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับการเรี ยนรู ้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริ ง โดย คํานึงถึงพัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนําผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการ จัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรี ยนรู ้ของเด็กและนําผลไป ใช้พฒั นาเด็ก
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นํา ๑๖
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ัยทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริ หารงานวิชาการและการ จัดการ ๑๑.๔ มีการบริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่ างเป็ นระบบครบ วงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริ หารงาน ที่มีความคล่องตัวสู งและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม สถานการณ์ ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็ นระบบ ครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการ บริ หารงานและการพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษา โดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอํานาจการบริ หาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และ ประสบการณ์การเรียนรู้ ทเ่ี น้ นเด็กเป็ นสํ าคัญ ๑๗
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๑๔.๑ มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของ เด็ก ๑๔.๓ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยนที่เอื้อต่อ การเรี ยนรู ้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยบูรณาการผ่านการ เล่นและเด็กได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่ งต่อข้อมูลของ เด็กอย่างเป็ นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนําผลไปปรับปรุ งการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสมํ่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การจัดประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริม คุณภาพเด็กอย่ างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่าง ทัว่ ถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุน้ พัฒนาการทางสมอง ตอบสนองความสนใจ และส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี และการ
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
เคลื่อนไหว
๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการ บริการทีส่ ่ งเสริมให้ เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตาม ศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีอาคารสถานที่ ๑๘
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ เด็ก ๑๖.๓ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู้ดว้ ยตนเองและการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม ๑๖.๔ มีหอ้ งเรี ยน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และ สิ่ งอํานวยความสะดวกพอเพียงและอยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้ งั ในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ ง เรียนรู้ และภูมปิ ัญญาในท้ องถิน่ ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู ้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้า มามีส่วนร่ วมในการจัดทําหลักสู ตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน องค์ กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์ กรภาครัฐ และเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถกี ารเรียนรู้ ในชุ มชน ๑๘.๑ เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู้และ บริ การชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน
๑๙
๑๐๐
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
๓
๒
๑
โครงการ / กิจกรรมที่วางแผนดําเนินการเพือ่ ให้ บรรลุเป้ าหมายการจัดการศึกษาดังกล่ าว ข้ างต้ นมีดงั นี้ ที่ ๑. ๓. ๔. ๕. ๖. ๘. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐
ชื่ อโครงการ / กิจกรรม
ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จของโครงการ โครงการ Fun Find Focus สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการวันสําคัญ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการเด็กดุสิตฯใกล้ชิดธรรมะ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการ DUSIT Reading Club สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการห้องสมุดไม่หยุดฝัน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการวันวิชาการ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการ Let’s Recycle! สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการตลาดนัดวิชาการ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการอนุบาลสัมพันธ์ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการกิจกรรมยามเช้า สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการศุกร์ หรรษา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการดุสิตฯบัณฑิตน้อย สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการนิเทศภายในโรงเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการสังสรรค์หรรษา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการผลิตและพัฒนาสื่ อ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการบริ หารองค์ความรู ้สถานศึกษา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการครู พบผูป้ กครอง สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาห้องปฏิบตั ิการภาษาอังกฤษ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐
๒๐
บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี
ในปี การศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรี ยนมีการดําเนินงานตามแผนพัฒน ความสําเร็ จตามมาตรฐานการศึกษาขั้นปฐมวัย ดังนี้
มาตรฐานด้ านคุณภาพเด็ก
าคุณ ภาพการศึกษาจนบรรลุ
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้กาํ หนดเป็ นนโยบายไว้ในแผนกลยุทธ์ธรรมนูญโรงเรี ยน แผนปฏิบ ั ติการประจําปี มี โครงการและกิจกร รมหลากหลายที่ส่งเสริ มทั้งทางด้านระเบียบวินยั ความรับผิดชอบ ความประหยัด มี เมตตากรุ ณา การเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และการเสี ย สละเพื่อส่ วนรวม ซื่อสัตย์สุจริ ต ทางโรงเรี ยนจึงมีการจัด โครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การอบรมหน้าแถว แบบบันทึกคุณธรรมจริ ยธรรม แบบประเมิน พัฒนาการ แบบการจัดกิจกรรมเสรี เล่นตาม มุม ต่างๆ กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู แฟ้ มพัฒนาเด็ก โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โครงการหนูนอ้ ยมารยาทงาม โครงการกีฬาสี และ โครงการ อนุบาลสัมพันธ์ ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ร้อยละ ๙๔.๕๐ มีระเบียบวินยั มีความรับผิดชอบปฏิบตั ิตามข้อตกลงร่ วมกันร้อยละ ๙๔ มีความซื่อสัตย์สุจริ ตร้อยละ ๙๔ มีความกตัญ�ูกตเวทีร้อยละ ๙๖ มีเมตตากรุ ณา มีความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่นร้อยละ ๙๔ ประหยัดรู้จกั ใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมร้อยละ ๙๔ มีมารยามและปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทยร้อยละ ๙๕
๒๑
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๒ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม เช่น โครงการจิต อาสา ให้เด็กมีส่วนร่ วมในการเดินรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก โครงการ Let’s Recycleให้เด็กมีส่วนร่ วมในการ นํากล่องนมที่ดื่มแล้วไปบริ จาคศูนย์การค้า BIG C นําไปรี ไซเคิลเป็ นโต๊ะ เก้าอี้ กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน วันลอยกระทง การอบรมหน้าแถว การรักษาความสะอาด บริ เวณโรงเรี ยน การรณรงค์การประหยัดนํ้า ประหยัดไฟ ผลการดําเนินงานพบว่า เด็กมีความกระตือรื อร้น สนใจเข้าร่ วมกิจกรรมถึงร้อยละ ๙๕ รับรู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อมร้อยละ ๙๕ เข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์และสิ่ งแวดล้อม ร้อยละ ๙๕
๒๒
มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทํางานจนสํ าเร็จ ทํางานร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมีความรู้ สึกทีด่ ีต่ออาชีพสุ จริต โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๓ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีความตระหนักที่จะพัฒนาเด็กให้มีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางาน ร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตอย่างเด่นชัด โดยจัดโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้เด็กได้ฝึกฝนทั้งการทํางานเป็ นทีม และรายบุคคลทุกระดับชั้น โดยจัดให้มีการทําโครงงานระดับต่างๆ กิจกรรมเสรี ศิลปะ ดนตรี โครงการกีฬาสี โครงการ Fun Find Focus โครงการกิจกรรมยามเช้า โครงการ อนุบาลสัมพันธ์ แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กสามารถทํางานจนสําเร็ จ ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตร้อยละ ๙๕ เด็กมีความสนใจและกระตือรื อร้นในการทํางานร้อยละ ๙๕ ทํางานจนสําเร็ จตามลําดับขั้นตอน และชื่นชมในผลงานร้อยละ ๙๕ มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตร้อยละ ๙๕ สามารถทํางานและเล่นร่ วมกับผูอ้ ื่นร้อยละ ๙๕
๒๓
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวจิ ารณญาณมีความคิดสร้ างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ั ยทัศน์ โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๔ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยน จัด กิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และโครงการเพื่อพัฒนาเด็กให้มีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและมีวสิ ัยทัศน์ชดั เจน ซึ่ งจะศึกษาได้จากแฟ้ มพัฒนาตนเองของเด็กทุกคนทุกชั้นเรี ยน มีการจัดทําโครงการ Fun Find Focus โครงการ กีฬาสี โครงการศุกร์ หรรษา โครงงานไอศกรี ม โครงงานข้าวโพด โครงงานผลไม้ โครงการ DUSIT Reading Club กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันพ่อ รวมถึงการจัดกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลา งแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์และเกมการศึกษา เพื่อให้เด็กได้พฒั นาตามศักยภาพ ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและมี วิสยั ทัศน์ร้อยละ ๙๕ เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ ที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ร้อยละ ๙๖ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัยร้อยละ ๙๔ เด็กมีจินตนาการและความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ร้อยละ ๙๔
๒๔
มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้ และทักษะเบือ้ งต้ นทีจ่ ําเป็ นตามหลักสู ตร โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๕ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนจัดทําแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี ที่ปรากฏโครงการ เช่น โครงการพัฒนา ครู ผสู ้ อน โครงการ Fun Find Focus โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โครงการศุกร์ หรรษา โครงการ DUSIT Reading Club โครงการกิจกรรมยามเช้า โครงการกีฬาสี และได้จดั กิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรมตามหลักสู ตร มีแผนการจัด ประสบการณ์ แบบประเมินพัฒนาการต่างๆ เช่น บัญชีเรี ยกชื่อ และแบบประเมินพัฒนาการการวิเคราะห์ กิจกรรม แบบบันทึกคําพูดเด็ก แบบประเมินความพร้อมด้านการอ่าน ส่ งเสริ มการจัดทําโครงงาน เพื่อให้เด็ก เกิดทักษะด้านต่างๆ จัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้เด็กได้เรี ยนรู้ท้ งั ในและนอกโรงเรี ยน เช่น ศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ภมู ิ ปั ญญาท้องถิ่นที่หลากหลายและจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตร ได้แก่ ศูนย์การเรี ยนรู ้ คอมพิวเตอร์ ว่ายนํ้า ภาษาต่างประเทศ เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีความพร้อมและทักษะเบื้องต้นที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตรร้อยละ ๙๕ เด็กมีทกั ษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็กร้อยละ ๙๘ เด็กมีทกั ษะในการสื่ อสารที่เหมาะสมกับวัย ร้อยละ ๙๔ เด็กมีทกั ษะในการสังเกตและสํารวจร้อยละ ๙๕ เด็กมีทกั ษะในเรื่ องมิติสมั พันธ์ร้อยละ ๙๖ เชื่อมโยงความรู ้และทักษะต่างๆร้อยละ ๙๕ เด็กมีความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับตัวเอง เรื่ องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่ เรื่ องราวธรรมช าติรอบตัว และสิ่ งต่างๆรอบตัวเด็กร้อยละ ๙๖
๒๕
มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่ อเนื่อง โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของ มาตรฐานที่ ๖ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนสนับสนุนการจัดการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้แบบโครงงาน เช่น โครงงานกล้วย โครงงาน ถัว่ งอก โครงงานมอมอ โครงงานเหล็กมหัศจรรย์ จัดทําโครงการต่างๆ โครงการ DUSIT Reading Club โครงการ Fun Find Focus โครงการศุกร์ หรรษา โครงการกีฬาสี โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งนี้ โรงเรี ยนมีหอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเ ตอร์ ท่ีทนั สมัย มีหอ้ งสมุดให้เป็ นแหล่งค้นคว้าแสวงหาความรู้และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๙๕ เด็กมีความสนใจใฝ่ รู ้ รักการอ่านร้อยละ ๘๓ เด็กมีความกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆรอบตัวและสนุกกับการเรี ยนรู ้ร้อยละ ๙๗
๒๖
มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๗ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยน ส่ งเสริ มให้เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี โดยจัดทําโครงการต่างๆ เช่น โครงการกิจกรรมยามเช้า โครงการกีฬาสี โครงการศุกร์ หรรษา โครงการอนามัยโรงเรี ยน และกิจกรรมที่ หลากหลาย ปลูกฝังให้เด็กเห็นโทษของสิ่ งเสพติดและสิ่ งมึนเมา กิจกรรมสวดมนต์วนั ศุกร์ เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดีร้อยละ ๙๖ รักการออกกําลังกาย ดูแลสุ ขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ ๙๖ เด็กมีน้ าํ หนักและส่ วนสู งตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุ ข ร้อยละ ๙๗ เห็นโทษของสิ่ งเสพติดให้โทษและสิ่ งมึนเมาร้อยละ ๙๕ เด็กมีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมร้อยละ ๙๕ เด็กร่ าเริ ง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กล้าพูด กล้าคุย เข้ากับเพื่อนๆได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ ๙๗
๒๗
มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้ านศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของ มาตรฐานที่ ๘ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนส่ งเสริ มให้เด็กมีสุน ทรี ยภาพและลักษณะ นิสยั ด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว โดยจัด กิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม เด็กได้เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการวาดภาพ ระบายสี น้ าํ สี เทียน การปั้ น การตัดปะ ฉี กปะ พิมพ์ ภาพ เป่ าสี พับกระดาษ โรยทราย จุ่มสี การประดิษฐ์สิ่งของจากเศษวัสดุตามธรรมชาติ กิจกรรมการเคลื่อนไหว และจังหวะ เต้ นตามจังหวะประกอบเพลง กิจกรรมกลางแจ้ง การละเล่นพื้นบ้าน ซึ่ งมีโครงการที่ส่งเสริ มให้ เด็กได้มีสุนทรี ยภาพด้านดนตรี และการเคลื่อนไหว เช่น โครงการกิจกรรมยามเช้า และโครงการศุกร์ หรรษา เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า เด็กมีสุนทรี ยภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ร้อยละ ๙๘ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านศิลปะร้อยละ ๙๘ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านดนตรี ร้อยละ ๙๘ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านการเคลื่อนไหวร้อยละ ๙๘
๒๘
มาตรฐานด้ านครู
มาตรฐานที่ ๙ ครู มีคุณธรรม จริยธรรม ครู มีวุฒิ /ความรู้ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่นพัฒนา ตนเอง เข้ ากับชุ มชนได้ ดี และมีครูพอเพียง โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๙ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีครู ท่ีมีคุณธรรม จริ ย ธรรม และมีวฒ ุ ิมีความรู ้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมัน่ พัฒนาตนเอง สามารถเข้ากับชุมชนได้ดี และมีครู พอเพียงตามเกณฑ์ กค . ( ศธ ๑๓๐๕/๔๖๖) ครู ได้รับการ พัฒนาและอบรมในวิชาที่สอนไม่ต่าํ กว่า ๒๐ ชัว่ โมง / ปี ร้อยละ ๑๐๐ ครู สอนตรงกับวิชาเอกหรื อความ ถนัด ครู จบปริ ญญาตรี หรื อเทียบเท่า ร้อยละ ๑๐๐ ครู ทุกคนมีแฟ้ มพัฒนางานครู ครู มีปฏิสัมพันธ์ ที่ดีกบั เด็ก และผูป้ กครอง มีเว็บไซด์ จุลสาร สารสัมพันธ์บา้ นกับโรงเรี ยน ร่ วมกิจกรร มต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น มีการ ร่ วมแข่งขันกีฬาอนุบาลสัมพันธ์ กีฬาบ้านโป่ งเกมส์ครั้งที่ ๑ และร่ วมแข่งขันกีฬาจังหวัด ร่ วมงานประเพณี หรื อวันสําคัญต่างๆ เช่น การเดินเทิดพระเกียรติวนั พ่อ ถวายพวงมาลาวันปิ ยมหาราช เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า ครู มีคุณธรรมจริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ร้อยละ ๙๑ ครู มีปฏิสัมพันธ์ทีด่ ีกบั เด็กผูป้ กครอง และชุมชน ร้อยละ ๙๑ ครู มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ร้อยละ ๙๓ ครู มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็ นประจํา รับฟังความคิดเห็น ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ใจกว้าง ร้อยละ ๙๒ ครู จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาหรื อเทียบเท่าขึ้นไป ร้อยละ ๑๐๐ ครู สอนตรงตรมวิชาเอก-โท หรื อตรงตามความถนัด ร้อยละ ๑๐๐ ครู มีจาํ นวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครู และบุคลากรสนับสนุน) ร้อยละ ๑๐๐
๒๙
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ และเน้ นเด็ก เป็ นสํ าคัญ โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๐ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีครู ที่มีความสามารถในการจัด การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้น เด็กเป็ นสําคัญ โดยทางโรงเรี ยนสนับสนุน ให้ครู ผสู ้ อนเข้ารับการอบรม สัมมนาเรื่ อง การวิเคราะห์หลักฐาน การจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษา การปฏิรูป การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ที่เน้นเด็ก เป็ นสําคัญ การทําวิจยั ใน ชั้นเรี ยน การประเมินพัฒนาการตามรู ปแบบต่าง ๆ การวัดผลตามสภาพจริ ง โดยเฉลี่ยครู ทุกคนได้รับการ ส่ งเสริ มให้เข้ารับการฝึ กอบรม สัมมนา ปี ล ะประมาณ ๔ ครั้ง นอกจากนี้ ยังมีการจัดทําแผนการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ แผนการสอนที่เน้น เด็ก เป็ นสําคัญโดยมีสื่อและอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับ การจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ครู ทาํ วิจยั เพือ่ พัฒนา เด็ก มีเครื่ องมือวัดและประเมิน และจัดทําโครงงาน แบบ ประเมินพฤติกรรมเด็ กทั้ง ๔ ด้าน แฟ้ มสะสมผลงานของ เด็ก ครู จดั กิจกรรมและประสบการณ์ที่สอดคล้อง กับพัฒนาการตามวัยและสนองความต้องการของเด็กแต่ละคน จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในห้องเรี ยนที่ สร้างแรงจูงใจให้เด็กกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้ มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานใ นการ จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ผลการดําเนินงาน พบว่า ครู มีความรู ้ความเช้าใจเป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย ร้อยละ ๙๐ ครู มีการวิเคราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ร้อยละ ๙๐ ครู มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็ นสําคัญ ร้อยละ ๘๙ ครู มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการเรี ยนรู ้ของเด็ก ร้อยละ ๘๙ ครู มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริ ง โดยคํานึงถึงพัฒนาการตามวัย ร้อยละ ๘๙ ครู มีการนําผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตาม ศักยภาพ ร้อยละ๘๘ ครู มีการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ของเด็กและนําผลไปใช้พฒั นาเด็ก ร้อยละ ๙๐
๓๐
มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเ สริ มต่างๆ เพื่อ เด็ก บรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๑โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าํ และมีความสามารถในการบริ หารจัดการศึกษา ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี มีความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รับฟังปั ญหาของคณะครู เปิ ด โอกาสให้คณะครู มีส่วนร่ วมในการบริ หาร มีการแบ่งงานตาม ความเหมาะสมอย่างเป็ นระบบ ปฏิบตั ิตนตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความมุ่งมัน่ ในการบริ หาร จัดให้มีการประชุม ร่ วมกันของคณะครู ร่วมจัดทํา แผนกล ยุทธ์ ธรรมนูญโรงเรี ยน แผนปฏิบตั ิงานประจําปี จัดให้มีโครงการ กิจกรรมต่างๆ ตามที่กาํ หนดไว้ ในแผนโดย ส่ งเสริ มสนับสนุน ให้มีการปฏิบตั ิงานตามแผนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๘๐ ของแผนงาน บริ หารงานโดยเห็นแก่ ประโยชน์ของ เด็ก เป็ นสําคัญ อุทิศตนให้กบั งาน มาปฏิบตั ิหน้าที่โดยสมํ่าเสมอ พัฒนาสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ค รู ได้รับการอบรม สัมมนา ศึกษาต่อระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท และ ศึกษาดูงาน เพือ่ พัฒนา การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ อยูต่ ลอดเวลา มีการนิ เทศการสอนเพื่อพัฒนาครู ส่ งเสริ มให้ครู ผลิตสื่ อ ใช้สื่อใน การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ อย่างหลากหลาย จัดให้มีโครงการผลิตสื่ อ พัฒนาสื่ อ สนับสนุนให้มีหอ้ งปฏิบตั ิการต่างๆ ในการพัฒนา การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ของครู สนับสนุนจัดให้มีกา รประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ประชุม คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน อย่าง ต่อเนื่อง ให้คาํ ปรึ กษาชี้แนะแนวทางด้านวิชาการ แก่คณะครู เป็ นผูน้ าํ ทางด้านวิ ชาการ พัฒนาด้านวิชาการ โรงเรี ยน ส่ งเสริ มโครงการความเป็ นเลิศทางวิชาการ พัฒนาครู และนักเรี ยนให้บรรลุตามมาตรฐานการศึกษา ปฐมวัย ทั้ง ๑๘ มาตรฐาน และนําผลการประเมินมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูบ้ ริ หารมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ร้อยละ ๘๙ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ัยทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ร้อยละ ๘๙ มีความสามารถในการบริ หารงานวิชาการและการจัดการ ร้อยละ ๘๙ การบริ หารงานมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ ร้อยละ ๘๙
๓๑
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กรโครงสร้ าง ระบบการบริ หารงานและพัฒนาองค์ กรอย่างเป็ น ระบบครบวงจร โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๒ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทําแผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีโครงสร้าง แผนภูมิการบริ หารงาน แผนปฏิบตั ิการประจําปี ปฏิทินปฏิบตั ิงานประจําปี สมุดคําสั่ง สมุดบันทึกการประชุมมีการติดต่อสื่ อสารโดย ใช้ระบบอีเมล์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน บันทึกการอบรมสัมมนาของครู แผนกล ยุทธ์ขอ้ มูลสารสนเทศ แผนนิเทศและติดตามผลการเรี ยน ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของเด็ก บัญชีรับจ่าย ของสถานศึกษา รายงานประเมินตนเอง บันทึกการประชุมคณะกรรมการนักเรี ยน โดยในปี ๒๕๕๒ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้รับรางวัลจากการประกวดโรงอาหารในโรงเรี ยนระดับประถมศึกษา ในระดับคุณภาพดี เยีย่ ม จาก สพท. ราชบุรี เขต ๒ ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริ หารงานที่มีความคล่องตัวสู ง และปรับเปลี่ยนได้ตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ร้อยละ ๘๘ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ร้อยละ ๘๘ มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๘๙ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ร้อยละ ๘๙ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริ หารงานและการพัฒนาเด็ก ร้อยละ ๘๘
๓๒
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน โรงเรี ยน จัด กิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๓ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทํา แผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คําสั่งโรงเรี ยน บันทึกการประชุม คณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยน แผนปฏิบตั ิ งานประจําปี ปฏิทินปฏิบตั ิงานประจําปี ระเบียบการส่ งเสริ ม ความสัมพั นธ์และร่ วมมือกับชุมชน บันทึกการ ประชุม โครงการ วันครู พบผูป้ กครอง โครงการวันสําคัญ ทางศาสนา หนังสื อถึงผูป้ กครอง การแต่งกายอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย โครงการวันเด็ก วารสารโรงเรี ยน โครงการรณรงค์ต่ อต้านยาเสพติด โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ สื่ อทางด้านหนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่น การ ช่วยเหลืองานประเพณี ต่าง ๆ การให้บริ การอาคารสถานที่จดั กิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน มีผนู ้ าํ องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่นและองค์กรต่างๆ ร่ วมเป็ นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่ วมกําห นดนโยบาย ของสถานศึกษา มีการตรวจสอบและถ่วงดุล ได้แก่ การจัดทําระบบบัญชีทุกประเภท มีคาํ สัง่ แต่งตั้งผูป้ ฏิบตั ิ และตรวจสอบอย่างชัดเจน ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการกระจายอํานาจการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ร้อยละ ๘๘ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ร้อยละ ๘๘ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาโรงเรี ยน ร้อยละ ๘๘ มีรูปแบบการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ร้อยละ ๘๘ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล ร้อยละ ๘๘
๓๓
มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและกระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้ น เด็กเป็ นสํ าคัญ โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๔ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรี ยนจัดขึ้น ได้แก่ โครงการเรี ยนรู้สู่โลกกว้าง วารสารโรงเรี ยน แผนการจัด ประสบการณ์กิจกรรมบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสู ตรสถานศึกษา โครงการนิเทศการ สอน วิจยั ในชั้นเรี ยน โครงงานทุกระดับชั้น สื่ อประกอบ การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ห้องสมุด ห้อง คอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์สื่อ มุมหนังสื อภายในห้องเรี ยน แบบบันทึกประเมินพัฒนาการ แฟ้ มพัฒนา เด็ก โครงการ Fun Find Focus ผลการดําเนินงาน พบว่า มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ร้อยละ ๘๘ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัย ของเด็ก ร้อยละ ๘๘ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยนที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้ ร้อยละ ๘๘ มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยบูรณาการผ่านการเล่นและเด็กได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรง ร้อยละ ๘๗ มีการบันทึก การายงายผล และการส่ งต่อข้อมูลของเด็กอย่างเป็ นระบบ ร้อยละ ๘๘ มีการนิเทศและนําผลไปปรับปรุ งการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสมํ่าเสมอ ร้อยละ ๘๘ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดประสบการณ์ ร้อยละ ๘๗
๓๔
มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริมคุณภาพเด็กอย่างหลากหลาย โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจ กรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๕ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรี ยนจัดขึ้นได้แก่ โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โครงการจัดทัศนศึกษา วารสาร โรงเรี ยน แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง หลักสู ตร สถานศึกษา และหลักสู ตรท้องถิ่น หนังสื อนิทานเพื่อนรัก โครงการนิเทศการสอน วิจยั ในชั้นเรี ยน โครงงานระดับอนุบาล สื่ อประกอบการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ห้องศูนย์สื่อ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ มุมหนังสื อภายในห้องเรี ยน แฟ้ มพัฒนา เด็ก โครงการ Fun Find Focus โครงการบัณฑิตน้อย โครงการกีฬาสี โครงการกิจกรรมยามเช้า กิจกรรมวันสําคัญต่าง ๆ ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่างทัว่ ถึง ร้อยละ ๘๘ มีการจัดกิจกรรมกระตุน้ พัฒนาการทางสมอง ตอบสนองความสนใจ และส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดีงาม ร้อยละ ๘๘ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตย ร้อยละ ๘๙
๓๕
มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการทีส่ ่ งเสริมให้ เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม ศักยภาพ โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๖ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษา หลักสู ตรท้องถิ่น รายงานการประเมินตนเอง บันทึกการ ประชุม สมุดคําสั่งโรงเรี ยน แหล่งเรี ยนรู ้ มีสื่อการเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มีสื่อธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ สวนหย่อม สนามเด็กเล่น บ้านจําลอง อ่างปลาสวยงาม มีอุปกรณ์กีฬ า ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องศูนย์ การ เรี ยนรู ้ มุมหนังสื อ อุปกรณ์เล่นบทบาทสมมติ มีแหล่งเรี ยนรู ้ท้ งั ในและนอกสถานศึกษา โดยจัดโครงการ เรี ยนรู ้สู่ โลกกว้างโดยการนําเด็กไปชมสถานที่ต่างๆเช่น วัด สถานีรถไฟ ตลาด ที่วา่ การอําเภอ ไปรษณี ย ์ พร้อม ทั้งจัดกิจกรรมทัศนศึกษา สยามโอเชี่ยนเวิลด์ สวนสัตว์ดุสิต และซาฟารี เวิลด์ ผลการดําเนินงานพบว่า มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีอาคารสถานที่เหมาะสม ร้อยละ ๘๙ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของเด็ก ร้อยละ ๙๒ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองและการเรี ยนรู้แบบมีส่วนร่ วม ร้อยละ ๙๒ มีหอ้ งเรี ยน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และสิ่ งอํานวยความสะดวกพอเพียงและอยูใ่ นสภาพใช้ การได้ดี ร้อยละ ๙๑ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอกสถานที่ ร้อยละ ๙๐
๓๖
มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น โรงเรี ยน จัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๗ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ จัดโครงการการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โดยนําเด็กนักเรี ยนระดับชั้นอนุบาลเที่ยวชมตลาดสดบ้านโป่ ง เด็ก ไปไหว้พระที่วดั บ้านโป่ ง เที่ยวชมห้องสมุดประชาชน เด็กเยีย่ มชมสถานีร ถไฟ ไปรษณี ย ์ อําเภอบ้านโป่ ง และดูวธิ ี การทําขนมปลากริ ม ดูการทําบะหมี่เกี๊ยว การทําขนมจีน การทอผ้าขาวม้า และการทําข้าวหลาม มีการ จัดโครงการ Fun Find Focus โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่เด็กนักเรี ยน มีการทําบุญในวันเด็ก การแข่งขันกีฬา สี ภายใน การสรงนํ้าพระพุทธรู ปเนื่องในวันสงกรานต์ ร่ วมสังสรรค์ ร่ วมแข่งขันกีฬาบ้านโป่ งเกมส์และกีฬา จังหวัด ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญา ในท้องถิ่ น ร้อยละ ๘๗ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญา และชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทํา หลักสู ตรระดับสถานศึกษา ร้อยละ ๘๗
๓๗
มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้ าน องค์ กรทางศาสนา สถานบันทางวิชาการ และ องค์ กรภาครัฐ และเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถกี ารเรียนรู้ ในชุ มชน โรงเรี ยนจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ และกิจกรรมเสริ มต่าง ๆ เพื่อเด็กบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๑๘ โดยดําเนินกิจกรรมดังต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้จดั ให้ผปู ้ กครอง คนในชุมชนเข้ าร่ วมกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น โครงการวันครู พบ ผูป้ กครอง มีการสื่ อสารระหว่างโรงเรี ยนกับบ้าน การทําบุญในวันเด็ก การแข่งขันกีฬาสี ภายใน การสรงนํ้า พระพุทธรู ปเนื่องในวันสงกรานต์ และมีโครงการ Fun Find Focus ซึ่ งได้มีการเชิญผูป้ กครอง หรื อผูม้ ีความรู้ ในด้านต่างๆในท้องถิ่นเข้ามาให้ความรู ้และร่ วมจัดกิจกรรมให้กบั นั กเรี ยน โรงเรี ยนให้บริ การสถานที่ในการ จัดประชุม จัดอบรม และจัดงานเลี้ยงต่าง ๆ และให้บริ การในการยืมอุปกรณ์ในการจัดงานพิธีต่าง ๆ ผลการดําเนินงาน พบว่า เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู ้และบริ การชุมชน ร้อยละ ๘๖ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ร้อยละ ๘๖
๓๘
จากการดําเนินงาน สรุ ปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่ งชี้ได้ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ มาตรฐาน ตัว บ่ งชี้ มาตรฐานด้ านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที๑่ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ๔ ประสงค์ ๑.๑ มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้อตกลงร่ วมกัน ๔ ๑.๒ มีความซื่อสัตย์สุจริ ต ๔ ๔ ๑.๓ มีความกตัญ�ูกตเวที ๔ ๑.๔ มีเมตตากรุ ณา มีความรู ้สึกที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น ๔ ๑.๕ ประหยัด รู้จกั ใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม ๔ ๑.๖ มีมารยาทและปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย ๔ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนา ๔ สิ่ งแวดล้ อม ๒.๑ รับรู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการ ๔ ๔ เปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม / โครงการอนุรักษ์ ๔ และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทํางานจนสํ าเร็จ ทํางานร่ วมกับ ๔ ผู้อนื่ ได้ และมีความรู้สึกทีด่ ีต่ออาชี พสุ จริต ๔ ๓.๑ สนใจและกระตือรื อร้นในการทํางาน ๔ ๓.๒ ทํางานจนสําเร็ จและภูมิใจในผลงาน ๔ ๓.๓ เล่นและทํากิจกรรมร่ วมกับผูอ้ ่ืนได้ ๔ ๓.๔ มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต ๔ มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และ ๔ คิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ๔ ๔.๑ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ งต่างๆที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ ๔ ๔.๒ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย ๔ ๔.๓ มีจินตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ ๔ ๔ มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้ และทักษะเบือ้ งต้ น ๕.๑ มีทกั ษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ - เล็ก ๔ ๕.๒ มีทกั ษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ๔ ๓๙
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๕.๓ มีทกั ษะในการสื่ อสาร ๕.๔ มีทกั ษะในการสังเกตและสํารวจ ๕.๕ มีทกั ษะในเรื่ องมิติสัมพันธ์ ๕.๖ มีทกั ษะในเรื่ องจํานวน ปริ มาณ นํ้าหนัก และการกะ ประมาณ ๕.๗ เชื่อมโยงความรู ้และทักษะต่างๆ มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจใฝ่ รู้ รักการอ่าน และพัฒนา ตนเอง ๖.๑ รู ้จกั ตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่ รู ้ ๖.๒ มีความกระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆรอบตัว และ สนุกกับการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ ดี ๗.๑ รักการออกกําลังกาย ดูแลสุ ขภาพ และช่วยเหลือตนเอง ได้ ๗.๒ มีน้ าํ หนัก ส่ วนสู ง และมีสมรรถภาพทางกายตาม เกณฑ์ ๗.๓ เห็นโทษของสิ่ งเสพติดให้โทษและสิ่ งมอมเมา ๗.๔ มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๗.๕ ร่ าเริ ง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และ ผูอ้ ่ ืน มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้ าน ศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว ๘.๑ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านศิลปะ ๘.๒ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมด้านดนตรี ๘.๓ มีความสนใจและร่ วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว มาตรฐานด้ านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ / ความรู้ ความ สามรถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมัน่ พัฒนาตนเอง เข้ ากับ ชุ มชนได้ ดี และมีครู พอเพียง ๔๐
ระดับคุณภาพ ตัว บ่ งชี้ ๔ ๔ ๔
ระดับคุณภาพ มาตรฐาน ๔
๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔
ระดับคุณภาพ ตัว บ่ งชี้
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๙.๑ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๙.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกบั เด็ก ผูป้ กครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาเด็ก ๙.๔ มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ รับฟัง ความคิดเห็น ใจกว้าง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรื อตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจาํ นวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครู และบุคลากร สนับสนุน) มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นเด็กเป็ นสํ าคัญ ๑๐.๑ มีความรู ้ความเช้าใจเป้ าหมายการจัดการศึกษาและ หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์เด็กเป็ นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามรถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็ น สําคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับการเรี ยนรู ้ของเด็ก ๑๐.๕ มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริ ง โดย คํานึงถึงพัฒนาการตามวัย ๑๐.๖ มีการนําผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการ จัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ของเด็กและนําผลไป ใช้พฒั นาเด็ก มาตรฐานด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นํา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๔๑
๔
ระดับคุณภาพ มาตรฐาน ๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔
๔ ๔ ๔
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๑๑.๒ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ัยทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามรถในการบริ หารงานวิชาการและการ จัดการ ๑๑.๔ มีการบริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่ างเป็ นระบบครบ วงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง และระบบการบริ หารงาน ที่มีความคล่องตัวสู งและปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม สถานการณ์ ๑๒.๒มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็ นระบบ ครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการ บริ หารงานและการพัฒนาเด็ก มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษา โดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอํานาจการบริ หาร และการจัดการศึกษา ๑๓.๒ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาสถานศึกษา ๑๓.๔ มีการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และ ประสบการณ์ การเรียนรู้ ทเ่ี น้ นเด็กเป็ นสํ าคัญ ๑๔.๑ มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับเด็กและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความสนใจและเหมาะสมกับวัยของ เด็ก ๔๒
ระดับคุณภาพ ตัว บ่ งชี้ ๔
ระดับคุณภาพ มาตรฐาน
๔ ๔ ๔
๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔
๔
ระดับคุณภาพ ตัว บ่ งชี้
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๑๔.๓ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยนที่เอื้อต่อ การเรี ยนรู ้ ๑๔.๔ มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยบูรณาการผ่านการ เล่นและเด็กได้เรี ยนรู้จากประสบการณ์ตรง ๑๔.๕ มีการบันทึก การายงายผล และการส่ งต่อข้อมูลของ เด็กอย่างเป็ นระบบ ๑๔.๖ มีการนิเทศและนําผลไปปรับปรุ งการจัดกิจกรรม / ประสบการณ์อย่างสมํ่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การจัดประสบการณ์ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริม คุณภาพเด็กอย่ างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กอย่าง ทัว่ ถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมกระตุน้ พัฒนาการทางสมอง ตอบสนองความสนใจ และส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี และการ เคลื่อนไหว ๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ ม ความเป็ นประชาธิ ปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการ บริการทีส่ ่ งเสริมให้ เด็กพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตาม ศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีอาคารสถานที่ เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ เด็ก ๔๓
ระดับคุณภาพ มาตรฐาน
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔ ๔
๔
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้ ๑๖.๓ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู้ดว้ ยตนเองและการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม ๑๖.๔ มีหอ้ งเรี ยน ห้องสมุด สนามเด็กเล่น พื้นที่สีเขียว และ สิ่ งอํานวยความสะดวกพอเพียงและอยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอกสถานที่ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ ง เรียนรู้ และภูมปิ ัญญาในท้ องถิน่ ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู ้ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาและชุมชนเข้า มามีส่วนร่ วมในการจัดทําหลักสู ตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน องค์ กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์ กรภาครัฐ และเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถกี ารเรียนรู้ ในชุ มชน ๑๘.๑ เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู ้และ บริ การชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน หมายเหตุ
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ
๔ ๓ ๒ ๑
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ระดับคุณภาพ ตัว บ่ งชี้ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุ ง
๔๔
ระดับคุณภาพ มาตรฐาน
บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนําไปใช้
๔.๑ สรุปผลการดําเนินงานในภาพรวม
ด้ านผู้บริหาร โรงเรี ยนมีการจัดองค์กรโครงสร้างการบริ หารงานอย่างเป็ นระบบ ชัดเจน และครบวงจร มีการ ทบทวนและปรับปรุ งโครงสร้างและสายการ บังคับบัญชาตามบริ บทที่เปลี่ยนแปลงไป ทําให้การแบ่งงาน รับผิดชอบในแต่ละส่ วนมีประสิ ทธิ ภาพ มีการนําหลัก PDCA ซึ่ งประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบตั ิงาน การตรวจสอบ และการปรับปรุ งแก้ไข มาใช้เป็ นแนวทางในการบริ หารโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หารมีภาวะความเป็ นผูน้ าํ และให้การส่ งเสริ มสนับ สนุนให้ครู ได้รับความรู ้ทางด้านเทคโนโลยีที่ทนั สมัย มีการส่ งเสริ มให้ครู ได้รับการ อบรมและพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ทั้งทางด้านวิชาการและคุณธรรมจริ ยธรรม จัดประชุมครู ทุกเดือนเพือ่ แจ้งให้ครู ทราบข่าวสารต่างๆ และเน้นการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ มีการเปิ ดรับฟังความ คิดเห็นของครู ในเรื่ องสําคัญต่างๆ มีการให้อาํ นาจครู ในการตัดสิ นใจในขอบเขตที่เหมาะสม เพื่อให้การบริ หารจัดการมี ประสิ ทธิ ภาพและบุคลากรมีความพึงพอใจสู ง และมีการดําเนินการในด้านต่างๆเพื่อสร้าง ขวัญและกําลังใจแก่ ครู สมํ่าเสมอ นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารยังริ เริ่ มโครงการที่เน้นการมี ส่ วนร่ วมของผูป้ กครองและชุมชนมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในปี การศึกษาที่ผา่ นมา มีการสํารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผูป้ กครองในด้านการบริ หาร จัดการและคุณภาพครู เพื่อนําเอาข้อคิดเห็นเหล่านั้นมาปรับปรุ งการบริ หารจัดการการศึกษาให้ดียงิ่ ขึ้น มีการ นําเอาวิทยากรในท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา ตั้งแต่การปรับปรุ งหลักสู ตร จนถึงการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้กบั เด็กและนักเรี ยน ในส่ วนของการให้บริ การทางวิชาการแก่ชุมชนนั้น โรงเรี ยนจัด ให้มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู ้กบั ชุมชนในด้านสาธารณสุ ข ด้ านการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ครู มีความรู ้ในระดับปริ ญญาตรี ทางด้านการศึกษาหรื อสาขาที่เกี่ยวข้องและสอนตามความถนัด มี ความรู ้ความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ครู ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการสอนมากกว่า ๑๐ ปี มีจิตวิญญาณความเป็ นครู มีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ ทําให้เด็กมีพฒั นาการอยูใ่ นเกณฑ์น่าพอใจ ด้ านเด็ก
เด็กมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และจิตที่ดี มีสุนทรี ยภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ที่เหมาะสมกับ วัย มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอ งและมีวสิ ัยทัศน์ มีความรู ้และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตร มีทกั ษะแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทกั ษะในการทํางาน รักการ ทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต
๔๕
๔.๒ ผลสั มฤทธิ์ที่เป็ นจุดเด่ นและจุดทีค่ วรพัฒนา
จุดเด่ น สถานศึกษามีทรัพยากรที่สนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครบถ้วน เพียงพอ มีครู เพียงพอ ครู มีความรู ้ความสามารถในการจัด การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ทําให้ เด็กมีพฒั นาการ อยูใ่ นเกณฑ์ท่ีน่าพอใจ รวมถึงมี การการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่เน้นเ ด็กเป็ นสําคัญ จัดประสบการณ์ ที่หลากหลาย และมีการ ประเมินผลตามสภาพจริ ง ทําให้มีการพัฒนาศักยภาพของเด็กดีข้ ึน จุดทีค่ วรพัฒนา โรงเรี ยนมีความประสงค์ที่จะเน้นพัฒนาการใน ๔ ด้านคือ ๑. เน้นการบริ หารการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่ วม แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั ชุมชนมากขึ้น ๒. การส่ งเสริ มความมีจิตอาสา รัก ในการทําประโยชน์เพื่อส่ วนรวม ให้กบั นักเรี ยนและบุคลากรของ โรงเรี ยน ๓. การพัฒนาโรงเรี ยนไปสู่ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ ๔. การพัฒนาด้านสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ให้มีประสิ ทธิ ภาพ ๔.๓ แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. เน้นการบริ หารการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่ วม โดยการรับฟังความคิดเห็นจากผูป้ กครองและ ชุมชน และนําความคิดเห็นและความต้องการของชุมชม เข้ามาให้เป็ นแนวทางในการพัฒนา หลักสู ตร รวมทั้งมีการนําวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัด การจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ มากขึ้น โดยผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น กา รจัดตลาดนัดวิชาการ การ ทัศนศึกษาสถานที่สาํ คัญในท้องถิ่น โครงการจิตอาสา โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน โครงการครู พบผูป้ กครอง เป็ นต้น ทั้งนี้เพือ่ ให้สถานศึกษาและชุมชนเป็ นแหล่งแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ซ่ ึงกันและ กัน ๒. ส่ งเสริ มให้ครู นกั เรี ยนและบุคลากรของโรงเรี ยนเป็ นผูม้ ีจิตอาสา รักในการทําประโยชน์เพื่อ ส่ วนรวม โดยจะจัดโครงการ /กิจกรรม ที่จะให้นกั เรี ยนและบุคลากรได้ร่วมกันทํากิจกรรมเพื่อ พัฒนาในด้านต่างๆ โดยเริ่ มตั้งแต่ในห้องเรี ยน บริ เวณโรงเรี ยน จนถึงชุมชมรอบๆโรงเรี ยน และ เพื่อสร้างสัมพันธ์อนั ดีระหว่างนักเรี ยน ครู โรงเรี ยน และชุมชน ๓. การขยายปรับปรุ งและพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรี ยนให้มีพ้ืนที่ในการทํากิจกรรมที่ส่งเสริ ม การเรี ยนรู ้ในด้านต่างๆมากขึ้น และเพิ่มมุมแห่งการเรี ยนรู้ในทุกสาระ ให้ทวั่ ถึงทัว่ โรงเรี ยน เพือ่ สร้างค่านิยมแห่งการเรี ยนรู ้ในตัวนักเรี ยน และบุคลากรของโรงเรี ยนทุกคน ๔. การพัฒนาด้านสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ โดยจะเน้นให้ครู และบุคลากร นําสื่ อและ เทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ มาใช้ในการจัด การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ มากขึ้น รวมทั้งพัฒนา ระบบการจัดการสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
๔๖
ภาคผนวก
๔๗
แผนที่เส้ นทางการมาโรงเรียนดุสิตวิทยา
จากกรุ งเทพมหานคร เดินทางมาตามถนนเพชรเกษม /ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านจังหวัดนครปฐม ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เลี้ยวเข้าไปยังเส้นทาง ๓๒๓ ประมาณ ๘ กิโลเมตร จะพบทางแยกต่างระดับ ให้เลี้ยว เข้าอําเภอบ้านโป่ ง วิง่ ตามเส้น ทางถนนทรงพล เมื่อถึงวงเวียนหอนาฬิกา ให้เลี้ยวซ้ายเข้าถนนแสงชูโต ตรงไปจนถึงสถานีรถไฟบ้านโป่ ง แล้วเลี้ยวขวาเข้าถนนหลังสถานีรถไฟ เดินทางต่อประมาณ ๔๐๐ เมตร โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจะตั้งอยูท่ างด้านขวามือ
๔๘
สรุ ปผลการสํ ารวจความพึงพอใจผู้ปกครอง ครั้งที่ ๑/๒๕๕๒ ทําการสํารวจในระหว่ างวันที� จํานวน การตอบกลับ
: 747
8 – 10
พฤศจิกายน
2552
คน
ตอนที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุของผูป ้ กครอง ่ งอายุ ชว ตํา � กว่า 20 ปี 20 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี � ไป 60 ปี ขึน
ความถี� 8 91 360 218 48 22
ร้อยละ 1% 12% 48% 29% 6% 3%
อายุของผู้ปกครอง 3% 1% 7%
ตํ�ากว่า 20 ปี
12%
20 - 29 ปี 30 - 39 ปี
29%
40 - 49 ปี 48%
50 - 59 ปี 60 ปี ขึ �นไป
๔๙
ี ของผูป อาชพ ้ กครอง ี อาชพ ร ับราชการ พน ักงานร ัฐวิสาหกิจ พน ักงานบริษ ัทเอกชน ธุร กิจสว่ นต ัว ค้าขาย เกษตรกร แม่บา้ น Other
ความถี� 139 10 166 103 132 41 105 51
อาชีพของผู้ปกครอง 7%
14%
5%
19%
รับราชการ
1% 22%
18%
ร้อยละ 19% 1% 22% 14% 18% 5% 14% 7%
พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน ธุรกิจส่วนตัว ค้ าขาย เกษตรกร
14%
แม่บ้าน อื�นๆ
ึ ษาของผูป ระด ับการศก ้ กครอง ึ ษา ระด ับการศก ตํา � กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
3%
ความถี� 452 274 21
ร้อยละ 61% 37% 3%
ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ตํ�ากว่าปริ ญญาตรี
37% 60%
ปริ ญญาตรี สูงกว่าปริ ญญาตรี
๕๐
ตอนที่ ๒: ผลการสํ ารวจความพึงพอใจในการจัดการศึกษาในด้ านต่ างๆ ความพึงพอใจในด้ าน
ค่ าเฉลี่ย (เต็ม ๑๐)
•
อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
๘.๐๑
•
คุณภาพการจัดการศึกษา
๘.๖๓
•
คุณภาพของครู
๙.๐๕
•
คุณภาพการให้บริ การ
๘.๖๔
•
การติดต่อสื่ อสารและประชาสัมพันธ์
๘.๘๑
•
ภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน
๙.๐๑
ความพึงพอใจทีม่ ีต่อโรงเรียนใน ภาพรวม
๘.๙๔
•
๕๑
คณะผู้เขียนรายงาน ลงชื่อ (นางดวงสิ ริ ลงชื่อ (นายธีรภัทร
กุโลภาส)
กุโลภาส)
ผูร้ ับใบอนุญาต-ผูจ้ ดั การโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
ลงชื่อ รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา (นางสาวปราณี วรสุทธิ์พศิ าล) ลงชื่อ (นางสาวดิษยา กุโลภาส)
ผูช้ ่วยฝ่ ายปกครอง
ลงชื่อ (นางสายชล
ผูช้ ่วยฝ่ ายวิชาการ
พรหมดํา)
ลงชื่อ (นางสาวพิกลุ สุขวิสุทธิ์ )
ผูช้ ่วยฝ่ ายบริ การ
ลงชื่อ (นางสมพร
ผูช้ ่วยฝ่ ายธุรการ
ลงชื่อ (นางมาลา ลงชื่อ
(นางเจริ ญ
เปรมจิตต์)
ด้วงพันธุ์ )
ใจรัก)
หัวหน้าวิชาการอนุบาล
หัวหน้าระดับอนุบาล ๓
ลงชื่อ (นางชวิศา เดชารัตนเจริ ญกิจ)
หัวหน้าระดับอนุบาล ๒
ลงชื่อ (นางณัฐกานต์ จันทร์งาม )
หัวหน้าระดับอนุบาล ๑
ลงชื่อ (นางสาวบุษกร กรรณสูต)
ครู ระดับอนุบาล ๒
๕๒