รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา (SAR) ระดับประถมศึกษา
โรงเรียนดุสิตวิทยา
เลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัดราชบุรี
สํ านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาราชบุรี เขต ๒
สั งกัด สํ านักบริหารงานคณะกรรมการส่ งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๕๒
คํานํา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ หมวด ๖ มาตรา ๔๗, ๔๘, ๔๙, ๕๐ และ ๕๑ ได้กาํ หนดให้ทุกสถานศึกษา ต้องผ่านการประกันคุณภาพการศึกษาจากองค์กรหรื อหน่วยงานภายนอก ในการ นี้ โรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้ตระหนักถึงความสําคัญและภารกิจในการเตรี ยมความพร้อมในการรับการประเมิน คุณภาพสถานศึกษา จึงได้ร่วมมือกันระหว่างคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผูป้ กครองดําเนินการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกฝ่ ายของโรงเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจและร่ วมมือกัน ปฏิบตั ิภารกิจต่างๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพของโรงเรี ยนในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษายิง่ ขึ้น รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา ฉบับนี้ สําเร็ จลุล่วงด้วยดีโดยได้รับความ ร่ วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ าย ทางคณะผูจ้ ดั การจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผูจ้ ดั ทํา ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒
ก
สารบัญ
คํานํา ........................................................................................................................................................................................................ ก สารบัญ .................................................................................................................................................................................................... ข บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ......................................................................................................................................................................... ๑ ๑. ข้อมูล ทัว่ ไป ........................................................................................................................................................................ ๑ ๒. ข้อมูลด้านการบริ หาร ....................................................................................................................................................... ๑ ๓. ข้อมูลนักเรี ยน ................................................................................................................................................................... ๔ ๔. ข้อมูลบุคลากร ................................................................................................................................................................... ๗ ๕. สภาพชุมชนโดยรวม ....................................................................................................................................................... ๗ ๖. โครงสร้างหลักสู ตรสาระการเรี ยนรู ้ระดับชาติ และสระการเรี ยนรู ้ทอ้ งถิ่น /จํานวนชัว่ โมงที่จดั ให้เรี ยนต่อปี / ระบบการเรี ยนรู ้ท่ีเน้นเป็ นพิเศษ ................................................................................................................................................. ๙ ๗. ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ................................................................................................................................................. ๙ ๘. ข้อมูลด้านงบประมาณและทรัพยากร ........................................................................................................................ ๑๐ ๙. แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ ................................................................................................................ ๑๐ ๑๐. ผลการดําเนินงานในรอบปี ที่ผา่ นมา .......................................................................................................................... ๑๑ ๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง ................................................................................................................ ๑๒ บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ....................................................................................................................... ๑๕ มาตรฐานด้านคุณภาพผูเ้ รี ยน ........................................................................................................................................... ๑๕ มาตรฐานด้านครู ................................................................................................................................................................ ๑๗ ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ .............................................................................................................................. ๒๑ บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี ....................................................................................................................... ๒๓ มาตรฐานด้านคุ ณภาพผูเ้ รี ยน .......................................................................................................................................... ๒๓ มาตรฐานที่ ๑ ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒๓ มาตรฐานที่ ๒ ผูเ้ รี ยนมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม ๒๔ มาตรฐานที่ ๓ ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมี ๒๕ มาตรฐานที่ ๓ ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมี ๒๕ เจตคติท่ีดีต่อ อาชีพสุ จริ ต ๒๕ มาตรฐานที่ ๔ ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ยั ทัศน์ ๒๖ มาตรฐานที่ ๕ ผูเ้ รี ยนมีความรู ้และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตร ๒๗ มาตรฐานที่ ๖ ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู้และพัฒนาตนเองอย่า ต่อเนื่อง ๒๙ มาตรฐานที่ ๗ ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ดี ๓๐ 3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
ข
มาตรฐานที่ ๗ ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ดี ๓๐ มาตรฐานที่ ๘ ผูเ้ รี ยนมีสุนทรี ยภาพและลักษณะนิสยั ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา ๓๑ มาตรฐานที่ ๘ ผูเ้ รี ยนมีสุนทรี ยภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา ๓๑ มาตรฐานด้านครู ............................................................................................................................................................... ๓๒ มาตรฐานที่ ๙ ครู มีวฒ ุ ิ/ความรู ้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมัน่ พัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดีและ ๓๒ มีครู พอเพียง มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๓๓ ด้านการบริ หารและการจัดการศึกษา ............................................................................................................................. ๓๔ มาตรฐานที่ ๑๑ ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าํ และมีความสามารถในการบริ หารจัดการศึกษา ๓๔ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริ หารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็ น ระบบครบวงจร ๓๕ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริ หารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็ น ระบบครบวงจร ๓๕ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ๓๖ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ๓๖ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และกระบวนการเรี ยนรู้ท่ีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๓๗ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และกระบวนการเรี ยนรู้ท่ีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๓๗ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มคุณภาพผูเ้ รี ยนอย่างหลากหลาย ๓๘ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มคุณภาพผูเ้ รี ยนอย่างหลากหลาย ๓๘ มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ ๓๙ ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ .............................................................................................................................. ๔๐ มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๔๐ มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน อ งค์กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์กร ภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู ้ในชุมชน ๔๑ มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์กร ภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู ้ในชุมชน ๔๑ บทที่ ๔ .............................................................................................................................................................................................. ๔๗ สรุ ปผลการพัฒนาและการนําไปใช้ ............................................................................................................................................. ๔๗ ๔.๑ สรุ ปผลการดําเนินงานในภาพรวม .............................................................................................................................. ๔๗ ด้านผูบ้ ริ หาร ๔๗ ด้านการเรี ยนการสอน ๔๗ 3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
ค
ด้านผูเ้ รี ยน ๔๗ ๔.๒ ผลสัมฤทธิ์ ท่ีเป็ นจุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนา ............................................................................................................. ๔๘ จุดเด่น ๔๘ จุดที่ควรพัฒนา ๔๘ ภาคผนวก ........................................................................................................................................................................................... ๔๙ แผนที่เส้นทางการมาโรงเรี ยนดุสิตวิทยา .............................................................................................................................. ๕๐ สรุ ปผลการสํารวจความพึงพอใจผูป้ กครอง ครั้งที่ ๑/๒๕๕๒ ......................................................................................... ๕๑ รายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยน ระดับประถมปี ที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ ............. ๕๔ รายงานผลการสอบระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ระดับประถมปี ที่ ๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ ................................. ๕๕ คณะผูเ้ ขียนรายงาน .................................................................................................................................................................... ๖๓ 3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
ง
บทที่ ๑ ข้ อมูลพืน้ ฐาน ๑. ข้ อมูลทั่วไป
๑.๑ ชื่อสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ตั้งอยูเ่ ลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณี ย ์ ๗๐๑๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๓๒๒๑ ๑๒๖๐ โทรสาร ๐ ๓๒๒๑ ๑๐๒๙ e-mail: info@dusitwittaya.ac.th website: www.dusitwittaya.ac.th สังกัดสํานักบริ หารงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ราชบุรี เขต ๒ ๑.๒ เปิ ดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล ๑ ถึง ระดับประถมศึกษาปี ที่ ๖ ๑.๓ มีเขตพื้นที่บริ การ ๑๕ ตําบลในอําเภอบ้านโป่ ง ได้แก่ ตําบลบ้านโป่ ง ตําบลท่าผา ตําบลกรับให ญ่ ตําบลปากแรต ตําบลหนองกบ ตําบลหนองอ้อ ตําบลดอนกระเบื้ อง ตําบลสวนกล้วย ตําบล นคร ชุมน์ ตําบลบ้านม่วง ตําบลคุง้ พยอม ตําบลหนองปลาหมอ ตําบลเขาขลุง ตําบลเบิกไพร ตําบลลาด บัวขาว รวมถึงเขตอําเภอและจังหวัดใกล้เคียงด้วย
๒. ข้ อมูลด้ านการบริหาร
๒.๑ ชื่อ-สกุลผูบ้ ริ หาร นายธี รภัทร กุโลภาส วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คม. สาขา บริ หารการศึกษา ดํารงตําแหน่งที่โรงเรี ยนนี้ต้ งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบนั เป็ นเวลา ๑ ปี ๙ เดือน ๒.๒ ผูช้ ่วยผูบ้ ริ หาร ๕ คน ได้แก่ ชื่อ-สกุล นางสาวปราณี วรสุ ทธิ์ พิศาล วุฒิการศึกษาสู งสุ ด ศษม. สาขา บริ หารการศึกษา ชื่อ-สกุล นางสายชล พรหมดํา วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสาวดิษยา กุโลภาส วุฒิการศึกษาสู งสุ ด MS.HRM. สาขา บริ หารงานบุคคล ชื่อ-สกุล นางสาวพิกุล สุ ขวิสุทธิ์ วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา ประถมศึกษา ชื่อ-สกุล นางสมพร เปรมจิตต์ วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คบ. สาขา บริ หารการศึกษา ๒.๓ ประวัติ คําขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ตั้งอยูเ่ ลขที่ ๒๔ ถนนหลังสถานีรถไฟ ตําบลบ้านโป่ ง อําเภอบ้านโป่ ง จังหวัด ราชบุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๑ โดยมี นางดวงสิ ริ กุโลภาส เป็ นผูร้ ับใบอนุญาต นางสาวดิษยา กุโลภาส เป็ นผูจ้ ดั การ และนายธี รภัทร กุโลภาส เป็ นผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน ระดับการศึกษาที่เปิ ดสอนระดับก่อนประถมศึกษาถึงชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ คําขวัญของโรงเรี ยน คือ ขยันเรี ยน เพีย รทําดี มีอธั ยาศัย ๑
วัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา คือ ส่ งเสริ มพัฒนานักเรี ยนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้ความรู ้ความสามารถและดํารงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข เป็ นพลเมืองที่ดีของชาติส่งเสริ มสนับสนุน การพัฒนาครู บุคลากรให้มีความสุ ข ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ เพื่อสามารถ ปฏิ บัติงานได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ รวมถึงส่ งเสริ มพัฒนาระบบการบริ หารและการจัดการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพ ด้วย ปรัชญาของโรงเรี ยน คือ เรี ยนดี มีน้ าํ ใจ ใฝ่ หาความรู้ เชิดชูสถาบัน วิสัยทัศน์ของโรงเรี ยน คือ มุ่งคุณธรรม นําหน้าวิชาการ สานสัมพันธ์ชุมชน สนใจสิ่ งแวดล้อม พร้อมใช้ไอซี ที สุ ขภาพกายจิตดี มีชีวติ พอเพียง เคียงคู่ความเป็ นไทย พันธกิจและเป้ าหมายสถานศึกษา พันธกิจ ๑. ส่ งเสริ มการพัฒนานักเรี ยนเต็มตามศักยภาพด้วยวิธีการที่หลากหลาย ๒. ส่ งเสริ ม สนั บสนุนการพัฒนาครู และบุคลากรอย่างต่อเนื่องให้มีความรู ้ ความสามารถและเจตคติ ที่ดีต่อวิชาชีพ ๓. ส่ งเสริ มการพัฒนาระบบบริ หารและการจัดการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพ เป้ าหมาย นักเรี ยนโรงเรี ยนดุสิตวิทยา เป็ นคนมีคุณธรรม จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั และมีความรับผิดชอบสู ง มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนดีและสุ ขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรง มีความเป็ นประชาธิ ปไตย ใช้เทคโนโลยีท่ี เหมาะสม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย ใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม ครู มีความรู ้ความสามารถและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ สามารถ ปฏิบตั ิงานได้บรรลุผลและมีประสิ ทธิ ภาพ รวมทั้งโรงเรี ยนเป็ นที่ยอมรับและเป็ นที่พึงพอใจของชุมชน
๒
๒.๔ ระบบโครงสร้างการบริ หารของสถานศึกษา
แผนภูมกิ ารบริหารงานโรงเรียนดุสิตวิทยา ปี การศึกษา ๒๕๕๒
๓
๓. ข้ อมูลนักเรียน
หลักสู ตรของสถานศึกษา หลักสู ตรสถานศึกษา ตามแนวทางหลักสู ตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ปั จจุบนั โรงเรี ยนมีขอ้ มูลเกี่ยวกับจํานวนนักเรี ยน ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ดังนี้ ๑) จํานวนนักเรี ยนในเขตพื้นที่บริ การทั้งหมด ๑,๔๗๖ คน ๒) จํานวนนักเรี ยนจําแนกตามระดับชั้นที่เปิ ดสอน ระดับชั้น
เพศ
เตรี ยมอนุบาล อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓ รวม ประถมศึกษาปี ที่ ๑ ประถมศึกษาปี ที่ ๒ ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ประถมศึกษาปี ที่ ๕ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ รวม รวมจํานวนนักเรียนทั้งหมด
ชาย ๓๐ ๙๙ ๘๙ ๘๒ ๓๐๐ ๘๑ ๖๘ ๕๘ ๘๐ ๖๙ ๗๔ ๔๓๐ ๗๓๐
หญิง ๑๙ ๖๐ ๗๗ ๘๗ ๒๔๓ ๗๐ ๘๑ ๙๔ ๗๗ ๗๙ ๑๐๒ ๕๐๓ ๗๔๖
๓) มีนกั เรี ยนที่มีความบกพร่ องเรี ยนร่ วม
๔
คน
๔) มีนกั เรี ยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
-
คน
๕) มีนกั เรี ยนปั ญญาเลิศ
๑๔๔ คน
๖) มีนกั เรี ยนต้องการความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ
๕
คน
ระดับปฐมวัย
๓๔
คน
ระดับประถมศึกษา
๓๙
คน
๗) จํานวนนักเรี ยนต่อห้องเฉลี่ย
๔
รวม ๔๙ ๑๕๙ ๑๖๖ ๑๖๙ ๕๔๓ ๑๕๑ ๑๔๙ ๑๕๒ ๑๕๗ ๑๔๘ ๑๗๖ ๙๓๓ ๑,๔๗๖
๘) สัดส่ วนครู : นักเรี ยน
๑:๒๓ คน
๙) จํานวนนักเรี ยนที่ลาออกกลางคัน
๗
คน
๑๐)สถิติการขาดเรี ยน/เดือน
๓๖
คน
๑๑) จํานวนนักเรี ยนที่ทาํ ชื่อเสี ยงให้โรงเรี ยน ประเภทบุคคล จํานวน ๑๔๔ คน ประเภททีม
จํานวน ๗๒ คน
๑๒) จํานวนนักเรี ยนจําแนกตามผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแต่ละกลุ่ม /รายวิชา ปี การศึกษา ๒๕๕๑ กลุ่มสาระ/รายวิชา ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์
จํานวนนักเรียนชั้น ป.๓ จําแนกตามระดับผลการเรียน ๓
จํานวนนักเรียนชั้น ป.๖ จําแนกตามระดับผลการเรียน
๔
๓.๕
๒.๕ ๒
๑.๕
๑
๐
๔
๓.๕
๓
๒.๕
๒
๑.๕
๑
๐
๖๙
๒๒ ๒๕ ๑๕ ๑๐
๗
๕
๐
๖๙
๓๑ ๒๘ ๒๗ ๑๕
๓
๔
๐
๘๓
๒๐
๑๖
๑๕
๗
๘
๔
๐
๗๑
๒๔ ๒๘ ๑๗ ๑๕ ๑๑ ๑๑ ๐
๘๔ ๒๓ ๑๙
๘
๑๒
๕
๒
๐
๕๓
๑๒ ๑๘ ๒๙ ๓๑ ๑๕ ๑๙ ๐
๒๐ ๒๔ ๑๗ ๑๗
๘
๑๖ ๐
๕๐
๑๖ ๒๑ ๓๒ ๓๒ ๑๒ ๑๔ ๐
๘๕
๔.สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม
๕๐
๕. สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาอังกฤษ รวมจํานวนนักเรียน
๑๒๑ ๑๖
๖
๗
๒
๐
๐
๐
๕๖ ๒๖
๖
๔
๐
๐
๐
๘๔
๔๔ ๑๙
๕
๐
๐
๐
๐ ๑๑๒ ๓๕ ๑๖
๑๑
๓
๐
๐
๐
๘๑
๒๘ ๒๔ ๑๑
๔
๓
๑
๐
๙๒
๒๘ ๓๑
๑๖
๗
๓
๐
๐
๗๑
๑๙
๙ ๑๑ ๑๐ ๑๓ ๐ ๑๕๒
๖๓
๑๓ ๓๓ ๒๙ ๒๖ ๑๑ ๑๗๗
๒
๐
๑๙
๑๓. ผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (NT) ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ และผลการสอบวัดผล สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (O-net) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ • ผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (NT) ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๒
๕
ส่วน คะแนน ร้อยละของจํานวนนักเรียน จํานวน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน เบี�ยงเบน เฉลี�ย สปส.การ นักเรียน เต็ม ตํ�าสุด สูงสุด เฉลี�ย มาตรฐาน ร้อยละ กระจายร้อย ปรับปรุง พอใช้ ดี ละ
วิชาและสาระ
ทุกเพศ รวมทุกวิชา ภาษาไทย - การอ่าน - การเขียน - การฟัง การดู และการพูด - หลักการใช้ภาษา - วรรณคดีและวรรณกรรม คณิตศาสตร์ - จํานวนและการดําเนินการ - การวัด - เรขาคณิต - พีชคณิต - การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะ เป็น วิทยาศาสตร์ - สิ�งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต - ชีวิตกับสิ�งแวดล้อม - สารและสมบัติของสาร - แรงและการเคลื�อนที� - กระบวนการเปลี�ยนแปลงของโลก
๑๕๒
๙๐
๑๗
๘๕
๕๖
๑๔
๖๒
๒๕
๑๕๒
๓๐
๔
๒๙
๑๙
๕
๖๓
๒๕
๓
๔๖
๕๑
๑๕๒
๖
๐
๖
๓
๑
๔๗
๑๕๒
๖
๐
๖
๔
๑
๗๔
๑๕๒
๖
๑
๖
๕
๑
๗๖
๑๕๒
๖
๐
๖
๔
๑
๕๙
๑๕๒
๖
๐
๖
๔
๑
๖๐
๑๕๒
๓๐
๕
๓๐
๒๐
๕
๖๗
๒๗
๔
๔๒
๕๔
๑๕๒
๘
๐
๘
๖
๒
๗๐
๑๕๒
๗
๐
๗
๔
๒
๕๘
๑๕๒
๕
๑
๕
๔
๑
๗๙
๑๕๒
๕
๐
๕
๓
๑
๖๔
๑๕๒
๕
๐
๕
๓
๑
๖๙
๑๕๒
๓๐
๓
๒๗
๑๗
๕
๕๕
๓๑
๑๖
๕๙
๒๔
๑๕๒
๗
๐
๗
๔
๒
๖๓
๑๕๒
๖
๐
๖
๓
๑
๔๙
๑๕๒
๖
๐
๖
๓
๑
๕๔
๑๕๒
๕
๐
๕
๓
๑
๖๐
๑๕๒
๖
๐
๖
๓
๑
๕๐
• สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (O-net) ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ ค่าเฉลี�ยร้อยละ สูงสุด ตํ�าสุด ค่าเบี�ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ�การกระจาย
ไทย สังคม อังกฤษ ๕๔.๕๔ ๐๕.๒๗ ๓๒.๔๔ ๕๕.๑๒ ๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๕๕.๑๒ ๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๐๖.๓๓ ๒๒.๑๖ ๓๔.๕๘ ๔๖.๓๑ ๔๙.๑๒ ๒๖.๔๖
๖
คณิต ๑๐.๕๕ ๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๕๕.๔๖ ๔๓.๐๖
วิทย์ สุข /พละ ศิลปะ การงาน ๒๐.๒๗ ๓๒.๔๔ ๓๘.๐๓ ๓๘.๒๔ ๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๕๕.๑๒ ๐๔.๔๘ ๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๕๕.๑๒ ๐๔.๔๘ ๒๑.๔๐ ๕๗.๕๔ ๒๕.๐๔ ๔๔.๕๖ ๒๙.๕๖ ๓๕.๕๐ ๒๕.๐๗ ๑๕.๔๓
๔. ข้ อมูลบุคลากร ประเภทบุคลากร ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน ครู ประจําการ ครู พี่เลี้ยง นักการ/ภารโรง ครู จา้ งสอน รวม
เพศ ชาย
หญิง
๑
-
-
๑ ๕๙ ๘ ๑๘
๓ -
๖ ๓ ๑๓
-
ระดับการศึกษาสู งสุ ด ตํ่ากว่า ป.ตรี สู งกว่า ป.ตรี ป.ตรี ๑ ๑ ๑ ๖๐ ๑ ๗ ๑ ๒๔ ๒ ๑
๘๖
มีครู ที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก มีครู ที่สอนวิชาตรงตามวิชาความถนัด
๓๔ ๖๔ ๖๔
๖๒ คน คน
๓
อายุ เฉลี่ย (ปี ) ๓๖ ๕๒ ๓๕ ๓๓ ๔๙ ๔๑
ประสบการณ์ ในตําแหน่ง (เฉลี่ย)(ปี ) ๒ ๓๒ ๑๖ ๘ ๑๔ ๒
๔๑
๑๒
(๑๐๐ %) (๑๐๐ %)
๕. สภาพชุ มชนโดยรวม
๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริ เวณโรงเรี ยนมีลกั ษณะ เป็ นชุมชนเมือง มีประชากรในอําเภอบ้านโป่ ง ประมาณ ๙๔,๓๔๓ คน ประกอบด้วย ชาย ๔๕,๓๖๐ คน หญิง ๔๘,๙๘๓ คน จํานวนครัวเรื อน ๒๙,๓๔๒ คน 1 บริ เวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรี ยน ได้แก่ ทิศเหนือ ติดต่อ สถานีรถไฟบ้านโป่ ง ทิศใต้ ติดต่อ วัดบ้านโป่ ง ทิศตะวันออก ติดต่อ ทางรถไฟสายใต้ ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้ าํ แม่กลอง อาชีพหลักของชุมชน คืออาชีพเกษตรกรรม ได้แก่การทํานา ทําสวน ทําไร่ รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ ๒ ฝั่งของแม่น้ าํ แม่กลอง จึงมีดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม นอกจากนี้ประชากรยังประกอบอาชีพรับจ้าง ขายของชํา และธุรกิจ ส่ วนตัวด้วย ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ คริ สต์ และอิสลาม ประเพณี /ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็ นที่รู้จกั โดยทัว่ ไป คือ การแข่งขันเรื อยาวและลอยกระทง ประเพณี กินเจ แห่เทียนพรรษาช่วงเทศกาลวันเข้าพรรษา และประเพณี วนั สงกรานต์ ๕.๒ ผูป้ กครองส่ วนใหญ่ อายุระหว่าง ๓๐ – ๓๙ ปี 1
รายงานสถิติจาํ นวนประชากร และบ้าน รายจังหวัด รายอําเภอ และรายตําบล ณ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ กรมการปกครอง
๗
ประกอบอาชีพค้าขายและธุรกิจส่ วนตัว ร้อยละ ๓๒, พนักงานบริ ษทั เอกชน ร้อยละ ๒๒ และ รับราชการ ร้อยละ ๑๙ ส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ รายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ประมาณ ๑๗๐,๐๐๐ บาท จํานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน ๕.๓ โอกาสของสถานศึกษากับความร่ วมมือในด้านต่างๆ ของชุมชน โรงเรี ยนตั้งอยูใ่ นแหล่งชุมชน มีตลาดและวัดอยูใ่ กล้ มี เส้นทางการคมนาคมที่สะดวกสบาย รวมถึง ตั้งอยูใ่ กล้แหล่งเรี ยนรู ้ เช่น สระนํ้าโกสิ นารายณ์ ตลาดปลาสวยงาม วัดบ้านโป่ ง รวมถึงอยูใ่ กล้กบั หน่วยงานราชการต่างๆ ที่สาํ คัญ เช่น ที่วา่ การอําเภอบ้านโป่ ง สถานีตาํ รวจภูธรอําเภอบ้านโป่ ง โรงพยาบาลบ้านโป่ ง เทศบาลเมืองบ้านโป่ ง สถานีรถไฟบ้านโป่ ง รวมถึงแหล่งเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ คือ แม่น้ าํ แม่กลอง ซึ่ งโรงเรี ยนได้รับความร่ วมมือจากหน่วยงานราชการด้วยดี และชุมชนมีความสัมพันธ์อนั ดี กับสถานศึกษา ๕.๔ ข้อจํากัดของสถานศึกษากับความร่ วมมือของชุมชน โรงเรี ยนดุสิตวิทยา เป็ นโรงเรี ยนเอกชน ดังนั้นจึงไ ด้รับเงินสนับสนุนจากชุมชนค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิง่ อําเภอบ้านโป่ งมีโรงเรี ยนรัฐบาลและโรงเรี ยนเทศบาลอยูจ่ าํ นวนมาก จึงทําให้โรงเรี ยนมี ข้อจํากัดในการระดมทุนในการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อด้านการศึกษา เช่น การสร้างอาคารหรื อห้องปฏิบ ั ติการ ใหม่
๘
๖. โครงสร้ างหลักสู ตรสาระการเรียนรู้ ระดับชาติ และสระการเรียนรู้ ท้องถิน่ /จํานวน ชั่วโมงที่จดั ให้ เรียนต่ อปี /ระบบการเรียนรู้ ที่เน้ นเป็ นพิเศษ
โรงเรี ยนดุสิตวิทยา จัดสอนตามหลักสู ตรสถานศึกษาสําหรับหลักสู ตรสถานศึกษาตามหลักสู ตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศักราช ๒๕๔๔ โรงเรี ยนได้จดั สัดส่ วนสาระการเรี ยนรู้และเวลาเรี ยน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา เวลาเรี ยน(คิดเป็ นร้อยละต่อปี ) ประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช่วงชั้นที่ ๑ ช่วงชั้นที่ ๒ (ป.๑-๓) (ป.๔-๖) ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๒๓.๓๓ ๒๓.๓๓ ๒๓.๓๓ ๑๖.๖๗ ๑๖.๖๗ ๑๖.๖๗ ๑. ภาษาไทย ๒๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๖.๖๖ ๑๖.๖๖ ๑๖.๖๖ ๒. คณิ ตศาสตร์ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ วัฒนธรรม ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๕. สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖. ศิลปะ ๗. การงาน อาชีพ และเทคโนโลยี ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๖.๖๗ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๘. ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๑๓.๓๓ ๑๓.๓๓ ๑๓.๓๓ ๑๓.๓๓ ๑๓.๓๓ ๑๓.๓๓ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๙. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ รวม จํานวนชัว่ โมงที่จดั ให้นกั เรี ยน เรี ยนทั้งปี เท่ากับ ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง ระบบการเรี ยนรู ้ที่เน้นเป็ นพิเศษคือ จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่หลากหลายเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จัดแผนการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ สอดแทรกเนื้อหาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ
๗. ข้ อมูลด้ านอาคารสถานที่
๗.๑ อาคารเรี ยนและอาคารประกอบ ๓ หลัง ได้แก่ อาคารเรี ยน ๓ หลัง ๗.๒ จํานวนห้องเรี ยน ๔๐ ห้องเรี ยน ๙
๘. ข้ อมูลด้ านงบประมาณและทรัพยากร
ปี งบประมาณปี ๒๕๕๒ โรงเรี ยนได้รับเงินอุดหนุนรายหัวนักเรี ยนทั้งสิ้ นเป็ นเงิน ๙,๕๙๔,๔๒๗.๖๘ บาท (เก้าล้านห้าแสนเก้าหมื่นสี่ พนั สี่ ร้อยยีส่ ิ บเจ็ดบาทหกสิ บแปดสตางค์) โรงเรี ยนมีพ้ืนที่ ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ๓/๑๐ ตารางวา มีทรัพยากรที่จาํ เป็ น มีดงั นี้ - คอมพิวเตอร์ มีจาํ นวนทั้งหมด ๙๖ เครื่ อง ใช้เพือ่ การเรี ยนการสอน ๙๖ เครื่ อง ใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ตได้ ๙๖ เครื่ อง ใช้ในงานบริ หาร ๑๒ เครื่ อง - คอมพิวเตอร์ Notebook ๔ เครื่ อง - โทรทัศน์ จํานวน ๖๕ เครื่ อง - วิทยุเทป จํานวน ๘๐ เครื่ อง - เครื่ องฉายสไลด์-โปรเจคเตอร์ จํานวน ๓ เครื่ อง - เครื่ อง Vitualizer จํานวน ๑ เครื่ อง - เครื่ อง Copy Print จํานวน ๓ เครื่ อง - เครื่ องถ่ายเอกสาร จํานวน ๒ เครื่ อง - กล้องถ่ายรู ป Digital จํานวน ๒ เครื่ อง - Access Point สําหรับให้บริ การ Wireless Internet จํานวน ๘ เครื่ อง จํานวนห้องประกอบ มีดงั นี้ - ห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง - ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง - ห้องจริ ยธรรม ๑ ห้อง - English Learning Center ๑ ห้อง - ห้องสมุด ๑ ห้อง - ห้องพยาบาล ๑ ห้อง พื้นทีป่ ฏิบตั ิกิจกรรม/นันทนาการ ได้แก่ สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สระว่ายนํ้า พื้นที่บริ เวณใต้ อาคาร ๒
๙. แหล่ งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้ องถิน่ และการใช้
- ห้องสมุดมีขนาด ๑๐ × ๑๘ ตารางเมตร - จํานวนหนังสื อในห้องสมุด ๑๒,๘๑๙ เล่ม - หนังสื อในห้องสมุดสื บค้นด้วยระบบ โปรแกรมสื บค้นข้อมูลของบริ ษทั อินโฟโปร ซอฟต์แวร์ จํากัด - มีแหล่งข้อมูลที่สืบค้นทาง Internet ได้ ๙๐ เครื่ อง คิดสัดส่ วนจํานวนนักเรี ยน : เครื่ อง = ๑๘ : ๑ - จํานวนนักเรี ยนที่ใช้หอ้ งสมุดในปี การศึกษานี้ คิดเป็ น ร้อ ยละ ๘๖.๔๖ ๑๐
แหล่งเรี ยนรู ้ภายในโรงเรี ยน ชื่อแหล่งเรี ยนรู ้
สถิติการใช้ (จํานวนครั้ง/ปี )
๑. ห้องวิทยาศาสตร์ ๒.ห้องจริ ยธรรม ๓.สระว่ายนํ้า ๔. สนามกีฬา และสนามเด็กเล่น ๕. English Learning Center ๖. ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ และ ๒
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
แหล่งเรี ยนรู้ภายนอกโรงเรี ยน ชื่อแหล่งเรี ยนรู้
สถิติการใช้ (จํานวนครั้ง/ปี )
ค่ายฝึ กอบรมมาตุลี อุทยานวิทยาศาสตร์ ณ หว้ากอ วัดโพธิ์ มิวเซี ยมสยาม กทม. วัดขนอน วัดป่ าสุ นนั ทวาราม จ. กาญจนบุรี ๗. อุทยานประวัติศาสตร์ . อยุธยา ๘. อุทยานประวัติศาสตร์ ปราสาท เมืองสิ งห์ จ.กาญจนบุรี ๙. วัดบ้านโป่ ง ๑๐. วัดโกสิ นารายณ์ ๑๑. ตลาดสดบ้านโป่ ง ๑๒.ช่องเขาขาด จ.กาญจนบุรี ๑๓. สระโกสิ นารายณ์
๑ ๑ ๖ ๖ ๑ ๑
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
๑ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑ ๑
- ปราชญ์ชาวบ้าน/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ ผูท้ รงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู ้แก่ครู /นักเรี ยน ในปี การศึกษานี้ ๑. พระครู ศรี ธรรมนาถ เจ้าคณะตําบลท่าผา อ.บ้านโป่ ง จ.ราชบุรี ๒. พระอาจารย์สมศักดิ์ ธัมมสักโข จากวัดพระปฐมเจดีย ์ ๓. คณะวิทยากรจากสโมสรไลออนส์ บ้านโป่ ง ภาค ๓๑๐D ๔. พระอาจารย์สุเทพ วัดพระศรี อารย์ อ. โพธาราม จ. ราชบุรี ๕. เจ้าหน้าที่สาธารณสุ ข จังหวัดราชบุรี ๖. เจ้าหน้าที่สาํ นักงานขนส่ ง จังหวัดราชบุรี ๗. หน่วยกาชาด จังหวัดราชบุรี ร่ วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลบ้านโป่ ง 5
๑๐.
5
ผลการดําเนินงานในรอบปี ทีผ่ ่ านมา
งาน/โครงการ/กิจกรรมทีป่ ระสบความสํ าเร็จ ชื่ องาน/โครงการ/กิจกรรม ๑. โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน ๒. โครงการภูมิปัญญาท้องถิ่น
หลักฐานยืนยันความสํ าเร็จ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ ๑๑
ชื่ องาน/โครงการ/กิจกรรม ๓. โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ ๔. โครงการก้าวไกลไปกับการศึกษา ๕. โครงการครู พบผูป้ กครอง ๖. โครงการ Dusit Reading Club ๗. โครงการห้องสมุดไม่หยุดฝัน ๘. กิจกรรมโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ ๙. โครงการ Fun Find Focus ๑๐. โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรรมะ ๑๑. โครงการวันสําคัญ ๑๒.โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ ๑๓. โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน ๑๔. โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน
หลักฐานยืนยันความสํ าเร็จ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ ใบตอบรับการเข้าร่ วมประชุมของผูป้ กครอง,รู ปถ่าย แฟ้ มผลงาน, รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ แฟ้ มผลงาน, รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม, แฟ้ มผลงาน แฟ้ มผลงาน, รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์, แฟ้ มผลงาน รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ แฟ้ มผลงาน, รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , เวบไซต์ รู ปถ่ายกิจกรรม , ใบตอบรับจากผูป้ กครอง
๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง
โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ . รอบสอง เมื่อวันที่ ๒๕ – ๒๗ เดือน ธันวาคม พ .ศ. ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผูเ้ รี ยน ด้านครู และด้านผูบ้ ริ หาร ซึ่ งสรุ ปผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐานเป็ นตารางดังต่ อไปนี้ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน: ประถมศึกษา ด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและ ค่านิยมที่พึง ประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ ดี มาตรฐานที่ ๓ ผูเ้ รี ยนมีสุนทรี ยภาพและลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่ ๔ ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์ มาตรฐานที่ ๕ ผูเ้ รี ยนมีความรู้และทักษะที่จาํ เป็ นตาม หลักสู ตร มาตรฐานที่ ๖ ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเอง รักการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ผลประเมิน อิงเกณฑ์ ค่ าเฉลีย่ ระดับ คุณภาพ
ผลประเมิน อิงสถานศึกษา คะแนน ระดับ คุณภาพ
ค่ าเฉลีย่
ระดับ คุณภาพ
๓.๔๔
ดี
๔
ดีมาก
๓.๗๒
ดีมาก
๓.๔๘
ดี
๔
ดีมาก
๓.๗๔
ดีมาก
๓.๑๖
ดี
๔
ดีมาก
๓.๕๘
ดีมาก
๓.๓๓
ดี
๔
ดีมาก
๓.๖๗
ดีมาก
๒.๖๗
ดี
๓
ดี
๒.๘๔
ดี
๓.๔๑
ดี
๔
ดีมาก
๓.๗๑
ดีมาก
๑๒
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน: ประถมศึกษา
ผลประเมิน อิงเกณฑ์ ค่ าเฉลีย่ ระดับ คุณภาพ ๓.๕๘ ดีมาก
มาตรฐานที่ ๗ ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผูอ้ ่ืนได้และมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ สุ จริ ต ด้านครู มาตรฐานที่ ๘ ครู มคี ุณวุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงาน ๓.๖๕ ดีมาก ที่รับผิดชอบและมีครู เพียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอน ๓.๖๒ ดีมาก อย่างมีประสิ ทธิภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ด้านผู้บริหาร มาตรฐานที่ ๑๐ ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ าํ และมีความสามารถใน ๔.๐๐ ดีมาก การบริ หารจัดการ มาตรฐานที่ ๑๑ สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสร้างและ ๓.๘๖ ดีมาก การบริ หารงานอย่างเป็ นระบบ ครบวงจรให้บรรลุเป้ าหมาย การศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมและการเรี ยน ๓.๔๐ ดี การสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีหลักสู ตรเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน ๓.๕๐ ดีมาก และท้องถิ่น มีสื่อการเรี ยนการสอนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาส่ งเสริ มความสัมพันธ์และความ ๓.๖๗ ดีมาก ร่ วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัย สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
ผลประเมิน อิงสถานศึกษา คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ดีมาก
ค่ าเฉลีย่
ระดับ คุณภาพ
๓.๗๙
ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๘๓
ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๘๑
ดีมาก
๓
ดี
๓.๕๐
ดีมาก
๓
ดี
๓.๔๓
ดี
๔
ดีมาก
๓.๗๐
ดีมาก
๔
ดีมาก
๓.๗๕
ดีมาก
๓
ดี
๓.๓๔
ดี
ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
๑๑.๑ ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง ได้วเิ คราะห์แต่ละมาตรฐาน พบว่า สถานศึกษาส่ งเสริ มการจัดการเรี ยนรู ้ เพือ่ พัฒนา ผูเ้ รี ยนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีคุณภาพระดับดี สถานศึกษาควรนําสาระการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับท้องถิ่นมาใช้อย่างเป็ น ระบบ และมีข้ นั ตอนการดําเนินงานอย่างถูกต้อง และจัดกิจกรรมให้ผเู้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้โดย ให้ผเู ้ รี ยน ผูป้ กครองและชุมชน มีส่วนร่ วมในการเลือกกิจกรรม และกําหนดวิธีการแสวงหาความรู ้อย่าง หลากหลาย โดยมีครู เป็ นผูใ้ ห้คาํ แนะนําและอํานวยความสะดวก นอกจากนี้สถานศึกษาควรจัดตั้งเครื อข่าย ผูป้ กครองนักเรี ยน ศิษย์เ ก่า ในการเข้ามาเป็ นผูม้ ีส่วนร่ วมในการศึกษาและสร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรี ยน ๑๑.๒ การนําผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ จากผลการประเมิน สถานศึกษามีทิศทางที่จะนําผลการประเมินไปพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของ ๑๓
สถานศึกษาในในอนาคต ดังนี้ ๑) สถานศึกษาควรสร้างครู แกนนํา ครู ดีเด่น ครู ตน้ แบบระดับประถมศึกษา เพื่อให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาตนเองในวิชาชีพ และเป็ นตัวอย่างในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ควรผลิตสื่ อนวัตกรรมแปลกใหม่ที่ใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา ๒) ควรเข้าร่ วมประกวดโรงเรี ยนดีเด่นระดับชาติ โรงเรี ยนพระราชทาน หรื อรางวัลคุรุสภาดีเด่น ๓) นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาผูเ้ รี ยนในทุกด้าน และส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาทักษะให้ ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เทคโนโลยีทนั สมัยมาใช้ในการเรี ยนรู ้ และชีวติ ประจําวันอย่างต่อเนื่องเต็ม ตามศักยภาพ
๑๔
บทที่ ๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจําปี ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมที่ พึงประสงค์ ๑.๑ มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม เบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ ๑.๒ มีความซื่อสัตย์ ๑.๓ มีความกตัญ�ูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุ ณา เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และเสี ยสละเพือ่ ส่ วนรวม ๑.๕ ประหยัด รู ้จกั ใช้ทรัพย์สิ่งของส่ วนตน และส่ วนรวม อย่างคุม้ ค่า ๑.๖ นิยมไทย เห็นคุณค่าในภูมิปัญญาไทย ภู มิใจในความ เป็ นไทย และ รักษาวัฒนธรรม มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนา สิ่ งแวดล้ อม ๒.๑ รู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และ พัฒนาสิ่ งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมีเจตคติทดี่ ีต่ออาชีพ สุ จริต ๓.๑ มีทกั ษะในการจัดการและทํางานให้สาํ เร็ จ ๓.๒ เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการ ทํางาน ๓.๓ ทํางานอย่างมีความสุ ข พัฒนางานและภูมิใจในผลงาน ของตนเอง ๓.๔ ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ ๑๕
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๕
๘๕
๘๕ ๘๖ ๘๕ ๘๕
๘๕
๙๓
๙๐
๙๕
๘๖
๘๕ ๘๕
๘๕
๘๘
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ ๓.๕ มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตและหาความรู ้เกี่ยวกับ อาชีพที่ตนสนใจ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด สั งเคราะห์ มีวิ จารณญาณ มีความคิดสร้ างสรรค์ คิด ไตร่ ตรองและมีวสิ ั ยทัศน์ ๔.๑ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปความคิดรวบยอด คิด อย่างเป็ นระบบ/และมีความคิดแบบองค์รวม ๔.๒ สามารถคาดการณ์ กําหนดเป้ าหมายและแนวทางการ ตัดสิ นใจได้ ๔.๓ ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิ นใจ และแก้ไข ปั ญหาอย่างมีสติ ๔.๔ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมี จินตนาการ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะทีจ่ ําเป็ นตาม หลักสู ตร ๕.๑ มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเฉลี่ยตามเกณฑ์ ๕.๒ มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ ๕.๓ สามารถสื่ อความคิดผ่านการพูด เขียน หรื อนําเสนอ ด้วยวิธีต่างๆ ๕.๔ สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้ท้งั ภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศ ๕.๕ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ด้วย ตนเอง รักการ เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง ๖.๑ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟัง รู ้จกั ตั้งคําถาม เพื่อหาเหตุผลสนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ๖.๒ มีวธิ ี การเรี ยนรู ้ของตนเอง สามารถเรี ยนรู ้ ร่วมกับผูอ้ ื่น และสนุกกับการเรี ยนรู้ ๖.๓ สามารถใช้หอ้ งสมุด ใช้แหล่งความรู ้และสื่ อต่างๆ ทั้ง ในและนอกสถานศึกษา ๑๖
๘๗
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๓
๘๕
๘๕
๘๕
๘๕
๘๕
๘๔
๘๐ ๗๘ ๘๕
๘๕
๙๐ ๘๘
๘๕
๙๐
๙๐
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ทีด่ ี ๗.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุ ขภาพ และออกกําลังกาย สมํ่าเสมอ ๗.๒ มีน้ าํ หนัก ส่ วนสู งและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ๗.๓ ป้ องกันตนเองจากสิ่ งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยง สภาวะที่เสี ยงต่อความรุ นแรง โรคภัย อุบตั ิเหตุ และปัญหา ทางเพศ ๗.๔ มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้ เกียรติผอู้ ืน่ ๗.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และชอบมาโรงเรี ยน มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้ าน ศิลปะ ดนตรีและกีฬา ๘.๑ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ ๘.๒ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรมและมีผลงานด้านดนตรี /นาฏศิลป์ ๘.๓ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรมและมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ
มาตรฐานด้ านครู
มาตรฐานที่ ๙ ครู มวี ุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่ รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชนได้ ดี และมีครู พอเพียง ๙.๑ มีคุณธรรมจริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๙.๒ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูเ้ รี ยนผูป้ กครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยน ๙.๔ มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็ น ประจํา รับฟังความคิดเห็น ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ใจกว้าง ๙.๕ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาหรื อ เทียบเท่าขึ้นไป ๙.๖ สอนตรงตรมวิชาเอก-โท หรื อตรงตามความถนัด ๙.๗ มีจาํ นวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครู และบุคลากร ๑๗
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๙๐
๘๙
๘๕ ๙๕
๙๐
๙๒ ๘๘
๙๕ ๘๕ ๘๕ ๙๘
๙๕
๙๕ ๑๐๐ ๑๐๐
๑๐๐
๙๕ ๑๐๐
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ สนับสนุน) มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการ สอนอย่างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ า คัญ ๑๐.๑ มีความรู ้ความเข้าใจ เป้ าหมายการจัดการศึกษาและ หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ศกั ยภาพของผูเ้ รี ยนและเข้าใจผูเ้ รี ยน เป็ นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการ เรี ยนรู้ของตนเองและผูเ้ รี ยน ๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับ สภาพการเรี ยนรู ้ ที่จดั ให้ผเู ้ รี ยน และอิงพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ๑๐.๖ มีการนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรี ยนการ สอนเพือ่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจยั เพือ่ พัฒนาสื่ อและการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและ นําผลไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน •
0
๘๖ ๘๗
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๕
๘๗
๙๐
๘๕
๘๕
๘๕
ด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา และมีความสามารถใน การบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ัยทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามารถในการบริ หารงานวิชาการและการ จัดการ ๑๑.๔ การบริ หารมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ
๑๘
๘๖
๘๕
๘๕ ๘๗
๘๕
๓
๒
๑
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่ างเป็ นระบบครบ วงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริ หารงาน ที่มีความคล่องตัวสู ง และปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทัน ต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริ หารงาน และการพัฒนาผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษา โดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอํานาจการบริ หารและจัดการศึกษาโดย ใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๒ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาโรงเรี ยน ๑๓.๔ มีรูปแบบการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและ กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ ๑๔.๑ มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีรายวิชา/กิจกรรมที่หลากหลายให้ผเู้ รี ยนเลือกเรี ยน ตามความสนใจ ๑๔.๓ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนอง ความถนัดและความสามารถของผูเ้ รี ยน ๑๔.๔ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ ๑๔.๕ มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผลและการส่ ง ๑๙
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๗
๘๕
๘๗
๘๗
๙๐ ๘๕
๘๕
๘๕
๘๕ ๘๕ ๘๕ ๘๕ ๘๖
๘๘ ๘๗
๘๑
๘๕
๘๗
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้ ต่อข้อมูลของผูเ้ รี ยน ๑๔.๖ มีระบบการนิเทศการเรี ยนการสอนและนําผลไป ปรับปรุ งการสอนอยูส่ มํ่าเสมอ ๑๔.๗ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การเรี ยนการสอน มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริม คุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนที่ เข้มแข็งและทัว่ ถึง ๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนอง ความสามารถทางวิชาการและความคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยน ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนองความสามารถ พิเศษและความถนัดของผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์ และกีฬา/นันทนาการ ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี ไทย ภูมิปัญญาไทย ๑๕.๗ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการ บริการที่ ส่ งเสริมให้ ผ้ เู รียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม ศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีอาคารสถานที่ เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของ ผูเ้ รี ยน ๑๖.๓ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรู ปแบบที่เอื้อ ต่อการเรี ยนรู้ดว้ ยตนอง และการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม ๑๖.๔ มีหอ้ งเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ ห้องสมุด พื้นที่สีเขียว และ สิ่ งอํานวยความสะดวกเพียงพอและอยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี ๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอกสถานศึกษา ๒๐
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๗
๘๕
๘๘
๘๘
๘๗
๘๗
๘๗ ๘๙
๙๐
๘๗ ๙๑
๘๕
๙๕
๙๕
๙๒
๙๐
๓
๒
๑
ผลสําเร็จทีค่ าดหวัง (ร้ อยละ)
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้
ด้ านการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ ง เรียนรู้ และภูมปิ ัญญาในท้ องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู ้ และ ภูมิปัญญา ในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญา และชุมชนเข้า มามีส่วนร่ วมในการจัดทําหลักสู ตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้ าน องค์ กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์ กรภาครัฐ และเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถีการเรียนรู้ ในชุ มชน ๑๘.๑ เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู ้และบริ การ ชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน
๒๑
๘๕ ๘๕ ๘๕ ๘๕
ระดับคุณภาพตัวบ่ งชีท้ ่คี าดหวัง
๔
๘๕
๘๕
๓
๒
๑
โครงการ/กิจกรรมที่วางแผนดําเนินการเพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าวข้ างต้ น มีดังนี้ ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕
ชื่ อโครงการ / กิจกรรม
ตัวบ่ งชี้ความสํ าเร็จของโครงการ โครงการ Fun Find Focus สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการวันสําคัญ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการเด็กดุสิตฯใกล้ชิดธรรมะ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการ DUSIT Reading Club สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการประชาธิ ปไตยในโรงเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการอําลา-อาลัย (ปั จฉิ มนิเทศ) สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการจัดประเมินผลภายในโรงเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการห้องสมุดไม่หยุดฝัน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการวันวิชาการ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการ Let’s Recycle! สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการตลาดนัดวิชาการ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการนิเทศภายในโรงเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการสังสรรค์หรรษา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการผลิตและพัฒนาสื่ อ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน สําเร็ จอตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการบริ หารองค์ความรู ้สถานศึกษา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการครู พบผูป้ กครอง สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐ โครงการพัฒนาห้องปฏิบตั ิการภาษาอังกฤษ สําเร็ จตามโครงการร้อยละ ๙๐
๒๒
บทที่ ๓ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี
ในปี การศึกษา ๒๕๕ ๒ โรงเรี ยนมีการดําเนินงานตามแผนพัฒน ความสําเร็ จตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
มาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
าคุณภาพการศึกษาจนบรรลุ
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมที่พงึ ประสงค์ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้กาํ หนดเป็ นนโยบายไว้ในแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี มีโครงการ และกิจกรรมส่ งเสริ มหลากหลาย ทั้งด้านระเบียบวินยั ความรับผิดชอบ ความประหยัด มีเมตตา กรุ ณา เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และเสี ยสละเพื่อส่ วนรวม ซื่อสัตย์สุจริ ต ทางโรงเรี ยนได้จดั ให้มีกิจกรรม เข้าค่ายจริ ยธรรม กิจกรรมอบรมหน้าเสาธง นิมนต์พระสงฆ์มาอบรมคุณธรรมในวันสํา คัญต่างๆ การ แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง กิจกรรมลูกเสื อ- เนตรนารี กิจกรรมการสวดมนต์ หมู่ทาํ นองสรภัญญะ กิจกรรมประกวดมารยาทไทย กิจกรรมวันไหว้ครู โครงการ Let’s recycle โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรรมะ กิ จกรรมวันเด็ก กิจกรรมหล่อเทียน การ ถวายเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบนํ้าฝนในวันเข้าพรรษา นอกจากนี้ ในปี การศึกษา ๒๕๕๒ โรงเรี ยนดุสิต วิทยา ได้รับเกียรติบตั รจาก สพท. ราชบุรี เขต ๒ ให้เป็ นโรงเรี ยนคุณธรรมชั้นนําต้นแบบ ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีความรับผิดชอบ ร้อยละ ๘๕ ผูเ้ รี ยนมีความซื่อสัตย์สุจริ ต ร้อยละ ๘๖ มีความกตัญ�ูกตเวที ร้อยละ ๘๕ มีความเมตตากรุ ณา มีความรู ้สึกที่ ดีต่อตนเองและผูอ้ ่ืน ร้อยละ ๘๕ ประหยัด รู้จกั ใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม ร้อยละ ๘๔ และ ภูมิใจในความเป็ นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย นิย มไทย และ ดํารงไว้ซ่ ึ งความเป็ นไทย ร้อยละ ๘๕
๒๓
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๒ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม เช่น โครงการ เรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง กิจก รรมโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ ณ หว้ากอ จ .ประจวบคีรีขนั ธ์ ในร ะดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ กิจกรรมค่ายลูกเสื อ ณ ค่ายม าตุลี จ . ประจวบคีรีขนั ธ์ รวมถึงกิจกรรมทัศนศึกษา ได้แก่ พิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ จ . ปทุมธานี ในระดับชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๓ การทัศนศึกษา งานสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ สระโกสิ นารายณ์ ในระดับชั้น ประถมศึกษา ปี ที่ ๑ โครงการกีฬา กีฬาเป็ นยาวิเศษ โครงการ Let’s recycle โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนรู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่ งแวดล้อม ร้อยละ ๘๖ ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม ร้อยละ ๘๙
๒๔
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมี เจตคติทดี่ ีต่อ อาชี พสุ จริต โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ ของมาตรฐานที่ ๓ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีความตระหนักที่จะพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางาน ร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตอย่างเด่นชัด โดยจัดโครงการและกิจกรรมที่ หลากหลาย เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนทั้งการทํางานเป็ นทีมและรายบุคคล ทุกกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้จดั ให้ มีการทําโครงงาน เช่นโครงงานภาษาไทย โครงงานคณิ ตศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงาน สังคมศึกษา โครงงานภาษาอังกฤษ เป็ นต้น นอกจากนี้มีโครงการกีฬา กีฬาเป็ นยาวิเศษ เมืองคนงาน เกมส์ กิจกรรมลูกเสื อ-เนตรนารี คณะกรรมการ สภานักเรี ยน (โครงการส่ งเสริ มประชาธิ ปไตย) การ ทํางานของกลุ่มรับผิดชอบความสะอาดของเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ เช่น ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ดูแลความ สะอาดบริ เวณใต้อาคาร ๒ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ดูแลความสะอาดบริ เวณใต้อาคาร ๓ ชั้นประถมปี ที่ ๔ ดูแลความเรี ยบร้อยที่สนามเด็กเล่น กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมห้องสมุดสัญจร กิจกรรมวันเด็ก ค่าย วิทยาศาสตร์ ค่ายภาษาอังกฤษ (English camp) โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการจิตอาสาฯ โครงการ Fun Find Focus ในระดับชั้น ป .๑-๔ โครงการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนการสอน โครงการเด็ก ดุสิตรวมใจสร้างนิสัยรักการอ่าน โครงการ Let’s recycle โครงการห้องสมุดสัญจร กิจกรรมห้องสมุด เคลื่อนที่ ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการจัดการและทํางานให้สาํ เร็ จร้อยละ ๘๕ เพียรพยายามขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการทํางาน ร้อยละ ๘๕ ทํางานอย่างมีความสุ ข พัฒนางานและภาคภูมิใจในงานของตนเอง ร้อยละ ๘๕ ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ ร้อยละ ๘๖ และ มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตและหาความรู ้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ ร้อยละ ๘๗
๒๕
มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้ างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ั ยทัศน์ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพือ่ ผูเ้ รี ยนบรรลุตาม ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๔ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้ปฏิบตั ิตามแผนงานและโครงการเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ ความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิ จารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์ชดั เจน ซึ่ งจะศึกษาได้จากแฟ้ มพัฒนางานของผูเ้ รี ยนทุกคนทุกชั้นเรี ยน มีการจัดทําโครงงานของกลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ท้งั ๘ กลุ่มสาระ กิจกรรมคณิ ตคิดเร็ ว ชั้น ป .๑ - ๖ การคิดวิเคราะห์ข่าวและเหตุการณ์ การ สร้างผังความคิด กิจกรรมเล่าเรื่ องประก อบภาพ แต่งคําขวัญ แต่งคําประพันธ์และเรี ยงความ สุ นทร พจน์ กิจกรรมสุ ดยอดนักอ่าน กิจกรรมวันเด็ก ตอบปั ญหาสารานุกรม หนังสื อเล่มเล็ก โครงการ Fun Find Focus โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรรมะ โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการจิตอาสาฯ ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีสามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปความคิดรวบยอด คิ ดอย่างเป็ นระบบและมีการคิด แบบองค์รวม ร้อยละ ๘๔ สามารถคาดการณ์ กําหนดเป้ าหมายและแนวทางการตัดสิ นใจได้ ร้อยละ ๘๔ ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิ นใจและแก้ปัญหาอย่างมีสติ ร้อยละ ๘๔ และ มีความคิดสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ ร้อยละ ๘๕
๒๖
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะทีจ่ ําเป็ นตามหลักสู ตร โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพือ่ ผูเ้ รี ยนบรรลุตาม ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๕ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนจัดทําแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิการประจําปี ที่ปรากฏโครงการและกิจกรรมการ พัฒนาที่หลากหลาย เช่น โครงการพัฒนาครู ผสู ้ อนตามกลุ่มสาระต่างๆ กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ เช่น ห้องสมุด ภูมิปัญญาท้องถิ่น กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการวัดผล ประเมินผลภายในโรงเรี ยน โครงการพัฒนาคุ ณภาพการเรี ยนการสอน โครงการ Fun Find Focus นอกจากนี้โรงเรี ยนยังได้จดั ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยี และการค้นคว้าโดยใช้ Internet นอกจากนี้ โรงเรี ยนได้จดั ตั้งห้ อง English Learning Center เพื่อใช้ในการเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ ผ่าน โปรแกรม interactive ที่ให้นกั เรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ตามศักยภาพของแต่ละคน โดยมี ครู ผสู้ อนเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวก ผลการดําเนินงาน พบว่า ผู้เรียนระดับชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๓ และ ๖ มีผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนแต่ ละกลุ่มสาระ ดังนี้
กลุ่มสาระ/รายวิชา ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์
จํานวนนักเรียนชั้น ป.๓ จําแนกตามระดับผลการเรียน ๓
จํานวนนักเรียนชั้น ป.๖ จําแนกตามระดับผลการเรียน
๔
๓.๕
๒.๕ ๒
๑.๕
๑
๐
๔
๓.๕
๓
๒.๕
๒
๑.๕
๑
๐
๖๙
๒๒ ๒๕ ๑๕ ๑๐
๗
๕
๐
๖๙
๓๑ ๒๘ ๒๗ ๑๕
๓
๔
๐
๘๓
๒๐
๑๖
๑๕
๗
๘
๔
๐
๗๑
๒๔ ๒๘ ๑๗ ๑๕ ๑๑ ๑๑ ๐
๘๔ ๒๓ ๑๙
๘
๑๒
๕
๒
๐
๕๓
๑๒ ๑๘ ๒๙ ๓๑ ๑๕ ๑๙ ๐
๒๐ ๒๔ ๑๗ ๑๗
๘
๑๖ ๐
๕๐
๑๖ ๒๑ ๓๒ ๓๒ ๑๒ ๑๔ ๐
๘๕
๔.สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ๕. สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ
๕๐
๑๒๑ ๑๖
๖
๗
๒
๐
๐
๐
๕๖ ๒๖
๖
๔
๐
๐
๐
๘๔
๔๔ ๑๙
๕
๐
๐
๐
๐ ๑๑๒ ๓๕ ๑๖
๑๑
๓
๐
๐
๐
๘๑
๒๘ ๒๔ ๑๑
๔
๓
๑
๐
๙๒
๒๘ ๓๑
๑๖
๗
๓
๐
๐
๗๑
๑๙
๙ ๑๑ ๑๐ ๑๓ ๐ ๑๕๒
๖๓
๑๓ ๓๓ ๒๙ ๒๖ ๑๑ ๑๗๗
๒
๐
๗. การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ๘. ภาษาอังกฤษ รวมจํานวนนักเรียน
๑๙
ผูเ้ รี ยนมีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเฉลี่ยตามเกณฑ์ อยูใ่ นระดับดี ๒๗
ผูเ้ รี ยนมีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ อยูใ่ นระดับพอใช้ ผูเ้ รี ยนสามารถสื่ อความคิดผ่านการพูด เขียน หรื อนําเสนอด้วยวิธีต่างๆ ร้อยละ ๘๕ ผูเ้ รี ยนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้ท้งั ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ร้อยละ๘๕ ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ ร้อยละ ๘๖
๒๘
มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่า ต่ อเนื่อง โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๖ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้จดั โครงการส่ งเสริ มการอ่าน โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลาย มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนมี นิสัยรักการอ่าน การเขียน การฟัง การคิดวิเคราะห์ และรู ้จกั ตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผล กิ จกรรมที่ดาํ เนินใน โครงการ เช่น กิจกรรมวางทุกงาน อ่านทุกคนกับห้องสมุด กิจกรรมชมรมรักการอ่าน กิจกรรม สุ ดยอด นักอ่าน กิจกรรมห้องสมุดสัญจร กิจกรรมหนังสื อเคลื่อนที่ โดยโรงเรี ยนดุสิตวิทยาได้รับรางวัลโรงเรี ยน รักการอ่าน นอกจากนี้โรงเรี ยนยังได้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ฝึกให้ผเู ้ รี ยนได้มีความกระตือรื อร้น สนใจใฝ่ รู ้ และ ศึกษาหาความรู ้จาก แหล่งเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง รวมทั้งเรี ยนรู้ร่วมกับผูอ้ ่ืนได้ โดยจัดกิจกรรม ทัศนศึกษา กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ กิจกรรมค่ายจริ ยธรรม และกิจกรรมเข้าค่ายลูกเสื อเนตรนารี กิจกรรม Fun Find Focus ในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๔ โครงการเรี ยนรู้ สู่โลกกว้าง ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟังรู ้ รู ้จกั ตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผล ร้อยละ ๘๖ ผูเ้ รี ยนมีวธิ ีการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง เรี ยนรู ้ร่วมกับผูอ้ ื่นได้ สนุกกับการเรี ยนรู ้ ร้อยละ ๘๘ ผูเ้ รี ยนสนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ใช้ห้ องสมุด แหล่งความรู ้ และสื่ อต่างๆ ได้ ทั้งในและนอกสถานศึกษา ร้อยละ ๘๗
๒๙
มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตทีด่ ี โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพือ่ ผูเ้ รี ยนบรรลุตาม ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๗ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ ม สุ ขภาพ กิจกรรมควบคุมภาวะโภชนาการ โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ ส่ งเสริ มการออกกําลังกาย กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เผยแพร่ ความรู้เรื่ องสุ ขบัญญัติ ๑๐ ประการ และคุ ณธรรมขั้นพื้นฐาน ๘ ประการ การรณรงค์และให้ความรู ้กบั ผูเ้ รี ยนและผูป้ กครองเกี่ยวกับโรคระบาดตามฤดูกาล ไข้หวัด ๒๐๐๙ โรคมือปากเท้า โรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา กิจกรรมวันเด็ก ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัยในการดูแลสุ ขภาพ และออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ร้อยละ ๙๐ ผูเ้ รี ยนมีน้ าํ หนัก ส่ วนสู งและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ร้อยละ ๙๐ ผูเ้ รี ยนป้ องกันตนเองจากสิ่ งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ ยงต่อความรุ นแรง โรคภัย อุบตั ิเหตุ และปั ญหาทางเพศ ร้อยละ ๙๑ ผูเ้ รี ยนมีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผอู ้ ื่ น ร้อยละ ๘๗ ผูเ้ รี ยนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และชอบมาโรงเรี ยน ร้อยละ ๙๑
๓๐
มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้ านศิลปะ ดนตรีและกีฬา โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพือ่ ผูเ้ รี ยนบรรลุตาม ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๘ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีสุนทรี ยภาพทั้ง ๓ ด้าน ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับการวาดภาพ เช่น การทําหนังสื อเล่มเล็ก ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความสามารถด้านดนตรี การร้องเพลงสากล เพลง ไทยสากล เพลงไทยลูกทุ่ง โดยมีครู ที่มีความรู ้ความสามารถเป็ นผูฝ้ ึ กสอนให้ นักเรี ยนได้นาํ ความรู้ ความสามารถที่มีในด้านต่างๆ ใช้ในการเรี ยน และเข้าร่ วมประกวดแข่งขันกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่โรงเรี ยนจัด ขึ้นและแข่งขันกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น กิจกรรมวันเด็ก มหกรรมศิลปหัตถกรรม เมืองคนงามเกมส์ การ แข่งขันกีฬาจังหวัด มีการจัดกิจกรรมกีฬาสี ภายในโรงเรี ยน เป็ นเวลา ๒ วัน จัดทําโครงการพัฒนา ศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการพัฒนาและผลิตสื่ อการสอน กิจกรรมชมรมที่ส่งเสริ มผูเ้ รี ยนในด้านต่างๆ และที่ นักเรี ยนสนใจ ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูเ้ รี ยนมีความชื่นชมและชอบกิจกรรมด้านศิลปะ ร้อยละ ๙๒ มีความชื่นชมและชอบกิจกรรมด้านดนตรี นาฎศิลป์ ร้อยละ ๙๐ และ มีความชื่นชมและชอบกิจกรรมด้านกีฬา นันทนาการ ร้อยละ ๙๒
๓๑
มาตรฐานด้ านครู
มาตรฐานที่ ๙ ครูมวี ุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ ากับชุ มชนได้ ดแี ละ มีครูพอเพียง โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๙ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีครู เพียงพอตามเกณฑ์ กค. (ศธ. ๑๓๐๕/๔๖๖ ลงวันที่ ๑๑ มิ.ย. ๒๕๔๕) ซึ่งใน ปี การศึกษา ๒๕๕๒ ครู ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนไม่ต่าํ กว่า ๔๐ ชัว่ โมง/ปี ร้อยละ ๑๐๐ ครู ท่ ีได้สอน ตรงกับวิชาเอกร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษามีจาํ นวนครู ตามเกณฑ์ภาวะงานสอนโดยมีชวั่ โมงสอนเฉลี่ยของ ครู ๒๐ ชัว่ โมง/คน/สัปดาห์ ครู ทุกคนมีแฟ้ มสะสมผลงาน มีคาํ สั่งแต่งตั้งบุคลากรมอบหมายภาระงาน ต่างๆ รวมถึง ร่ วม กิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น เช่น ร่ วมงานประเพณี ของอําเภอบ้านโป่ ง งานวันเฉลิม พระชนมพรรษา กีฬาอําเภอบ้านโป่ ง โครงการครู พบผูป้ กครอง โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน โครงการก้าว ไกลไปกับการศึกษา โครงการนิเทศภายใน และกิจกรรมอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของครู เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า ครู มีคุณธรรมจริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ร้อยละ ๙๑ ครู มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูเ้ รี ยนผูป้ กครอง และชุมชน ร้อยละ ๙๑ ครู มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๙๓ ครู มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็ นประจํา รับฟังความคิดเห็น ยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ใจกว้าง ร้อยละ ๙๒ ครู จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทางการศึกษาหรื อเทียบเท่าขึ้นไป ร้อยละ ๑๐๐ ครู สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรื อตรงตามความถนัด ร้อยละ ๑๐๐ ครู มีจาํ นวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครู และบุคลากรสนับสนุน) ร้อยละ ๑๐๐
๓๒
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตาม ตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๐โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนสนับสนุนให้ครู ผสู ้ อนในรายวิชาได้เข้ารับการอบรม สัมมนาเกี่ยวกับการจัดการ เรี ยนการสอนในด้านต่างๆ โดยเฉลี่ยครู ได้รับกา รส่ งเสริ มให้เข้ารับการฝึ กอบรมสัมมนาทั้งที่โรงเรี ยนจัดขึ้น และ เข้าร่ วมกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น การอบรมคอมพิวเตอร์ การอบรมภาษาอังกฤษ การอบรมความเป็ น เลิศทางคณิ ตศาสตร์ การอบรมคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จัดโดย สสวท . (ETV) นอกจากนี้ ยังมี การจัดแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญในทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ จัดทําวิจยั ในชั้นเรี ยนเพื่อ พัฒนาผูเ้ รี ยน มีเครื่ องมือวัดผลประเมินผลผูเ้ รี ยน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แฟ้ มสะสม ผลงานของผูเ้ รี ยน ครู จดั สื่ อการสอน มุมประสบการณ์ สร้างบรรยากาศภายในห้องเรี ยนให้จูงใจผูเ้ รี ยนได้ กระตือรื อร้นในการเรี ยนรู ้ ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลาย สร้างความสนุกสนานในการจัดกิจกรรม นอกจากนี้ยงั จัดให้มีโครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการนิเทศภายในโรงเรี ยน โครงการพัฒนา คุณภาพการเรี ยนการสอนโครงการเตรี ยมพร้อมบุคลากร โครงการ Fun Find Focus เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า ครู มีความรู ้ความเข้าใจ เป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๙๐ ครู มีการวิเคราะห์ศกั ยภาพของผูเ้ รี ยนและเข้าใจผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล ร้อยละ ๙๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ร้อยละ ๘๙ ครู มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของตนเองและผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๙ ครู มีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรี ยนรู ้ ที่จดั ให้ผเู ้ รี ยน และอิงพัฒนาการ ของผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๙ ครู มีการนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ ร้อยละ ๘๘ ครู มีการวิจยั เพื่อพัฒนาสื่ อและการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและนําผลไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๙๐
๓๓
ด้ านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๑โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ผูบ้ ริ หารประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริ ต มีความยุติธรรม รับฟังความคิดเห็น ของผูอ้ ื่น รับฟังปั ญหาของคณะครู เปิ ดโอกาสให้คณะครู มีส่วนร่ วมในการบริ หาร มีการแบ่งงานตาม ความเหมาะสมอย่างเป็ นระบบ ป ฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความมุ่งมัน่ ในการบริ หาร จัดให้มีการ ประชุมร่ วมกันของคณะครู ร่วมจัดทํา แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบตั ิงานประจําปี จัดให้มีโครงการ กิจกรรมต่างๆ ตามที่กาํ หนดไว้ในแผนโดยส่ งเสริ มสนับสนุน ให้มีการปฏิบตั ิงานตามแผนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ ๘๕ ของ แผนงาน บริ หารงานโดยเห็นแก่ประโยชน์ของผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ อุทิศตนให้กบั งาน มาปฏิบตั ิหน้าที่โดย สมํ่าเสมอ พัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ครู ได้รับการอบรม สัมมนา ศึกษาต่อ ระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโท และศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนอยูต่ ล อดเวลา มีการนิเทศ การสอนเพื่อพัฒนาครู ส่ งเสริ มให้ครู ผลิตสื่ อ ใช้สื่อในการเรี ยนการสอ นอย่างหลากหลาย จัดให้มี โครงการผลิตและพัฒนาสื่ อ โครงการพัฒนาครู สู่ความเป็ นเลิศ โครงการวันสําคัญ โครงการดุสิตใกล้ชิด ธรรมะ สนับสนุนจัดให้มี การประชุมคณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยนอย่างต่อเนื่อง ให้คาํ ปรึ กษาชี้แนะ แนวทางด้านวิชาการแก่คณะครู เป็ นผูน้ าํ ทางด้านวิชาการ พัฒนาด้านวิชาการโรงเรี ยน ส่ งเสริ มโครงการความ เป็ นเลิศทางวิชาการ พัฒนากิจกรรมส่ งเสริ มวิชาการ (ชมรม) โครงการสังสรรค์หรรษาเพื่อเสริ มสร้างขวัญ และกําลังใจให้กบั คณะครู และบุคลากร เช่น กิจกรรมทัศนศึกษาทั้งในและต่างประเทศ การ พัฒนาครู และ นักเรี ยนให้บรรลุตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง ๑๘ มาตรฐาน และนําผลการประเมินมาพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ส่ งเสริ มให้มีการจัดกิจกรรมที่ให้ผปู ้ กครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมมากขึ้น เช่น โครงการครู พบผูป้ กครอง ซึ่ งมีการสํารวจความคิดเห็นผูป้ กครองเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน กิจกรรมอ่านกันทั้ง ครอบครัว โครงการ Dusit Reading Club เป็ นต้น ผลการดําเนินงาน พบว่า ผูบ้ ริ หารมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ร้อยละ ๘๙ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ัยทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ร้อยละ ๘๙ มีความสามารถในการบริ หารงานวิชาการและการจัดการ ร้อยละ ๘๙ การบริ หารงานมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ ร้อยละ ๘๙
๓๔
มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์ กรอย่างเป็ น ระบบครบวงจร โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๒โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทําและปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารงานเพือ่ ให้สอดคล้องและเหมาะสม กับ แผนปฏิบตั ิการประจําปี ปฏิทินปฏิบตั ิ งานประจําปี คําสั่งแต่งตั้ง สมุดบันทึกการประชุม บันทึกการ ประชุมคณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยนและคณะกรรมการร่ วมภาคี ๔ ฝ่ าย บันทึกการอบรมสัมมนาของครู แผนกลยุทธ์ ข้อมูลสารสนเทศ การนิเทศ และติดตามผลการเรี ยน ข้อมูลผลสัมฤ ทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน บัญชีรับ-จ่ายของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง มีคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร มีคณะกรรมการ สภานักเรี ยน มีการดําเนินงานที่เป็ นระบบตรวจสอบได้ จัดโครงการพัฒนาบุคลากร และโครงการ สังสรรค์หรรษา นอกจากนี้ในปี ๒๕๕๒ โรงเรี ยนดุสิตวิทยา ได้รับรางวัลจากก ารประกวดโรงอาหารใน โรงเรี ยนระดับประถมศึกษา ในระดับคุณภาพดีเยีย่ ม จาก สพท. รบ. เขต ๒ ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริ หารงานที่มีความคล่องตัวสู ง และปรับเปลี่ยนได้ตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ร้อยละ ๘๘ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ร้อยละ ๘๘ มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ ๘๙ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ร้อยละ ๘๙ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริ หารงานและการพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๘
๓๕
มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๓โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทําคําสั่งแต่งตั้ง ให้คณะครู และบุคลากรมีหน้าที่รับผิดชอบภาระงานต่างๆ มีการจัด ให้มีและบันทึกการประชุมคณะกรรมการอํานวยการโรงเรี ยนและคณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่ าย การประชุม ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่างๆ ประชุมครู หวั หน้าระดับชั้น และสาระการเรี ยนรู ้ แผนปฏิบตั ิการประจําปี ปฏิทินการปฏิบตั ิงานประจําปี บันทึกการประชุมประจําเดือน โครงก ารครู พบผูป้ กครอง โครงการวัน สําคัญ มีโครงการที่ส่งเสริ มให้บุคลากรมีจิตสาธารณะ เช่น การบริ จาคโลหิ ต การพัฒนาสถานที่สาํ คัญใน ชุมชน กิจกรรมห้องสมุดสัญจร มีการจัดทํา หนังสื อถึงผูป้ กครอง การแต่งกายอนุรักษ์วฒั นธรรมไทย โครงการวันเด็ก วารสารดุสิตสาร โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ สื่ อทางด้านหนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่น การ ช่วยเหลืองานประเพณี ต่างๆ การให้บริ การยืมรถโรงเรี ยนกับหน่วยงานราชการ มีการตรวจสอบและ ถ่วงดุล ได้แก่ การจัดทําระบบบัญชีทุกประเภท มีคาํ สัง่ แต่งตั้งผูป้ ฏิบตั ิและตรวจสอบอย่างชัดเจน ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการกระจายอํานาจการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ร้อยละ ๘๘ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ร้อยละ ๘๘ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาโรงเรี ยน ร้อยละ ๘๘ มีรูปแบบการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ร้อยละ ๘๘ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล ร้อยละ ๘๘
๓๖
มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตร และกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้ นผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัว บ่งชี้ของมาตรฐานที่ ๑๔ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ กิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรี ยนจัดขึ้ น ได้ แก่ โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมห้องสมุดสัญจร โครงการประชาธิ ปไตยในโรงเรี ยน แผนการจัดการเรี ยนรู ้ หลักสู ตรสถาน ศึกษา ขั้นพื้นฐาน โครงการนิเทศการสอน วิจยั ในชั้นเรี ยน โครงงานทุกระดับชั้น สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน มีโครงการจัดทําปฏิบตั ิการทางภาษาอังกฤษโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทนั สมัย English Learning Center ห้องปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ มุมหนังสื อภายในห้องเรี ยน ใบงาน แผนผังความคิด แฟ้ มพัฒนางานของผูเ้ รี ยน แบบบันทึกประเมินพัฒนาการของผูเ้ รี ยนต่างๆ แบบบัน ทึก คะแนน แบบทดสอบทุกระดับชั้น จัดทําโครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการ Fun Find Focus โครงการผลิตและพัฒนาสื่ อ มีการจัดให้มีกิจกรรมชมรมเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เลือกเรี ยนตามถนัดและความ สนใจ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้ท้ งั ในโรงเรี ยนและนอกโรงเรี ยนมาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ผลการดําเนินงาน พบว่า มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและท้องถิ่น ร้อยละ ๘๘ มีรายวิชา/กิจกรรมที่หลากหลายให้ผเู ้ รี ยนเลือกเรี ยนตามความสนใจ ร้อยละ ๘๘ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความถนัดและความสามารถของผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๘ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยนที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้ ร้อยละ ๘๗ มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผลและการส่ งต่อข้อมูลของผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๘ มีระบบการนิเทศการเรี ยนการสอนและนําผลไปปรับปรุ งการสอนอยูส่ มํ่าเสมอ ร้อยละ ๘๘ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรี ยนการสอน ร้อยละ ๘๗
๓๗
มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๕ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ กิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรี ยนจัดขึ้น ได้แก่ โครงการเรี ยนรู้สู่โลกกว้าง กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรม ห้องสมุดสัญจร วารสารโรงเรี ยน โครงการประชาธิ ปไตยในโรงเรี ยน โครงการ Fun Find Focus โครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน โครงการเด็กดุสิตใกล้ชิดธรรมะ โครงการกีฬา กีฬา เป็ นยาวิเศษ แผนการ จัดการเรี ยนรู ้ หลักสู ตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ สมุดเล่มเล็ก โครงการนิเทศการสอน วิจยั ในชั้นเรี ยน โครงงานทุกระดับชั้น สื่ อประกอบการเรี ยนการสอน ห้องปฏิบตั ิการทางภาษา ห้อง วิทยาศาสตร์ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ มุม หนังสื อภายในห้องเรี ยน ใบงาน ผังความคิด แฟ้ มพัฒนางานของผูเ้ รี ยน โครงการ Dusit Reading Club โครงการห้องสมุดไม่หยุดฝัน การเข้าค่าย จริ ยธรรม กิจกรรมชมรม โครงการอําลาอาลัย (ปัจฉิมนิเทศ) ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนที่เข้มแข็งและทัว่ ถึง ร้อยละ ๘๘ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนองความสามารถทางวิชาการและความคิดสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนองความสามารถพิเศษและความถนัดของผูเ้ รี ยนให้เต็มตาม ศักยภาพ ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิ ยมที่ดีงาม ร้อยละ ๘๘ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์ และกีฬา/นันทนาการ ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี ไทย ภูมิปัญญาไทย ร้อยละ ๘๙ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตย ร้อยละ ๘๙
๓๘
มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้ อมและการบริการทีส่ ่ งเสริมให้ ผ้เู รียนพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มศักยภาพ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๖ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนมีการจัดทําหลักสู ตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รายงานการประเมินตนเอง บันทึกการประชุม บันทึกการประชุมคณะกรรมการอํานวยการสถานศึกษา บันทึกการประชุมครู สมุดคําสั่งโรงเรี ยน มี สื่ อการเรี ยนการสอนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มีสื่อธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ สนามเด็กเล่น มีอุปกรณ์ กีฬา สื่ อ เทคโนโลยี ห้องคอมพิวเตอร์ ๒ ห้อง คือ ระดับประถมศึกษาจํานวน ๑ ห้อง ระดับอนุบาล จํานวน ๑ ห้อง ห้องปฏิบตั ิการทางภาษา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ English Learning Center จํานวน ๑ ห้อง ห้อง วิทยาศาสตร์ จํานวน ๑ ห้อง ห้องสมุด มีคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งใช้สืบค้นทาง Internet มีหนังสื อให้คน้ คว้าครบ ทุกกลุ่มสาระ มีส่ื อภูมิปัญญาท้องถิ่น และได้จดั โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา โครงการพัฒนาศักยภาพ ผูเ้ รี ยน โครงการโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพ โครงการ Fun Find Focus โครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง ผลการดําเนินงาน พบว่า มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ มีอาคารสถานที่เหมาะสม ร้อยละ ๘๙ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผูเ้ รี ยน ร้อยละ ๙๒ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรู ปแบบที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนอง และการเรี ยนรู ้ แบบมีส่วนร่ วม ร้อยละ ๙๒ มีหอ้ งเรี ยน ห้องปฏิบตั ิการ ห้องสมุด พื้นที่สีเขียว และสิ่ งอํานวยความสะดวก เพียงพอและอยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี ร้อยละ ๙๑ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอกสถานศึกษา ร้อยละ ๙๐
๓๙
ด้ านการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่ น โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๗ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ จัดโครงการเรี ยนรู ้สู่โลกกว้าง จัดกิจกรรมทัศนศึกษา โดยนํา นักเรี ยนในแต่ละระดับชั้น ไปทัศนศึกษาในสถานที่ต่างๆ ทั้งภายใน จังหวัดราชบุรี และจังหวัดใกล้เคียง เช่น วัดโพธิ์ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมการเข้าค่ายจริ ยธรรม กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ กิจกรรมเข้าค่าย ลูกเสื อ-เนตรนารี กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษโดยครู ต่างชาติ เรี ยนเทควันโดกับครู ที่มีความชํานาญ และ เรี ยนว่ายนํ้าในสระนํ้าของโรงเรี ยน กิจกรรมสัปดาห์ภาษาไทย สัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ สัปดาห์หอ้ งสมุด โครงงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง โครงการโรงเรี ยนสวยด้วยมือเรา โครงการ Fun Find Focus ผลการดําเนินงาน พบว่า มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู้และภูมิปัญญา ในท้องถิ่น ร้อยละ ๘๗ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญา และชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทํา หลักสู ตรระดับสถานศึกษา ร้อยละ ๘๗
๔๐
มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้ าน องค์ กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์ กร ภาครัฐและเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถกี ารเรียนรู้ ในชุ มชน โรงเรี ยนจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและกิจกรรมเสริ มต่างๆ เพื่อผูเ้ รี ยนบรรลุตามตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที่ ๑๘ โดยดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ โรงเรี ยนได้จดั ให้ผปู ้ กครอง คนในชุมชนเข้าร่ วมกิจกรรมของสถานศึกษา เช่น การทําบุญในงานวัน เด็ก การแข่งขันกีฬาสี การสรงนํ้าพระพุทธรู ป เนื่องในวันสงกรานต์ การจัดประชุมผูป้ กครองโดยมีการ ให้ความรู ้และเอกสารที่มีประโยชน์ในการดูแลเลี้ยงดูบุตรให้กบั ผูป้ กครอง กิจกรรมเนื่องในงานวันเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ การให้ยมื รถโรงเรี ยน และเข้าร่ วมกิจกรรมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น สํานักงานเทศบาลเมืองบ้านโป่ ง สถานี ตํารวจภูธรอําเภอบ้านโป่ ง โรงเจบ้วนฮกต้วน มีการเชิญผูป้ กครองและวิทยากรในท้องถิ่น เข้ามาร่ วม กิจกรรมทางวิชาการและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา เช่นกิจกรรม Fun Find Focus สโมสรไลออนส์ ภาค 310ดี เข้าร่ วมกิจกรรมในวันแม่แห่งชาติ ผลการดําเนินงาน พบว่า เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู ้และบริ การชุมชน ร้อยละ ๘๖ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ร้อยละ ๘๖
๔๑
จากการดําเนินงาน สรุ ปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่ งชี้ได้ ดังนี้ มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ ๑.๑ มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมเบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ ๑.๒ มีความซื่อสัตย์ ๑.๓ มีความกตัญ�ูกตเวที ๑.๔ มีเมตตากรุ ณา เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และเสี ยสละเพือ่ ส่ วนรวม ๑.๕ ประหยัด รู ้จกั ใช้ทรัพย์สิ่งของส่ วนตน และส่ วนรวมอย่างคุม้ ค่า ๑.๖ นิยมไทย เห็นคุณค่าในภูมิปัญญาไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย และรักษาวัฒนธรรม มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสํ านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม ๒.๑ รู ้คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง สิ่ งแวดล้อม ๒.๒ เข้าร่ วมหรื อมีส่วนร่ วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานร่ วมกับผู้อนื่ ได้ และมีเจตคติทดี่ ีต่ออาชี พสุ จริต ๓.๑ มีทกั ษะในการจัดการและทํางานให้สาํ เร็ จ ๓.๒ เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการทํางาน ๓.๓ ทํางานอย่างมีความสุ ข พัฒนางานและภูมิใจในผลงานของตนเอง ๓.๔ ทํางานร่ มกับผูอ้ ื่นได้ ๓.๕ มีความรู ้สึกที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ตและหาความรู ้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสั งเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มี ความคิดสร้ างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและมีวสิ ั ยทัศน์ ๔.๑ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุ ปความคิดรวบยอด คิดอย่างเป็ นระบบ/และมี ความคิดแบบองค์รวม ๔.๒ สามารถคาดการณ์ กําหนดเป้ าหมายและแนวทางการตัดสิ นใจได้ ๔.๓ ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสิ นใจ และแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ ๔.๔ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมี จินตนาการ
๔๒
ระดับ คุณภาพ ตัว บ่ งชี้
ระดับ คุณภาพ มาตรฐาน
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔
๔
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะทีจ่ ําเป็ นตามหลักสู ตร ๕.๑ มีระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเฉลี่ยตามเกณฑ์ ๕.๒ มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์ ๕.๓ สามารถสื่ อความคิดผ่านการพูด เขียน หรื อนําเสนอด้วยวิธีต่างๆ ๕.๔ สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่ อสารได้ท้งั ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ๕.๕ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการ เรียนรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่ อเนื่อง ๖.๑ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟัง รู ้จกั ตั้งคําถามเพื่อหาเหตุผลสนใจแสวงหา ความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ๖.๒ มีวธิ ี การเรี ยนรู ้ของตนเอง สามารถเรี ยนรู ้ร่วมกับผูอ้ ื่นและสนุกกับการเรี ยนรู ้ ๖.๓ สามารถใช้หอ้ งสมุด ใช้แหล่งความรู ้และสื่ อต่างๆ ทั้งในและนอกสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี ๗.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุ ขภาพ และออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ๗.๒ มีน้ าํ หนัก ส่ วนสู งและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ๗.๓ ป้ องกันตนเองจากสิ่ งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี ยงต่อ ความรุ นแรง โรคภัย อุบตั ิเหตุ และปั ญหาทางเพศ ๗.๔ มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผอู ้ ื่น ๗.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และชอบมาโรงเรี ยน มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้ านศิลปะ ดนตรีและกีฬา ๘.๑ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ ๘.๒ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรมและมีผลงานด้านดนตรี /นาฏศิลป์ ๘.๓ ชื่นชม ร่ วมกิจกรรมและมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ มาตรฐานที่ ๙ ครู มวี ุฒิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ หมัน่ พัฒนาตนเอง เข้ ากับ ชุ มชนได้ ดี และมีครูพอเพียง ๙.๑ มีคุณธรรมจริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๙.๒ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูเ้ รี ยนผูป้ กครอง และชุมชน ๙.๓ มีความมุ่งมัน่ และอุทิศตนในการสอนและพัฒนาผูเ้ รี ยน ๙.๔ มีการแสวงหาความรู ้และเทคนิควิธีการใหม่ๆ เป็ นประจํา รับฟัง ๔๓
ระดับ คุณภาพ ตัวบ่งชี้
ระดับ คุณภาพ มาตรฐาน
๓ ๒ ๔ ๔ ๔ ๔
๓
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพและเน้ น ผู้เรียนเป็ นสํ าคัญ ๑๐.๑ มีความรู ้ความเข้าใจ เป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ศกั ยภาพของผูเ้ รี ยนและเข้าใจผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของ ตนเองและผูเ้ รี ยน ๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรี ยนรู ้ ที่จดั ให้ผเู ้ รี ยน และอิงพัฒนาการของผูเ้ รี ยน ๑๐.๖ มีการนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็ม ตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจยั เพือ่ พัฒนาสื่ อและการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนและนําผลไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นํา และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา ๑๑.๑ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๑๑.๒ มีความคิดริ เริ่ ม มีวสิ ยั ทัศน์ และเป็ นผูน้ าํ ทางวิชาการ ๑๑.๓ มีความสามารถในการบริ หารงานวิชาการและการจัดการ ๑๑.๔ การบริ หารมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผล ผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจ มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์ กร โครงสร้ าง ระบบการบริหารงานและพัฒนา องค์ กร อย่างเป็ นระบบครบวงจร ๑๒.๑ มีการจัดองค์กร โครงสร้างและระบบการบริ หารงานที่มีความคล่องตัวสู ง และ ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ๑๒.๒ มีการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างครอบคลุมและทันต่อการใช้งาน ๑๒.๓ มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ดาํ เนินงานอย่างต่อเนื่อง ๑๒.๔ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง ๑๒.๕ ผูร้ ับบริ การและผูเ้ กี่ยวข้องพึงพอใจผลการบริ หารงานและการพัฒนาผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๑ มีการกระจายอํานาจการบริ หารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน ๑๓.๒ มีการบริ หารเชิงกลยุทธ์ และใช้หลักการมีส่วนร่ วม ๑๓.๓ มีคณะกรรมการสถานศึกษาร่ วมพัฒนาโรงเรี ยน ๑๓.๔ มีรูปแบบการบริ หารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ของงาน ๔๔
ระดับ คุณภาพ ตัวบ่งชี้
ระดับ คุณภาพ มาตรฐาน
๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔
๔
มาตรฐาน/ตัวบ่ งชี้
๑๓.๕ มีการตรวจสอบและถ่วงดุล มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสู ตรและกระบวนการเรียนรู้ ทเ่ี น้ นผู้เรียนเป็ น สํ าคัญ ๑๔.๑ มีหลักสู ตรที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนและท้องถิ่น ๑๔.๒ มีรายวิชา/กิจกรรมที่หลากหลายให้ผเู ้ รี ยนเลือกเรี ยนตามความสนใจ ๑๔.๓ มีการส่ งเสริ มให้ครู จดั ทําแผนการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความถนัดและความสามารถ ของผูเ้ รี ยน ๑๔.๔ มีการส่ งเสริ มและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ และสื่ ออุปกรณ์การเรี ยน ที่เอื้อต่อการ เรี ยนรู ้ ๑๔.๕ มีการจัดระบบการบันทึก การรายงานผลและการส่ งต่อข้อมูลของผูเ้ รี ยน ๑๔.๖ มีระบบการนิเทศการเรี ยนการสอนและนําผลไปปรับปรุ งการสอนอยูส่ มํ่าเสมอ
ระดับ คุณภาพ ตัว บ่ งชี้ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่ งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่ างหลากหลาย ๑๕.๑ มีการจัดและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนที่เข้มแข็งและทัว่ ถึง
๔
๔๕
๔
๔ ๔
๑๔.๗ มีการนําแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรี ยนการสอน
๑๕.๒ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนองความสามารถทางวิชาการและความคิด สร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยน ๑๕.๓ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มและตอบสนองความสามารถพิเศษและความถนัดของ ผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๕.๔ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มค่านิยมที่ดีงาม ๑๕.๕ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มด้านศิลปะ ดนตรี /นาฏศิลป์ และกีฬา/นันทนาการ ๑๕.๖ มีการจัดกิจกรรมสื บสานและสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ประเพณี ไทย ภูมิปัญญาไทย ๑๕.๗ มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มความเป็ นประชาธิ ปไตย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการทีส่ ่ งเสริมให้ ผ้เู รียน พัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ ๑๖.๑ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ มีอาคารสถานที่เหมาะสม ๑๖.๒ มีการส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผูเ้ รี ยน ๑๖.๓ มีการให้บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรู ปแบบที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนอง และการเรี ยนรู ้ แบบมีส่วนร่ วม
ระดับ คุณภาพ มาตรฐาน
๔ ๔
๔
๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔ ๔
๔
มาตรฐาน/ตัว บ่ งชี้
๑๖.๕ มีการจัดและใช้แหล่งเรี ยนรู ้ท้งั ในและนอกสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๗ สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่ งเรียนรู้ และภูมิปั ญญาในท้องถิ่น ๑๗.๑ มีการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญา ในท้องถิ่น ๑๗.๒ สนับสนุนให้แหล่งเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญา และชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทํา หลักสู ตรระดับสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑๘ สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่ างบ้ าน องค์ กรทางศาสนา สถาบันทาง วิชาการ และองค์ กรภาครัฐและเอกชน เพือ่ พัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุ มชน ๑๘.๑ เป็ นแหล่งวิทยาการในการแสวงหาความรู ้และบริ การชุมชน ๑๘.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน หมายเหตุ
ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ
๔ ๓ ๒ ๑
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุ ง
๔๖
ระดับ คุณภาพ ตัว บ่ งชี้ ๔ ๔
๔
๔
๔ ๔
๔
บทที่ ๔ สรุปผลการพัฒนาและการนําไปใช้
๔.๑ สรุปผลการดําเนินงานในภาพรวม
ด้ านผู้บริหาร โรงเรี ยนมีการจัดองค์กรโครงสร้างการบริ หารงานอย่างเป็ นระบบ ชัดเจน และครบวงจร มี การ ทบทวนและปรับปรุ งโครงสร้างและสายการบังคับบัญชาตามบริ บทที่เปลี่ยนแปลงไป ทําให้การแบ่งงาน รับผิดชอบในแต่ละส่ วนมีประสิ ทธิ ภาพ มีการนําหลัก PDCA ซึ่ งประกอบด้วย การวางแผน การปฏิบตั ิงาน การตรวจสอบ และการปรับปรุ งแก้ไข มาใช้เป็ นแนวทางในการบริ หารโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หารมีภาวะความเป็ นผูน้ าํ และให้การส่ งเสริ มสนับสนุนให้ครู ได้รับความรู ้ทางด้านเทคโนโลยีที่ทนั สมัย มีการส่ งเสริ มให้ครู ได้รับการ อบรมและพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ทั้งทางด้านวิชาการและคุณธรรมจริ ยธรรม จัดประชุมครู ทุกเดือนเพือ่ แจ้งให้ครู ทราบข่าวสารต่างๆ และเน้นการมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ มีการเปิ ดรับฟังความคิดเห็นของครู ในเรื่ องสําคัญต่างๆ มีการให้อาํ นาจครู ในการตัดสิ นใจในขอบเขตที่เหมาะสม เพื่อให้การบริ หารจัดการมี ประสิ ทธิ ภาพและบุคลากรมีความพึงพอใจสู ง และมีการดําเนินการในด้านต่างๆเพื่อสร้าง ขวัญและกําลังใจแก่ ครู สมํ่าเสมอ นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารยังริ เริ่ มโครงการที่เน้นการมีส่วนร่ วมของ ผูป้ กครองและชุมชนมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในปี การศึกษาที่ผา่ นมา มีการสํารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผูป้ กครองในด้านการบริ หาร จัดการและคุณภาพครู เพื่อนําเอาข้อคิดเห็นเหล่านั้นมาปรับปรุ งการบริ หารจัดการการศึกษาให้ดี ยิง่ ขึ้น มีการ นําเอาวิทยากรในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา ตั้งแต่การปรับปรุ งหลักสู ตร จนถึงการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้กบั เด็กและนักเรี ยน ในส่ วนของการให้บริ การทางวิชาการแก่ชุมชนนั้น โรงเรี ยนจัด ให้มีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู ้กบั ชุมชนในด้านสาธารณสุ ข ด้ านการเรียนการสอน ครู มีความรู ้ในระดับปริ ญญาตรี ทางด้านการศึกษาหรื อสาขาที่เกี่ยวข้องและสอนตามความถนัด มี ความรู ้ความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ละสาระการเรี ยนรู ้ ครู ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการ สอนมากกว่า ๑๐ ปี มีจิตวิญญาณความเป็ นครู มีความรักความสามัคคี ในหมู่คณะ ทําให้ผเู ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู ้อยูใ่ นเกณฑ์น่าพอใจ สู งกว่าเกณฑ์มาตรฐานระดับ ท้องถิ่น ระดับพื้นที่การศึกษา ระดับสังกัด และระดับชาติ ด้ านผู้เรียน ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และจิตที่ดี มีสุนทรี ยภา พ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มีความสามารถในการคิดวิเครา ะห์ คิดสังเคราะห์ ที่เหมาะสมกับ วัย มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรองและมีวสิ ัยทัศน์ มีความ รู ้และทักษะที่จาํ เป็ นตามหลักสู ตร โดยมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าค่าเฉลี่ยระดับเขตและระดับประเทศ มีทกั ษะแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีทกั ษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางาน ร่ วมกับผูอ้ ื่น ได้ และมีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพสุ จริ ต ๔๗
๔.๒ ผลสั มฤทธิ์ที่เป็ นจุดเด่ นและจุดที่ควรพัฒนา
จุดเด่ น สถานศึกษามีทรัพยากรที่สนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครบถ้วน เพียงพอ มีครู เพียงพอ ครู มีความรู ้ความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนในแต่ละสาระการเรี ยนรู ้ ทําให้ผเู ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู ้อยูใ่ นเกณฑ์ที่น่าพอใจ รวมถึงมีการการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ จั ดการเรี ยน การสอนที่หลากหลาย และมีการประเมินผลตามสภาพจริ ง ทําให้มีการพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รี ยนดีข้ ึน จุดทีค่ วรพัฒนา โรงเรี ยนมีความประสงค์ที่จะเน้นพัฒนาการใน ๔ ด้านคือ ๑. เน้นการบริ หารการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่ วม แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั ชุมชนมากขึ้น ๒. การส่ งเสริ มความมีจิตอาสา รัก ในการทําประโยชน์เพือ่ ส่ วนรวม ให้กบั นักเรี ยนและบุคลากรของ โรงเรี ยน ๓. การพัฒนาโรงเรี ยนไปสู่ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ ๔. การพัฒนาด้านสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ให้มีประสิ ทธิ ภาพ ๔.๓ แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. เน้นการบริ หารการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่ วม โดยการรับ ฟังความคิดเห็นจากผูป้ กครองและ ชุมชน และนําความคิดเห็นและความต้องการของชุมชม เข้ามาให้เป็ นแนวทางในการพัฒนา หลักสู ตร รวมทั้งมีการนําวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการเรี ยนการสอน มากขึ้น โดยผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดตลาดนัดวิชาการ การทัศนศึกษาสถานที่สาํ คัญ ในท้องถิ่น โครงการจิตอาสา โครงการเยีย่ มบ้านนักเรี ยน โครงการครู พบผูป้ กครอง เป็ นต้น ทั้งนี้ เพือ่ ให้สถานศึกษาและชุมชนเป็ นแหล่งแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ซ่ ึงกันและกัน ๒. ส่ งเสริ มให้ครู นกั เรี ยนและบุคลากรของโรงเรี ยนเป็ นผูม้ ีจิตอาสา รักในการทําประโยชน์เพื่อ ส่ วนรวม โดยจะจัดโครงการ /กิจกรรม ที่จะให้นกั เรี ยนและบุคลากรได้ร่วมกันทํากิจกรรมเพื่อ พัฒนาในด้านต่างๆ โดยเริ่ มตั้งแต่ในห้องเรี ยน บริ เวณโรงเรี ยน จนถึงชุมชมรอบๆโรงเรี ยน และ เพื่อสร้างสัมพันธ์อนั ดีระหว่างนักเรี ยน ครู โรงเรี ยน และชุมชน ๓. การขยายปรับปรุ งและพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรี ยนให้มีพ้ืนที่ในการทํากิจกรรมที่ส่งเสริ ม การเรี ยนรู ้ในด้านต่างๆมากขึ้น และเพิ่มมุมแห่งการเรี ยนรู้ในทุกสาระ ให้ทวั่ ถึงทัว่ โรงเรี ยน เพือ่ สร้างค่านิยมแห่งการเรี ยนรู ้ในตัวนักเรี ยน และบุคลากรของโรงเรี ยนทุกคน ๔. การพัฒนาด้านสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ย นรู้ โดยจะเน้นให้ครู และบุคลากร นําสื่ อและ เทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ มาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนมากขึ้น รวมทั้งพัฒนาระบบการ จัดการสื่ อและเทคโนโลยีทางการเรี ยนรู ้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
๔๘
ภาคผนวก
๔๙
แผนที่เส้ นทางการมาโรงเรียนดุสิตวิทยา
จากกรุ งเทพมหานคร เดินทางมาตามถนนเพชรเกษม /ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔ ผ่านจังหวัดนครปฐม ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร เลี้ยวเข้าไปยังเส้นทาง ๓๒๓ ประมาณ ๘ กิโลเมตร จะพบทางแยกต่างระดับ ให้ เลี้ยวเข้าอําเภอบ้านโป่ ง วิง่ ตามเส้นทางถนนทรงพล เมื่อถึงวงเวียนหอนาฬิกา ใ ห้เลี้ยวซ้ายเข้าถนน แสงชูโต ตรงไปจนถึงสถานีรถไฟบ้านโป่ ง แล้วเลี้ยวขวาเข้าถนนหลังสถานีรถไฟ เดินทางต่อประมาณ ๔๐๐ เมตร โรงเรี ยนดุสิตวิทยาจะตั้งอยูท่ างด้านขวามือ
๕๐
สรุ ปผลการสํ ารวจความพึงพอใจผู้ปกครอง ครั้งที่ ๑/๒๕๕๒ ทําการสํารวจในระหว่ างวันที� จํานวน การตอบกลับ
: 747
8 – 10
พฤศจิกายน
2552
คน
ตอนที่ 1 ข้ อมูลพืน้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุของผูป ้ กครอง ่ งอายุ ชว ตํา � กว่า 20 ปี 20 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี � ไป 60 ปี ขึน
ความถี� 8 91 360 218 48 22
ร้อยละ 1% 12% 48% 29% 6% 3%
อายุของผู้ปกครอง 3% 1% 7%
ตํ�ากว่า 20 ปี
12%
20 - 29 ปี 30 - 39 ปี
29%
40 - 49 ปี 48%
50 - 59 ปี 60 ปี ขึ �นไป
๕๑
ี ของผูป อาชพ ้ กครอง ี อาชพ ร ับราชการ พน ักงานร ัฐวิสาหกิจ พน ักงานบริษ ัทเอกชน ธุร กิจสว่ นต ัว ค้าขาย เกษตรกร แม่บา้ น Other
ความถี� 139 10 166 103 132 41 105 51
อาชีพของผู้ปกครอง 7%
14%
5%
19%
รับราชการ
1% 22%
18%
ร้อยละ 19% 1% 22% 14% 18% 5% 14% 7%
พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน ธุรกิจส่วนตัว ค้ าขาย เกษตรกร
14%
แม่บ้าน อื�นๆ
ึ ษาของผูป ระด ับการศก ้ กครอง ึ ษา ระด ับการศก ตํา � กว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี
3%
ความถี� 452 274 21
ร้อยละ 61% 37% 3%
ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ตํ�ากว่าปริ ญญาตรี
37% 60%
ปริ ญญาตรี สูงกว่าปริ ญญาตรี
๕๒
ตอนที่ ๒: ผลการสํ ารวจความพึงพอใจในการจัดการศึกษาในด้ านต่ างๆ ความพึงพอใจในด้ าน
ค่ าเฉลี่ย (เต็ม ๑๐)
•
อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
๘.๐๑
•
คุณภาพการจัดการศึกษา
๘.๖๓
•
คุณภาพของครู
๙.๐๕
•
คุณภาพการให้บริ การ
๘.๖๔
•
การติดต่อสื่ อสารและประชาสัมพันธ์
๘.๘๑
•
ภาพลักษณ์ของโรงเรี ยน
๙.๐๑
ความพึงพอใจทีม่ ีต่อโรงเรียนใน ภาพรวม
๘.๙๔
•
๕๓
รายงานผลการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับประถมปี ที่ ๓ ปี การศึกษา ๒๕๕๒
๕๔
รายงานผลการสอบระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับประถมปี ที่ ๖ ปี การศึกษา ๒๕๕๒
๕๕
๕๖
๕๗
๕๘
๕๙
๖๐
๖๑
๖๒
คณะผู้เขียนรายงาน ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
ลงชื่อ
(นางดวงสิ ริ
(นายธีรภัทร
กุโลภาส)
กุโลภาส)
(นางสาวดิษยา กุโลภาส)
(นางสาวปราณี วรสุทธิ์พศิ าล)
(นางสายชล
พรหมดํา)
(นางสาวพิกลุ สุขวิสุทธิ์ )
(นางสมพร
เปรมจิตต์)
(นางฉันทนา )
(นางสุพนิ เต็มปรี ชา)
(นางอําพัน )
(นางสาวนํ้าผึ้ง รักชื่น)
ผูร้ ับใบอนุญาตโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
ผูจ้ ดั การโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
รองผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนดุสิตวิทยา
ผูช้ ่วยฝ่ ายวิชาการ
ผูช้ ่วยฝ่ ายบริ การและฝ่ ายอนุบาล
ผูช้ ่วยฝ่ ายสัมพันธ์ชุมชน
ครู ประจําระดับประถมศึกษาปี ที่ ๑
ครู ประจําระดับประถมศึกษาปี ที่ ๒
ครู ประจําระดับประถมศึกษาปี ที่ ๔
หัวหน้าครู บรรณารักษ์
๖๓