ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ม หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
กอล์ฟการกุศล เพื่อหารายได้สมทบ
กองทุนหมอเจ้าฟ้า 6แพทย์ มช.
ทุ่มรักษามะเร็ง
นำ�เข้าเครื่องฉายรังสีเอกซ์นำ�วิถี เครื่องแรกในไทย
14-15 ความเชื่อ ทางการแพทย์ ที่ล้าสมัย
17 ลาบปลา
เชียงแสน
ธารนํ้าใจมอบให้สวนดอก / 3 สารจากคณบดี / 7 แพทย์ มช. ฝึกอบรมที่ Stanford / 10-11 การแข่งขันกอล์ฟการกุศล เพื่อหารายได้สมทบ “กองทุนหมอเจ้าฟ้า” / 13 ศรีพัฒน์อาสาพัฒนาสังคม / 16 GOOD DEATH การตายที่ดีคืออย่างไร… / 18 7 วิธีถนอมพลังงานแบตเตอรี่โน้ตบุ๊ก / 19-21 กิจกรรมคณะฯ / 22 Meeting รุ่น 10 / 23 ผ่าฝี…นี่ยากไหม? 2
ธ า ร น้ ำ� ใ จ ม อ บ ใ ห้ ส ว น ด อ ก
01– คุ ณ กิ ต ติ
เย็ น ภิ ญ โญ มอบเงิ น บริ จ าคจำ � นวน 1 ล้ า นบาท สมทบทุ น มู ล นิ ธิ โรงพยาบาลสวนดอก คณะ แพทยศาสตร์ มช. เพื่อจัดซื้อ ครุ ภั ณ ฑ์ ก ารแพทย์ อ าคาร ศูนย์ความเป็นเลิศ 80 พรรษา มหาราชา โดยมี รศ.พญ.ยุพา สุมิตสวรรค์ ที่ปรึกษาผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ ค ณะแพทยศาสตร์ มช. และ รศ.นพ.วั ฒ นา นาวาเจริ ญ ผู้ อำ � นวยการ โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ รับมอบเมื่อวัน ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้อง รั บ รองงานประชาสั ม พั น ธ์ อาคารเฉลิมพระบารมี คณะ แพทยศาสตร์ มช.
01
02
03
02– พระอุ บ าลี คุ ณู ป มาจารย์
เจ้ า อาวาสวั ด ศรี โ คมคำ � (พระเจ้าตนหลวง) อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา มอบเงินบริจาค จำ�นวน 20,000 บาท สมทบทุนมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพื่อนิธิสงฆ์อาพาธ โดยมี รศ.นพ. พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล เลขานุการมูลนิธิโรงพยาบาล สวนดอก รับมอบเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 ณ อาคาร เฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. 04
03–คุณอรทัย เชิดชูธรรม ผู้แทนคุณพยงค์ แซ่ลี้ บริจาคเครื่องอัดอากาศขณะหายใจเข้า พร้อมทั้งอุปกรณ์จำ�นวน 1 ชุด มูลค่า 185,000 บาท ให้แก่หอผู้ป่วย ICU โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี รศ.นพ.ชัยวัฒน์ บำ�รุงกิจ รองผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ รับมอบเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2555 ณ หอผู้ป่วย ICU ชั้น 5 อาคารเฉลิม พระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช. 04–ร้านอาหารไวท์เฮ้าส์
โดยผู้จัดการ พนักงาน และลูกค้า ร่วมบริจาคเงินจำ�นวน 25,000 บาท สมทบทุนมูลนิธโิ รงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. เพือ่ นิธสิ งฆ์อาพาธ โดยมี เจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ รับมอบเมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ณ หน่วย พิธีการสงฆ์ อาคารสุจิตโต คณะแพทยศาสตร์ มช. 2
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ธ า ร น้ ำ� ใ จ ม อ บ ใ ห้ ส ว น ด อ ก
สารจากคณบดี
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นิเวศน์นันทจิต 05
05–ร.ต.ยงยุทธ-อาจารย์ชด ิ ชนก น้อยเจริญ บริจาคเครือ่ งให้การรักษาด้วย
ความเย็นที่หัวไหล่ มูลค่า 14,000 บาท ให้แก่หอผู้ป่วยพิเศษ 9 โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา รองผู้อำ�นวยการ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ รับมอบเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ หอผู้ป่วยพิเศษ 9 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช.
06
นช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี คณะแพทยศาสตร์จะจัดการ แข่งขันกอล์ฟการกุศลชิงถ้วย พระราชทานสมเด็ จ พระเจ้ า พี่ นางเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่ อ หารายได้ ส มทบ “กองทุ น หมอเจ้าฟ้า” สนับสนุนการศึกษา แก่ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ พยาบาล ทั น ตแพทย์ เภสั ช เทคนิ ค การแพทย์ และสั ต วแพทย์ ทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ โดยกำ�หนด จัดการแข่งขันในวันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม 2555 ณ สนามกอล์ฟ The Royal Chiang Mai Golf Resort อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ ซึ่ ง เป็ น ห้ ว งเวลาเดี ย วกั น กั บ กิ จ กรรมของนั ก ศึ ก ษาแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และ 5 จำ�นวน 500 คน ที่จะต้องทำ�การสอบเพื่อประเมิน ความรู้ ค วามสามารถในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ขัน้ ตอน ที่ 1, 2 ในวั น ที่ 10 และ 11 มีนาคม 2555 ณ ชั้น 2, 3, 4 อาคารราชนคริ น ทร์ ส่ ว นอี ก กิ จ ก ร ร ม ห นึ่ ง ซึ่ งไ ด้ จั ด เ ป็ น งานใหญ่มาทุกปีเช่นเดียวกันคือ
การจั ด พิ ธี ทำ � บุ ญ อุ ทิ ศ ส่ ว นกุ ศ ล และพิ ธี พ ระราชทานเพลิ ง ศพ อาจารย์ ใ หญ่ ผู้ ซึ่ ง อุ ทิ ศ ร่ า งกาย ให้ เ ป็ น วิ ท ยาทานแก่ ก ารศึ ก ษา เล่ า เรี ย นทางด้ า นกายวิ ภ าค ของบรรดานักศึกษาแพทย์และ นั ก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ สุขภาพ และเช่นกันในปีนี้ ระหว่าง วันที่ 2-4 มีนาคม 2555 ก็จะได้ จัดพิธีทำ�บุญดังกล่าว ณ ภาควิชา กายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ และวัดลัฏฐิวนั (พระนอนขอนตาล ศักดิ์สิทธิ์) อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ซึ่ ง ทุ ก ค รั้ ง จ ะ มี ญ า ติ ผู้ ป่ ว ย มาร่วมงานจำ�นวนมากประมาณ 2,000-3,000 คน
จะเห็นได้ว่าเดือนมีนาคมนี้ เป็นช่วงเวลาการทำ�งานหนัก ของพวกเรา ซึ่งผมต้อง ขอขอบคุ ณ อย่ า งจริ ง ใจ สำ � ห รั บ ก า ร ทุ่ ม เ ท ข อ ง พวกเราชาวสวนดอก ให้กบั การทำ�งานเพื่อให้กิจกรรม ทุ ก อ ย่ า ง สำ � เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง อย่างดีเยี่ยม…
06–พลตำ�รวจตรีประเสริฐ-คุณพรรณธิดา
จันทราพิพัฒน์ มอบเงินบริจาค จำ�นวน 160, 000 บาท เพื่อปรับปรุงห้องผู้ป่วยห้อง 1405 และห้องนํ้า พร้อมทั้งเฟอร์นิเจอร์ใหม่ทั้งหมด ให้แก่หอผู้ป่วยพิเศษ 1 โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ โดยมี ผศ.นพ.โอฬาร อาภรณ์ชยานนท์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มช. รับมอบเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 ณ กรีนมาร์เก็ต อ.เมือง จ.เชียงใหม่
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นิเวศน์นันทจิต คณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะผู้จัดทำ�ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิสัยทัศน์
ท ี่ปรึกษา:คณบดีคณะแพทยศาสตร์• ผ ู้บริหารคณะแพทยศาสตร์สายวิชาการและปฏิบัตงิ าน บรรณาธิการบริหาร:ผศ.นพ.โอฬาร อาภรณ์ชยานนท์บรรณาธิการ:ร ศ.ด ร.น มิ ติ รมรกตกองบรรณาธิการ:ร ศ.พญ.ยพุ าส มุ ติ ส วรรค์ •รศ.น พ.คมสุค นธสรรพ์•อ.นพ.ศิวัฒม์ภู่ริยะพันธ์•อ.พญ.วรลักษณ์สัปจาตุระ•อ.นพ.สมศักษิ์วงษ์ไวยเวช •ประธานองค์กรแพทย์•หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล•หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม•เลขานุการสำ�นักงานคณะแพทยศาสตร์ •หัวหน้างานบริหารทั่วไป•หัวหน้างานบริการการศึกษา•หัวหน้างานนโยบายและแผน •หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา•หัวหน้างานบริหารงานวิจัย•หัวหน้างานโภชนาการ •หัวหน้างานเลขานุการโรงพยาบาล•หัวหน้างานประกันสังคมฝ่ายจัดการ:หัวหน้างานประชาสัมพันธ์แ ละคณะ ส่งข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะได้ที่:www.med.cmu.ac.th/pr/news หรือE-mail:prmedcm@hotmail.co.th
คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เป็นส ถาบันทางการแพทย์ชั้นน ำ�ระดับมาตรฐานสากล
พันธกิจ
ผ ลิตบ ัณฑิตที่มคี ุณภาพคุณธรรมเป็นสากล สร้างสรรค์งานวิจัยเพื่อชี้นำ�ด้านสุขภาพ ให้บริการที่ได้มาตรฐานทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
3
ข่ า ว น่ า รู้ จ า ก ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ฯ
สาระจากการประชุม คณะกรรมการบริหาร ประจำ�คณะแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 1/2555 วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม 2555 โครงการพั ฒ นาการศึ ก ษา สำ�หรับวิชาชีพสุขภาพในศตวรรษ ที่ 21 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.วิจารณ์ พานิช ได้เคยนำ�เสนอ โครงการพัฒนาการศึกษาสำ�หรับ วิชาชีพสุขภาพในศตวรรษที่ 21 เมื่ อ คราวประชุ ม วิ ช าการแพทย ศาสตรศึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย ครั้งที่ 12 ในหัวข้อ “การวัดและ ประเมิ น ความรู้ ค วามสามารถ ทางการแพทย์ : จากทฤษฎีสู่การ ปฏิ บั ติ ” เมื่ อ วั น ที่ 12 ตุ ล าคม 2554 ณ อาคารศรี ส วริ น ทรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ใจความว่า ในศตวรรษหน้า จะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงการเรี ย น การสอน จาก Problem-based เป็น System based ด้านระบบการ ศึกษากับระบบบริการสุขภาพต้อง ศึกษาควบคู่กันไปโดยใช้ศาสตร์ หลายสาขาวิ ช ามาจั ด การระบบ ในปัจจุบนั การเรียนโดยเรียนร่วมกัน ในระดับอนุบาล ถึงมัธยมศึกษา แยกกั น ในระดั บ การศึ ก ษาสาย วิชาชีพ ในอนาคตได้เสนอให้มีการ เรียนร่วมกันในแต่ละสาขาในระดับ มหาวิทยาลัย รวมทัง้ นอกจากความ เป็น Experts Professionals แล้ว บัณฑิตรุ่นใหม่ควรจะมีความเป็น Change agents ด้วย โครงการ พัฒนาการศึกษาฯ นี้ได้รับทุนจาก สำ � นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการ ดำ�เนินการตามโครงการระยะเวลา 3 ปี ผูท้ รี่ บั ผิดชอบหลัก คือ คณบดี 4
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชวิ ท ยาลั ย อายุ ร แพทย์ แ ห่ ง ขอนแก่น ประเทศไทย มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ รศ.พญ.บุญสม ชัยมงคล ภาควิชา รางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อายุรศาสตร์ เป็น “อายุรแพทย์ “ช้างทองคำ�” ประจำ�ปีการศึกษา ดี เ ด่ น ด้ า นครู แ พทย์ ประจำ � ปี 2554 • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พุทธศักราช 2555” รางวัลดังกล่าว ได้ จั ด งานวั น คล้ า ยวั น สถาปนา จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น การประกาศ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เมื่ อ วั น เ กี ย ร ติ คุ ณ แ ด่ อ า ยุ ร แ พ ท ย์ อังคารที่ 24 มกราคม 2555 โดยมี ผู้ประกอบวิชาชีพด้านอายุรกรรม การมอบรางวั ล “ช้ า งทองคำ � ” อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยความมุ่ ง มั่ น ประจำ�ปี 2554 พิธีมอบประกาศ เสียสละและประกอบคุณงามความดี เกี ย รติ คุ ณ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ พระบรม มีความดีเด่นด้านจริยธรรม เพื่อ ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นแบบอย่างสำ�หรับผู้ประกอบ ให้ ดำ �รงตำ � แหน่ ง ศาสตราจารย์ วิชาชีพด้านอายุรกรรมท่านอื่นๆ ในปีการศึกษา 2554 และมอบ กิ ต ติ บั ต รผู้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย รางวัลนักศึกษามหาวิทยาลัย ทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งครบวาระ • ในส่วน เชียงใหม่ยอดเยีย่ ม คณะกรรมการ ของคณะแพทยศาสตร์ มีผู้ได้รับ คัดเลือกจากคณะต่างๆ จำ�นวน การคั ด เลื อ กเพื่ อ เข้ า รั บ รางวั ล 20 คณะ 1 วิทยาลัย ในส่วนของ “ช้ า งทองคำ � ” ดั ง นี้ อาจารย์ ผู้ คณะแพทยศาสตร์ นายสรวิ ศ ที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ในการพั ฒ นา บุญญฐี นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 คุณธรรม จริยธรรมแก่นักศึกษา ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัล คื อ อ.นพ.รั ง สฤษฎ์ กาญจนะ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ วณิ ช ย์ , นั ก วิ จั ย ดี เ ด่ น สาขา ดีมาก ประจำ�ปี 2554 วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ ศ.นพ. วรวิทย์ เลาห์เรณู, นักวิจัยรุ่นใหม่ ผลการดำ�เนินงานของศูนย์ศรีพฒ ั น์ ดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ศูนย์ศรีพัฒน์ มีผลการดำ�เนินงาน คือ อ.พญ.วรรณวรางค์ วงศ์เจริญ ด้านการเงินสำ�หรับปีงบประมาณ และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านดี เ ด่ น สาขา 2554 ทีด่ เี ยีย่ ม โดยมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ วิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ คื อ นส. ในอัตราที่มากกว่าปีงบประมาณ เตือนใจ ใจชืน้ • พิธมี อบโล่ประกาศ 2553 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายตาม เกียรติคุณ “ศาสตราจารย์” ในปี ยุทธศาสตร์ที่คาดหวังให้เพิ่มขึ้น การศึ ก ษา 2553 มี ค ณาจารย์ ร้อยละ 10 ต่อปี อัตราค่าใช้จ่าย คณะแพทยศาสตร์ได้รับพระบรม การขายและการบริการต่อรายได้ ราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้ มีอัตราที่ลดลงคิดเป็น 14% จาก ดำ�รงตำ�แหน่งศาสตราจารย์ ระดับ ปี 2553 บรรลุเป้าหมายที่คาดหวัง 10 จำ�นวน 1 ท่าน คือ ศ.นพ. ให้มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ธีรชัย อภิวรรธกกุล ศ.ระดับ 11 รวมทั้ ง แสดงผลการดำ � เนิ น งาน คือ ศ.นพ.ธานินทร์ ภู่พัฒน์ และ ในด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ ด้ า นการ ศาสตราจารย์ (เชี่ยวชาญพิเศษ) บริหารงาน และภาวะผู้นำ� ด้านผู้ คือ ศ.น.สพ.ดร.นิวตั น์ มณีกาญจน์ รับบริการ ด้านการดำ�เนินงานภายใน และการพัฒนาคุณ ภาพ รวมถึง อายุรแพทย์ดีเด่นด้านครูแพทย์ ด้านการเรียนรู้และพัฒนา
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
งานการาจเซล การจั ด งาน การาจเซล โครงการ “คนสวนดอก ปันนํ้าใจให้กองทุนพัฒนาคณะฯ” เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554 มีเงิน รายได้จากการจัดงานรวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 257,926 บาท ได้รับความ ร่ ว มมื อ จากภาควิ ช า/หน่ ว ยงาน ร่ ว มบริ จ าคสิ่ ง ของเพื่ อ จำ � หน่ า ย ในงานครั้งนี้ ในงานดังกล่าวมีผู้ ลงทะเบียนร่วมงานจำ�นวน 292 คน และผู้ที่ไม่ได้ลงทะเบียนอีกจำ�นวน หนึ่ ง มี สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ บริ จ าคมา จำ�หน่ายจำ�นวนทั้งสิ้น 1,812 ชิ้น มีสนิ ค้าทีจ่ �ำ หน่ายไม่หมด แยกเป็น 2 กลุ่ ม กลุ่ ม แรกจะเก็ บ ไว้ เ พื่ อ จำ�หน่ายในโอกาสต่อไป กลุม่ ทีส่ อง ที่จะนำ�ไปบริจาคให้กับหน่วยงาน อื่นๆ เพื่อเป็นสาธารณกุศล การจัดสรรทุนกองทุนพัฒนา คณะ สรุ ป การจั ด สรรเงิ น ทุ น กองทุ น พั ฒ นาคณะฯ ประจำ � ปี 2554 จำ�นวน 80 ทุน รวมเงินทัง้ สิน้ 15,016,538 บาท นิทรรศการอาเซียน ห้องสมุด ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ ไ ด้ จั ด นิทรรศการอาเซียน ตั้งแต่วัน ที่ 9 มกราคม - 9 เมษายน 2555 การแสดงนิทรรศการประกอบด้วย ประวั ติ แ ละความร่ ว มมื อ ของ ประเทศในอาเซียนกับความร่วมมือ ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์ สิง่ ที่ จัดแสดงเพิม่ เติม ได้แก่นทิ รรศการ หนังสือทีน่ า่ สนใจของกลุม่ ประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย นที่ มี ใ ห้ บ ริ ก ารใน ห้องสมุด วีดิทัศน์เกี่ยวกับอาเซียน ผลการจั ด สรรทุ น กองทุ น พัฒนาบุคลากร • อ.พญ.ลินดา หรรษภิญโญ ภาควิชาจักษุวิทยา ได้รบั ทุนฝึกอบรมสาขาวิชา Neuro ophthalmology & glaucoma
ข่ า ว น่ า รู้ จ า ก ที่ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ฯ
ณ The Chinese University of Hong Kong ประเทศฮ่ อ งกง เป็นเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2555 เป็นต้นไป • อ.นพ. อภิชาติ ตันตระวรศิลป์, อ.นพ. ธนัฐ วานิยะพงศ์, อ. พญ.จิราภรณ์ โกรานา ภาควิชาศัลยศาสตร์ ได้รบั ทุนศึกษาต่อ ระดับปริญญาเอก หลักสูตรระบาดวิทยาคลินิก ณ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ เป็นเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่ ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป พนักงานมหาวิทยาลัยฝึกอบรม • นส.นิตยา ว่องกลกิจศิลปะ และ นส.วาริณี เงินขาว สังกัดงานการ พยาบาลผู้ป่วยอายุรศาสตร์ และ ศัลยศาสตร์ ไปฝึกอบรมหลักสูตร การพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการ พยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด ณ สถาบันโรคทรวงอก จังหวัด นนทบุรี โดยใช้ทนุ จากงบประมาณ สำ � นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพ แห่งชาติ มีกำ�หนด 3 เดือน 20 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2555 - 25 พฤษภาคม 2555 • นางวันวิสาข์ แท่นมณี สังกัดงานการพยาบาล ผู้ ป่ ว ยทั่ วไป จิ ต เวช จั ก ษุ โสต นาสิก ลาริงซ์ และ นส.นํ้าทิพย์ ทองคำ� สั ง กั ด งานการพยาบาล ผู้ ป่ ว ยผ่ า ตั ด และพั ก ฟื้ น และ
หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง ไปฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รพยาบาล เฉพาะทาง สาขาการพยาบาลเวช ปฏิบตั ทิ างตา ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์ จั ก ษุ ส าธารณสุ ข โรงพยาบาล มหาราชนครราชสีมา มีกำ�หนด 3 เดือน 22 วัน ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม – 6 พฤษภาคม 2555 • นายสมาคม บุญยงค์ สังกัดงาน การพยาบาลผู้ป่วยอายุ รศาสตร์ • นางเยาวเรศ ตาอินทร์ สังกัด งานการพยาบาลผู้ ป่ ว ยทั่ ว ไป จิตเวช และจักษุ โสต นาสิก ลาริงซ์ • นางทิพารัตน์ สูงปานเขา สังกัด งานการพยาบาลผู้ ป่ ว ยพิ เ ศษ • นส.จันทร์จริ า อยูย่ า่ นยาว สังกัด งานการพยาบาลผู้ ป่ ว ยทั่ วไปจิ ต เวชฯ และนางยศวันต์ รอดอารีย์ สังกัดงานการพยาบาลผูป้ ว่ ยกุมาร เวชศาสตร์ ไปฝึกอบรมหลักสูตร การพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการ พยาบาลผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ณ คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ด้วยทุนส่วนตัว มีกำ�หนด 3 เดือน 10 วัน ตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ - 25 พฤษภาคม 2555 อาคารจอดรถยนต์ อาคารจอดรถ ขนาด 9 ชัน้ สร้างบนพืน้ ทีป่ ระมาณ 32,576 ตร.ม. ได้ด�ำ เนินการเปิดซอง เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2555 บริษัท
ที่ชนะการประกวดราคาคือ บริษัท เชียงใหม่ ริมดอย จำ�กัด วงเงิน ก่ อ สร้ า ง 267,700,000 บาท เริ่มดำ�เนินการก่อสร้างตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป อาคารศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ อาคารศู น ย์ เ วชศาสตร์ ผู้ สู ง อายุ ขนาด 7 ชั้น สร้างบนพื้นที่ 9,000 ตร.ม. ได้ดำ�เนินการเปิดซองเมื่อ วันที่ 19 มกราคม 2555 บริษัท ที่ชนะการประกวดราคาคือ บริษัท วี สถาปัตย์ จำ�กัด วงเงิน 200 ล้าน บาท เริ่มดำ�เนินการก่อสร้าง ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2555 การเพิ่ ม ค่ า ครองชี พ ชั่ ว คราว ของข้าราชการ และลูกจ้าง ตาม ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การเบิกจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพ ชัว่ คราวของข้าราชการ และลูกจ้าง ประจำ�ของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555 ได้ประกาศในราชกิจ จานุเบกษา ลงวันที่ 13 มกราคม 2555 ให้มผี ลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป มีสาระสำ�คัญ ดังนี้ • ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ� และลูกจ้างชั่วคราว ที่บรรจุหรือ แต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งที่กำ�หนด คุณสมบัติเฉพาะตำ�แหน่งต้องใช้ ผูส้ �ำ เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ขึ้ น ไป ที่ มี อั ต ราเงิ น เดื อ นหรื อ
อัตราค่าจ้างไม่ถึงเดือนละ 15,000 บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพ ชัว่ คราวจำ�นวนหนึง่ แต่เมือ่ รวมกับ เงิ น เดื อ นหรื อ ค่ า จ้ า งแล้ ว ต้ อ ง ไม่ เ กิ น เดื อ นละ 15,000 บาท • ข้าราชการ และลูกจ้างประจำ� ที่มีวุฒิตํ่ากว่าปริญญาตรี ที่ค่าจ้าง ไม่ ถึ ง เดื อ นละ 12,285 บาท ให้ ไ ด้ รั บ เงิ น เพิ่ ม ค่ า ครองชี พ ชัว่ คราวจำ�นวนเดือนละ 1,500 บาท แต่เ มื่อรวมเงินเดือนหรือค่าจ้าง แล้วต้องไม่เกินเดือนละ 12,185 บาท • กรณี ลู ก จ้ า งชั่ ว คราว (เงิ น แผ่นดิน) ที่มีวุฒิตํ่ากว่าปริญญา ตรี ที่มีอัตราเงินเดือนหรืออัตรา ค่าจ้างไม่ถึงเดือนละ 9,000 บาท ให้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว เพิ่ ม ขึ้ น อี ก จำ � นวนหนึ่ ง ให้ ถึ ง เดือนละ 9,000 บาท ส่วนของ รายละเอียด ส่วนราชการจะต้อง ทำ�ความตกลงกับกรมบัญชีกลาง และคลังจังหวัด ในส่วนของคณะฯ จะมีนอก เหนื อ จากข้ า งต้ น คื อ พนั ก งาน มหาวิทยาลัยประจำ� (เงินแผ่นดิน) พนั ก งานประจำ � และพนั ก งาน ชั่ ว คราว (เงิ น รายได้ ค ณะฯ) ทั้ ง นี้ จะต้ อ งรอแนวปฏิ บั ติ จ าก มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ หากมี แนวปฏิบัติที่ชัดเจนจะได้ประกาศ ให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ ต่อไป
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอเชิญร่วมบริจาคสมทบทุน “มูลนิธโิ รงพยาบาลสวนดอก”
เพื่อจัดซื้อครุภณ ั ฑ์ทางการแพทย์ สำ�หรับหอผูป้ ว่ ยหนัก (ห้อง ไอ ซี ยู) อาคารเฉลิมพระบารมี
สอบถามรายละเอียดได้ที่หมายเลข โทรศัพท์ 0 5394 7400, 0 5394 5672 โทรสาร 0 5394 7888 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
5
ข่ า ว พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ
แพทย์ มช. ทุ่มรักษามะเร็ง
นำ�เข้าเครื่องฉายรังสีเอกซ์นำ�วิถี
เครื่องแรกในไทย น่ ว ยรั ง สี รั ก ษา และมะเร็งวิทยา คณะแพทย ศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ ซึง่ เป็นศูนย์ความ เป็นเลิศทางการแพทย์ด้าน โรคมะเร็ง มีความก้าวหน้า ท า ง ก ารใ ห้ ก าร รั ก ษ า โรคมะเร็ ง โดยการนำ � เข้ า เครื่ อ งฉายรั ง สี ที่ เ ป็ น นวัตกรรมใหม่ เครื่องแรก ของประเทศไทย เรียกว่า “เครื่ อ งฉายรั ง สี เ อกซ์ นำ�วิถี” (Image guided Radiation Therapy) มูลค่ากว่า 160 ล้านบาท “เครื่อ งฉายรั ง สี เอกซ์ นำ�วิถี” (Image guided 6
Radiation Therapy) เป็ น เครื่ อ งฉายรั ง สี ที่ เ ป็ น นวัตกรรมใหม่ นับว่าเป็น เครื่องแรกในประเทศไทย และเป็ น ประเทศที่ ส อง ในอาเซี ย น โดยปั จ จุ บั น ถือว่าเป็นเครื่องฉายรังสีที่ ทันสมัยที่สุด โดยสามารถ แก้ขอ้ จำ�กัดในการใช้เครือ่ ง ฉายรั ง สี แ บบเดิ ม ที่ ไ ม่ สามารถฉายรั ง สี ใ ห้ โ ดน เฉพาะส่ ว นของเนื้ อ ร้ า ย หรื อ รอยโรคเท่ า นั้ น ได้ เพราะพื้ น ที่ รั ง สี ป กติ จ ะมี ความกว้างมากกว่ารอยโรค ทำ � ให้ อ วั ย วะปกติ ที่ อ ยู่ บริเวณใกล้เคียงได้รับรังสี ไปด้ ว ย ก่ อให้ เ กิ ด ภาวะ
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แทรกซ้ อ น อี ก ทั้ ง ในข้ อ จำ�กัดนี้ทำ�ให้ไม่สามารถให้ ปริ ม าณรั ง สี ที่ สู ง พอที่ จ ะ ทำ�ลายเซลล์มะเร็งทั้งหมด ได้ โดยจากการศึกษาวิจัย พบว่าเครื่องฉายรังสีเอกซ์ นำ � วิ ถี นี้ สามารถให้ ผ ล การรั ก ษาโรคมะเร็ ง ที่ มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผ ศ . ด ร . ส ม ศั ก ดิ์ วรรณวิ ไ ลรั ต น์ อาจารย์ ประจำ�ภาควิชารังสีวิทยา หน่วยรังสีรักษาและมะเร็ง วิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ กล่าวว่า “เครื่องฉายรังสี เอกซ์นำ�วิถี ได้มีการปรับ ระบบ และเทคนิคในการ ฉายรังสี ให้สามารถปรับ ความเข้ ม (IMRT) ได้ และมีระบบการใช้ภาพนำ� การฉายรั ง สี (IGRT) มี โปรแกรมบอกความคลาด เคลื่ อ นของตำ � แหน่ ง การ ฉายรั ง สี ทำ � ให้ ก ารฉาย รังสีมคี วามแม่นยำ� ปริมาณ รังสีสูงเข้ารูป ครอบคลุม รอยโรค และหลี ก เลี่ ย ง อวัยวะปกติ เพิม่ โอกาสหาย จากโรคมะเร็งให้แก่ผู้ป่วย
นอกจากนี้การฉายรังสีบาง เทคนิค เช่น เทคนิคการ ฉายรังสีทงั้ ตัว สำ�หรับผูป้ ว่ ย มะเร็ ง เม็ ด เลื อ ดขาวที่ จำ�เป็นต้องใช้เทคนิคการ ฉายรังสีแบบเกลียวหมุนที่ มี ใ นเครื่ อ งฉายรั ง สี เ อกซ์ นำ�วิถี เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ในการรักษาให้มากขึ้น” ซึง่ “เครือ่ งฉายรังสีเอกซ์ นำ�วิถี” (Image guided Radiation Therapy) จะ นำ�เข้ามาติดตั้งที่ภาควิชา รังสีวิทยา หน่วยรังสีรักษา และมะเร็ ง วิ ท ยา คณะ แพทยศาสตร์มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ภายในวันที่ 28 มกราคม ปี 2555 และ คาดว่ า จะสามารถเริ่ ม ให้ บริการการรักษาแก่ผู้ป่วย ภายในเดือนเมษายน 2555 เป็นต้นไป
วิ ช า ก า ร วิ จั ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์
แพทย์ มช.ฝึกอบรมที่
Stanford าจารย์ แพทย์หญิง ชลธิชา ศรีวานิชภูมิ สั ง กั ด ภาควิ ช าโสต ศอ นาสิ ก วิ ท ยา ได้ ไ ปฝึ ก อบรมสาขาวิชา Head and Neck Surgery ณ Stanford University, California ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทุน กองทุ น พั ฒ นาคณะฯ เป็ น เวลา 1 ปี ตัง้ แต่เดือนมีนาคม 2553 ได้กลับมาปฏิบัติงาน เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554 ดังนี้ การไปฝึกอบรมครัง้ นี้ อยูใ่ น ความดู แ ลของ Professor Willard E. Fee, Jr., M.D. ซึง่ เป็น Clinical instructorship director of Head & Neck Oncology Program Stanford University แบ่ ง Zone เป็ น เขตของ ม ห า วิ ท ย า ลั ย กั บ ข อ ง โรงพยาบาล ในส่วนของ ENT จะแบ่งเป็นหน่วยย่อยๆ เช่น Head and neck oncology surgery, sinus and skull base surgery, otology, facial plastic and reconstructive surgery เป็นต้น ส่ ว นผู้ ป่ ว ยเด็ ก จะแยกเป็ น อี กโรงพยาบาล แต่ อ ยู่ ใ น รั้ ว เดี ย วของ Stanford Hospital นอกจากนั้ น มี Cancer Center เป็ น Excellent center ซึ่งจะมี แพทย์ เ ฉพาะทางทุ ก สาขา ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง ทัง้ หมด จุดเด่นคือ มี Tumor
Board Meeting เพื่อร่วม กันวางแผนการรักษาผู้ป่วย มะเร็ ง บริ เ วณศี ร ษะ และ คอของแพทย์ ทุ ก สาขาที่ เกี่ยวข้อง มี Grand round ทุ ก สั ป ดาห์ ซึ่ ง เป็ น การ บรรยายหัวข้อที่เป็น ที่สนใจ โ ด ย ผู้ บ ร ร ย า ย ที่ มี ประสบการณ์ จากสถาบัน ที่มีชื่อเสียง ในส่วนของ Stanford Main Hospital มีการผ่าตัด ที่ น่ า สนใจเกี่ ย วกั บ Head & Neck Cancer, Tumor ablation and reconstruction part, Intra-operative Radiotherapy, Robotic surgery และ Endoscopic surgery นอกจากนี้ ไ ด้ มี โอกาสเข้ าร่ วม Hand-on course : Symposium in reconstructive surgery (microvascular free flap reconstruction) ณ Mayo Clinic โดยที ม ผู้ บ รรยาย เป็นกลุ่มศัลยแพทย์ตกแต่ง จากอเมริ ก า และไต้ ห วั น รวมทั้งได้นำ�เสนอโปสเตอร์ ในงาน AAO-HNSF Annual Meeting & Oto Expo 2010, Boston, MA Stanford university เป็นมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ ใน เมืองเล็กๆ ชื่อ Palo Alto การเดินทางค่อนข้างสะดวก เนือ่ งจากจะมีรถรับส่งภายใน มหาวิทยาลัย กับจุดทีส่ �ำ คัญๆ ภายในเมื อ งหลายเส้ น ทาง
นอกจากมหาวิ ท ยาลั ย นี้ มี ชือ่ เสียงทางด้านวิชาการแล้ว ยั ง มี ก ารส่ ง เสริ ม ด้ า นกี ฬ า มี ก ารจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า หลายชนิด ซึง่ เป็นทีส่ นใจเป็น อย่ า งมาก สภาพแวดล้ อ ม โดยทั่วไป สะอาด ปลอดภัย และ น่ า อยู่ ผู้ ค นในเมื อ ง อัธยาศัยดี จากการไปฝึกอบรมครัง้ นี้ มี แ ผนการพั ฒ นาความรู้ ทั้ ง ภาคทฤษฎี และปฏิ บั ติ ในด้านต่าง ๆ 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการบริการผู้ป่วย โดยเพิ่มเติม reconstructive
subunit เป็น ส่วนหนึ่งของ Head and Neck surgery & Oncology unit ที่ทางภาค วิชาฯ มีอยูแ่ ล้ว เป้าหมายเพือ่ ครอบคลุมการดูแลผู้ป่วยให้ ครบถ้วนมากขึ้น ทั้งในด้าน การรักษา และซ่อมแซม และ นอกเหนือจากผู้ป่วยมะเร็ง ที่ ไ ด้ รั บ การผ่ า ตั ด ซ่ อ มแซม แล้ว การดูแลผู้ป่วยร่วมกับ หน่ ว ยอื่ น ๆ ในด้ า นการ ฟื้ น ฟู จ ะเป็ น อี ก ส่ ว นที่ เ ป็ น ประโยชน์เช่นกัน 2. ด้านการเรียนการสอน เนื่ อ งจากทางภาควิ ช าฯ
มีโครงการเปิดการฝึกอบรม ต่อยอดในด้าน ศัลยกรรม ศีรษะ และคอ และมะเร็ง วิทยา ดังนั้นความรู้ที่ได้จาก การฝึ ก อบรมจึ ง เป็ น ส่ ว นที่ สามารถนำ � มาประยุ ก ต์ ใ ช้ เพื่ อให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ผเู้ รียน จะมีการปรับเปลีย่ น รู ป แบบการเรี ย นการสอน บางส่วน โดยเน้นถึงการมี ส่วนร่วม การแสดงความคิดเห็น การศึกษาด้วยตนเอง และ การนำ � ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ข อง แพทย์ ป ระจำ � บ้ า น โดย อ้ า งอิ ง ตามหลั ก สู ต รตามที่ ราชวิทยาลัยฯ กำ�หนด 3. ด้านวิจัย จะนำ�ความรู้ ที่ได้ทงั้ ด้านทฤษฎี และปฏิบตั ิ รวมทัง้ จากปัญหาทีพ่ บจากการ ดูแล รักษาผูป้ ว่ ย มาเป็นข้อมูล พืน้ ฐาน และเป็นคำ�ถามสำ�หรับ หั ว ข้ อ การวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับโรคทางศัลยกรรมศีรษะ และคอ ต่อไป
ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
7
วิ ช า ก า ร วิ จั ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์
ดาวน์ โ หลด pdf ของ ว า ร ส า ร ต า ม ป ก ติ ก็ ค งไม่ โ ดนจั บ นี่ เ ล่ น เขี ย นโปรแกรมแอบ ดาวน์ โ หลดไปตั้ง 4.8 ล้านเรื่อง ก็เลยโดนจับ นาย Aaron Swartz ศิษย์เก่า Harvard ทำ�งาน ทีฮ่ าร์วาร์ด ผูเ้ ชีย่ วชาญการ เขียนโปรแกรม แอบเข้า wired closet ใต้ถุนอาคาร ของ Massachusetts Institute of Technology ตั้ ง ค อ ม พ์ ต่ อ เ ข้ า กั บ เน็ ต เวิ ร์ ก ตั้ ง ชื่ อ คอมพ์ หลอกๆ ใส่ชื่อเข้าเน็ตแบบ แขกรับเชิญ แล้วโหลดเอา โหลดเอา โดยอาศั ย โปรแกรมทีเ่ ขาเขียนขึน้ เอง หลังจากนัน้ 48 ชัว่ โมง ทาง JSTOR ตรวจจั บ กระแส การโหลดได้ ร่ ว มกั บ มหาวิทยาลัยเพือ่ บล๊อก แต่ นาย Swartz เก่ ง พอตั ว หลบหลีกได้ และทำ � การ โหลดเร็วจน Server ล่ม
แต่ ไ ม่ ไ ด้ เ อาไปขาย เอา ไปปล่ อ ยให้ ส าธารณชน อ่านฟรี MIT จั บ ได้ เ พราะ เจ้าหน้าทีเ่ ห็น laptop วางไว้ ในห้อง แจ้งตำ�รวจ ตำ�รวจ เลยซุ่มวาง webcam ไว้ ที่ห้อง เจอ Swartz สวม หมวกนั ก จั ก รยานเข้ า ไป จึงจับและฟ้องข้อหาบุกรุก สถานที่ JSTOR ได้ ไ ฟล์ คื น
ทั้ ง หมด และลงนามใน สัญญากับ Swartz ว่าเขา จะไม่ นำ � ไปเผยแพร่ แต่ ไม่ฟ้อง แต่รัฐฟ้องเป็นคดี ในศาล โทษอาจถึงจำ�คุก นาน 35 ปี ข้อถกเถียง เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด จุ ด ประกายการถกเถียง ใน พรรคพวก programmer ที่ เ คยทำ � งานกั บ Swartz บอกว่า นีเ้ ป็นความโหดร้าย
ทีมบริหารของโอบามา ขันน๊อตผลประโยชน์ทับซ้อน ทางการเงินในวงการวิทยาศาสตร์
Francis S. Collins ผู้อำ�นวยการ NIH ประกาศแนวปฏิบัติใหม่เพื่อเสริมความมั่นใจ ว่าการวิจัยมีความซื่อตรง แนวปฏิบัติใหม่นี้ตีพิมพ์ใน Federal Register / Vol. 76, No. 165 / Thursday, August 25, 2011หน้า 53256 แนวปฏิบัตินี้ อยู่ใน TITLE 42-PUBLIC HEALTH PART 50-POLICIES OF GENERAL APPLICABILITY นักวิจัย (รวมถึงภรรยาและบุตร) ที่มีเงินรายได้จากบริษัทเอกชน (ไม่นับเงินเดือน และการจ่ายค่าตอบแทนตามประกาศมหาวิทยาลัย) เกิน 5,000 เหรียญ ต่อปี ถือว่ามี significant financial conflict of interest และต้องแจ้งมหาวิทยาลัย ส่วนมหาวิทยาลัย ต้นสังกัดต้องมีนโยบายจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนที่ประกาศไว้บนเว็บไซต์ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่กระทำ�ผิดไปจากแนวปฏิบัติมักไม่ได้รับโทษรุนแรงแต่อย่างใด (จาก Paul Basken. Obama Administration Tightens Rules on Financial Conflicts of Interest in Science. The Chronicle of Higher Education. August 23, 2011) 8
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ของ พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ บ้างก็วา่ มหาวิทยาลัยน่าจะดำ�เนินการ ทางแพ่ ง มากกว่ า ส่ ง เรื่ อ ง ให้อัยการรัฐฟ้อง บ้างก็ว่า นาย Swartz เอาอนาคต ตัวเองไปเสี่ยงแค่ต้องการ ให้มี open access ให้คนอืน่ แต่ มี ค นบอกว่ า Swartz แ ค่ ต้ อ ง ก าร วิ เ ค ร า ะ ห์ โครงสร้างทางวิจัย ไม่ได้มี เจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ JSTOR กล่าวว่า ใคร ก็ตามทีเ่ ข้าช่องในเครือข่าย มหาวิทยาลัยก็ไม่เสียตังค์ แต่ถา้ เข้าโดยเครือข่ายนอก มหาวิ ท ยาลั ย ก็ จ่ า ยตั ง ค์ เท่ า ไรขึ้ น กั บ publisher มี เ รื่ อ งหนึ่ ง ที่ คิ ด ตั ง ค์ 30 เหรียญสหรัฐ บางคนว่า สิ่งที่ Swartz ทำ � เ ตื อ น ใ ห้ จำ � ว่ า มหาวิ ท ยาลั ย ควรเป็ น องค์กรที่เป็น public, notfor-profit institution และ พวกเขาเป็ น หนี้ บุ ญ คุ ณ ประชาชน
คงเถี ย งกั น ไปอี ก นาน เพราะไม่มีของฟรีในโลก! หมายเหตุ: JSTOR (ชื่อ ย่อของ Journal Storage) เป็นระบบ online ในการ เข้ า อ่ า นวารสารวิ ช าการ ก่อตั้ง ค.ศ. 1995 มีสถาบัน ที่ เ ป็ น สมาชิ ก กว่ า 7,000 แห่ง จาก in 159 ประเทศ เป็นองค์กรที่หารายได้พึ่ง ตนเอง (not-for-profit organization) และกำ�ลัง จะควบกับ ITHAKA ซึ่งเป็น องค์ ก รไม่ ห วั ง กำ � ไร (a non-profit organization) เพือ่ อุทศิ ความรูใ้ ห้กบั สังคม (เรื่ อ งและภาพ จาก Michael F. McElroy, Zuma Press, Newscom. Rogue Downloader’s Arrest Could Mark Crossroads for OpenAccess Movement. The Chronicle of Higher Education. July 31, 2011.)
สำ�นักข่าว Academic Press รายงานจากการไป audit ว่ า Dickinson State University ในมลรัฐ นอร์ธดาโกตา ให้ปริญญา แก่ นั ก ศึ ก ษาจี น ผู้ ที่ ไ ม่ ล ง หน่ วยกิต หรือ ลงกระบวน วิ ช า ร่ า งกฏหมาย Federal Research Public Access Act of 2012 เสนอเข้าสภาผู้แทนราษฎร เพื่ อให้ ก ระทรวงที่ ไ ด้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จากรั ฐ เกิ น 100 ล้ า นเหรี ย ญ ต้ อ ง ให้มี electronic access ของบทความวิ จั ย ฟรี แก่
สาธารณะ เป็นที่ฮือฮา กันว่า MIT มาแนวใหม่โดย เปิดหลักสูตร online ฟรี และหลั ง จากสอบแล้ วให้ จ่ายเพียงเล็กน้อยก่อนให้ certificate Science ตี พิ ม พ์ ผ ลการสำ � รวจนั ก วิชาการ 6,600 คน ว่านัก วิชาการกว่าร้อยละ 20 เปิด เผยว่าบรรณาธิการมักขอ แกมขู่ ให้ผู้นิพนธ์ที่ส่งเรื่อง ไปตี พิ ม พ์ ใ ห้ อ้ า งวารสาร ของตัวเอง ทั้งนี้การอ้างก็ เพื่ อ เพิ่ ม impact และ ชื่ อ เ สี ย ง ข อ ง ว า ร ส า ร นักวิชาการกว่า 2,400 คน
วิ ช า ก า ร วิ จั ย วิ เ ท ศ สั ม พั น ธ์
ลงชื่ อ boycott ไม่ ร่ ว ม เป็ น บรรณาธิ ก ารหรื อ อ่ า นบทความให้ ว ารสาร ที่ Elsevier จั ด จำ � หน่ า ย เป็นการประท้วงที่เก็บค่า บริการแพงเกินไป ทั้งๆ ที่ นั ก วิ จั ย ใ ช้ ทุ น รั ฐ บ า ล ผลิตผลงาน ทางสำ�นักพิมพ์ บอกว่า เคยขึน้ ราคา แต่นนั่ เป็นอดีตไปแล้ว และบริษัท ต้องลงทุนกับระบบเยอะ จากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ระดั บ สู ง ของภาคธุ ร กิ จ สรุปได้วา่ อุดมศึกษาฉุดการ เติบโตทางเศรษฐกิจด้วย ปัจจัยหลัก ได้แก่ ค่าใช้จา่ ย ที่ สู ง ขึ้ น คุ ณ ภาพที่ ไม่ แตกต่าง การต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง และการขาด
ความรับผิดรับชอบ สิง่ เหล่านี้ ทำ � ให้ เ กิ ด การขาดแคลน แรงงานคุณภาพในภาคธุรกิจ ประธานาธิบดีโอบามา เสนอเพิ่ ม งบประมาณ ด้ า น basic scientific research ร้อยละ 1.5 ในปี งบประมาณ2556 โดยเน้น ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ ก่ อ ประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ รัฐบาลใช้จา่ ยสำ�หรับ basic research ในปีงบประมาณนี้ 30,200 ล้านเหรียญ และ medical research ผ่าน NIH 30,700 ล้านเหรียญ แต่ NIH ก็ว่าน้อย และเล็ง จะให้ทุนแก่นักวิจัยรุ่นเล็ก ให้มากขึ้น นักวิจัยอาวุโส น้อยลง
ศาสตราจารย์
ลาออก เพราะไม่มี
ทีจ ่ อดรถ คนสวนดอกบ่นเรื่องที่จอดรถไม่พอ แต่ที่แคนาดาหนักพอกัน…
Professor Danford W. Middlemiss ขับรถจากบ้านกว่า 10 ไมล์ มาสอน ที่ Dalhousie University เข้าคิวรอซื้อใบจอดรถ โธ่!…ที่จอดเต็ม ต้องมาวันใหม่ ท่านก็เลยเดินขึ้นตึกไปยื่นใบลาออกหลังจากสอนมานานถึง 31 ปี มหาวิทยาลัยมีที่จอดรถ 2,000 ช่อง แต่มีนักศึกษา 17,000 คน และบุคลากร 3,000 คน (เรื่องและภาพจาก Don Troop, Professor Abandons His Eternal Search for a Parking Space The Chronicle of Higher Education, August 30, 2011)
วันศุกร์ที่ เมษายน ๒๕๕๕ นี้ ขอเชิญชวน…บุคลากร ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน ร่วมพิธีรดนํ้าดำ�หัวอาจารย์และศิษย์เก่าอาวุโส ชมการประกวดแข่งขันลาบเมือง การประกวดจัดขันโตกอาหารพื้นเมือง และประกวดการแต่งกายพื้นเมืองงาม
ณ อาคารสันทนาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็นต้นไป และในเวลา ๑๔.๐๐ น. ขอเชิญเดินทางไปร่วมพิธีรดนํ้าดำ�หัวอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
9
บ ท ค ว า ม พิ เ ศ ษ
การแข่งขันกอล์ฟการกุศล เพื่อหารายได้สมทบ
กองทุนหมอเจ้าฟ้า
ณะแพทยศาสตร์ ได้ จั ด การแข่ ง ขั น ก อ ล์ ฟ ก า ร กุ ศ ล ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อ หารายได้ ส มทบ “กองทุ น หมอเจ้าฟ้า” เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 11 มีนาคม 2555 ที่ผ่านมา ณ สนามกอล์ฟ The Royal Chiangmai Golf Resort อำ � เภอสั น ทราย จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ซึ่ งได้ รั บ เกี ย รติ โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัด เชียงใหม่ คุณชูชาติ กีฬาแปง เป็นประธานในพิธี รองศาสตราจารย์ น าย แพทย์ นิ เ วศน์ นั น ทจิ ต 10
คณบดี ค ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวว่า การแข่งขันกอล์ฟ การกุศลชิงถ้วยพระราชทาน ในครั้งนี้ มีนักกอล์ฟสมัคร ร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 76 ทีม ประกอบด้ ว ยประเภทที ม ได้ แ ก่ ที ม VIP 12 ที ม ทีมทัว่ ไป 64 ทีม และประเภท บุ ค คลจำ � นวน 10 ท่ า น ทั้ ง นี้ ค ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม การแข่ ง ขั น กอล์ ฟ ทุ ก ท่ า น สื่อมวลชน บริษัท นอร์ทเวฟ จำ�กัด ที่ ให้ความอนุเคราะห์
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รถยนต์ Nissan Almera และ รถยนต์ Nissan March สำ�หรับ เป็นรางวัล Hole in one และ บริษัท ไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ที่ให้ความอนุเคราะห์ ประกันภัยรถยนต์ทนี่ �ำ มาเป็น รางวัลดังกล่าว บริษัท ห้าง ร้าน หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและ เอกชนที่ ให้การสนับสนุนใน ด้านต่างๆ รวมถึงขอขอบคุณ คุ ณ วาริ น ทร์ - คุ ณ ผาณิ ต พูนศิรวิ งศ์ เจ้าของสนามกอล์ฟ The Royal Chiangmai Golf Resort ที่ให้ความอนุเคราะห์ สนามกอล์ ฟ The Royal Chiangmai Golf Resort
เพื่ อใช้ สำ � หรั บ การแข่ ง ขั น กอล์ ฟ การกุ ศ ลในครั้ ง นี้ สำ�หรับรายได้จากการแข่งขัน กอล์ฟการกุศลครัง้ นีจ้ ะนำ�ไป สมทบ “กองทุนหมอเจ้าฟ้า”
ตามพระประสงค์ของสมเด็จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวง นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ต่อไป
ผลการแข่งขันกอล์ฟการกุศลสรุปดังนี้ Flight A ชนะเลิศ Low Gross : ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศ คุ ณ เจริ ญ สิริวัฒนภักดี ได้แก่ คุณนิคม สุนทรเนตร ชนะเลิ ศ Low Net : ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศ คุ ณ หญิ ง วรรณา สิริวัฒนาภักดี ได้แก่ คุณอรรณพ ช. รองชนะเลิศ อันดับ 1 Low Net : ถ้วยเกียรติยศ คุณหญิงชดช้อย โสภณพนิช ได้แก่ คุณสุรัช ทิพยเนช รองชนะเลิศ อันดับ 2 Low Net : ถ้วยเกียรติยศ 2. ประเภทบุคคล Over All Low Gross: อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ถ้วยเกียรติยศ ศ.เกียรติคุณ เชียงใหม่ ได้แก่ คุณพงศธร นายแพทย์ เ กษม วั ฒ นชั ย เดชะรัตน์ ได้แก่ Mr.Yuan 1. ประเภททีม รางวั ล ชนะเลิ ศ : ถ้ ว ย พระราชทาน สมเด็จพระเจ้า พี่ น า ง เ ธ อ เ จ้ า ฟ้ า กั ล ย า ณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนคริ น ทร์ ได้ แ ก่ ที ม ก อ ง บิ น ผู้ ร่ ว ม แ ข่ ง ขั น คื อ น.ต.สมหมาย วิ จิ ต ร พลเกณฑ์ , น.ต.กิ ต ติ พ งษ์ ศรี ริ น ยา, น.ต.ณั ฐ พล โหตรภวานนท์, น.ท.อุทยั วุฒิ เรื อ นสะอาด, คุ ณ ไพศาล พรหมสาขา ณ สกลนคร
บ ท ค ว า ม พิ เ ศ ษ
Flight B ชนะเลิศ Low Gross : ถ้วยเกียรติยศ ประธานศาล อุทธรณ์ ภาค 5 ได้แก่ คุณ อภิสิทธิ์ โอฬารรัตนชัย ชนะเลิศ Low Net : ถ้วย เกียรติยศ อธิบดีผู้พิพากษา ภาค 5 ได้แก่ คุณอนุภาพ จินตยานนน์ รองชนะเลิศ อันดับ 1 Low Net : ถ้วยเกียรติยศ อธิบดีอัยการ เขต 5 ได้แก่ คุณเสรี จำ�ปี รองชนะเลิศ อันดับ 2 Low Net : ถ้วยเกียรติยศ อธิ บ ดี ศาลปกครอง ได้ แ ก่ คุณบังคม ลิมปะพันธ์
คุณชาญวิทย์ ตนัยวิจิตร Senior ชนะเลิศ Low Gross : ถ้วยเกียรติยศ ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ได้ แ ก่ พล.ต.สมภพ รุ่งทอง ชนะเลิศ Low Net : ถ้วย เกียรติยศ ผูบ้ ญ ั ชาการตำ�รวจ ภาค 5 ได้ แ ก่ ผศ.อาคม ตันตระกูล
Lady ชนะเลิศ Low Gross : ถ้วยเกียรติยศ ผู้บัญชาการ มณฑลทหารบกที่ 33 ได้แก่ คุณบุษณัญ ฤกษ์เกรียงไกร ชนะเลิ ศ Low Net : Flight C ถ้วยเกียรติยศ ผู้บังคับการ ชนะเลิศ Low Gross : กองบิน 41 ได้แก่ คุณชราสิน ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศ อธิ บ ดี ก รม อนามั ย และนายกสมาคม Junior ศิ ษ ย์ เ ก่ า แพทย์ เ ชี ย งใหม่ ชนะเลิศ Low Gross : ได้แก่ รศ.ดร.สุรพล เศรษฐ ถ้วยเกียรติยศ คุณวารินทร์ ชนะเลิ ศ Low Net : พูนศิริวงศ์ ได้แก่ นางสาว ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศ อธิ บ ดี ก รม ทนพร โตชนะรุ่งโรจน์ สุขภาพจิต ได้แก่ รศ.ดร. ชนะเลิ ศ Low Net : ปรัชญา สมบูรณ์ ถ้ ว ยเกี ย รติ ย ศ นายแพทย์ รองชนะเลิศ อันดับ 1 สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ Low Net : ถ้วยเกียรติยศ ได้แก่ ดญ.ณัฐนิชา ชมเชย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ ได้แก่ ผศ.ดร.สมศักดิ์ รางวัลพิเศษ วรรณวิไลรัตน์ รางวัล Hole in one หลุม 3 : รองชนะเลิศ อันดับ 2 ได้แก่ ทพ.วุฒิชัย ชุมพลกุล Low Net : ถ้วยเกียรติยศ รางวัลตีใกล้ธง หลุม 3 : ได้แก่ อธิบดีกรมควบคุมโรค ได้แก่ นพ.สมคิด เอื้ออภิศิษย์วงศ์
หลุม 6 : ได้แก่ ดต.อิศรา ภาชนนท์ หลุม11 : ได้แก่ คุ ณ สรสิ ท ธิ์ ชลิ ศ ราพงษ์ หลุ ม 17 : ได้ แ ก่ นพ. ราชั น ย์ พั ท ธิ์ วรเวชานนท์ ร า ง วั ล ตี ไ ก ล ใ ก ล้ เ ส้ น หลุม 4 : ได้แก่ ดร.ชนศักดิ์ หมวกทองหลาง หลุม 5 : ได้แก่ คุ ณ ปริ ศ นา เรื อ งรองรั ต น์ หลุม 15 : ได้แก่ คุณณัฐพงศ์ ธงชั ย หลุ ม 16 : ได้ แ ก่ คุณธนกร ขัดสีใส
…ในปีนี้นับว่าได้รับความร่วมมือเป็นอย่างมาก ทั้งผู้เข้าร่วมการแข่งขัน บุคลากร สื่อมวลชนและ ประชาชนทั่วไป เพราะทุกฝ่ายเห็นความสำ�คัญ ของการออกกำ�ลังกายและเพือ่ สนับสนุน “กองทุน หมอเจ้าฟ้า” ให้แก่อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อไปศึกษา ฝึกอบรม วิทยาการชั้นสูงในแขนงวิชาต่างๆ ณ ต่างประเทศ อันเป็นการเพิ่มพูนวิทยฐานะและนำ�เอาความรู้ที่ ได้รบั กลับมาพัฒนาปรับปรุงวิชาการทางการแพทย์ ของประเทศและจัดสรรเป็นทุนอุดหนุนการศึกษา ให้แก่นักศึกษาที่เรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ให้ได้มีโอกาสศึกษาต่อไป ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
11
ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
โรงพยาบาลสวนดอก ขอเชิญร่วมบริจาค เพื่อสมทบทุนจัดซื้อ
รถพยาบาลฉุกเฉิน
พร้อมอุปกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มช. ขอเชิญร่วมทำ�บุญสมทบทุนเพื่อ จัดซื้อรถพยาบาลฉุกเฉิน พร้อม อุปกรณ์ เพื่อปฏิบัติการช่วยเหลือ ผูป้ ว่ ยก่อนถึงโรงพยาบาล ในผูป้ ว่ ย อุบัติเหตุและฉุกเฉิน รวมทั้งใช้ใน การขนส่งผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น มี ผู้ ป่ ว ย อุบัติเหตุ ที่ต้องการการช่วยเหลือ แบบเร่ ง ด่ ว นอยู่ เ ป็ น จำ � นวนมาก และผู้ประสบเหตุจำ�นวนไม่น้อยที่ ต้องเสียชีวิตระหว่างทางก่อนถึง โรงพยาบาล อันเนื่องมาจากข้อ จำ�กัดของรถพยาบาลที่มีอยู่ ทาง โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ จึงวางโครงการจัดซื้อรถพยาบาล ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ขึ้น เพื่อใช้ รองรับผู้ป่วยฉุกเฉินที่ต้องการการ รักษาแบบเร่งด่วน รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เปิดเผยว่า “รถฉุกเฉิน พร้ อ มอุ ป กรณ์ ที่ ท างคณะแพทย์ วางแผนจั ด ซื้ อ นั้ น มี คุ ณ ลั ก ษณะ คื อ จะต้ อ งเป็ น รถพยาบาลที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการดู แ ลรั ก ษา 12
ผู้ป่วยในระดับ Advanced Life Support และ Basic Trauma Life Support ได้ในระหว่างการส่งต่อ ซึ่งจำ�เป็นต้องมีเครื่องช่วยหายใจ อุปกรณ์การแพทย์ที่สำ�คัญทุกชิ้น จะต้ อ งสามารถนำ � ออกไปดู แ ล รั ก ษาผู้ ป่ ว ยนอกรถพยาบาลได้ ภายในรถจะต้องมีเครือ่ งมือสือ่ สาร ในเครือข่าย VHF โดยใช้ความถี่ หลั ก ของกระทรวงสาธารณสุ ข หรืออื่นๆได้ อีกทั้งบริเวณตัวรถ จะต้ อ งมี ตั ว อั ก ษร สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ มองเห็นได้ง่าย และมีสัญญาณไฟ
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พร้อมกับเสียง ที่สมบูรณ์ สามารถให้ความมั่นใจ สร้างความปลอดภัย ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งลักษณะจำ�เพาะที่กล่าวมานี้ จะสามารถช่วยเหลือ ได้ทั้งผู้ประสบอุบัติเหตุ รวมทั้งการขนย้ายผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤติได้ จึ ง เป็ น การลดความเสี่ ย งในการเสี ย ชี วิ ต ระหว่ า งการเดิ น ทางของ ผู้ป่วย”
…โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จึงขอเชิญชวน ท่านที่มีจิตกุศล ร่วมกันบริจาคเงินสมทบทุนในการจัด ซือ้ รถฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ครัง้ นี้ เพือ่ ประโยชน์ในการ ช่วยชีวิตผู้ป่วย งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์
วั ส ดี ค่ ะ วั น นี้ เ ราจะพา ทุกท่านเปลีย่ นบรรยากาศ ไปเที่ยวนอกสถานที่กัน สื บ เนื่อ งจากที่ท่า นผู้อำ� นวยการ ของพวกเราได้ จั ด ทำ � โครงการ ศู น ย์ ศ รี พั ฒ น์ อ าสาพั ฒ นาสั ง คม โดยครั้ ง แรกและครั้ ง ที่ ส องไป ออกหน่วยที่ อ.แม่แจ่ม สำ�หรับ ครั้งที่สามนี้ทางศูนย์ศรีพัฒน์ของ เราได้รว่ มกับมูลนิธิ พอ.สว.(แพทย์ อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี) โดยการไปออกหน่วยที่ อ.สะเมิง โรงเรียนบ้านแม่ลานคำ� ที ม อาสาของเราในครั้ ง นี้ คื อ อ.พญ.นั น ทวรรณ ธิ น รุ่ ง โรจน์ หรื อ หมอตา (คุ ณ หมอคนสวย) พยาบาล 2 ท่าน และตัวแทนจาก แผนกทรัพยากรมนุษย์ 1 ท่าน เราเริ่มออกเดินทางกันตั้งแต่ เย็นวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2555 โดยมี ตั ว แทนจากสมาคม off road อ า ส า ข อ ง เ ชี ย ง ใ ห ม่ ม า รั บ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง ก็ไปถึงยังจุดหมาย เมื่อไปถึงเรา ได้ พ บกั บ กลุ่ ม อาสาสมั ค รที่ ม า จากทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็นทีม ทั น ตแพทย์ จ ากจั ง หวั ด ทางภาค อีสาน ชมรมเจ้าพระยาออฟโรด จากภาคกลาง อากาศบนดอยเย็น สบายประมาณ 12-15 องศา แต่ นํ้าเย็นมาก เช้าวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2555 เริ่มปฏิบัติภารกิจกันตั้งแต่ 07:30 น. คนไข้จ�ำ นวนมากเดินทาง มาจากหลายหมูบ่ า้ น เรียกได้วา่ ทีม แพทย์กับทีมทันตแพทย์ต้องแข่ง กันทำ�สถิติเลยทีเดียว
ศรีพฒ ั พัน์ฒอนาสัาสา งคม ตามรอยสมเด็จย่า เรียนรู้ชีวิตใน อี ก มุ ม หนึ่ ง ที่ ยั ง ด้ อ ยโอกาสและ ลำ � บากอยู่ ม าก รอยยิ้ ม และคำ � ขอบคุณจากชาวบ้าน เป็นกำ�ลังใจ ในการทำ�งานของทีมอาสาสมัคร ทีม่ คี า่ มากยิง่ กว่าเงินทอง ขอบคุณ ทีมเจ้าหน้าที่ พอ.สว.ที่คอยดูแล พวกเราเป็ น อย่ า งดี ไ ม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งที่ พั ก และอาหาร ขอบคุ ณ ทีม Off road อาสาที่อำ�นวยความ สะดวกนำ�พาพวกเราเดินทางอย่าง ปลอดภั ย และสุ ด ท้ า ยต้ อ งขอ ขอบคุณทีมอาสาจากศูนย์ศรีพฒ ั น์ ทุกท่านโดยเฉพาะหมอตาของพวก เราทีท่ มุ่ เททำ�งานอย่างหนักแต่ยงั มี รอยยิ้มอยู่เสมอ
…และขอบคุ ณ ทุ ก คนที่ เช้าวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 และศูนย์เด็กเล็กในหมู่บ้าน วันนี้ ทำ�ให้รู้ซึ้งกับคำ�ว่า “นํ้าใจ” เราออกเดินทางกันตัง้ แต่ประมาณ ทำ�งานคุม้ ค่ามาก กว่าจะตรวจเสร็จ และ “คนไทยรักกัน” ยังอยู่ 07:00 น. เพื่อไปอีกหมู่บ้านหนึ่ง ประมาณ 17:30 น. หลังจากนั้น กับเราเสมอ หมู่ บ้ า นนี้ ค นไข้ ส องร้ อ ยกว่ า คน งานหนักอยู่ที่หมอตาคนสวยของ พวกเรา และเนื่ อ งจากว่ า เป็ น ช่ ว งระบาดของโรคมื อ เท้ า ปาก ทาง อบต. จึ ง เชิ ญ ที ม พวกเรา ไปให้ ค วามรู้ แ ก่ พ่ อ แม่ ข องเด็ ก ๆ
เดินทางกลับมาถึงเชียงใหม่เกือบ 19:00 น. ในการเดิ น ทางครั้ ง นี้ ต้ อ งขอ ขอบคุณท่านผู้อำ�นวยการที่สร้าง โอกาสให้พวกเราชาวศรีพัฒน์ได้ ทำ � ประโยชน์ เ พื่ อ สั ง คมและเดิ น
ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
13
บ ท ค ว า ม พิ เ ศ ษ
วัคซีนทำ�ให้เป็น ไข้หวัดและ ออทิสซัม
ข่าวลือว่าฉีดวัคซีนป้องกัน ไ ข้ ห วั ด แ ล้ ว ทำ �ใ ห้ เ ป็ น ไข้หวัดนั้นไม่เป็นความจริง เพราะวั ค ซี น ทำ � จากไวรั ส ที่ตายแล้ว แน่นอนว่ามัน คงไม่ ฟื้ น มาก่ อโรค ส่ ว น ข่ า วลื อ ว่ า วั ค ซี น MMR
(ป้องกันหัด คางทูม และ หั ด เยอรมั น ) อาจทำ � ให้ เด็ ก เกิ ด ออทิ ซึ ม มาจาก ผลงานตี พิ ม พ์ ใ น The Lancet ซึ่งเป็นการศึกษา ในพ่อ แม่ของเด็ก ออทิซึม เพียง 8 คน แล้วพบประวัติ ว่ า เด็ กได้ รั บ วั ค ซี น MMR ต่ อ มามี ก ารศึ ก ษาในเด็ ก กว่า 530,000 คน ตีพิมพ์ ใน New England Journal of Medicine ซึ่งไม่พบว่า การได้รับวัคซีนเพิ่มความ เสี่ ย งในการเกิ ด ออทิ ซึ ม แต่อย่างใด แต่น่าเศร้าที่ วงการยั ง ยึ ด อยู่ กั บ ความ เชื่อจากรายงานครั้งแรก
กินวิตามินเสริม ช่วยบำ�รุงสุขภาพ
มีรายงานผลการศึกษามาก ขึ้ น เรื่อ ยๆ ว่า การเสริม วิ ต ามิ น ไม่ ช่ ว ยสุ ข ภาพ ซา้ํ ร้ายอาจเกิดผลเสียด้วยซํา้ คนที่กินวิตามิน ซี และ อี อาจทำ �ให้ ร่ า งกายง่ า ยต่ อ การเกิดมะเร็ง และการกิน
อากาศเย็น ทำ�ให้ป่วย
ความเชื อ ่ ทางการแพทย์ ที่ล้าสมัย
ข้อแนะนำ�ด้านสุขภาพหลายเรือ่ งแม้จะมีการ พิสจู น์วา่ ไม่นา่ จะเป็นจริงก็ตาม คนส่วนใหญ่ ก็ยังคงเชื่อ คัดมาเรียงให้อ่าน 10 อันดับ 14
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แอนติออกซิแดนต์ปริมาณ คือ ถ้าบริโภคอาหารครบ สูง ๆ อาจทำ�ให้เกิดผิดปกติ หมู่ก็ไม่เห็นจำ�เป็นต้องกิน ทางพั น ธุ ก รรม หนู ที่ กิ น วิตามินเสริมแล้วละครับ นํ้ามันปลาพบว่าเป็นมะเร็ง แต่ ค วบคุ ม การโฆษณา อาหารเสริมทำ�ไม่ได้เพราะ ไม่จัดว่าเป็นยา ข้อแนะนำ� Journal of Medicine ปี 2511 โดยให้อาสาสมัคร อยู่ ใ นห้ อ งเยื อ กแข็ ง หรื อ แช่อา่ งนาํ้ เย็น แล้วดมไวรัส ที่ก่อหวัด พบว่าไม่ได้ทำ�ให้ โอกาสเป็ น หวั ด เพิ่ ม ขึ้ น
เวลาเจออาการหนาวทำ�ให้ รูส้ กึ ว่าจะเป็นหวัด แท้ทจี่ ริง แล้ว อุณหภูมติ าํ่ ไม่ได้ท�ำ ให้ เราติดไวรัสง่าย การศึกษา ตีพิมพ์ใน New England
เราใช้สมอง แค่ร้อยละ 10
ผู้ รู้ ทั้ ง หลายมั ก พู ด แบบนี้ มาตั้งแต่ พ.ศ. 2449 เพื่อ กระตุ้นส่วนสมองที่ซ่อนอยู่ ปั จ จุ บั น brain scan สามารถวัดการทำ�งานของ สมองแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ สมองที่ ก บดานไม่ ใ หญ่ อย่างที่เชื่อ
แต่ อ ย่ า งใด และถ้ า ท่ า น เป็นหวัดก็ไม่มเี หตุผลทีห่ า้ ม ให้ อ อกไปเจออากาศเย็ น การพักผ่อนเหมาะสำ�หรับ คนไม่สบาย แต่อากาศเย็น หรือไม่นั้นไม่เกี่ยวกับการ ทำ �ให้ห ายป่ ว ยเร็ ว หรื อ ช้ า นั ก วิ ท ยาศาสตร์ บ างคน กล่าวว่า ทีอ่ ากาศหนาวและ คนเป็นหวัดมากขึ้นเพราะ อยู่ ในบ้านมากขึ้นทำ�ให้รับ เชื้อจากคนอื่น
บ ท ค ว า ม พิ เ ศ ษ
นํ้าตาลทำ�ให้เด็ก กลายเป็นสัตว์ ประหลาดตัวน้อย
พ่อแม่สว่ นใหญ่คดิ อย่างนัน้ แต่ ก ารทดลองให้ เ ด็ ก ดื่ ม เครือ่ งดืม่ ผสมนาํ้ ตาลเทียม แ ต่ บ อ ก พ่ อ แ ม่ ว่ า เ ป็ น เครื่องดื่มใส่นํ้าตาลทราย บรรดาพ่อแม่ตา่ งรายงานว่า ลู ก ควบคุ ม ยาก ซน แต่
อย่าหลับ หากสมอง กระแทก กระเทือน
เครื่องวัดที่ ใส่ข้อมือเด็กไว้ แสดงผลตรงกันข้าม คือ เด็กซนน้อยลง แท้จริงแล้ว เป็นไปได้ว่าความเชื่อเกิด การที่เด็กกิน หวานในการ ฉลองวันเกิดหรือวันหยุดที่ ผู้ปกครองผ่อนคลายความ เข้มงวดแลยดูเหมือนว่าเด็ก กินหวานแล้วเวอร์
อ่านหนังสือ ในที่สลัว หรือนั่ง ใกล้จอทีวี ทำ�ให้ สายตาเสื่อม
โดยทั่ ว ไปแล้ ว เราไม่ ไ ด้ เดิ น เล่ น ในภาวะขาดนํ้ า ร่ า งกายเราทำ � งานรั ก ษา สมดุ ล ย์ ไ ว้ อ ย่ า งดี เรื่ อ ง ของเรื่ อ งเกิ ด จากคณะ ก ร รม ก ารโ ภ ช นา ก าร สภาวิ จั ย แห่ ง ชาติ ข อง สหรัฐอเมริกา แนะนำ�ให้ ผู้ ใ หญ่ ค วรได้ รั บ นํ้ า วั น ละ
ควรดื่มนํ้า วันละ 8 แก้ว
ประมาณ 2.5 ลิ ต ร สื่ อ กระพือข้อแนะนำ�ดังกล่าว ภายหลั ง คณะกรรมการ อธิ บ ายว่ า นํ้ า ส่ ว นใหญ่ ใ น 2.5 ลิตร มาจากอาหาร จึงควรแก้ข่าวเป็น ดื่ม กิน ให้ ไ ด้ นํ้ า รวม 2.5 ลิ ต ร ในแต่ละวัน
แน่ น อนว่ า การทำ � เช่ น นี้ ทำ � ให้ ต าทำ � งานหนั ก ขึ้ น แต่ ไ ม่ มี ห ลั ก ฐานแสดงว่ า ในระยะยาวตาจะเสื่ อ ม ข่าวลือนี้เกิดมาตั้งแต่ 50 ปีทแี่ ล้ว เป็นจริงแค่บางส่วน เพราะสมัยนั้นทีวีเปล่งรังสี ถ้ า แพทย์ บ อกว่ า สมอง ออกมามาก แต่จอสมัยใหม่ กระแทกกระเทือนเล็กน้อย ไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว จึงไม่น่า ก็ไม่ต้องกังวลว่าต้องบอก กังวลอีกต่อไป ให้ ใ ครสั ก คนช่ ว ยปลุ ก ทุกชั่วโมง
หมากฝรั่ง คงอยู่ในท้อง นาน 7 ปี
จริงอยู่ที่ส่วนประกอบบาง อย่างของหมากฝรั่ง เช่น อิลาสโตเมอร์ เรซิน และ แวกซ์ ไม่สามารถย่อยได้ แต่ ไ ม่ ไ ด้ แ ปลว่ า มั น จะคง อยู่ชั่วนิรันดร์ ยังไงๆ ลำ�ไส้ ก็ขับมันออกมาเหมือนใย ผักอยู่ดี
ควรรอ 1 ชั่วโมง หลังรับประทาน อาหาร แล้วถึง ไปว่ายนํ้าได้ น่ า จะยกเลิ ก ข้ อ ห้ า มได้ เพราะไม่ มี เ หตุ ผ ลใดๆ สนับสนุนว่าทำ�อย่างนี้ไม่ดี แน่นอนว่ากินมากแล้วทำ�ให้ อึดอัดเวลาออกกำ�ลังกาย
แต่ สำ � หรั บ คนที่ กิ น เบาๆ ไม่ น่ า เดื อ ดร้ อ น ตะคริ ว เกิ ด ได้ ทุ ก เวลาไม่ ว่ า จะ กิ น อาหารมาก่ อ นว่ า ยนํ้ า หรือไม่
ที่มา: http://www.lifeslittlemysteries.com/ ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
15
จ ริ ย ธ ร ร ม / ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม
GOOD DEATH
การตายที่ดีคืออย่างไร… รศ.พญ.รัตนา พันธ์พานิช
วันที่ 3-4 ตุลาคม 2554 คณะแพทยศาสตร์ของเรา ได้มีการจัดประชุมวิชาการ เรื่ อ ง Palliative Care โดยมี เ นื้ อ หาหลั ก คื อ การ พัฒนาคุณภาพบริการ และ การสร้างเครือข่ายจิตอาสา ในการดู แ ลผู้ ป่ ว ยประคั บ ประคอง เป็ น เวที ที่ มี ผู้ เข้าร่วมทั้งแพทย์ พยาบาล ผู้ให้บริการ จิตอาสา และ ตัวแทนประชาชนฝ่ายต่าง ได้สมัครเข้ามาร่วมประชุม กันกว่า 150 คน จากจังหวัด ต่างๆ ทางภาคเหนือ ผู้เขียนในฐานะตัวแทน ศูนย์ศรีพัฒน์ฯ ที่เข้าร่วม สนั บ สนุ น การจั ด ประชุ ม ครั้งนี้ และมีโอกาสอยู่ร่วม กิจกรรมตลอด 2 วัน รู้สึก ประทั บ ใจ และขอแสดง ความชื่นชม ขอบคุณ และ เป็นกำ�ลังใจให้กับทีมดูแล ผู้ ป่ ว ยประคั บ ประคอง อายุรศาสตร์ที่เป็นแม่งาน หลักในการจัดงาน รวมทั้ง ที ม ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ป ร ะ คั บ 16
ประคองของหอผูป้ ว่ ยต่างๆ ในโรงพยาบาลมหาราชฯ ค น ส ว น ด อ ก ที่ เ ข้ า ม า ร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น ในการ จั ด กิ จ กรรมครั้ ง นี้ เวที นี้ เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ในการพั ฒ นา ระบบสื่อสารเชื่อมโยงกัน ร ะ ห ว่ า ง โ ร ง พ ย า บ า ล มหาวิทยาลัยกับโรงพยาบาล ทั่ วไป และโรงพยาบาล ชุมชน สนับสนุนโครงการ พั ฒ นาเครื อ ข่ า ยการดู แ ล ผู้ ป่ ว ยประคั บ ประคอง ในเขตภาคเหนื อ ตอนบน ของโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ ประเด็นที่ผู้เขียนอยาก แลกเปลี่ยนผ่านบทความนี้ คือ “การดูแลผู้ป่วยให้ตาย ดีทำ�ได้อย่างไร” บังเอิญ ได้อ่านบทความ “Care of the dying patient: the last hours or days of life” ของ John Ellershaw ใน BMJ ปี 2003 ได้ความรู้ ม า ก ม า ย บ ว ก กั บ
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประสบการณ์ ต รงของ ผู้เขียนที่ต้องดูแลคุณพ่อที่ ป่วยหนักและเสียชีวิตเมื่อ หลายปีก่อน ทำ�ให้รู้ว่าการ จะทำ�ให้เกิด Good Death หรือการตายดีนนั้ ไม่งา่ ยนัก โดยเฉพาะในโรงพยาบาล ใหญ่ๆ และหากต้องการ เช่น นั้น จำ�เป็นต้องมีการ วางแผน เพราะทุกวันนีก้ าร แพทย์ของเรามุ่ง “Cure” หรือการหาย เป็นเป้าหมาย วิธกี ารดูแลรักษาทัง้ เครือ่ งมือ เทคโนโลยี จึงเข้มข้นมาก ขึน้ เรือ่ ยๆ ตามอาการทีป่ ว่ ย หนักมากขึน้ ของผูป้ ว่ ย และ บ่อยครั้งที่ทั้งแพทย์ และ ครอบครัวของผูป้ ่วยก็ลงั เล ที่จะยอมรับว่า “กำ�ลังจะ ตาย” ดังนั้น ถ้าหากพอจะ มีความหวังจากวิธีการใดๆ ก็จะต้องลองเอามาใช้กับ ผู้ ป่ ว ยเพื่ อ ให้ โ อกาสอี ก สักครั้ง เป็นแบบนี้เรื่อยๆ จนในที่ สุ ด ผู้ ป่ ว ยถึ ง แก่ ความตาย ทำ � ให้ ผู้ เ ขี ย น รูส้ กึ ว่าช่วงเวลาสุดท้ายของ
ผู้ป่วยที่อยู่ ในโรงพยาบาล เป็ น การต่ อ สู้ ยื้ อ ยุ ด กั บ ความตาย มากกว่ า ที่ จ ะ เตรียมพร้อมรับความตาย ที่จะมาถึง ผู้ เ ขี ย นขออนุ ญ าตนำ � เสนอ หลัก 12 ประการของ Good Death ที่ได้ศกึ ษามา ของ Age Health and Care Study Group ที่พัฒนาขึ้น และ Richard Smith ได้ นำ�มากล่าวถึงในบทความ “A good death: an important aim for health services and for us all” ใน BMJ ปี 2000 เพื่อเป็น หลักยึดในการวางแผนการ ดู แ ลผู้ ป่ ว ย ทั้ ง นี้ ป ระเด็ น สำ � คั ญ ข อ ง ห ลั ก ก า ร ดังกล่าว คือการเคารพใน ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ และให้ อิ ส ระกั บ ผู้ ป่ ว ยใน การตัดสินใจ หลั ก 12 ประการของ “การตายดี”
1. รู้ตัวว่ากำ�ลังจะตาย และเข้าใจว่าจะเกิดอะไรขึน้ 2. สามารถควบคุ ม สภาวะหรือสิ่งที่เกิดขึ้นได้ 3. ได้รับการดูแลอย่าง สมศักดิศ์ รี และมีความเป็น ส่วนตัว 4. ได้รับการดูแลรักษา อาการเจ็บปวด และความ ทุกข์ทรมาน 5 . ตั ด สิ น ใ จไ ด้ ว่ า ต้องการเสียชีวิต ณ ที่ ใด (บ้านหรือที่อื่นๆ) 6. เข้าถึงแหล่งข้อมูล และความช่ ว ยเหลื อ ทาง เลือกต่างๆ 7. ได้รับการดูแลด้าน
จิตใจ และจิตวิญญาณ 8. ได้รับการดูแลแบบ ประคั บ ประคองในระยะ สุดท้าย 9. กำ�หนดได้วา่ ประสงค์ จะให้ ใ ครอยู่ ร่ ว มด้ ว ยใน ระยะสุดท้าย 10. กำ � หนดความ ต้องการของตนเองได้โดย ทำ�หนังสือแสดงเจตนา 11. มีเวลาที่จะกล่าว อำ�ลา และสามารถควบคุม เวลาที่จะทำ�บางสิ่ง 12. พร้อมที่จะไปเมื่อ เวลานั้ น มาถึ ง และไม่ ยืดเยื้อ ปั จ จุ บั น หลั ก การของ การตายดี มี ก ารพู ด ถึ ง กั น มาก และมีชดั เจนขึน้ เรือ่ ยๆ ผู้เขียนเองพยายามศึกษา เรียนรู้ เพราะเป็นความรู้ ที่คิดว่าต้องได้ใช้กับตัวเอง แน่นอน และกับคนที่เรา รักด้วย และถึงเวลาแล้ว ที่ ร ะบบการดู แ ลรั ก ษา พยาบาลจะต้ อ งใส่ ใ จกั บ การดูแลการตายของผูป้ ว่ ย ด้วย เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้ ตายอย่างสงบ การแพทย์ แม้ จ ะมี เ ทคโนโลยี ใ หม่ และเจริญก้าวหน้าไปอย่าง ไม่ ห ยุ ด ยั้ ง ก็ ไ ม่ ส ามารถ หยุดความตายได้ หากจะ ยื้ อ ยุ ด ไว้ ก็ รั ง แต่ จ ะสร้ า ง ความทุกข์ให้ กั บทั้งผู้ป่วย และญาติ รวมทั้ ง แพทย์ พยาบาล ที่เป็นผู้ดูแล ซึ่ง วั น หนึ่ ง ความตายก็ ม าถึ ง เช่นกัน หากใจของเรายัง ไม่พร้อมที่จะตาย น่าจะถึง เวลาแล้ ว ที่ ต้ อ งเรี ย นรู้ ไ ป ด้วยกันกับผู้ป่วย
อ า ห า ร ก า ร กิ น
ลาบปลา เชียงแสน บั บ นี้ พ า ไ ป กิ น ไกลหน่ อ ยครั บ เรื่ อ งของเรื่ อ ง คื อ มี ธุ ร ะต้ อ งไปอำ � เภอ เชียงแสน น้อง นศพ. ที่ไป ฝึ ก ง า น โ ร ง พ ย า บ า ล เชียงแสนพาไปกิน “ร้าน ลาบปลา” น้องเขาบอกว่า พีๆ่ ทีโ่ รงพยาบาลเชียงแสน พามากิ น แล้ ว ติ ด ใจครั บ ก่ อ น อื่ น ต้ อ ง แ น ะ นำ � เส้นทางไปอำ�เภอเชียงแสน ซะหน่อย จากเชียงใหม่ก็ ใช้สายเชียงใหม่เชียงราย ผ่ า นอำ � เภอดอยสะเก็ ด นีแ่ หละครับ ไปถึงเชียงราย ก็ ห า ท า งขึ้ น ไ ปอำ � เภ อ แม่ ส าย เส้ น ทางหลวง หมายเลข 1 ไปเรือ่ ยๆ จนถึง อำ�เภอแม่จันจะมีทางแยก เข้าอำ�เภอเชียงแสน เป็น ทางหลวงหมายเลข 1016 จนถึ ง ตั ว อำ � เภอ ขั บ ผ่ า น โรงพยาบาล ผ่านกำ�แพงเมือง เข้ าไปทางวั ด เจดี ย์ ห ลวง เป็นเส้นทางสายกลางเมือง ครับ ไปเรื่อยๆ จนถึงแยก ไปรษณีย์ ก็ต้องเลี้ยวซ้าย ขั บ ไ ป อี ก ซั ก ค รึ่ ง กิ โ ล
สังเกตร้านจะอยูท่ างซ้ายมือ ตอนแรกจิ น ตนาการว่ า ต้องเป็นร้านใหญ่โตโก้หรู ที่ไหนได้กลับเป็นเพิงเล็กๆ ทั้งเจ้าของ คนทำ� คนเสิร์ฟ เป็นคนในครอบครัว ไปถึง หาชื่อร้านก็ไม่เจอ เห็นแค่ ป้ายเล็กๆ ตั้งไว้ข้างถนน เขียนว่า “ลาบปลาต้มปลา” เป็นอันใช้ได้ พอเข้าไปใน
ร้ า นดู เ มนู ถึ ง รู้ ว่ า เป็ น ร้ า น ลาบปลาเชียงแสน เรียกได้ ว่าถ้าหลงถามคนแถวๆ นั้น ก็รู้จักครับ เริ่มต้นเมนูแรก ก็ตอ้ งเป็นลาบปลา ลาบทีน่ ี่ เป็ น ลาบแบบเมื อ งเหนื อ ปรุงกันสดๆ เจ้าของบอกว่า ใช้ปลานวลจันทร์ ก็ยังไม่ เคยเห็นหน้าเห็นตาว่าเป็น ปลาอย่างไร กลับมาเปิด
ในกู เ กิ ล เห็ น ว่ า เป็ น ปลา กลุ่มปลาตะเพียน มีครีบ สี แ ดง หลั ง จากปรุ ง ลาบ เสร็จก็ต้องคั่วให้สุก ตอน คั่ ว ลาบนี่ แ หละกลิ่ น ฟุ้ ง ทัว่ ร้าน ใครนัง่ ใกล้มีไอมีจาม เป็นธรรมดา สักครุ่เจ้าของ ร้ า นก็ ย กมาเสิ ร์ ฟ พร้ อ ม ด้วยผักเคียง มีแปลกตรง ที่ผักขี้หูดนี่แหละครับ ตัก ลาบปลามาคำ�แรก บอกได้ เลยว่ากลมกล่อม ไม่เผ็ด จนเกินไป เนือ้ ปลานุม่ นัง่ รอ อีกสักพัก เขาก็ยกอาหารอืน่ ๆ มาเสิร์ฟ มีทั้ง ไข่เจียวปลา เขาเอาเนื้อปลาสับมาใส่ไข่ เจียวเหมือนหมูสับ อีกเมนู ที่ทุกคนในทีมยกนิ้วให้เป็น ที่1 ของร้านคือ ต้มยำ�ปลาบึก บอกได้วา่ เนือ้ ปลาบึกสดมาก นํา้ ซุบกลมกล่อม จะไม่ให้สด ได้อย่างไร ก็เชียงแสนเป็น ถิ่ น ปลาบึ ก นี่ ค รั บ และที่ สำ � คั ญ เจ้ า ของร้ า นคิ ด ค่ า เสี ย หายต้ ม ปลาบึ ก จาน เบ้อเริ่มแค่ 50 บาท ในเมนู
เขายังมีปลาทอด ปลานึ่ง พวกนี้ใช้ปลานิลสดๆ มาทำ� นอกจากนี้ ยั ง มี ส้ ม ตำ � โคราชมาด้วย ไหนๆ ก็มา แล้วเลยสั่งหมดทุกอย่างที่ ร้านเขามี เรียกได้ว่าอร่อย ทุกเมนู แถมราคาก็ไม่แพง ลาบปลาจานละ ไม่ เ กิ น 50 บาท มีปลานึ่งนี่ 100 บาท ใครมีโอกาสเดินทาง ไปเชี ย งแสนก็ ล องแวะดู นะครับ
ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
17
ไ อ ที ทิ ป ส์
วิธีถนอม พลังงาน แบตเตอรี่ โน้ตบุ๊ก ราวนี้ ข อเสนอวิ ธี ง่ า ยๆ ที่ จ ะช่ ว ย ถ น อ ม พ ลั ง ง า น แบตเตอรี่ ข องโน้ ต บุ๊ ก ที่ ใ ช้ ระบบปฏิบัติการ Windows XP ให้สามารถใช้งานได้นาน ขึ้น ไม่หมดเร็วเกินไป ถ้าพบ ว่าโน้ตบุ๊กที่รัน Windows XP ของคุณมีปัญหาใช้พลังงาน แบตเตอรี่หมดค่อนข้างเร็ว (กรณีนี้แบตเตอร์รี่ ต้องไม่ เก่า หรือเสื่อมสภาพแล้ว) ทำ�ให้ต้องคอยรีชาร์จอยู่บ่อย เทคนิค 7 ข้อต่อไปนี้น่าจะ ช่วยได้ ลองนำ�ไปปฏิบัติดู 1. ตรวจสอบแบตเตอรี่ ที่ ใ ช้ ว่ า ยั ง คงสามารถชาร์ จ พลั ง งานได้ เ ต็ ม หรื อ ไม่ ? ซึ่ งขั้ น ตอนของการทดสอบ โดยทั่วไปให้ชาร์จแบตเตอรี่ ให้เต็มก่อน (ดูจาก Power
Meter ใน Power Options) จากนั้ น ปิ ด โน้ ต บุ๊ ก ถอด แบตเตอรีอ่ อก เพือ่ ทดสอบว่า มันยังสามารถชาร์จประจุได้ เต็ม หรือไม่? โดยมองหาปุม่ ที่ ใช้ทดสอบที่อยู่บนแบตเตอรี่ ซึ่ ง บางรุ่ น ก็ จ ะมี ส่ ว นแสดง ผลเล็ ก ๆ ให้ สั ง เกตได้ ง่ า ย ทั้ ง นี้ จ ะมี ค วามแตกต่ า งกั น ขึน้ อยูก่ บั แบตเตอรีข่ องผูผ้ ลิต แต่ละเจ้า 2. ถ้ า ไม่ จำ � เป็ น ต้ อ ง ออนไลน์ กั บ เครื อ ข่ า ยใดๆ แนะนำ�ให้ออฟไลน์จะดีกว่า (ยกเลิก disable การเชือ่ มต่อ กับเครือข่าย) การเชื่อมต่อ เครื อ ข่ า ยตลอดเวลาจะ ทำ�ให้โน้ตบุ๊กต้องใช้พลังงาน มากกว่าปกติ 3. ถอดอุ ป กรณ์ USB ออกจากพอร์ ต เมื่ อไม่ ไ ด้
ใช้งาน 4. ยกเลิกโพรเซสแบค กราวด์ ที่ ไ ม่ จำ � เป็ น ออกให้ หมด อย่างเช่น Rnaap ซึ่ง ถูกโหลดตอนไดอัลอัพ และ ค้างอยู่ในหน่วยความจำ� หรือ Msmsgs.exe กรณีที่คุณไม่ ได้ใช้ Microsoft Messenger เป็ น ต้ น แต่ ห้ า มยกเลิ ก โพรเซสของซอฟต์ แ วร์ ไฟร์ ว อล หรื อ แอนตี้ ไ วรั ส
System และ WINLOGON. EXE ส่วนวิธีกำ�จัดโพรเซสที่ ไม่จำ�เป็นให้เรียกโปรแกรม Task Manager (กดปุ่ ม Ctrl-Alt-Del) แล้วคลิกแท็บ Processes เลือกโพรเซสที่ ต้ อ งการลบออกจากหน่ ว ย ความจำ� คลิกปุ่ม End Process 5. เปลี่ยน Screensaver เป็น “Blank Screen” เพราะ
เพราะมั น จะทำ � ให้ ร ะบบ ของคุณตกอยู่ ในความเสี่ยง นอกจากนี้ยังห้ามลบโพรเซส ที่ สำ � คั ญ ของ Windows XP ซึ่งได้แก่ Explorer.exe, LSASS.EXE, services.exe,
มั น ไม่ จำ � เป็ น เลยที่ คุ ณ ต้ อ ง เสียพลังงาน เพื่อแสดงภาพ ดอกไม้ ไ ฟ, ตู้ ป ลา หรื อ ข้อความเลื่อนลอย 6. ถึงคุณจะไม่สามารถ ยกเลิ กโพรเซสการทำ � งาน
ร่วมถ่ายทอดประสบการณ์
ผ่านคอลัมน์ “สวนดอกพาเที่ยว” และ “อาหารการกิน” • ความยาวไม่เกินหนึ่งหน้าครึ่ง A4 ไฟล์ Microsoft Word ขนาดตัวหนังสือ 16 pt • ภาพประกอบ ไฟล์ JPG ถ่ายด้วยกล้องดิจิตอลความละเอียด ไม่น้อยกว่า 3 ล้าน Pixel • บทความที่ได้รับคัดเลือกลงข่าวสารคณะแพทย์รายเดือน จะได้รับเสื้อ “ครอบครัวข่าวชาวสวนดอก” เป็นที่ระลึก สามารถส่งบความมาได้ที่ nui_leo_natty@yahoo.com หรือ งานประชาสัมพันธ์ ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช.
ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2555 18
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ของซอฟต์ แ วร์ แ อนตี้ ไ วรั ส แ ต่ ก็ ไ ม่ ค ว ร กำ � ห น ด ใ ห้ ซอฟต์ แ วร์ ส แกนระบบโดย สมบู ร ณ์ ข ณะที่ ไ ม่ ไ ด้ เ สี ย บ ปลั๊ ก เพราะมั น จะทำ � ให้ พลังงานของแบตฯ หมดเร็ว จนน่าใจหายเลยล่ะ (กรณี ของการสแกนหาสปายแวร์ ด้วย) 7. สำ�คัญที่สุดคือ เมื่อ เวลาที่ โน้ตบุ๊ กไม่อยู่ ใน ระหว่างการใช้งาน แนะนำ� ให้ชัตดาวน์ระบบ หรืออาจ จะเข้ า โหมดแสตนด์ บ าย (standby) หรือไฮเบอร์เนต (hibernate) จะดีกว่าการ เปิดเครื่องทิ้งไว้เฉยๆ เชื่อว่า หากปฏิบัติตาม เทคนิ ค ง่ า ยๆ ทั้ ง 7 ข้ อ นี้ แล้วจะสามารถใช้ พ ลั งงาน จากแบตเตอรี่ บ นโน้ ต บุ๊ ก ได้นานขึ้น ไม่ต้องชาร์จบ่อย เหมื อ นแต่ ก่ อ น สำ � หรั บ วิ ธี ยืดอายุการใช้งานแบตเตอรี่ แนะนำ � ให้ ใ ช้ พ ลั ง งานจาก แบตเตอร์ รี่ ใ ห้ ห มดทุ ก ครั้ ง แล้ ว จึ ง ชาร์ จ ใหม่ จ นเต็ ม และเ มื่ อเต็มแล้วก็ควร ใช้ พ ลั ง งานจากแบตเตอรี่ แทนการเสียบปลั๊กต่อเนื่อง เป็ น เวลานานๆ เพราะ แบตเตอรี่จะเสื่อมเร็ว
กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ ฯ
ประชุมคณะทำ�งาน พัฒนาการบริการผู้ป่วยนอก รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลมหาราช นครเชี ย งใหม่ เป็ น ประธานในการประชุ ม คณะทำ � งาน พัฒนาการบริการผู้ป่วยนอก ครั้งที่ 1/2555 เพื่อพัฒนาการ ให้บริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ในทุกๆ ด้านให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน คณะแพทยศาสตร์ มช.
นิภาพสวยในสวนดอก ทรรศการ ครั้งที่ 3 รศ.นพ.นิเวศน์ นัน ทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. เป็ น ประธานเปิ ด งานนิ ท รรศการภาพสวยในสวนดอก ครั้งที่ 3 เพื่อเผยแพร่ความสวยงามของคณะแพทยศาสตร์ ในมุมมองที่หลากหลาย ส่งเสริมผลงานด้านการถ่ายภาพ ของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ พร้อมทัง้ นำ�ผลงานภาพทีส่ ง่ เข้าประกวดมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะฯ ต่อไป เมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 ณ บริเวณโถงชั้น 1 อาคารเฉลิม พระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มช.
ดูงานการแพทย์ล้านนา การแพทย์แผนไทย
รศ.นพ.สิริ เชี่ยวชาญวิทย์ ผู้ช่วยคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. และประธานคณะทำ�งานพิพธิ ภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ คณะแพทยศาสตร์ นำ�คณะทำ�งานฯ เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับ การแพทย์ลา้ นนา การแพทย์แผนไทย ทีศ่ นู ย์ฟนื้ ฟูสมรรถภาพ ผู้ป่วยในชุมชนแบบองค์รวม ซึ่งมีหมอพื้นเมืองมาให้บริการ อย่างเต็มรูปแบบ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ศูนย์ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยในชุมชนแบบองค์รวม วัดต้นเหียว โรงพยาบาลสารภี อำ�เภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ต้อนรับ Japan International Goodwill Foundation (JIGF) คณะแพทยศาสตร์ มช. ให้การต้อนรับ Dr.Akemi Ohnishi, Mr.Fumishige Ohnishi, Mr.Kageyuki Tatsuke จาก Japan International Goodwill Foundation (JIGF) ประเทศ ญี่ปุ่น ในโอกาสที่เดินทางมาพบปะหารือ และเยี่ยมชมคณะ แพทยศาสตร์ มช. เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้อง ประชุมชั้น 8 อาคารราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.
ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
19
กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ ฯ
ต้อนรับ National Science Foundation (NSF) คณะแพทยศาสตร์ ให้การต้อนรับ Dr.Nancy Sung, Program Director จาก National Science Foundation (NSF) และคุ ณ อลงกรณ์ เหล่ า งาม อั ค รราชทู ต ที่ ป รึ ก ษา ฝ่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ�นักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เข้าเยี่ยมพบปะหารือกับคณะผู้บริหาร และนักวิจัย ในโอกาสที่เดินทางมาพบปะนักวิจัยในประเทศไทย เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้อง ประชุมชั้น 8 อาคารราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช.
แพทย์ มช. ได้อันดับที่ 4 ในการแข่งขันตอบปัญหาทางจักษุวทิ ยา
ขอแสดงความยินดีกับ นพ.พรพัฒนะ วิจิตรเวชไพศาล แพทย์ประจำ�บ้านภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มช. ได้อันดับที่ 4 ในการแข่งขันตอบปัญหาทางจักษุวิทยา (ICO World Ophthalmology quiz) ประเภททีมในงาน World Ophthalmology Congress 2012 ระหว่างวันที่ 1620 กุมภาพันธ์ 255 ณ เมืองอาบูดาบี ประเทศสาธารณรัฐ อาหรับเอมิเรต
การเพิ่มพูน ทักษะการตรวจ
อัลตราซาวด์
20
ศูนย์ความเป็นเลิศ ทางการ แพทย์ จัดโครงการฝึกอบรม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารหลั ก สู ต ร “การเพิ่ ม พู น ทั ก ษะการ ตรวจอัลตราซาวด์” โดยมี ศ.พญ.มาลั ย มุ ต ตารั ก ษ์ จากภาควิชารังสีวิทยาคณะ แพทยศาสตร์ มช. ให้เกียรติ เป็นประธานในพิธีเปิด เมื่อ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องประชุมชั้น 15 อาคาร สุจิณฺโณ”
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ บริการตรวจสุขภาพ มูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์ มช. ร่วมกับ กลุม่ ประชาอาสา และมูลนิธโิ ครงการหลวง ออกหน่วยแพทย์ เคลื่อนที่บริการตรวจสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ศูนย์ แม่ทาเหนือ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2555 ณ บ้านแม่วอง ต.ทาเหนือ อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ สรุปผลการตรวจสุขภาพ ทั่วไป 40 ราย การตรวจภายใน 10 ราย การตรวจและรักษา สุขภาพฟัน 12 ราย แจกเครือ่ งอุปโภคบริโภค จำ�นวน 150 ชุด และให้บริการตัดผม 59 ราย
กิ จ ก ร ร ม ค ณ ะ ฯ
บรรยายพิเศษเรื่อง
ก้าวสู่วิชาชีพแพทย์ นายแพทย์ เ อื้ อ ชาติ กาญจนพิ ทั ก ษ์ จากแพทยสมาคม แห่งประเทศไทย บรรยายพิเศษเรื่อง “ก้าวสู่วิชาชีพแพทย์” ให้แก่นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 ที่สำ�เร็จการศึกษาประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร์ มช.
พิธีขอกราบลาสุมาอาจารย์ สำ�หรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6
รศ.นพ.นิ เ วศน์ นั น ทจิ ต คณบดี ค ณะแพทยศาสตร์ มช. เป็น ประธานในพิธีขอ กราบลาสุมาอาจารย์ สำ�หรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 ที่ สำ � เร็ จ การศึ ก ษาประจำ � ปี 2555 พร้อมทั้งถ่ายภาพหมู่ ชั้นปีร่วมกับคณาจารย์ เมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ บริเวณลานพระบรมรูป สมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราช ชนก คณะแพทยศาสตร์ มช.
โครงการศูนย์กลาง ทางการแพทย์ (Medical Hub) นาวาอากาศเอก รศ.ดร.ประสงค์ ปราณีตพลกรัง ประธานคณะที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพร้อมคณะฯ เยี่ยมชมโครงการศูนย์กลาง ทางการแพทย์ (Medical Hub) วัตถุประสงค์เพื่อรายงานความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค และความต้องการให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสนับสนุน พร้อมกับ รับฟังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการพัฒนา โครงการดังกล่าว โดยมี รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มช. พร้อมด้วย คณะผู้บริหาร ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคาร ราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
21
ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่
เรียบเรียงโดย นายแพทย์วรพันธ์ อุณจักร รหัส 107034
Meeting
รุ่น 10 มื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2 5 5 4 ที่ ผ่ า น ม า สมปอง เพื่อนของเรา ก็ เ ปิ ด Resort ที่ จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ใช้ชื่อของ “อินและจัน” เป็นชือ่ Resort กะทัดรัด มีบา้ นของสมปอง เองและห้ อ งพั ก ที่ จ ะเปิ ด บริการแบบ Home Stay อยู่ 11 ห้อง มีสระว่ายนํ้า มีบริเวณที่ติดแม่นํ้าท่าจีน ซึ่งมีต้นโพงพางอยู่ ทำ�ให้ ตอนกลางคื น สามารถดู หิ่งห้อยกันได้ “อินและจัน” เป็น Resort ที่น่ารักมาก เพื่ อ นฝู ง ท่ า นใดอยากจะ ไปใช้บริการ สมปองคงจะ ดีใจมาก ติดต่อสมปองได้ที่ เบอร์ 081-3068939 เพื่อนฝูงจากเชียงใหม่ มี เสาวลั ก ษณ์ , สุ เ มธ, อำ�นวย, วีรวัฒน์, มาลัย และผมวรพันธ์ เราออกกัน ตั้งแต่ตี 5 จากเชียงใหม่ ไปแวะบ้ า นเพชริ น ทร์ ที่ ลำ�ปาง ไปขอข้าวต้มกระดูก หมู ตุ๋ น ที่ บ้ า นเพชริ น ทร์ กินกันอร่อยมาก หลังจากนัน้ เราก็เดินทางกันต่อ โดยมี เพชริ น ทร์ ติ ด สอยห้ อ ย ตามไปด้วย ไปถึงอ่างทอง 22
ประมาณบ่ า ยสองโมง พิ เ ชฐเจ้ า ของบ้ า นก็ เ ป็ น เจ้าภาพพาพวกเราไปทาน ข้ า วเที่ ย งกั น ซึ่ ง ต้ อ งขอ ชมว่ า ปลาตะเพี ย นทอด กรอบผั ด พริ ก อร่ อ ยมาก ก้างกรอบสมใจเลย เสร็จ แ ล้ วไ ป แ ว ะ บ้ า น พิ เ ช ฐ ซึ่งเพื่อนๆ ตื่นตาตื่นใจใน ความใหญ่ แ ละสวยของ บ้ า นมาก แล้ ว เราก็ ช วน พิ เ ชฐกั บ ลู ก สาว (เป็ น หมอตา) เดินทางร่วมกันมา ไปแวะรั บ บรรฑู ล ย์ แ ละ ภรรยาที่อยุธยา แล้วก็เดิน ทางต่อไปยัง “อินกับจัน” ที่ สมุทรสงคราม เจอเพือ่ นฝูง
ข่าวสารคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลายคน มี ป ระเสริ ฐ กั บ ภรรยา, กำ�ธร นิตมิ านพกับ ภรรยา, สุนทรกับภรรยา, อรรณพ, สุธารี, ภัทริภา, วิ โ รจน์ , วิ จิ ต ร, ทศพร และภรรยาก็ แ วะมาด้ ว ย หลั ง จากไปร้ อ งเพลงที่ กรุ ง เทพฯ ก็ เ ลยมาที่ งานด้ ว ย กิ น ข้ า วคุ ย กั น สนุกสนาน ตอนเที่ยงคืน มี เ พื่ อ นคน หนึ่ ง มาโชว์
ว่ า ยนํ้ า ลี ล าในสระของ สมปอง ซึ่ ง ผมเองทนดู ไม่ ไ หวในลี ล าอั น ที่ เ จ้ า ตั ว คิ ด ว่ า อ่ อ นช้ อ ยสวยงาม เลยหนี ไ ปอาบนํ้ า นอน เสียก่อน ตอนเช้าสมปอง ก็ ช่ ว ยบริ ก ารให้ ค นไปซื้ อ ปลาทู ปลาเค็ม กะปิและ กุ้งแห้งให้กลับมา ผมทอด ปลาเค็มกินอร่อยมากเลย ตอนเที่ ย งขากลั บ เราแวะ ไปส่งบรรฑูลย์และภรรยา ที่อยุธยา บรรฑูลย์เลยพา ไปเลี้ ย งกุ้ ง เผาที่ อ ยุ ธ ยา อร่อยมาก หลังจากนั้นก็ แวะไปส่งพิเชฐและลูกสาว ที่ อ่ า งทอง แล้ ว เดิ น ทาง กลับมาถึงลำ�ปางประมาณ 2 ทุ่ ม เพชริ น ทร์ ก็ เ ลี้ ย ง ข้าวต้มอีก อร่อยมาก กลับ มาถึงเชียงใหม่ก็ประมาณ เที่ยงคืน
…มีเพือ่ นฝูงหลายคน เ ส น อ ว่ า พ ว ก เ ร า ก็ เ กษี ย ณกั น แล้ ว ตอนนี้ยังพอเดินทาง กั น ไหวอยู่ น่ า จะจั ด Meeting รุ่ น ปี ล ะ สองครั้ ง ไปเที่ ย ว ตามสถานที่ ต่ า งๆ น่ า จะสนุ ก ดี ผมก็ เลยอยากให้เพือ่ นฝูง ลองเสนอความคิ ด กั น มาว่ า อยากจะมี Meeting กันหรือไม่ ถ้ า มี อ ยากจะไปกั น ที่ไหน ขอให้เสนอกัน มาผมจะได้ ร วบรวม และเสนอให้พวกเรา ทราบต่อไป
ส ม า ค ม ศิ ษ ย์ เ ก่ า แ พ ท ย์ เ ชี ย ง ใ ห ม่
นพ.สมจิต สุขุประการ (รุ่น 3)
ผ่าฝี…นี่ยากไหม? ลายปี พ.ศ. 2510 วั น หนึ่ ง ผมออก ต ร ว จ ค น ไ ข้ ที่ โอพีดีศัลย์ บ่ายมากแล้ว มีแพทย์ฝึกหัดมากบอกว่า มี ค นไข้ ช ายคนหนึ่ ง เป็ น ฝี ขนาดใหญ่ที่ขาหนีบ และ เขามี ป ระวั ติ ถู ก เกวี ย น ทั บ ขาเมื่ อ 6 เดื อ นก่ อ น เวลาเขาจะทำ � การผ่ า ฝี (Incision and Drain (I&D)) ให้ ผ มไปช่ ว ย คุ ม ด้ ว ย ผมรั บ ปากเขา เขาบอกอี ก ว่ า คนไข้ ซี ด น่าจะให้เลือดสัก 1 ขวด แ ล ะ น่ า จ ะ รั บ ไ ว้ เ ป็ น ผูป้ ว่ ยในด้วย ผมตอบตกลง พอเขาเริ่ ม ให้ เ ลื อ ดแล้ ว เขาก็ ม าตามให้ ไ ปคุ ม ทำ � I&D ผมสอนเขาว่ า การทำ � I & D ให้ทำ�ดังนี้
1. ใช้ Ethyl Chloride พ่นเป็นยาชาเฉพาะที่ (Topical anesthesia) สมั ย นั้ น เขาสอนว่ า ห้ า ม ฉีดยาชาเพราะจะทำ�ให้แผล หายช้า 2. ใช้มีดปลายแหลม ซึ่ ง บ า ง ค น เ รี ย ก ว่ า มี ด ชายธงแทงตรงยอดของฝี ให้ ป ลายมี ด ทะลุ ผ นั ง ของ โพรงฝี ก่ อ นแล้ ว ดึ ง มี ด ขึ้ น ช้ า ๆ พร้ อ มกั บ ดั น คมมี ด ไปข้างหน้าเราก็จะได้แผล เปิดที่กว้างพอ โดยคนไข้ จะรู้สึกเจ็บน้อยที่สุด เขา สอนกันว่าถ้าค่อยๆ กรีด เหมื อ นการผ่ า ตั ด ทั่ ว ไป คนไข้จะเจ็บมากกว่า ที่ ว่ า มานี้ ว่ า ตามตำ �รา อเมริ กั น สมั ย นั้ น จำ � ชื่ อ ตำ�ราไม่ได้แล้ว
พอแพทย์ฝึกหัดดึงมีด ออกเท่านั้น เลือดพุ่งขึ้นไป ถึงเพดานห้อง คนไข้รอ้ งว่า “หน้ามืดแล้วครับ” อ้าว! นีม่ นั เส้นเลือดโป่ง เนื่องจากอุบัติเหตุ (Traumatic aneurysm) เ ร า ช่ ว ย กั น Pa c k Incision ด้วยผ้ากอซแล้ว พันด้วย Elastic Bandage ก็สามารถห้ามเลือดได้ คนไข้รอดตายแล้วและ รับเขาไว้ในโรงพยาบาล
…การผ่าฝีนั้นไม่ยาก แต่ ก ารวิ นิ จ ฉั ย โรค อาจผิ ด ได้ แต่ เ รา ประมาท ใช้ดอู ย่างเดียว ไ ม่ เ ค า ะ แ ล ะ ฟั ง บังเอิญในผูป้ ว่ ยรายนี้ มั น เ ห มื อ น เ ป็ น ฝี (Abscess) มาก
แจ้งข่าว…สมาคมศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ • ศิษย์เก่าท่านใดทปี่ ระสบความสำ�เร็จในหน้าที่การงานงานอดิเรกหรือกิจกรรมที่ชอบต้องการเผยแพร่ให้ศิษย์เก่าท่านอื่นได้ทราบเพื่อเป็นตัวอย่างอันดี ขอติดต่อมาที่สมาคมฯ • ศิษย์เก่าที่เปลี่ยนแปลงที่อยู่กรุณาแจ้งทอี่ ยู่ใหม่มาให้กับทางสมาคมฯด้วยเพื่อท ี่จะได้ปรับปรุงแก้ไขในทำ�เนียบศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่ต่อไป ติดต่อได้ที่: สมาคมศิษย์เก่าแพทย์เชียงใหม่คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่110ถนนอินทวโรรสต.ศรีภูมิอ.เมืองจ.เชียงใหม่50200 โทรศัพท์053-946291,084-8095636,089-4349383(จันทร์-ศุกร์เวลา08.00-16.00น.)E-m ail:mdalumni@mail.m ed.c mu.ac.th บรรณาธิการ: นพ.ส มศักษิ์วงษ์ไวยเวช2307081 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 ประจำ�เดือนมีนาคม 2555
23
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขอเชิญร่วมบริจาค
เพือ่ จัดซือ้ ครุภณ ั ฑ์การแพทย์ อาคารศูนย์ความเป็นเลิศ ทางการแพทย์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษามหาราชา ติดต่อบริจาคได้ท:่ี งานประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทร. 0 5394 5672