Long

Page 1

3. มิติทางด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ทุกคนได้ประโยชน์มีรายได้พึงตนเองได้

4. มิติการเรียนรู้เป็นพื้นที่การเรียนรู้ สำาหรับทุกคนมีสุนทรียะในการเรียนรู้ตามอัธยาศัย

ชุมชนจะอยู่แบบเดิมไม่ได้แล้ว จากสถานการณ์วิกฤติโลกร้อน วิกฤต โควิด-19 วิกฤติทางเศรษฐกิจ การเมืองที่มีความขัดแย้ง สังคมเหลื่อมล้ำาความยากจนมากมายในสังคม สถานการณ์นี้สังคมจะดึงให้ชุมชนวิกฤตไปด้วยหากชุมชนไม่ตังตัวตังหลักใหม่ ในภาวะที่เศรษฐกิจ โลกกำาลังตกต่ำา จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจระดับประเทศ ตลาดแรงงานจะหดตัว คนตกงานทัง แรงงานบริษัท โรงงานและคนรุ่นใหม่ที่จบการศึกษาจะกลับถิน เศรษฐกิจท้องถินจะเป็นฐานที่สำาคัญ ในอนาคตที่จะค้ำายันเศรษฐกิจระดับประเทศ ท้องถินมีฐานสำาคัญคือชุมชน วิถีภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ในแต่ละท้องถิน การตังหลักวิเคราะห์ต้นทุนของชุมชนอย่างลึกซึงและจริงจัง เพื่อเป็นฐานการ พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก พร้อมกับการฟื้นฟูระบบนิเวศที่สมบูรณ์ยังยืน ชุมชนที่เข้มแข็งเบนฐาน วิถีชีวิตศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิน ในโมเดลชุมชนหัตถกรรม ชุมชนสร้างสรรค์ ชุมชนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กระบวนการจะเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชนและสังคมในอนาคตที่ทุกคนอยู่ร่วมกัน ในรูปแบบชุมชน สร้างสรรค์ ที่มีการพัฒนาใน 5 มิติประกอบด้วย 1. มิติด้านนิเวศ การมีพื้นที่สีเขียวมีธรรมชาติและสิงแวดล้อมอย่างยังยืน
2. มิติด้านศิลปวัฒนธรรม การฟื้นภูมิปัญญาท้องถิน ที่มีการพัฒนาและสร้างสรรค์
5. มิติการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข วิถีการอยู่ร่วมกันแบบแบ่งปันเกื้อกูลกันและมีความสุข “ชุมชนโหล่งฮิมคาว” เป็นชุมชนเล็กๆที่ตังอยู่ริมน้ำาแม่คาว ได้ร่วมกันพัฒนาชุมชนอย่างเป็นธรรมชาติ ผสมผสานวิถีเดิมและความร่วมสมัย เป็นชุมชนสร้างสรรค์มีการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จนเป็น พื้นที่ท่องเที่ยว เป็นพื้นที่เรียนรู้ดูงานของกลุ่มองค์กรชุมชนต่างๆ ทังในจังหวัดเชียงใหม่และทัวประเทศ ที่ผ่านมาชุมชนได้ขับเคลื่อนด้วยตนเอง พบกับปัญหาบทเรียนและความท้าทายมากมายที่น่าจะ แบ่งปันประสบการณ์การทำางานสำาหรับชุมชนและผู้สนใจ ทางชุมชนโหล่งฮิมคาวร่วมกับสถาบัน พัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จึงได้รวบรวมความรู้ประสบการณ์บทเรียนและความท้าทาย ในการพัฒนาชุมชนในยุค next normal เพื่อการศึกษาเรียนรู้ในวงกว้างต่อไป ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานชุมชนโหล่งฮิมคาว “คำเกริ่นนำ”
บ้านมอญชุมชนชาวเขินริมน้ำาแม่คาว 6 ชุมชนบ้านมอญ กับกระแสธารการเปลี่ยนแปลง 8 สวนธรรมดา จากเกษตรผสมผสานสู่ไม้หลากพันธ 9 ชักชวนเพื่อนพ้องมาซื้อที่ดินกลับคืน 10 ลงหลักปักฐานสร้างบ้านสร้างเรือน 12 มีนามีข้าว ร้านอาหารดึงคนเข้ามาชุมชน 14 งานโล๊ะคัวฮอม ตอมครัวฮัก 15 กาดต่อนยอน 18 ฉำาฉา Market 27 ชุมชนโหล่งฮิมคาว การจัดการบริการ 28 กฎกติกา ของชุมชนโหล่งฮิมคาว 29 ร้านค้าในชุมชน โหล่งฮิมคาว 32 ข่วงเฮียน ข่วงละอ่อน 52 ชุมชนโหล่งฮิมคาว สู่...ชุมชนสร้างสรรค์ 53 ชุมชนสร้างสรรค์ในแบบของ โหล่งฮิมคาว 54 กิจกรรม โหล่งฮิมคาว 56 ปัญหา อุปสรรค และความท้าทาย 57 สำานักงานชุมชนโหล่งฮิมคาว 58 สารบัญ

เมื่อประชากรเพิมมากขึนมีการขยายตัวของสมาชิกชุมชนจึงแยกหมู่บ้าน

แม่คาวชาวบ้านเรียกพื้นที่นาโล่งกว้างหลังวัดว่า“โหล่งฮิมคาว”

6 บ้านมอญ ชุุมชุนชุาวเขิินร ิมนาแม่คาว คนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟังว่าในสมัยพระยากาวิละครั งเมื่อได้ร่วมมือกับพญาจ่าบ้านไปขอกำ า ลัง พระเจ้าตากสินมหาราช ตีขับไล่พม่าที่ยึดครองเมืองเชียงใหม่มายาวนานถึง 216 ปี สำาเร็จ เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองรกร้างจึงได้มีการไปกวาดต้อนผู้คนช่างฝีมือจากเมืองต่างๆ มาบูรณะ เมืองเชียงใหม่ ชุมชนบ้านมอญถูกกวาดต้อนจากเชียงตุง เป็นกลุ่มชาวเขินจากลุ่มน้ำาเขิน เมื่อบูรณะเมืองเชียงใหม่ เสร็จ ขณะนันตังชุมชนอยู่ริมกำาแพงเมืองเชียงใหม่ พระยากาวิละได้ให้เลือกว่าจะอยู่ในเมืองหรือ อยู่นอกเมือง ชุมชนเลือกมาตังชุมชนอยู่ระหว่างแม่น้ำากวงกับแม่น้ำาคาว ติดมาทางริมน้ำาแม่คาว เป็นที่ราบลุ่มเหมาะในการทำานา บริเวณพื้นที่ตังชุมชนมีต้นหม่อนพื้นเมืองขึนอยู่โดยทัวไปจึงตัง ชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านหม่อน” ต่อมาเสียงกร่อนไปจึงเรียกว่า “บ้านมอน” เมื่อมีการจัดตังเป็นชุมชน ต่อกรมการปกครองอย่างเป็นทางการจึงถูกตังชื่อว่า ”บ้านมอญ” คนทัวไปเข้าใจว่าเป็นคนมอญ แท้จริงเป็นชาวเขิน เดิมบ้านมอญมีหมู่บ้านเดียว
เป็น บ้านมอญ หมู่ 1 และ บ้านมอญ หมู่ 2   วิหารวัดบ้านมอญตั งอยู่ที่ บ้านมอญหมู่ 1 แต่อุโบสถ ตังอยู่ที่บ้านมอญหมู่ 2 บ้านมอญหมู่1 จึงร่วมกันสร้างอุโบสถจัดตังเป็นวัดบ้านมอญ ส่วนบ้านมอญ หมู่ 2 ก็ร่วมกันสร้างวิหารจัดตังเป็นวัดสีมารามมาจนถึงปัจจุบัน พื้นที่หลังวัดสีมารามในอดีตเป็น
ที่นาทุ่งโล่งกว้างไปจนถึงริมน้ำา
หมายถึงบริเวณพื้นที่โล่งกว้างริมน้ำาแม่คาว
7 โหล่่งฮิิมคาว ซอย 11 บ้านมอญ หม 2 ตำำบล่สันกล่าง อำเภอสันกำแพง จัังหวัดเชุียงใหม

จากชุมชนเกษตรกรรมเปลี่ยนเป็นชุมชนผู้ประกอบการรายย่อยอยู่ในชุมชนและในตัวเมือง

8 การเติบโตขึนของชุมชนจากการขยายตัวของเมืองเชียงใหม่ ประกอบกับนโยบาย“เปลี่ยนสนามรบ เป็นสนามการค้า” การพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ขับเคลื่อนให้สถานการณ์ “ที่ดินบูม”
เป็นที่เลี้ยงควายของ ลุงมา เขื่อนปะ ชาวบ้าน ที่ยังคงทำาสวนอยู่ติดกับสวนธรรมดา ชุุมชุนบ้านมอญ กับกระแสธารการเปล่ี่ยนแปล่ง
ที่ดินผืนนาของชาวบ้านมอญรวมทังที่ดินริมแม่น้ำาคาวถูกขายให้กับคนกรุงเทพและคนนอกชุมชน
เชียงใหม่ ผืนนาเมื่อไม่ได้ทำานาถูกทิงร้างกลายเป็นป่าไมยราบ
9 สวนธรรมดา จัากเกษตำรผสมผสานสไม้หล่ากพันธุ สวนธรรมดาเป็นส่วนเล็กๆที่ตังใจปลูกไม้ผล มะม่วง มะขาม ลำาไย ขุดบ่อเลี้ยงปลา ปลูกไผ่และ ไม้สัก เป็นสวนที่ได้แรงบันดาลใจจากการเรียนรู้เรื่อง “วนเกษตร” จาก ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ปราชญ์ด้านการเกษตรที่ภาคตะวันออกอากาศบริสุทธิในบ้านสร้างเองได้ด้วย... หวังจะได้เก็บกินเก็บใช้ในยามแก่เฒ่า ด้วยความชอบรูปทรงของหลองข้าว (ยุ้งข้าว) สไตล์ล้านนาที่เสาสอบเข้าหากันเพื่อรองรับน้ำาหนัก ข้าวเปลือก มีแวงใหญ่รับ จึงค่อยๆสร้างทีละหลัง หลังแรกได้จากบ้านมอญ หลังที่สองจากหางดง หลังที่สามจากฮอดและหลังที่สี่จาก โสภิต ธนวรรณ บอกว่าถ้าอยากได้ยกให้ไปขนเอามาเลย ความบ้างานไม่มีเวลาดูแลสวนจึงเป็นการปล่อยปะละเลย มีต้นไม้เกิดเองบ้าง นกมาปลูกให้บ้าง จำาพวกต้นฉำาฉา ต้นข่อย ต้นมะกอกและต้นไทรงอกงามเติบโตรวดเร็วจนปกคลุมไม้ผลจนกลาย เป็นป่านานาพรรณไม้ อยากจะบอกตรงนี้ว่า ป่าสร้างได้จริงๆ จากที่นาโล่งๆ ที่ซื้อต่อมาจาก ลุงมา เขื่อนปะ เพียงหนึงไร่ครึง เพื่อทำาสวน ตอนนี้เป็นป่าไปเรียบร้อยแล้วในเวลา 30 กว่าปี

ที่ร่วมกัน 9 คนแบ่งกันคนละงานสองงาน

ตกลงกันว่าใครจะอยู่ตรงแปลงไหน อีกสองปีต่อมาเจ้าของที่ดินด้านทิศเหนือถนน ประกาศขายที่ดินอีกจึงชวนเพื่อนชวนพี่ชวน

ชุักชุวนเพอนพ้อง มาซ่�อที่ี่ดินกล่ับค่น ช่วงปี 2550 เจ้าของที่ดินเริมทยอยขายที่ดิน ที่ซื้อไว้ จึงชวนพี่ชวนน้องชวนเพื่อนๆ ร่วมกัน ซื้อที่ดินกลับคืนมาเริมจากด้านทิศใต้ของถนน
โดย
น้อง 12 คนมาร่วมกันซื้อคนละหนึงงาน (100 ตารางวา) ตกลงกันใครจะเลือกอยู่แปลงไหน จนทุกคนพอใจร่วมกัน เป้าหมายเบื้องต้นเราจะอยู่อาศัยร่วมกันอย่าง สงบในยามเฒ่ายามแก่ตั งชื่อหมู่บ้านกันเล่นๆ ว่า “ชราวิลล่า” มีข้อตกลงร่วมกันว่า จะสร้างบ้านในแนวแบบ พื้นบ้านล้านนา เพื่ออนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ล้านนา หรือสร้างบ้านแบบเก๋ๆ และตกลงจะ ช่วยกันปลูกต้นไม้ให้เกิดความร่มรื่น สร้างพื้นที่ สีเขียวให้กับชุมชน ทังในบ้านแต่ละหลังและ ตลอดแนวถนน
11
อดตำ ปจัจับัน

สร้างบ้านสร้างเร่อน

12 บ้านกิก ปลูกในแบบบ้านร่วมสมัย มีสีสัน สดใสตามสไตล์เจ้าของบ้าน บ้านแม่ฑีตาก็ยกบ้านเก่าจากสันป่าตองมา สร้างในแบบดังเดิมเป็นเรือนล้านนาสองจัว มีป๊ะหน้า และมีชานพักหน้าบ้าน สวนธรรมดามีอยู่ก่อนแล้ว เป็นบ้านสไตล์ยุ้งข้าว สี่หลังและมีการสร้างบ้านดินเพิมอีกหลัง บ้านอุษาก็สร้างติดกับสวนธรรมดาตั งแต่ก่อนการ มาซื้อที่ดินร่วมกัน
ล่งหล่ักปักฐาน
บ้านอันดามันมัดย้อมเริมสร้างเรือนไม้จัวเดียว ใต้ถุนสูง

ในอดีตที่นี่จึงเป็นที่พักอาศัยและที่เก็บของดี ผลิตภัณฑ์งานฝีมือของแต่ทุกคนไปออกร้าน จำาหน่ายงานหัตถกรรมที่เมืองทองธานี ไบเทค บางนาศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคเหนือ เซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า ถนนคนเดินวัวลาย เป็นต้น

ต่อมาก็เฮือน ณ ใจ๋ ย้ายบ้านเก่าจากอำาเภอ แม่แจ่มมาสร้างแบบล้านนาจัวเดียว ตามมาด้วยบ้านร้านเปิงใจ๋ ปลูกเฮือนล้านนา 2 จัว ในแบบของแม่แจ่ม บ้านล้านนาหลังใหญ่ของอาน้อยแบบเมืองแพร่ บ้านล้านฝ้ายงาม สร้างบ้านทันสมัยอยู่ด้านหลัง แต่ต่อมาได้สร้างหน้าร้าน แบบล้านนาเพิมขึน ภายหลัง ร้านทองดี Antiques &Handicrafts สร้างทรง สี่เหลี่ยมร่วมสมัย พร้อมๆกับการนำ า รถบัสมาสร้างเป็นร้าน BUS PIZZA บ้านปูนสีเหลืองชันเดียว บ้านครึงไม้ครึงปูนร่วม ผสมผสานภาคกลางกับภาคเหนือ บ้านปูนทรง หมาแหงนในลีลาร่วมสมัย บ้านพักอาศัยหลาก หลายแบบหลากหลายสไตล์ตามแบบตาม สไตล์เจ้าของบ้านมาอยู่ร่วมกัน สร้างโดยช่าง ในชุมชนช่วยกันดูแบบช่วยกันหาวัสดุ

ร้านอาหารดึงคนเขิ้ามาชุุมชุน

เมื่อลูกสาวออกเรือนกับหนุ่มไทยสัญชาติออสเตรเลียและขอลูกสาวไปทำาร้านอาหารไทยที่ประเทศ

14
ขิาวห้าสี มีนามขิ้าว
ออสเตรเลีย ด้วยใจที่อยากให้ลูกสาวอยู่ใกล้ๆจึงมีข้อเสนอ ลองไปดูสวนธรรมดาของพ่อก่อนสิลูก ว่าทำาร้านอาหารได้ไหม ถ้าสนใจและทำาได้พ่อยกให้เลย!! สวนธรรมดาที่มีความรกอันงดงามถูกปรับจนดูดี จากที่มีหลองข้าวหลายหลัง จึงเป็นที่มาของชื่อ “ร้านมีนามีข้าว” ร้านอาหารไทย 4 ภาค อาหารฟิวชัน อาหารจานสวยที่มีข้าวเป็นสตอรี่หลักของร้าน โดยมีข้าวห้าสี ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวมะลิแดงข้าวมะลิขาว ข้าวอัญชัญ ข้าวคำาฝอยเป็นดาวเด่นของร้าน แรกๆก็ไม่ค่อยมีคนมา ค่อยๆชักชวนเพื่อนพี่น้องมากินกัน และจากที่สมาชิกชุมชนร่วมกันจัดงาน โล๊ะคัวฮอมตอมคัวฮักในร้านมีนา 2 ครัง ทำาให้ค่อยๆ รู้จักบอกปากต่อปากและการสื่อสารออนไลน์ รูปข้าวห้าสีและอาหารจานสวยจึงเริมเป็นที่รู้จักมากขึน ประกอบกับเทรนด์การท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไป จากการนัง รถบัสคันใหญ่ๆ เที่ยวร้านใหญ่ๆ เปลี่ยนเป็นการขับรถซอกแซกๆไปกันทุกที่ที่น่าสนใจ
15
ร้านมีนาอยู่ท้ายซอยก็ยังมีคนเดินทางดันด้นมาทานกัน สมาชิกชุมชนจึงเริมมาพูดคุยกันว่าน่าจะจัดกิจกรรมร่วมกัน เริมนำาเอาชื่องานที่ อาจารย์วิลักษณ์ ศรีป่าซาง เคยตังชื่อ เมื่อครังจัดงานที่บ้านร้านปกาเกอะญอเมื่อนานมาแล้ว เพื่อโล๊ะของที่เก็บจนเต็มบ้าน ใครมีของอยากเอามาแบ กะดินก็นำามาวางตังราคาแบบถูกๆ แบบสนุกๆ โดยขอใช้ พื้นที่ใต้ต้นไม้อันร่มรื่นของร้านมีนา คนขายก็สนุกคนมา ซื้อก็มีความสุข มีคนมาร่วมกิจกรรมพอสมควร จึงตกลงจัดอีกครังหนึงในช่วงปลายปี  ก็ยังสนุกและมี ความสุขกัน ในระหว่างการขายของก็พูดคุยกันไปน่าจะ ช่วยกันตัง ตลาดน่ารักๆแบบนี้อีก แต่ร้านมีนาคนเริมมากขึน ที่จอดรถไม่เพียงพอจึงไม่สามารถจัดตลาดในร้านมีนาได้
งานโล่๊ะคัวฮิอม ตำอมครัวฮิัก
ปี 2558 กาดตำ่อนยอน เริ่มครังแรก ปี 2559 “ตำวซ้ามากาด” ปี 2560 “เตำวกองดอก” ปี 2561 “เล่่าเร ่องผ้าฝ้ายงาม ผ้าครามสวย”
2562 “ตำ่อนยอนออนคราฟที่�สตำรีที่”
2563 “ตำัวตำนคนโหล่่ง ชุุมชุนคนสร้างสรรค”
2564 “ตำ๊ะตำ่อนยอน”
2565 “เซาะเศษแป๋งศิล่ป์”
ปี
ปี
ปี
ปี
19 บ้านแต่ละหลังทยอยปลูกกันหลายหลังแล้ว ต้นไม้ที่ช่วยกันปลูกในบ้านแต่ละหลังและตาม แนวถนนเริมเติบโต จึงตัดสินใจร่วมกันว่าจะ จัดงานตลอดแนวถนนในชุมชน ช่วยออกความ คิดแลกเปลี่ยนหาข้อสรุปทีละเรื่องกันเราจะ เรียกพื้นที่นี้ว่าอะไร? ตกลงเอาชื่อดั งเดิมที่ชาวบ้านเรียกขานพื้นที่ ตรงนี้ว่า “โหล่งฮิมคาว” โหล่ง หมายถึง อาณาบริเวณพื้นที่โล่งกว้าง ฮิมคาว หมายถึง ริมน้ำาแม่คาว เราจะจัดงานอะไร? พูดคุยแลกเปลี่ยนกันสนุกสนานมาก ข้อเสนอ ที่ได้รับความสนใจจากทุกคนคือกิจกรรมที่ สะท้อนความเป็น Slow Life วิถีช้าๆ ที่ไม่เร่งรีบ ไม่แข่งขัน ไม่แย่งชิง อยู่กันแบบม่วนๆ ภาษาอังกฤษดูไกลไป ช่วยกันคิดคำาล้านนา คำา เมืองๆ อะไรดี
ต่อนยอน จึงใช้ชื่องานว่า กาดต่อนยอน ลองช่วยกันอธิบาย กาดต่อนยอนให้เข้าใจง่ายง่ายหน่อยซิว่ามัน คืออะไร? ในที่สุดก็ออกมาเป็นสโลแกนของ งานว่า “เดินช้าๆ กินช้าๆ ซื้อขายช้าๆ อู้จากันม่วนม่วน” กาดตำ่อนยอน จัึงเริ่มขิึ�น (2558)
ในที่สุดก็โป๊ะเชะที่คำาว่า
20 การจัดงานโดยใช้พื้นที่ชุมชนในถนนซอย 11 จึงต้องมีการตกแต่งซุ้มหน้าชุมชนโหล่งฮิมคาว และประดับประดาตกแต่งกันแบบเรียบง่าย ตลอดแนวถนน 400 เมตร ช่วงเวลาในการจัด งานเสนอกันว่าควรจะเป็นหน้าหนาว กาดตำ่อนยอน 2559 “ตำิ�วซ้ามากาด” โดยเชื่อมโยงกับงานประเพณีของเชียงใหม่ จึงตกลงเลือกกันในช่วงประเพณียี่เป็งปี 2559 การจัดงานครังแรกชุมชนตกลงใช้ธีม ในการ จัดงานกาดต่อนยอน ตอน “ติวซ้ามากาด” หิว ตะกร้ามาจ่ายตลาดแต่งชุดพื้นเมืองล้านนา ใครแต่งชุดงามตามธีมการจัดงาน ก็มอบของที่ ระลึกที่ขอรับบริจาคจากร้านค้าในชุมชนและ ร้านค้าต่างๆที่มาร่วมงาน ในช่วงประเพณียี่เป็ง ชุมชนจึงร่วมสืบสานประเพณียี่เป็งโดยแต่ละ บ้านจัดตกแต่งซุ้มประตูป่าจุดผางประทีป สวยงามโดยความร่วมมือของทุกบ้านในชุมชน
21 ปีนี้เป็นปีที่ในหลวง ร.9 สวรรคต หมู่บ้านต่างๆ มีการรณรงค์ปลูกดอกไม้กัน ชุมชนโหล่งฮิมคาว จึงตกลงใช้ธีมงานเตวกองดอก เตว แปลว่า เดิน กอง หมายถึง ถนนเส้นเล็กๆ ดอก คือ ที่โหล่งฮิมคาว สมาชิกร่วมกันปลูกดอกไม้ของแต่ละบ้าน ปลูกต้นปอเทืองในที่นาท้ายชุมชนโหล่งฮิมคาว ให้เป็นจุดถ่ายรูปเช็คอินกัน การจัดงานก็เชิญชวนเครือข่ายหัตถกรรมมา ออกร้านจำ าหน่ายผลิตภัณฑ์ทำ ามือ มีกิจกรรม แฟชันโชว์ประจำาปี และมีดนตรี การแสดงศิลป วัฒนธรรมและการจุดผางประทีป 1,000 ดวง กาดตำ่อนยอน 2560 “เตำวกองดอก” ซุ้มแต่ละบ้าน ซุ้มทางเข้าชุมชน และซุ้มตาม แนวถนนก็ตกแต่งด้วยดอกไม้อย่างสวยงาม

กาดตำ่อนยอน 2561

22 สมาชิกโหล่งฮิมคาวพูดคุยวิเคราะห์กันว่า ส่วนใหญ่ งานหัตถกรรมในชุมชน เป็นผ้าฝ้าย ทอมือ ผ้าย้อมครามเป็นส่วนใหญ่ จึงตกลงจัด งานกาดต่อนยอน ตอน “ผ้าฝ้ายงามผ้าครามสวย” เริมจากช่วยกันเตรียมพื้นที่ปลูกสวนฝ้าย ปลูก สวนคราม ให้ฝ้ายแตกปุยฝ้ายและต้นครามโต
พร้อมด้วยอุปกรณ์การทอผ้าต่างๆตลอดทาง เดินสองฝังถนนเป็นการสาธิตทุกขันตอนของ กระบวนการทอผ้า จากการเก็บปุยฝ้าย การอีต เมล็ดฝ้ายออกจากปุยฝ้าย การยิงให้ฝ้ายฟู การ ม้วนฝ้ายเป็นหาง
พอที่จะย้อมในช่วงจัดงานพอดี ซุ้มทางเข้าตกแต่งด้วยปุยฝ้ายสีตุ่นและสีขาว
การดึงเส้นฝ้าย การทอผ้า และกระบวนการย้อม คราม ตังแต่การตัดต้นครามมาหมักน้ำาด่าง การเติม น้ำามะขามน้ำาอ้อย
คราม
โดยให้ทุกคนที่มาร่วม เรียนรู้ได้ทั งการชมนิทรรศการและการทดลองลงมือ ทำาด้วยตนเอง ส่วนกิจกรรมอื่นก็ยังมีการออกร้านหัตถกรรมการ เดินแฟชันโชว์ ของชุมชน ดนตรี การแสดงศิลปวัฒนธรรม และการจุดผางประทีป 1,000 ดวง
ผ้าฝ้ายงามผ้าครามสวย”
การโจกครามเพิมออกซิเจนในเนื้อ
การนำาผ้ามาย้อมคราม
23 เนื่องจากปีนี้เชียงใหม่ได้รับการประกาศโดย UNESCO ให้เป็นเมืองศิลปหัตถกรรม สมาชิกชุมชน จึงร่วมฉลองในการประกาศครั งนี้ด้วยการจัดงาน กาดต่อนยอนออนคราฟท์สตรีท ครังนี้ทางชุมชนโหล่งฮิมคาวจึงได้เชิญ craftman ของ เชียงใหม่มาสาธิตการทำางาน craft ตลอดถนนมีทัง งานแกะสลักโดย สล่าเพชร งานไม้ไผโดย สล่าทนันชัย งานปันดิน โดย สล่ารินทร์ งานโลหะ โดย สล่าแดง และงานผ้า โดย ศิลปินแตน ที่เชิญชวนผู้ร่วมงานมา เดินถนนโหล่งฮิมคาวชื่นชมงานของสล่าและศิลปิน หัตถกรรมและร่วมเรียนรู้ด้วยตนเอง ส่วนกิจกรรมอื่นๆก็ยังคงมีการออกร้านหัตถกรรม การเดินแฟชั นโชว์ของชุมชน ดนตรี และการแสดง ศิลปะวัฒนะธรรม ขบวนแห่และการตกแต่งซุ้ม แต่ละบ้าน ซุ้มทางเข้า และซุ้มตลอดแนวถนนอย่าง สวยงาม ร่วมกันจุดผางประทีป 1,000ดวง กาดตำ่อนยอน 2562 “ตำ่อนยอนออนคราฟที่�สตำร ที่ ”
24 จากการที่มี Craftman จากภายนอกมา จัดซุ้มสาธิตงาน Craft ในชุมชนเป็นการ จุดประกายทำ า ให้คนในชุมชนเริ มมอง ว่าแท้จริงแล้วคนในชุมชนทุกบ้านเป็น Craftman น่าจะนำาเสนอ Stories ของ แต่ละบ้านและสร้างสรรค์ผลงานมานำาเสนอ จึงตกลงจัดงานกาดต่อนยอน ตอน ตัวตน คนโหล่งชุมชนคนสร้างสรรค์ ทุกบ้านจึงจัดซุ้มแต่ละบ้าน มีมุมแสดง Stories และผลงานของแต่ละบ้านขึน มาให้ผู้มาร่วมงานได้เรียนรู้และชื่นชม กาดตำ่อนยอน 2563
ส่วนกิจกรรมอื่นๆ ก็มีขบวนแห่จัดตกแต่งซุ้มทางเข้าชุมชน
หัตถกรรมเต็มสองข้างถนน มีแฟชันโชว์ของชุมชน มีดนตรี และการแสดงศิลปะวัฒนะธรรมรวม ทังมีเวิร์คช็อปที่น่าสนใจในช่วงประเพณียี่เป็งและ การจุดผางประทีป 1,000 ดวง ช่วงนี้แม้จะเจอกับสถานการณ์ โควิด-19 แต่ชุมชนมีมาตรการและการป้องกันอย่างดี จึงมีผู้มาร่วม งานมากพอสมควร แม้จะลดลงไปบ้าง
“ตำัวตำนคนโหล่่งชุุมชุนคนสร้างสรรค�”
และซุ้มตลอดแนวถนน มีการออกร้าน

เป็นช่วงของคนท้องถินและจังหวัดใกล้เคียงผู้คนต้อง work from home จึงต้องเก็บเงินเพื่อรองรับวิกฤตมี ความเครียดจากภาวะโควิดและเศรษฐกิจที่แย่ลง ชุมชนจึงตกลงจัดงานกาดต่อนยอนตอน

มีความสุขขึนบ้าง และตัดสินใจขยับเวลาจัดงานจาก ช่วงประเพณียี่เป็งมาเป็นช่วงต้นเดือนธันวาคม เชื่อมโยงกับงานอีเวนต์ใหญ่ๆของเชียงใหม่

ก็สามารถมาร่วมกิจกรรมได้หลากหลายงานมากขึน

25 จากที่ต้องเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ โควิด-19  มีมติปิดชุมชนช่วงแรกนักท่องเที่ยว ต่างประเทศ จำานวนมากหายไปหมดเลย เมื่อสถานการณ์ดีขึน ชุมชนเปิดตามปรกติช่วงนี้เริมมี นักท่องเที่ยวจากกรุงเทพและจังหวัดต่างๆ เริมมาที่ชุมชน แต่เมื่อมีสถานการณ์แพร่ระบาดโควิดอีก ชุมชนก็ ปิดอีกครัง นักท่องเที่ยวจากกรุงเทพและจังหวัด ต่างๆ ก็หายไปพอสถาการณ์คลี่คลาย ชุมชนก็เปิดอีกครัง
“ต๊ะต่อนยอน” เพื่อให้คนมาเที่ยวแบบผ่อนคลายชิลๆช้าๆ
ตาม สโลแกนของชุมชน อย่างน้อยมาที่นี่แล้วรู้สึกผ่อนคลาย
งาน Chiangmai Design Week งาน NAP คนที่มาเชียงใหม่
กาดตำ่อนยอน 2564
“ตำ๊ะตำ่อนยอน”
26 งานตอนยอลครังต่อไป
สมาชิกชุมชนได้พูดคุยกันถึงเรื่องสิงแวดล้อม ฝุ่นควัน ขยะ น่าจะเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำาคัญ แต่จะต้องมาเชื่อมโยงกับงานศิลปหัตถกรรม ของชุมชนด้วย จึงตกลงจะมีการจัดงานกาดต่อนยอนตอน “เซาะเศษแป๋งศิลป์” ซึงจะนำาเสนอวิถี ชุมชนกับสิงแวดล้อม สื่อความร่มรื่นของต้นไม้พื้นที่สีเขียวของชุมชนการใช้วัสดุธรรมชาติ และ การนำาเศษวัสดุเหลือใช้มาสร้างสรรค์งานศิลปะ กาดตำ่อนยอน 2565
Theme เซาะเศษแป๋งศิลป์
“เซาะเศษแป๋งศล่ป์”
27
กาดนัดหตำถกรรมโดยคนรุ่นใหม ตลาด ฉำาฉา Market เปิดมาตังแต่กันยายน ปี 2560 จากการคิดค้นของคนรุ่นใหม่ เป็นการร่วมมือกัน ของ นางสาวดวงกมล มังคละคีรี และนายรักษ์ศักดิ ทองดีเลิศ ซึงเป็นเยาวชนในชุมชนโหล่งฮิมคาว เมื่อเรียนจบ ต้องการต่อยอดจากงานกาดต่อนยอนที่จัดเพียงปีละครังเท่านันมาจัดตลาดเล็กๆ ขาย สินค้าให้กับชุมชนให้ถี่ขึน เปิดขายทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 9.00-14.00 น. ต่อมาได้มีการเปิดเป็น พื้นที่การเรียนรู้ และพื้นที่สำาหรับคนรุ่นใหม่ที่ต้องการจำาหน่ายสินค้า โดยใช้ชื่อว่า “Heart space at เวิงฉำาฉา”
ฉำำฉำา Market

และวันนี้คณะกรรมการที่เลือกขึนมาจึงเป็นการผสมผสานระหว่างคนรุ่น

28
การจััดการบร ิการ เมื่อชุมชนโหล่งฮิมคาว จัดงานกาดต่อนยอน ผ่านไปได้ 2 ครัง ก็คุยกันว่าน่าจะชวนกันไปเรียนรู้ ดูงานชุมชนที่ทำาการท่องเที่ยวได้ดี จึงพากันไปเรียนรู้ดูงานที่บ้านแม่กำาปอง ได้รับฟังประสบการณ์ ปัญหา บทเรียนต่างๆจากพ่อหลวงพรหมมินทร์ พวงมาลา ผู้ริเริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่บ้าน แม่กำาปองเมื่อ 18 ปีก่อน พวกเราก็ดูงานกันไปด้วยเที่ยวกันไปด้วย สิงที่ได้เรียนรู้ นำามาปฏิบัติที่โหล่งฮิมคาว โดยเริมเห็นควรมีการเลือกตังคณะกรรมการโหล่งฮิมคาวขึน และการร่วมกันกำาหนดกติกาของชุมชนร่วมกัน ตลอดจนตังกองทุนชุมชนโดยเก็บเงินครัวเรือนละ 300 บาท เดือน เพื่อนำามาใช้ในการดูแลขยะ การตัดหญ้า การจัดกิจกรรมและการจัดการต่างๆในชุมชน คณะกรรมการชุมชนโหล่งฮิมคาว หลังจากที่ได้เห็นชอบร่วมกันตังคณะกรรมการชุมชนขึน ได้มีการปรับเป็นระยะเพื่อให้สอดคล้อง กับการทำางานมากขึน
บุกเบิกกับคนรุ่นใหม่ อีกทังยังมีการตังคณะกรรมการชุดเล็ก เรียกว่า คณะกรรมการสร้างสุขชุมชน ให้มีบทบาทในการผสานและรับฟังความคิดเห็น คำาร้องเรีaยนต่างๆ จากผู้อยู่อาศัย ผู้ประกอบ กิจการ-พ่อค้าแม่ค้า ทังในเวิงฉำาฉาและในชุมชนด้วย คณะกรรมการชุมชนโหล่งฮิมคาว ประกอบด้วย นายชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธาน นางสาวมณฑิพา บุญเทียม รองประธาน นางมธุรส ทองดีเลิศ เลขาคณะกรรมการ นางสุนทรี มังคละคีรี เหรัญญิก นายลัทธพล ทองดีเลิศ คณะกรรมการ นายจิระเดช โชติรัตน์ คณะกรรมการ นายรัชนันท์ พันธุ์กาฬสินธุ์ คณะกรรมการ นางสาวดวงกมล มังคละคีรี คณะกรรมการ คณะกรรมการสร้างสุขชุมชน ประกอบด้วย นางสาวยุพิน ฤทธิเรืองโรจน์ นางมธุรส ทองดีเลิศ นายรัชนันท์ พันธุ์กาฬสินธุ์ นางกัลยา โชติรัตน์ นางสาวดวงกมล มังคละคีรี
ชุุมชุนโหล่่งฮิิมคาว

6.

7. การจัดกิจกรรมใดๆในชุมชนจะต้องสอดคล้องกับธีมของชุมชนและไม่สร้างความเดือดร้อน

10. หากมีปัญหาข้อขัดข้องใดๆให้ร้องเข้ามาที่คณะกรรมการชุมชนเพื่อปรึกษาหารือแก้ไข

29 1. ร่วมกันปลูกต้นไม้ สร้างพื้นที่สีเขียวของชุมชนให้ร่มรื่น 2. ร่วมกันสืบสานศิลปหัตถกรรม การสร้างบ้าน ในแบบเดิมและร่วมสมัย
อยู่ร่วมกันแบบพี่น้อง มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีอะไรก็พูดคุยกัน 4. แต่ละบ้านพยายามพัฒนาผลงานที่มีคุณภาพและมีอัตลักษณ์ ไม่ลอกแบบและขายตัดราคากัน 5. ตกลงร่วมกันจัดงานประจำาปี กาดต่อนยอน โดยกำาหนดธีมแต่ละปีร่วมกัน
3.
อาจมีสินค้าซ้ำากันได้ตามความเหมาะสม
กรณีกาดนัดวันเสาร์-อาทิตย์
กับสมาชิกในชุมชน
กรณีมีการขายที่ดินให้บอกกับสมาชิกในชุมชนก่อน 9. มีการประชุมอย่างสม่ำาเสมอ ทุกคนต้องยึดถือปฏิบัติตามมติที่ประชุมเป็นหลัก
11. ตกลงกันให้มีการตังกองทุนชุมชนโหล่งฮิมคาว โดยเก็บเงินบ้านละ 300บาทเพื่อนำามาดูแล ความสะอาดในชุมชน ดูแลต้นไม้ และการดำาเนินงานของชุมชน กฎกตำิกา ขิองชุุมชุนโหล่่งฮิิมคาว กติกามีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ให้เหมาะสมโดยมติที่ประชุม สมาชิกชุมชน การประชุมและมติของที่ประชุมสมาชิกมีความสำาคัญที่ทุกคน ต้องเคารพและปฏิบัติตาม เพราะ การอยู่ร่วมกันของสมาชิก มีความเป็นศิลปิน มีความคิดที่หลากหลาย ข้อตกข้อตก กติกาและมติที่ ประชุมของสมาชิก จึงมีความสำาคัญในการอยู่ร่วมกันของชุมชนโหล่งฮิมคาว
8.
32
โหล่่งฮิิมคาว
ร้านค้าในชุุมชุน

วิถีชีวิตดั งเดิมจากชุมชนที่มีภูมิปัญญาการทอผ้าเพื่อสวมใส่ในชีวิตประจำ า วันที่สืบทอดมา

คุ้นเคยจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้คือชีวิต

ได้โยกย้ายมาก่อเกิดการสืบทอดซึมซับภูมิปัญญาด้วยความรักความผูกพันธ์สู่การแสวงหาโอกาส ใหม่ๆ ทางการตลาดเพื่อสืบทอดภูมิปัญญาบรรพบุรุพและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผ้าตีนจกทำาให้

3 พี่น้อง ณ ชุมชนโหล่งฮิมคาวในนามร้าน “ล้านฝ้ายงาม” ที่เป็นแหล่ง

รวมผ้าฝ้ายทอมือที่มีการคัดสรรการผลิตจากฝ่ายที่งดงามจำ

ล่้านฝ้ายงาม
ยาวนานซึมซับอยู่ในจิตวิญญาณ สืบทอด สัมผัส
บรรพบุรุษของเราจากชุมชน “ลัวะ” ที่มีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายตามประสาบ้านบนดอยและจำาเป็นต้อง ทอผ้าเพื่อใช้ในชีวิตประจำาวันของครอบครัวเองทุกอย่างจาก “บ้านเฮาะ” ชุมชนลัวะโยกย้าย สู่ชุมชน ใหม่บ้านท้องฝาย อ.แม่แจ่ม ชุมชนที่มีภูมิปัญญาการทอผ้าตีนจก กว่า 50 ปี แล้วที่ครอบครัวเรา
เกิดการรวมตัวระหว่าง
านวนนับล้านรวมถึงฝีมือของการผลิต ที่ผ่านการผลิตของช่างมากฝีมือประดุจดังใช้ล้านๆ มือที่ทุ่มเทและถักทอด้วยล้านๆ ดวงใจให้ ปรากฏอยู่บนผืนผ้าทุกชินของร้าน

การใช้เศษผ้าที่เกิดจากกระบวนการผลิตมาทำาให้

เฮิ่อน
ใจตังชื่อร้านตามชื่อของลูกสาวคือ “ณ ฤทัย”
ของเราไว้ว่าจะทำ
ของ โดยเราจะสร้างบรรยากาศ อาณาบริเวณบ้าน ตัวบ้าน พร้อมทังสินค้าของเราให้มีกลินอาย ของความเป็น “แม่แจ่ม” ซึงเป็นบ้านเกิดของเราเราปลูกสร้างบ้านหลังนี้ตามแบบบ้านเก่ามา จากแม่แจ่ม โชว์อัตลักษณ์ความเป็นแม่แจ่มแบบดังเดิม ส่วนสินค้า ของเราทังหมดก็จะเน้นความ
ทังงานปักมือชาติพันธุ์ ผ้าตีนจก แม่แจ่ม งานย้อมผ้าแบบธรรมชาติ ที่ใช้วัสดุธรรมชาติในท้องถิน งานเย็บมือ งานตัดต่อผ้าและ
ณ ใจั ฝ้ายเปล่่อกไม
ก่อนหน้านันคุยกันในครอบครัว
าบ้านในเมืองเชียงใหม่ซักหลังเพื่อเป็นบ้านพักอาศัยและเปิดกิจการขาย
เป็นแม่แจ่มสามารถบอกเล่าเรื่องราวของแม่แจ่มผ่านบนผืนผ้า
เกิดประโยชน์โดยใช้หลักการผลิตแบบ Zero Waste เน้นการสร้างงานให้คนแม่แจ่ม แรงงานคนแม่แจ่ม ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิงแวดล้อม ปัจจุบันได้ส่งต่อกิจการ ให้คนรุ่นใหม่คือลูกสาวมีการสอนการทำามัดย้อมคราม ธรรมชาติ

เปิงใจั

จากชีวิตเด็กชาวบ้านชนบทที่เห็นและปฏิบัติมาตังแต่เด็กจนเติบโตมาสู่วัยรุ่น

วัยเด็กก่อให้เกิดการสานต่อจนมาสร้างงานสร้างอาชีพและบ้านไม้ในปัจจุบัน เกิดการปรึกษากันว่าต่อไปนี้จะลองผลิตดู เริมต้นจากการออกแบบและโดนมือร่วมสมัยซึงไม่ได้ทำา มาในปริมาณมากมายเพราะเน้นความปราณีต

นกิจการเริ มขยับขยายมีลูกค้าเข้ามาสนใจสั ง ซื้องานถึงในบ้าน

มีลูกค้าติดตามมากขึนได้รับรางวัลที่พิสูจน์ความมุ่งมันตังใจของเราหลากหลายรางวัลจนถึงจุดหนึง เรารู้สึกว่าความสุขที่แท้จริงคือการทำางานที่เรารักอยู่กับบ้านในปริมาณที่เราไหว และทำาไปอย่าง มีความสุขจุดนันคงเป็นจุดอิมตัวที่ทำาให้เราย้ายมาสร้างบ้านเปิงใจ๋หลังนี้

พ่อ แม่ได้สอนให้ลูกผู้หญิง ปันฝ้ายเป็น เพื่อที่จะได้ใช้เส้นฝ้ายไปทอ และ ตัดเย็บด้วยมือ ทำาเป็น เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มในครอบครัว จากความทรงจำ าใน
จากนั
ต่อมาได้เข้ากลุ่ม
OTOP เพื่อจะได้มีตลาดที่กว้างขวางขึน เราไปออกร้านที่กรุงเทพ
ที่องด
ทองดีเป็นชื่อเจ้าของร้านที่เติบโตมากับกองผ้าที่ร้านปกากะญอ เรียนจบจึงเปิดร้าน โดยเริมด้วยของจากร้านปกากะญอ ต่อมาได้เขียนลวดลายของตัวเองลงบนผืนผ้าแบบฟรี สไตล์นำาไปขายให้ชาวบ้านในชุมชนปักมีสีสันที่ร่วมสมัยเหมาะกับคนยุคใหม่
Antiques & Handicrafts

thumbs up craft

37 นิ�วโป้ง
เจ้าบ้านขายของแอนทีค แต่มีความชื่นชอบกล้วย จึงปลูกกล้วยไว้ที่ลานหน้าบ้าน หลายสายพันธุ์ พร้อมบอกชื่อพันธุ์กล้วยต่างๆ เพื่อให้คนที่สนใจเข้าไปเรียนรู้ จึงถือเป็น พื้นที่สีเขียวที่น่าสนใจ กลายเป็นร้านแอนทีคในสวนกล้วย
166 Lanna Living space อาหารรัฐฉำาน บ้านทรงล้านนาสองจัว ยกใต้ถุนสูง หลังสุดท้ายที่สร้างเสร็จในชุมชน สร้างโดยช่างในชุมชน เจ้าของเรียนจบคณะวิจิตรศิลป์ มช. ในอนาคตตังใจให้เป็นแกลลอรี่แสดงงานศิลปะ เต้าหู้รัฐฉาน แม่คำาใส ปกติคนไทยใหญ่ หรือคนรัฐฉานชอบทานเต้าหู้ แม่ของเจ้าของ ทำาขายในตลาดเช้าเมืองปัน รัฐฉานใต้ ตังแต่ เขายังเด็ก ต่อมาจึงสืบทอดทำาต่อไม่อยากให้ เต้าหู้สูตรของเขาหายไป

ทำาให้ลูกค้าที่เข้ามารู้สึกเหมือนมาเที่ยวบ้านเพื่อนบ้านญาติและหาของซื้อของฝากในราคาย่อมเยา

39 อันดามัน มัดย้อม อันดามัน มัดย้อม เปิดกิจการครังแรกที่ บ้านเลขที่ 13/10 ม.2 บ้านมอญ ต. สันกลาง ซึงทางร้านนอกจากจะเปิดร้านค้าแล้วเรายังมี workshop มัดย้อมซิโบริซสไตล์ญี่ปุ่น เป็นการ มัดย้อมแบบการใช้อุปกรณ์ในการมัด หนีบรัดทำาให้เกิดลวดลายต่างๆบนผืนผ้า ร้านอันดามันมัด ย้อมของเรานันมิได้เป็นร้านค้าเป็นสิงปลูกสร้างหาก แต่เรามีเพียงราวผ้ากลางแจ้ง ราวผ้าใต้ถุนบ้าน
เจ้าของร้านอันดามันมัดย้อม คือ คุณกัลยา โชติรัตน์ จบจากคณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ จากมหาวิทยาลัย ราชมงคลล้านนา ซึงเกิดความรักในการย้อมผ้า เก็บเกี่ยว
ที่ได้เรียนมาอย่างแท้จริง
หาประสบการณ์จากที่ต่างๆแล้วจึงนำามาพัฒนาเพื่อต่อยอดทางธุรกิจเป็นการทำางานที่ตรงกับสาขา

ในปี 2558 โดยทังสองได้พบกัน ที่ประเทศญี่ปุ่นในขณะที่ไปเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคการมัดย้อมของญี่ปุ่น

ด้วยการใช้วัสดุและสีย้อมจากธรรมชาติด้วยเหตุนี้จึงทำาให้ทังสองย้ายออกจากเมืองใหญ่อันวุ่นวาย (กรุงเทพและโตเกียว) มาใช้ชีวิตอยู่ที่เชียงใหม่เพื่อให้เวลากับการสร้างสรรค์และพัฒนางานคราฟท์ ไปด้วยกันเทคนิคหลักที่ใช้ได้ในงานผ้าของ Slowstitch Studio ได้แรงบันดาลใจมาจากงานมัด

Slow Stitch คือสตูดิโอที่ออกแบบและผลิตงานผ้างานศิลปะ และสินค้าไลฟ์สไตล์ จากการก่อตังและร่วมงานกันของ นางสาวกรรณชลี งามดำารงค์ (นักออกแบบ สิงทอชาว กรุงเทพ) และ Sergey Tishkin (เกษตรกร วิถียังยืนชาวรัสเซีย)
และการย้อมครามจาก อาจารย์ท่านเดียวกัน ทังสองมีคติในการออกแบบซึงเน้นถึงจิตวิญญาณ และคุณค่าของงานฝีมือ
โดยทางสตูดิโอได้นำามาพัฒนาต่อยอดให้มี ลวดลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่มีความร่วมสมัยนอกจากนี้ยังมีงานผ้าในรูปแบบอื่นๆ เช่น งาน ปักจักรร่อนสะดึง งานทอมือ งานย้อมแบบ eco-printuanu patchwork
Slow Stitch
ย้อม และเย็บย้อมของประเทศญี่ปุ่นที่เรียกว่า“ ซิโบริ”
ร้านนี้เกิดจากลูกสาวฝาแฝด “เหนือ กับ นอร์ท” สมัยเป็นเด็กน้องก็ชอบวาดรูประบายสี ตามประสา วาดนก วาดไก่ วาดปลา วาดแม่ วาดเจ้าหญิง เจ้าชาย “แม่กิก” ที่ชอบเย็บปักถักร้อย เห็นลูกๆ วาดรูปน่ารักๆ เลยเอาลายมาปักเย็บลงบนผ้า รูปวาดของลูกเลยกลายมาเป็นชุดสวยๆ ของ แม่เกิดเป็นร้านชื่อ “ร้านกิก” มีทังเสื้อผ้า กระเป๋า มากมายหลายอย่าง ในบ้านสไตล์อินเดียสีสันโดด เด่น บ้านสีเหลืองประตูบานใหญ่สีเขียวโคมสีแดงหน้าบ้านสะดุดตาจนใคร ๆ ที่ผ่านมาเห็นก็อดถ่าย รูปไม่ได้
Kik Shop
Hearts
แล่ะ ฮิัก Bread ฮิัก Bake Save People & Planet เงินที่ลูกค้าจ่าย มีส่วนร่วม ในการลดการรบกวนสิงแวดล้อม สนับสนุนงานต่อเศษไม้สัก สนับสนุนแรงงานในท้องถิน สร้างความยังยืน ( Sustainable) ให้กับโลก งานไม้สัมผัสอาหารปลอดภัย เป็นการนำาเศษไม้สักที่เหลือจากอุตสาหกรรมใหญ่มาเพิมมูลค่า เรื่อง ความปลอดภัย ไม่ขึนราเมื่อนำาไปใช้ และตัวเคลือบผิวเป็น food grade ไม่ใช้สารเคมี สินค้าผ่าน Test จาก intertek และ ผ่าน test การส่งสินค้าเข้าประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลี สินค้าเราดูแลตลอดการ ใช้งาน มีปัญหาซ่อมฟรี เพื่อให้ลูกค้า มีความสุขมากขึน และปลอดภัยมากขึน ขณะนี้ได้ต่อยอดเป็นสตูดิโอสอนทำาขนม ฮัก Bread ฮัก Bake อยู่เยื้องๆ ฝังตรงข้ามร้าน
& Hands
คุณกวี (Khunkawee) มีแนวคิดเริมจากศาสตร์แห่งการสร้างความงามเพื่อความสุขที่ ยังยืน งามดังนางในวรรณคดีหลงมาในยุคปัจจุบัน หญิงงามเบญจกัลยาณีหนึงในนันคือผิวงาม คุณกวีจึงกำาเนิดขึนเพื่อดูแลผิวด้วยธรรมชาติ สบู่คุณกวีเป็นสบู่ที่มีส่วนผสมหลักของ น้ำามันมะพร้าว สกัดเย็นและน้ำามันงาดำาหีบเย็น ด้วยกรรมวิธีโบราณที่ทรงคุณค่าของน้ำามันที่อุดมด้วยวิตามินอี บี และสารอาหารผิวอื่นๆ ทุกสูตรเราคัดสรรวัตถุดิบอย่างดี ผสมผสานอย่างลงตัวกับสมุนไพรนานาชนิด เพื่อให้เกิดคุณค่าประสิทธิภาพล้ำาลึก ช่วยให้มีสุขภาพผิวที่ดี ลดปัญหาผิวแพ้ง่าย แพ้สารเคมี แพ้เครื่องสำาอาง ลดปัญหาผิวพรรณได้อย่างถาวร เฮิ่อนสบ คุณกว
บ้านอุษาเริมต้นจากเป็นบ้านหลังแรกที่เกิดขึนในชอย ตังแต่ถนนยังไม่มี และเห็น การพัฒนาจากบ้านมาสู่ชุมชนเรื่อยๆ พอมีร้านมีนามีข้าวเปิดทำาให้เกิดร้านค้าขึนในพื้นที่ ร้านเสื้อผ้าบ้านอุษาจึงเกิดขึนบ้านอุษา คือที่พักอาศัยที่เปิดหน้าบ้านเป็นร้านขายเสื้อผ้า ประยุกต์ร่วมสมัย มีทังเครื่องเงินและกระเป๋าจากชนเผ่าต่างๆ เน้นงานทำามือ ผสานชินงาน วิถีชนเผ่าพื้นเมืองผสานวิถีธรรมชาติ งานทุกชินเกิดจากการลงมือลงแรงทำา จำาหน่ายใน ราคาย่อมเยา มูลค่าและคุณค่าที่เกื้อกูล สมดุลกัน เมื่อคุณอุษาเสียชีวิต น้องน้ำาลูกสาวจึง ดำาเนินงานต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน บ้านอุษา

จากพื้นที่ที่เคยเก็บไม้ เศษเหล็ก ดูรกๆจากงานก่อสร้างของช่างอู๊ด(ภานุพงศ์ มังคละคีรี) ได้ทำาการปรับพื้นที่และออกแบบก่อสร้างให้เป็นห้องจำาหน่ายสินค้าเก๋ๆ เพื่อเป็นการระลึกถึง อุษา ทองดีเลิศ ที่เสียขีวิตจากไปจึงตังชื่อว่า"เวิงอุษา"

เวิ�งอุษา
EDUMade คือผลิตภัณฑ์สินค้าทำามือ จากเด็กนักเรียน คุณครู และชุมชน ในกลุ่มการ ศึกษาทางเลือกภาคเหนือ ผลิตภัณฑ์สินค้า ที่เกิดจากการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถินของแต่ละที่ แต่ละที่ก็จะมีสินค้าที่ต่างกัน ได้แก่ ข้าว น้ำาผึง กาแฟ ชา น้ำาพริก ผ้าทอสีธรรมชาติ สมุดทำามือ ของเล่นที่ทำามาจากไม้ ตุ๊กตา สเปย์กันยุง ครีมสระผม ยาสมุนไพรต่างๆ สินค้าถูกคัดสรรอย่างมีคุณภาพ รายได้หลังหักค่าใช้จ่าย เข้ากองทุนการศึกษาทางเลือกภาคเหนือ เพื่อเป็นค่าอาหารเด็กนักเรียน ศูนย์การเรียน และใช้สำาหรับการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต EDUMade

ยุคสมัยนี้ พื้นที่ถูกส่งต่อให้รุ่นลูกเกิดเป็นไอเดียการทำาร้านอาหารที่อยากคงเอกลักษณ์ของยุ้งข้าวไว้

มีนามขิ้าว
หากย้อนกลับไปเมื่อแรกเริม พื้นที่ในร้านมีนาแห่งนี้เคยเป็นบ้านสวนธรรมดาของ รุ่นพ่อที่มีไว้เลี้ยงปลา ปลูกต้นไม้ ปลูกผัก และเป็นที่เก็บสะสมยุ้งข้าวเวลาผ่านไปเกือบ 30 ปี ที่นี่ถึงแม้จะดูรกร้างไปบ้าง แต่ก็เต็มไปด้วยต้นไม้ใหญ่กับยุ้งข้าวที่ดูโบราณและแปลกตาสำาหรับ
“เพราะมีนาจึงมีข้าว” เป็นที่มาของร้านอาหารมีนาซึง”ข้าว”
คิด “ข้าว 5 สี” เพราะอยากให้คนที่มาได้ทานข้าวแบบมีสีสัน สักมื้อ เมนูหลักๆ มีข้าวเข้ามาเป็นส่วน ผสมของอาหาร เช่น กุ้งชุบข้าวทอด ซี่โครงหมูอบข้าวไรซ์เบอร์รี่ แกงหยวกกล้วย ข้าวเบือ และเมนู ส่วนใหญ่เป็นอาหารไทย บ้านที่ แม่ ยาย ย่า พี่ ป้า น้า อา เคยทำาทานกันในบ้านแล้วอร่อยถูกใจเรา มีนา.. จึงกลายร้านอาหารที่ทำาให้บ้านสวนธรรมดาของพ่อกลับมามีเรื่องราว และชีวิตชีวาอีกครัง
Meena Rice Based Cuisine
ก็กลายเป็นพระเอกหลักของร้านเรา
52 ขิ่วงเฮิ ี ยน ขิ ่ วงล่ะอ ่ อน จากการสังเกตและพูดคุยแบบไม่เป็น ทางการของสมาชิกโหล่งฮิมคาว ที่ เห็นพ่อแม่ลูกๆ มาเยือนชุมชนพ่อแม่ ก็จะซื้อของงานหัตถกรรมพูดคุยกับ เจ้าของร้านอย่างสนุกสนาน
จึงเป็นที่มาของ การทำา สนามเด็กเล่น ตังชื่อว่า “ข่วงเฮียนข่วงละอ่อน” (ลานเรียนรู้ ลานเด็กๆ)
เด็กๆ ก็ไม่รู้จะยังไงดี ไม่มีพื้นที่สำาหรับเด็กๆ

ทั งเป็นทางการและเป็นแบบ

องค์กรต่างๆเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน และการจัดกิจกรรมของชุมชน ที่ทำาให้เกิดการเรียนรู้ ทังจากประสบการณ์ตรงของชุมชนและจากคำาถาม หรือบทเรียนข้อเสนอแนะ จากภายนอก

และจากเดิมนันมีงานหัตถกรรมด้านเสื้อผ้าทำามือเป็นหลัก ก็มีคนถามมาว่ามีอาหารน้อยจัง สมาชิก ชุมชนจึงมาคุยกันว่าเราจะปรับภาพพชุมชนที่มีแต่เสื้อผ้า ให้มีทัง “เสื้อผ้าทำามือ อาหารหลากหลาย มี EVENT มี WORK SHOP”

การทำ
ธรรมชาติพบเจอปัญหา
ชุุมชุนโหล่่งฮิิมคาว ส...ชุุมชุนสร้างสรรค�
างานของชุมชนโหล่งฮิมคาวขับเคลื่อนอย่างเป็นธรรมชาติ
ก็คุยกันปรึกษากันร่วมกันแก้ไขกันไป
พบเจอเรื่องราวที่น่าสนใจก็นำามา คุยแลกเปลี่ยนกัน มีคณะผู้นำาชุมชน
ทำาให้เริมสรุปความเป็นชุมชน
โหล่งฮิมคาว
ที่ค่อยๆชัดเจนขึน ว่าเรากำาลังพัฒนาสู่ “ชุมชนสร้างสรรค์”
53
54
ชุุมชุนสร้างสรรค� ในแบบขิอง โหล่่งฮิิมคาว
55 . เป็นชุมชนที่ประสานชุมชนดังเดิม กลุ่มหลังวัดสีมาราม กลุ่มชุมชนที่อยู่ริมน้ำาแม่คาว และชุมชนร่วมสมัย อาศัย อยู่ร่วมกัน . เป็นชุมชนที่ให้คุณค่ากับการดูแลธรรมชาติ ปลูกต้นไม สร้างพื้นที่สีเขียว ทุกบ้านปลูกต้นไม้หลากหลายชนิด ปลูกต้นไม้ในพื้นที่สาธารณะของชุมชนทำาให้เกิดความ ร่มรื่น ผู้คนได้อยู่ร่วมและใกล้ชิดธรรมชาติ . ร่วมรักษาสืบสานต่อยอด งานศิลปหัตถกรรม จากฐาน ภูมิปัญญาเดิม พัฒนาออกแบบสร้างสรรค์เป็นงานร่วมสมัย ที่เหมาะกับวิถีคนในยุคปัจจุบัน . การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่มิใช่แค่ตลาด ขายของ แต่มีเรื่องราวคุณค่าของการพึ่งตนเอง การพัฒนา ต่อยอดภูมิปัญญาการเชื่อมโยงเกื้อกูลและแบ่งปัน ทัง สมาชิกในชุมชน (20 ครอบครัว) ผู้ประกอบการที่เข้า มาในทุกสัปดาห์ (50 ร้าน) และเครือข่ายที่เข้ามาร่วมใน การจัดงานประจำาปี (100 ร้าน) รวมผู้ประกอบการ 170 ร้าน และหากรวมผู้ประกอบการกาดชุมชน ที่ขยายตัว ออกไปด้วยรวมผู้ประกอบการราว 200 ร้าน . การเป็นพื้นที่เรียนรู้ ทังการเรียนรู้งานศิลปหัตถกรรม ผ่านการเวิร์คช็อป ตามความสนใจ การเรียนรู้วิถีชุมชน มิตรภาพ ตลอดการศึกษาแลกเปลี่ยนการทำางานพัฒนา ชุมชนทองเที่ยว การพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ . และที่สำาคัญเป็นพื้นที่ความสุข ทุกคนที่เข้ามาเยือน ชุมชนแล้ว รู้สึกชิลล์ๆสบายๆ ตามสโลแกนวิถีช้าๆ เดิน ช้าๆ กินช้าๆ ซื้อขายช้าๆ อู้จ๋ากันม่วนๆ  ในบรรยากาศ อันร่มรื่นด้วต้นไม้เขียวขจี ได้ชื่นชมงานศิลปหัตถกรรม ได้อิมด้วยอาหารหลากหลาย มีเสียงดนตรีตามถนน มิตรภาพและไมตรีจากผู้คน ได้เรียนรู้เรื่องราวที่น่า สนใจ คนในชุมชนมีความสุข คนมาเยือนก็มีความสุข
56
กจักรรม โหล่่งฮิิมคาว
57 สมาชิกชุมชนโหล่งฮิมคาวแต่ละบ้านมีความ เป็นศิลปินสูง มีแนวคิดมีเอกลักษณ์ของตนเอง จึงมีความคิดการสร้างสรรค์ที่ดี แต่การอยู่ร่วมกัน ในแบบชุมชน ต้องมีการคิดร่วมกันทำางานร่วมกัน จึงต้องมีคณะกรรมการชุมชน การร่วมกัน กำาหนด กติกาของชุมชน การพูดคุยกันหลายแบบ กลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ แบบธรรมชาติ แบบทางการ แต่ที่ สำ า คัญที่สุดคือการใช้มติที่ประชุมร่วมกันของ สมาชิกชุมชนเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน เนื่องจากในชุมชนมีสมาชิกทัง 3 วัย การทำางาน ร่วมกันของคนหลายวัยอย่างลงตัวมีความสำาคัญ หลายครังที่ผู่ใหญ่ที่มีความรู้ ประสบการณ์มาก มักจะคิดและกำาหนด โดยที่คนรุ่นใหม่ไม่มีพื้นที่ การมีส่วนร่วม หรือบางครังคนรุ่นใหม่คิดเร็ว ทำาเร็วคนใหญ่ตามไม่ทัน แท้จริงคนรุ่นใหญ่ก็ มีความรู้ มีประสบการณ์ที่ทีประโยชน์ และคน รุ่นใหม่ก็มีศักยภาพสำาหรับยุคใหม่ทั งด้านการ สื่อสารสมัยใหม่ ความว่องไว และเข้าใจความ ต้องการคนรุ่นใหม่ การทำางานร่วมกันที่ลงตัว ของคนทุกรุ่นมีความสำาคัญ เรื่องความยังยืน ชุมชนโหล่งฮิมคาวก็ไม่คาดหวัง ให้มีคนมาจนแน่นและอึดอัดเกินไป แต่ขณะ เดียวกันก็ไม่อยากให้คนมาน้อยเกินไป ก็จะทำาให้ สมาชิกชุมชนอยู่กันไม่ได้ จึงคาดหวังว่าจะ มีคนมา ต่อเนื่อง เป็นผู้ที่สนใจคุณค่างาน ศิลปหัตถกรรม สนใจ มาสัมผัสและเรียน รู้วิถีช้าๆ ของชุมชนโหล่งฮิมคาว และ สนับสนุนงานและผลิตภัณฑ์ของชุมชน และอีกเรื่องที่ท้าทายคือคือการมีกองทุนที่ สามารถนำ า มาดูแลชุมชนและจัดงานของ ชุมชนได้อย่างต่อเนื่องและเพียงพอ ขณะนี้ กองทุนชุมชนที่เก็บจากสมาชิกยังไม่มากพอ จึงต้องขอสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก จึงยังต้องมีการพัฒนากองทุนชุมชนให้ เติบโตแข็งแรงมากขึน หากจะพูดอย่างตรงไปตรงมา ชุมชนไม่ได้ มีศักยภาพ และความพร้อมในทุกด้าน ชุม ชนโหล่งฮิมคาวขับเคลื่อนด้วยสมาชิกหลัก ที่อยู่อาศัยในชุมชน พร้อมกับการเชื่อมโยง กับกลุ่มผู้ประกอบการงานศิลปหัตถกรรมทัง ที่มาทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และช่วงการจัดงาน ประจำาปี กาดต่อนยอน ที่มาช่วยเสริมเติม เต็มให้โหล่งฮิมคาวมีความหลากหลายและมี ชีวิตชีวา การเรียนรู้นวัตกรรมการพัฒนาชุมชน สร้างสรรค์ การปรับตัว การคิดค้นสร้างสรรค์ ต่อยอดการทำางานเป็นอีกเรื่องที่ชุมชนจะขาด เสียมิได้ เพราะปัจจุบันมีตลาดเกิดขึนมากมาย ตลอดเวลา ผู้บริโภค นักท่องเที่ยวเองก็มีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การเรียนรู้ร่วมกันการเท่าทันการเปลี่ยนแปลง อยู่เสมอจะทำ า ให้การทำ า งานการขับเคลื่อน งานสดใหม่อยู่เสมอ ปัญหา อุปสรรค แล่ะความที่้าที่าย
58 ผ่านการทำางานของชุมชนหลายปีเดิมทีก็เอาของอุปกรณ์ฝากไว้ตามบ้านคณะกรรมการบ้าง สมาชิกบ้าง ประชุมก็ประชุม ตามบ้านนันที บ้านนี้ที จึงมีการประชุมตกลงกันว่าถึงเวลาต้องมี สำานักงานชุมชนโหล่งฮิมคาวที่เป็นกิจลักษณะ ไว้เก็บของ เก็บเอกสาร ไว้เป็นที่ทำางานร่วมกัน เป็นที่ประชุมร่วมกัน เป็นที่ต้อนรับคณะต่างๆที่เข้ามาเยี่ยมเยือนชุมชน เข้ามาศึกษาดูงานชุมชน รวมทังเป็นที่จัดกิจกรรมของชุมชน ที่อยู่ : ตรงข้ามร้านมีนามีข้าว บ้านมอญ หมู่ 2 ตำาบลสันกลาง อำาเภอสันกำาแพง จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานชุุมชุนโหล่่งฮิิมคาว

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.