งานวิจัยของ ดร.อภิชาติ อนุกูลเวช

Page 1

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

ปริญญานิพนธ ของ อภิชาติ อนุกูลเวช

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา พฤษภาคม 2551


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

ปริญญานิพนธ ของ อภิชาติ อนุกูลเวช

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา พฤษภาคม 2551 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

บทคัดยอ ของ อภิชาติ อนุกูลเวช

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือ่ เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา พฤษภาคม 2551


อภิชาติ อนุกูลเวช. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม: รอง ศาสตราจารย ดร. สมสรร วงษอยูนอย, รองศาสตราจารย ดร. สุรชัย สิกขาบัณฑิต, รอง ศาสตราจารย, ดร. สมชาย ฉัตรรัตนา, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย โพธิสาร. การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตสําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2) ศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียน การสอนฝ กปฏิ บั ติ ท างเทคนิค บนเครือข ายอิ น เทอรเ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย นอาชีว ศึ ก ษา 3) ศึ กษา ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตสําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา ดังนี้ 3.1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน อาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.2) ศึกษาทักษะปฏิบั ติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝ กปฏิบัติ ทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.3) ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่ เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต และ 3.4) ศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ในการดําเนินการวิจัยไดพัฒนารูปแบบขึ้นโดยผานการประเมิน จากผูเชี่ยวชาญ แลวสรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิ เ ล็ ก ทรอนิกส เ บื้อ งต น ตามรู ป แบบที่พั ฒ นาขึ้น และนํ าไปทดลองกั บ กลุ มตัว อยา ง ไดแ ก นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี จํานวน 52 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมอยางงาย และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติ t-test dependent ผลการวิจัยพบวา 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นักเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1) ปจจัยนําเขา (Input) 2) กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 3) การควบคุม (Control) 4) ผลผลิต (Output) 5) ขอมูลปอนกลับ (Feedback) โดยมี 13 องคประกอบยอย คือ 1) กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 2) การวิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิค โดยใชโมเดลซีเอเอ (CAA Model) ประกอบดวยขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะปฏิบัติ 3 ขั้นตอน คือ 8.1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 8.2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 8.3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การ ตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 11) การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12)


ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง ซึ่งผลการประเมินจาก ผูเชี่ยวชาญอยูในระดับเหมาะสมมาก 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตเทากับ88.44/85.88 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนด 85/85 3. ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มีดังนี้ 3.1ผลสั มฤทธิ์หลังการเรี ยนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝ กปฏิบัติ ทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สูงกวากอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.2ทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต อยูในระดับดี 3.3ความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต หลังการเรียนผานไปแลว 2 สัปดาห เทากับ รอยละ 99.43 3.4ความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตของนักเรียนอาชีวศึกษา อยูในระดับเหมาะสมมาก


THE DEVELOPMENT OF WEB-BASED TECHNICAL PRACTICE INSTRUCTION MODEL FOR VOCATIONAL EDUCATION STUDENTS

AN ABSTRACT BY ABHICHAT ANUKULWECH

Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for the Doctor of Education Degree in Educational Technology at Srinakharinwirot University May 2008


Abhichat Anukulwech. (2008). The Development of Web-based Technical Practice Instruction Model for Vocational Education Students. Dissertation, Ed.D. (Educational Technology). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. Advisor Committee: Assoc. Prof. Dr.Somson Wongyunoi, Assoc. Prof. Dr.Surachai Sikkhabandit, Assoc. Prof. Dr.Somchai Chatratana, Asst. Prof. Dr.Pitoon Pothisarn. The objectives of this research were: 1) to develop the web-based technical practice instruction model for vocational education students, 2) to study efficiency of the web-based technical practice instruction model, and 3) to study effectiveness of the webbased technical practice instruction model on the following aspects: 3.1) to study the learning achievement of the vocational education students before and after studying through the web-based technical practice instruction model, 3.2) to study the practical skill of the vocational education students who studied through the web-based technical practice instruction model, 3.3) to study the retention of the practical skill of the vocational education students who studied through the web-based technical practice instruction model, and 3.4) to study the opinion of the vocational education students who studied through the webbased technical practice instruction model. The procedure of the research was started by developing the model which was evaluated by the experts. After that, the web-based technical practice instruction in basic electricity and electronics subject were constructed and experimented with the sample group which consisted of 52 first year students in Electronics Division, Chonburi Technical College by using simple random sampling method. Finally, the data was analyzed by t-test dependent. The results revealed that: 1. The web-based technical practice instruction model for vocational education students consisted of 5 main components: 1) input, 2) process, 3) control, 4) output, and 5) feedback, and 13 minor components: 1) setting the instructional objectives, 2) analyzing the learners, 3) designing the contents, 4) setting the learning-teaching activities, 5) preparing the learning environment, 6) setting the teacher’s role, 7) constructing the motivation, 8) proceeding the technical practical learning–teaching by using CAA Model which consisted of 3 steps: 8.1) cognitive phase, 8.2) associative phase, and 8.3) autonomous phase, 9) setting the extra activities, 10) monitoring and controlling the students’ learning, 11) monitoring the practical skill during studying, 12) evaluating the


learning-teaching, and 13) investigating feedbacks to be developed. This model evaluated by the experts was appropriate at a high level. 2. The efficiency of the web-based technical practice instruction model was 88.44/85.88, which corresponding with 85/85 provided criteria. 3. The effectiveness of the web-based technical practice instruction model was as follows: 3.1 The students’ achievement after studying through the web-based technical practice instruction model was higher than before studying at the .01 level of significance. 3.2 The practical skill of the vocational education students who studied through the web-based technical practice instruction model was at a high level. 3.3 The retention of the practical skill of the vocational education students who studied through the web-based technical practice instruction model 2-weeks after studying with the model was 99.43%. 3.4 The opinion to the web-based technical practice instruction model of the vocational education students was appropriate at a high level.


ปริญญานิพนธ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ของ อภิชาติ อนุกูลเวช ไดรับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ..............................................................คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เพ็ญสิริ จีระเดชากุล) วันที่.........เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551 คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ

คณะกรรมการสอบปากเปลา

.........................................................ประธาน (รองศาสตราจารย ดร.สมสรร วงษอยูนอย)

.........................................................ประธาน (รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย สิกขาบัณฑิต)

.........................................................กรรมการ .........................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.สมสรร วงษอยูนอย) (รองศาสตราจารย ดร.สุรชัย สิกขาบัณฑิต) .........................................................กรรมการ .........................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.สุรชัย สิกขาบัณฑิต) (รองศาสตราจารย ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา) .........................................................กรรมการ .........................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย โพธิสาร) .........................................................กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย โพธิสาร) .........................................................กรรมการ (รองศาสตราจารย ดร.ไพบูลย เกียรติโกมล)


ประกาศคุณูปการ ปริญญานิพนธนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาของ รองศาสตราจารย ดร.สมสรร วงษอยูนอย ประธานกรรมการควบคุ ม ปริ ญ ญานิ พ นธ รองศาสตราจารย ดร.สุ ร ชั ย สิ ก ขาบั ณ ฑิ ต รอง ศาสตราจารย ดร.สมชาย ฉัตรรัตนา และผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย โพธิสาร กรรมการที่ ปรึ ก ษาปริ ญ ญานิ พ นธ ที่ ไ ด ใ ห คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า ในการจั ด ทํ า งานวิ จั ย นี้ อ ย า งดี ยิ่ ง และรอง ศาสตราจารย ดร.เสาวณีย สิกขาบัณฑิต หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประธานสอบปากเปลาปริญญานิพนธ และรองศาสตราจารย ดร. ไพบูลย เกียรติโกมล รองคณบดีฝายวิชาการและบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรรมการสอบปากเปลา ที่ไดใหคําแนะนํา ที่เปนประโยชนแกผูวิจัย ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.ณรงค สมพงษ อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.ฉลอง ทับศรี หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วสันต อติศัพท คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ อภิบาลศรี ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผูชวย ศาสตราจารย (พิเศษ) ดร.ปรัชญนันท นิลสุข อาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ รองศาสตราจารย ดร. สุรสิทธิ์ ราตรี อาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง รองศาสตราจารย ดร.มานพ แจมกระจาง อาจารยประจําภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ผูชวย ศาสตราจารย ดร.ศิริพรรณ ธงชัย รองผูอํานวยการฝายพลังงาน ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีไทยฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรีชา สาคะ รังค อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย ผูชวยศาสตราจารย ดร.สันติ หวังนิพพานโต อาจารย ป ระจําภาควิช าวิ ศวกรรมไฟฟา คณะ วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมบูรณ ตันยะ อาจารย ประจําสาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ผูชวย ศาสตราจารย ดร.สุนันท ศลโกสุม ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และดร.สุวพร เซ็มเฮ็ง อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ที่ใหความอนุเคราะหในการตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย และใหขอเสนอแนะที่มี ประโยชนตอการทําวิจัยในครั้งนี้ อภิชาติ อนุกูลเวช


สารบัญ บทที่ หนา 1 บทนํา……………………….……………………….……………..….……..………..….. 1 ภูมิหลัง........................……………………….…………….…………..……….…...... 1 ความมุงหมายของการวิจัย……………….…………………......…........................... 9 ความสําคัญของการวิจัย........................................................................................ 10 ขอบเขตของการวิจัย………………………………………..….……………….……... 10 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต.......... 10 แหลงขอมูลทีใ่ ชในการวิจัย............................................................................. 11 ตัวแปรที่ศึกษา............................................................................................. . 13 นิยามศัพทเฉพาะ.......................................................................................... 13 กรอบแนวคิดการวิจัย....…………………………………...………………….....……. 14 สมมติฐานการวิจัย................................................................................................. 16 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ………………………………………….……….….. 17 รูปแบบการเรียนการสอน……….................…..……............................................. 19 ทฤษฎีการเรียนรู.................................................................................................. 35 การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต……...................................................... 48 การจัดการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึกษา………………………………………... 59 ทักษะปฏิบตั … ิ ……………………......................................................................... 63 ความคงทนของทักษะปฏิบตั ิ.................................................................................. 89 การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา........................................................................... 96 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิค บนเครือขายบนอินเทอรเน็ต........................................................................... 101 3 วิธีดําเนินการวิจัย…………………………....................…………………………..…. 110 การกําหนดประชากร และการเลือกกลุมตัวอยาง…………………………………….. 110 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย....................................................................................... 112 การดําเนินการวิจัย............................................................................................... 151 การเก็บรวบรวมขอมูล……………………………………………………………….... 158 การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล..................................................................... 159


สารบัญ (ตอ) บทที่ หนา 4 ผลการวิเคราะหขอมูล……………………....................…………………………..… 162 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ……………………………......................................................... 162 ผลการประเมินความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบ………………….. 162 ผลการประเมินบทเรียนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต............ 164 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต............................................................................... 167 ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต............................................................................... 169 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน.......................................... 169 ผลการศึกษาทักษะปฏิบตั … ิ ……………………………………………………. . 170 ผลการศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบตั … ิ …………………………………… 171 ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน……………………………………….... 171 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ…………...................…………………..…. 173 ความมุงหมายของการวิจัย................................……………………………………. 173 การดําเนินการวิจัย............................................................................................... 174 การวิเคราะหขอมูล.....……………………………………………………………….... 184 สรุปผลการวิจยั .................................................................................................... 184 อภิปรายผลการวิจัย....……………………………………………………………….... 186 ขอเสนอแนะ......................................................................................................... 192 บรรณานุกรม………………………………………….……………………….…….....…..... 194 ภาคผนวก..................................................................................................................... ภาคผนวก ก. รายนามผูเชี่ยวชาญ........................................................................ ภาคผนวก ข. แบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต............................................................................... ภาคผนวก ค. แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต..................................................................................................

206 207 210 228


สารบัญ (ตอ) บทที่ หนา ภาคผนวก (ตอ) ภาคผนวก ง. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน แบบวัดทักษะปฏิบัติพนื้ ฐาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบวัดทักษะปฏิบัติ...................................... 234 ภาคผนวก จ. ผลการวิเคราะหและสังเคราะหรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต................................................ 265 ภาคผนวก ฉ. ผลการวิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม........................ 278 ภาคผนวก ช. การคํานวณคาสถิติ......................................................................... 287 ภาคผนวก ซ. ภาพตัวอยางบทเรียนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต.................................................................................................. 314 ภาคผนวก ญ. กิจกรรมการเรียนการสอน.............................................................. 325 ประวัติยอผูวิจัย............................................................................................................. 328


บัญชีตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6 7

หนา

การเชื่อมโยงประเด็นสําคัญของทฤษฎีประยุกตสูการสอนทักษะปฏิบัติ …………….... 67 การใหคะแนนเวลาในการปฏิบัติงาน……………………………………………............ 86 การกําหนดน้ําหนักคะแนนของทักษะปฏิบัต… ิ …………………………………............ 86 การคิดเทียบเปอรเซ็นตเปนดัชนี……………………………………………………….... 87 เกณฑการประเมินผลทักษะปฏิบัต… ิ …………………………………………………… 149 แบบแผนการทดลองแบบกลุมทดลองที่ไดจากการสุมมีการวัดกอนเรียน-หลังเรียน…... 152 คาความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ……………………………………………….... 163 8 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเนื้อหาของบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ……………………………………………………………….. 165 9 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเทคโนโลยีการศึกษาของบทเรียนฝกปฏิบตั ิ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต………………………………………………... 166 10 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการทดลองครั้งที่ 2 ……………………………………………...................... 168 11 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการทดลองครั้งที่ 3………………………………………………...................... 169 12 การเปรียบเทียบคาเฉลีย่ ของผลสัมฤทธิ์กอนการเรียนและหลังการเรียนของ นักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต.……... 170 13 คาเฉลี่ยของทักษะปฏิบตั ิของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต……………………………………………….................... 170 14 การเปรียบเทียบคาเฉลีย่ ของทักษะปฏิบัติหลังเรียนและทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห ของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต…………………………………………………………………………... 171 15 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความคิดเห็นของนักเรียน………….. 172 16 องคประกอบของระบบการเรียนการสอน……………………………………………... 266 17 ขั้นตอนการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัต… ิ ………………............ 268 18 การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม...................................................... 279


บัญชีตาราง (ตอ) ตาราง 19 ความสอดคลองของจุดประสงคเชิงพฤติกรรม การวิเคราะหงาน ขอปฏิบัติ และเกณฑการใหคะแนน…………………………………………………………….. 20 คาความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต…………………........................................... 21 คาความสอดคลอง (IOC) แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ดานเนื้อหา…………………………………………………… 22 คาความสอดคลอง (IOC) แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ดานเทคนิคการผลิตสื่อ……………………………………… 23 คาความสอดคลอง (IOC) และคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความคิดเห็น............ 24 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน……………………………………………………….. 25 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การบัดกรี………………………………. 26 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ…………………. 27 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส……… 28 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบทักษะพื้นฐาน……... 29 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน…………………………………………………………………………. 30 ความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม………………….. 31 ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม…………………………... 32 ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับเกณฑการใหคะแนน……………………………….. 33 คาความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบัต… ิ …………………………………………… 34 คาความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต………………………………………………... 35 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเนื้อหาของบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต……………………………………………………………..

หนา

284 288 290 291 292 294 295 296 297 298 299 300 300 301 302 303 305


บัญชีตาราง (ตอ) ตาราง 36 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเทคโนโลยีการศึกษาของบทเรียนฝกปฏิบตั ิ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต………………………………………………... 37 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต กับกลุมตัวอยางจํานวน 9 คน………………………………………....................... 38 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต กับกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน……………………………………………………... 39 ผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียนของกลุม ตัวอยางจํานวน 20 คน………………........... 40 ทักษะปฏิบัติของกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน………………………………………. 41 เกณฑการประเมินผลทักษะปฏิบัต… ิ ………………..………………………………... 42 ทักษะปฏิบัติหลังเรียนกับทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห…………………............. 43 คาระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต……………………………………...

หนา

306 307 308 309 310 310 311 312


บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ

หนา

1 กรอบแนวคิดการวิจัย……………………………………………………………………... 15 2 วัฎจักรของการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน……………………………………….. . 22 3 องคประกอบของระบบที่มีความสมบูรณ........................……………………………….. 25 4 รูปแบบการเรียนการสอนของคิปเลอร ............................................………………….. 26 5 ระบบการเรียนการสอนของเกอรลาชและอีลี............................................................... 28 6 ระบบการเรียนการสอนของเนิรคและเยนตรี ………………………………………….... 29 7 รูปแบบระบบการออกแบบการสอนของดิคและคาเรย ………………………………….. 31 8 ระบบการจัดการเรียนการสอนของเคมพ ...........................……………………………. 32 9 ระบบการเรียนการสอนของซีลสและกลาสโกว………………………………………...... 33 10 ระบบการเรียนการสอนของคลอสเมียรและริปเปล……………………………………... 34 11 ทฤษฎีความจําสองกระบวนการ………………………………………………………..... 92 12 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา.................................................................................. 118 13 ขั้นตอนการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ....................................................................................................... 119 14 แผนภูมิลําดับการนําเสนอบทเรียน.......................................................................... 136 15 สวนประกอบของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต.…………... 138 16 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา.................................................................................. 176 17 ขั้นตอนการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ....................................................................................................... 177 18 สวนประกอบของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต.................. 178 19 หนาแรกของบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต........................ 315 20 หนาสําหรับใหผูเรียน Log in และสมัครสมาชิก....................................................... 315 21 หนาสําหรับใหผูเรียนกรอกรายละเอียดเพื่อสมัครสมาชิกใหม................................... 316 22 รายการหลักสําหรับการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิค..................................... 317 23 เนื้อหาบทเรียน…………………………………………………………………………. 318 24 เนื้อหาที่เปนภาพเคลื่อนไหว…………………………………………………………... 318


บัญชีภาพประกอบ (ตอ) ภาพประกอบ 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

เนื้อหาที่เปนสตรีมมิ่งวีดิโอ(Streaming Video) สอนทักษะปฏิบัต… ิ ………………… โปรแกรมจําลองสถานการณ (Simulation) การประกอบวงจร……………………….. โปรแกรมฝกอานคาความตานทาน……………………………………………………. โปรแกรมฝกปฏิบตั ิการใชมัลติมิเตอร…………………………………………………. การทดลองเสมือนจริง (Virtual Laboratory)………………………………………….. โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร (Circuit maker)………………………………………… การประกาศขาว………………………………………………………………………... เครื่องมือการติดตอสื่อสารกระดานสนทนา (Web Board)……………………........... เครื่องมือการติดตอสื่อสาร หองสนทนาสด (Chat Room)……………………........... แบบฝกหัด………………………………………………………………………........... แบบทดสอบ…………………………………………………………………………….. ผลการเรียน……………………………………………………………………………... การเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต...……………......... การเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต...……………......... การเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต...……………......... ผลงานและแฟมสะสมงานของนักเรียน....................................................................

หนา 319 319 320 320 321 321 322 322 323 323 324 324 326 326 327 327


บทที่ 1 บทนํา ภูมิหลัง ปรัชญาตามแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมุงเนนใหเกิดบูรณาการ แบบองครวมที่ยึด “คน” เปนศูนยกลางของการพัฒนา และการพัฒนาอยางมี “ดุลภาพ” ทั้งดาน เศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง และสิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ ให ค นไทยในสั ง คมมี ค วามสุ ข ถ ว นหน า พึ่งตนเอง และกาวทันโลก (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545: 5) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) จึงตองมีการเตรียมความพรอมของคนและระบบใหมีภูมิคุมกัน พรอม รับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น โดยยังคงอัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มา เปนแนวปฏิบัติ ในการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” ตอเนื่อง จากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2549) ประกอบกั บ แนวโน ม การพั ฒ นาสู เ ศรษฐกิ จ ยุ ค ใหม ข องสั ง คมโลกที่ เ ป น เศรษฐกิ จ ฐานความรู (Knowledge–based Economy: KBE) มีการใชความรูและนวัตกรรมเปนปจจัยหลักใน การผลิตและพัฒนา เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของแตละประเทศ การพัฒนาความรูและ การเรียนรูจึงเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการพัฒนาปจเจกบุคคลใหเปนทุนและกําลังคนเกื้อกูลตอการ ยกระดับมาตรฐานการครองชีพใหสูงขึ้น และเปนกําลังสําคัญที่เขามามีสวนรวมอยางแข็งขันใน กิจกรรมการพั ฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศ (สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ. 2545: 2) การศึกษาเปนหัวใจของการพัฒนาประเทศและเปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งการอาชีวศึกษา เปนรากฐานอันสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพราะความเจริญของประเทศขึ้นอยูกับทรัพยากรมนุษ ย ที่ มีคุณภาพ สามารถตอบสนองความ ตองการของการขยายตัวดานธุรกิจและอุตสาหกรรม รวมทั้งรูจักนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช และเมื่อโลกเปนสากลมากขึ้น การที่ประเทศไทยจะแขงขันกับประเทศอื่นๆ ไดนั้น การอาชีวศึกษา จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการนําประเทศไทยเขาสูการแขงขันในโลกยุคคลื่นแหงความรู หรือยุคแหง เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) (พยุงศักดิ์ จันทรสุรินทร. 2544) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนองคกรหลักในการจัดการอาชีวศึกษาและ ฝกอบรมวิชาชีพใหประชาชนอยางทั่วถึง ตลอดชีวิต มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และจัดการองคความรู ตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและอาชีพอิสระ สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ โดยมีสถานศึกษาในสังกัดทั้งหมด 404 แหง กระจายครอบคลุมทั่วประเทศ (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2546) การศึกษาดานอาชีวศึกษาทั้ง 5 สาขาอาชีพใน ประเทศไทย ไดแก อุตสาหกรรม คหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม และศิลปกรรม เปน


2 การศึกษาที่มุงตอบสนองความตองการกําลังคนระดับกลางของประเทศ ทั้งในกลุมประกอบอาชีพ อิสระ และกลุมตลาดแรงงาน โดยสวนใหญผูจบการศึกษามักจะมุงเขาสูตลาดแรงงานตามความ ตองการของสถานประกอบการหรือองคกร สําหรับกําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีระดับ ชางเทคนิค มีความสําคัญอยางมากตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ จากการศึกษาพบวา ภาคเศรษฐกิจที่มีการจางงานที่เปนระบบ จะมีความตองการกําลังคนระดับอาชีวศึกษาสาขาวิชา ชางอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2541ข: 7; สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. 2543: 5-14) การเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่ง เปนสถาบันที่มีการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพเปนกระบวนการผลิตและพัฒนากําลังคน ระดับกึ่งฝมือ ระดับฝมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี ที่มีลักษณะเฉพาะสัมพันธอยางชัดเจน กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีในแตละภาคเศรษฐกิจ เจตนารมณเพื่อใหบุคคลมี ความรู มีทักษะในวิชาชีพพื้นฐานและวิชาชีพเฉพาะทาง พรอมทั้งมีคุณลักษณะที่พึงประสงคมี สมรรถนะในการประกอบอาชีพ สามารถนําทักษะความรูและประสบการณไปใชในการประกอบ อาชีพสรางผลผลิตและรายไดเกิดการพัฒนาอาชีพอยางมั่นคงและยั่งยืน ใชการศึกษาวิชาชีพเปน กลไกสําคัญในการแกไขปญหาความยากจนของประชาชน สนองนโยบายของประเทศทําสงคราม กับความยากจนของรัฐบาล โดยมีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเปนหนวยงานหลักที่มี หนาที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาวิชาชีพโดยจําแนกระดับตามหลักสูตรการเรียนการสอน คือ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระดับประกาศนียบัตรเทคนิค ระดับประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูงและหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น จึงถือวาเปนหนวยงานที่มี ภารกิจที่สําคัญ สงผลกระทบตอการพัฒนาประเทศเปนอยางยิ่ง (สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. 2546) การจัดการอาชีวศึกษาเปนการผลิตและพัฒนากําลังคนในสายวิชาชีพ ที่จะตองมี ความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีอยูตลอดเวลา จึงตองมีการ จัดสรรโอกาสในดานการศึกษาเพื่ออาชีพใหไดอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ ใหบุคคลมีความรู ทักษะ วิชาชีพพื้นฐานและวิชาชีพเฉพาะทางที่ไดคุณภาพมาตรฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณใน วิชาชีพเพื่อการทํางานอยางมีความสุข โดยผานกระบวนการเรียนรูดวยการปฏิบัติจริง เนื้อหาสาระ รวมทั้งสืบสานและประยุกตใชภูมิปญญาไทยอยาง กาวทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยี เหมาะสมเพื่อการประกอบอาชีพทั้งในระบบการจางงานและอาชีพอิสระ (รางพระราชบัญญัติการ อาชีวศึกษา. 2543) โดยการจัดการอาชีวศึกษา ตองเปนไปเพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนทางวิชาชีพ ที่มีคุณภาพ มีสมรรถนะในการปฏิบัติงานและเจตคติที่เหมาะสมใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงานและยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศในประชาคมโลก(มาตรา 6) กระบวนการจัดการอาชีวศึกษามุงพัฒนาความรูทางทฤษฎีควบคูกับการปฏิบัติ ทั้งนี้ใหทันตอความ เจริญกาวหนาของเทคโนโลยีทั้งสวนที่เปนศาสตรสากล รวมทั้งการประสมประสานองคความรูและ ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนสามารถประยุกตความรูสากลไดเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย


3 (มาตรา 7) และมีการวัดและประเมินผลที่เนนความสามารถในการประยุกตความรูสูการปฏิบัติ หรือ การวัดทักษะเชิงปฏิบัติมากกวาการทดสอบความรูทางทฤษฎีเพียงอยางเดียว(มาตรา 12, ขอ 5) (รางพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา. 2543) การเรียนการสอนดานอาชีวศึกษากับการศึกษาทั่วไป หรือสายสามัญนั้นมีจุดเนนตางกัน กลาวคือ ในสายสามัญนั้นใชคุณลักษณะทางวิชาการเปนฐาน (Academic Qualification Based) ขณะที่สายอาชีพใชคุณลักษณะทางอาชีพเปนฐาน (Occupational or Employment Based) (Jessup. 1991) อีกทั้งมีความแตกตางระหวางคุณสมบัติของทักษะทั่วไป กับทักษะทางอาชีพ (Vocational Skills) โดยเฉพาะในทักษะแกนที่ปรากฏในหลักสูตร ที่เนนทั้งทักษะดานความรูและ ความเขาใจ (Cognitive Skills) กับทักษะดานการปฏิบัติ (Practice Skills) แมวาผลลัพธการเรียน ทางอาชีวศึกษาจะสอดคลองกับผลลัพธการเรียนทั่วไปที่เนนเปาหมายการเรียนรูทั้ง 3 ดาน แตจะ เนนดานการปฏิบัติมากกวาดานอื่น (ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. 2542: 3; กฤษมันต วัฒนาณรงค. 2539: 34-35) จากทฤษฎีการอาชีวศึกษาซึ่งเชื่อวาจะนําไปสูความสําเร็จสูงสุด กลาววา การอาชีวะจะ บรรลุผลตองทําใหบุคคลนั้นสนใจในงานนั้น มีทักษะการปฏิบัติงานและความสามารถทางสติปญญา อยางสู งสุดเทาที่บุ คคลหรือผูเ รียนแตละคนมีอยู, การฝกใหไดผลดี ทางดานทักษะตองจัด สภาพการณใหสงเสริมการคิดในการทํางานดวย จึงจะทําใหผลการฝกทักษะนั้นไดบรรลุจุดหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาผูเรียนรูความหมายของการฝกทักษะตาง ๆ ดวยจะเกิดผลดี และการฝกให ผูเรียนทํางานอยางมีประสิทธิภาพควรทําการฝกใหสอดคลองกับความจริง (กฤษมันต วัฒนาณรงค. 2536) การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ (Skill) มีกระบวนการที่แตกตางออกไปจากการเรียนการ สอนโดยทั่วไป สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 2) กลาวไววา การปฏิบัติเปนภาวะภายนอกของการ เรียนรูอยางหนึ่งที่เกิดจากการตอบสนองซ้ํา ๆ ตอสิ่งเรา หากไดกระทําบอยเพียงใดยอมมีผลทําให ผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรูมากเทานั้น โดยเฉพาะการสอนทักษะจําเปนตองใหผูเรียนปฏิบัติ จริงจึงจะชวยใหเกิดความชํานาญ ซึ่ง ฟททส (Fitts. 1964) ไดเสนอวา การเรียนรูทักษะปฏิบัติจะ ไดผลดีหากไดกระทําควบคูไปกับการฝกฝนทางปฏิบัติ และความรูทางทฤษฎีและการตรวจ-ปรับแก ทักษะและขึ้นอยูกับความสามารถในการกระทําที่รวดเร็ว ถูกตอง และแมนยําตอสถานการณของ สิ่ งเร าที่ กํ าหนด การพัฒ นาทั ก ษะตองใช ค วามพยายามและเวลา รวมทั้ งมีทั ศ นคติ ใ นทางที่ ดี นอกจากนี้ การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติจะเนนในเรื่องการฝกทักษะ โดยใหผูเรียนฝกฝนเพื่อเกิด การปฏิบัติได ชวยเสริมความรู และเปลี่ยนแปลงทัศนคติ จุดมุงหมายของการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติก็คือ การใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติในสิ่งที่เรียนนั้น แลวรูวาสิ่งที่ทํานั้นเปนอยางไร การเรียนรู จะเกิดขึ้นจากการลงมือทําเอง ผูเรียนรูจักและคุนเคยกับเครื่องมือและอุปกรณ รูจักการวางแผน และทดลองใชเครื่องมือตางๆ เพื่อฝกฝนและพัฒนาความสามารถในการฝกปฏิบัติที่ดีและความ เหมาะสม (สุชาติ ศิริสุขไพบูลย. 2526: 30) ดังนั้นการเรียนการสอนดานทักษะปฏิบัติใหไดผล ตอง


4 ศึกษาและทําความเขาใจธรรมชาติการเรียนรูดานการฝกทักษะปฏิบัติ เพื่อนํามาสงเสริมผูเรียนให เกิดการเรียนรูทักษะและปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น ภาวการณแขงขันในโลกปจจุบันและอนาคตมีแนวโนมจะปรับเปลี่ยนไปสูการแขงขันที่ มุงเนนการใชความรูความสามารถ และทักษะตาง ๆ ในการสรางผลิตภัณฑและบริการที่มีความโดด เด น ทั้ ง คุ ณ ภาพ คุ ณ ลั ก ษณะ และนวั ต กรรมของผลิ ต ภั ณ ฑ ดั ง นั้ น การขั บ เคลื่ อ นไปสู สั ง คม เศรษฐกิจฐานความรูไดจําเปนอยางยิ่งจะตองสรางระบบเศรษฐกิจใหมที่มีพลวัตสูง มีลักษณะ โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ และเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ และที่สําคัญยิ่งคือมีกําลังคนที่มี คุณภาพและมาตรฐานเพียงพอที่จะยกระดับคุณภาพของสินคาและบริการรวมทั้งพัฒนานวัตกรรม ใหม เพื่อใหสามารถปรับตัวไดรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน (สํานักมาตรฐานการ อาชีวศึกษาและวิชาชีพ. 2549) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดมีแนวทางในการปฏิรูปการอาชีวศึกษาไปสู ความสําเร็จ โดยกําหนดคุณลักษณะสําคัญของผูสําเร็จการศึกษาดานอาชีวศึกษา ซึ่งเปนที่ยอมรับ ของสังคมโดยทั่วไป 3 ประการ คือ 1) เปนคนดีคนเกงมีความสุข 2) เปนคนคิดเปนทําเปนแกปญหา เปน และ 3) เปนคนที่สามารถปรับตัวเขากับชุมชนหรือสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปได โดยเฉพาะความ เกงนั้น จะมีทักษะความชํานาญตามมาตรฐานวิชาชีพ (Vocational Standard) ของหลักสูตรและ สอดคลองกับมาตรฐานอาชีพ (Occupation Standard) ที่กําหนด (สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. 2546) ซึ่งการจัดการฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาอาชีพทุกสาขา จะตองเนนเรื่องการสราง ความเปนเอกในการแขงขัน (Competency-based) และความสามารถสรางผลผลิต (Productivity) เป น เป า หมายสํ า คั ญ กั บ เน น ความสํ า คั ญ จุ ด ศู น ย ก ลางที่ ผู รั บ การฝ ก อาชี พ นั้ น เป น เรื่ อ งหลั ก (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2547: 56) ป จ จุ บั น การจั ด การศึ ก ษาทางด า นวิ ช าชี พ อุ ต สาหกรรมยั ง ไมส ามารถบรรลุ เ ป า หมาย เทาที่ควร หนวยงานของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนในประเทศไทยที่ใหบริการการศึกษา และ ฝกอบรม เพื่อการมีงานทํา สรางอาชีพ หรือการใหการศึกษาดานอาชีวศึกษา ตางก็มีเปาหมายใน การสร า งสมรรถวิ สั ย ให เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู เ รี ย นที่ จ ะออกไปทํ า งานในตลาดแรงงานหรื อ ในสถาน ประกอบการใหไดอยางมีคุณภาพ เพื่อใหผูเรียนดานอาชีวศึกษามีความสามารถทั้งดานความรูและ ทักษะปฏิบัติ เพื่อที่จะนําไปใชในการทํางานเลี้ยงชีพตามศักยภาพของตนเอง ทักษะปฏิบัติเปนผลที่ ไดจากการเรียนรู และเปนเปาหมายที่สําคัญของการศึกษาดานอาชีวศึกษา เพราะเปนสิ่งที่ผูเรียน ตองใชเมื่อทํางานหลั งจบการศึกษา โดยจะแสดงออกมาในลักษณะของสมรรถนะ ที่ผสมผสาน ระหวางความรู ความเขาใจ เพื่อสรางองคความรูใหมและเพื่อการตัดสินใจปฏิบัติ แตจากการศึกษา คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาดานอาชีวศึกษา พบวา มีผลิตภาพ (Productivity) ไมถึงขั้น ไมมี ความเปนเอกในการแขงขัน (Competency-based) ไมมีทักษะปฏิรูปผสมผสาน (Intermediate Skills) และอีกทั้งยังดอยในเรื่องคุณคา และจริยธรรม ดอยในเรื่องความสามารถในการเรียนรูดวย ตัว เอง จึง กล า วไดว า กํ า ลั ง คนดา นอุ ต สาหกรรมที่ เ ป น ผลผลิ ต จากหน ว ยงานด า นอาชี ว ศึก ษามี คุณลักษณะ และความสามารถไมสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการ ทําใหเกิด


5 ปญหาในการทํางานและความเจริญกาวหนาในการทํางาน ทั้งนี้สาเหตุหลักเปนผลจากความไม พรอมในหลายดาน ของหนวยงานที่จัดการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2541ก: 4, 19-24) และการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เปนการจัดดําเนินการอยางกวางขวางทั้งภาครัฐ และเอกชน แตยังขาดศักยภาพในการดําเนินงาน มีความซ้ําซอนในการใหบริการ สวนใหญเปน การจัดการศึกษาตามความพรอมของผูจัดดําเนินการ ยังไมสามารถจัดการศึกษาและอบรมความรู และทั ก ษะหลายด า นให แ ก ผู เ รี ย น เพื่ อ สร า งความสามารถในการทํ า งานได ห ลายอย า งหรื อ ปรับเปลี่ยนไปตามความตองการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงใหทันสมัย ขึ้นอยูตลอด นอกจากนั้นการจัดฝกอบรมทักษะแรงงานใหกับแรงงานระดับตาง ๆ ก็ยังดําเนินการ ไดไมมากนัก (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545: 21) และองคประกอบของการฝก ปฏิบัติเกือบทั้งหมด ยังใชปรัชญาและวิธีการเหมือนสมัยกอนมีเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนผลให การฝกอาชีพไมไดรับการพัฒนาเทาที่ควร ผูผานการฝกอาชีพยังมีความสามารถไมทันหรือไม เพียงพอตอการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและโครงสรางการผลิตในปจจุบัน ทําใหมีผลกระทบตอ การวาจางงานและความตองการทักษะในการผลิตดานตาง ๆ กลาวคือ ขาดกําลังคนที่มีความรู ความสามารถทั้งพหุทักษะและพื้นฐานความรูที่สูงขึ้น รวมทั้งการจัดฝกอาชีพในวิทยาลัยตาง ๆ ใน ประเทศไทยขณะนี้ ยังมิไดเนนเรื่องทักษะที่มีความเปนเอกในการแขงขัน (Competency-based) ทั้งนี้เพราะจํานวนผูเขารับการฝกอาชีพในระบบมีมากเกินไป ทําใหครูอาจารยและผูฝกไมมีเวลา วิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนใหทันความกาวหนาทางวิชาการและระบบการผลิตที่มีการพัฒนา ไปอยางตอเนื่องและไมหยุดยั้ง นอกจากนี้องคประกอบของการฝกปฏิบัติเกือบทั้งหมดยังกระทํา ดวยวิธีเกา โดยยังมิไดเนนหรือมีการปรับปรุงใหกระทําดวยวิธีการเนนทักษะที่มีความเปนเอกใน การแขงขัน (Competency-based) ไดมากพอ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2547: 56) จากการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2535ค: 103-106) เกี่ยวกับความพึงพอใจของหัวหนางานตอผูสําเร็จอาชีวศึกษาระดับตางๆ นั้น พบวาแรงงานที่ไดจาก ผูสํ าเร็จการศึกษามีปญหาในดานบุคลิกภาพและเจตคติอยูมาก สวนดานคุณภาพในดาน ความสามารถทางวิชาการ และทักษะอาชีพ พบวายังมีปญหาดานความคิดสรางสรรค การเรียนรู งาน การประยุกตความรูใหมกับงาน การจัดระบบงาน และการใชเครื่องมือและสิ่งอํานวยความ สะดวก ดังนั้นจึงกลาวไดวาการผลิตกําลังคนระดับอาชีวศึกษาโดยรวมมีปญหาดานคุณภาพมากกวา ดานปริมาณ นอกจากนี้หัวหนางานสวนใหญใหความคิดเห็นวา ผูจบระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีความรูทั่วไป ความรูทางวิชาการ และทักษะพื้นฐานพอใชได แตสิ่งที่ยังขาดอยู คือ ทักษะวิชาชีพ อันเนื่องจากการฝกปฏิบัติยังมีคอนขางนอย โดยความรูทางชางจะออนเพราะขาด การฝกปฏิบัติงานอยางพอเพียงวิชาชางที่ฝกฝนกันในสถานศึกษาจะเปนการปูพื้นฐานทั่วไป มิได เรียนวิชาชางเฉพาะอยาง ฉะนั้นเมื่อรับเขามาจึงยังใชใหทํางานจริงเลยไมได ทําใหตองมาฝกอบรม เพิ่มเติมในตอนรับเขาปฏิบัติงาน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2541ง: 4, 73)


6 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ไดกําหนดแนวทางในการจัดการศึกษา ต อ งยึ ด หลั ก ว า ผู เ รี ย นทุ ก คนมี ค วามสามารถเรี ย นรู แ ละพั ฒ นาตนเองได และถื อ ว า ผู เ รี ย นมี ความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพ (หมวด 4, มาตรา 22) และใหความสําคัญอยางยิ่งตอการปฏิรูปการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยไดวางแนวทางใหสถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกับความ ถนัด ความสนใจ และความแตกตางระหวางบุคคล มุงฝกทักษะและกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตใชความรูเพื่อปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมให ผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติ ใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง โดยมีการผสมผสานความรูอยางไดสั ดส วนสมดุล กัน ปลูกฝงคุณธรรม คานิยม ที่ดีงาม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค ตลอดจนการสงเสริมบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อ การเรียน แหลง เรียนรู และจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาและทุกสถานที่สภาพแวดลอม สื่อการเรียน อํานวย ความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนไปพรอมกัน จากสื่อและแหลงเรียนรูที่หลากหลาย พอแม ผูปกครอง และชุมชน มีสวนรวมในการจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ (หมวด 4, มาตรา 24) (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2542) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงมีนโยบายในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใชปฏิรูประบบการเรียนรู โดยดําเนินงานตามแนวทางของ “ปญจะปฏิรูป” เพื่อใหการเรียนรูวิชาชีพ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยไดใหการสนับสนุนสถานศึกษาทุกแหง จัดสถานที่สําหรับการ สงเสริมการแสวงหาความรูดวยตนเอง และการเรียนรูจากเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ ดวยการ พัฒนาศูนยเรียนรูดวยตนเอง (Self-access Learning Center) ในทุกสถานศึกษา สงเสริม สนับสนุนสื่อการเรียนการสอนทางเครือขาย ICT ในรูป e-Learning เพื่อใหผูเรียนไดปรับบทบาท 5 ประการ คือ 1) ไดคิดเอง ทําเอง ปฏิบัติเอง และสรางความรูดวยตนเองจากแหลงเรียนรูที่ หลากหลาย 2) มีสวนรวมในการกําหนดจุดมุงหมาย กิจกรรม และวิธีการเรียนรู สามารถเรียนรู รวมกับผูอื่นอยางมีความสุข 3) มีสวนรวมในการประเมินผล 4) เนนกระบวนการคิดและการปฏิบัติ จริง นําไปใชประโยชนได และ 5) เปนการเรียนรูรวมกันโดยมีผูเรียน ครู และผูมีสวนเกี่ยวของทุก ฝายรวมจัดบรรยากาศใหเอื้อตอการเรียนรู (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 2546) ในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพที่ดีนั้นตองอาศัยการศึกษาเขามาชวยและจําเปนตองอาศัย เทคโนโลยีและการเชื่อมโยงเปนเครือขายที่มีอยูทั่วโลก ปรับเปลี่ยนแนวทางและกระบวนการเรียนรู ใหม ตลอดจนการวางแนวทางการสั่งสอนมาเปนการเรียนรูใหสอดคลองไปกับธรรมชาติ เพื่อการ พัฒนาศักยภาพของผูเรียนอยางเต็มที่ โดยการนําเอากระบวนการการเรียนรูที่ใหผูเรียนมีการใช คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู นําไปสูการเรียนรูแบบใหมที่ผูเรียนไดมีการเรียนรู ดวยตนเอง (Self-directed Learning) การเรียนรูดวยการนําตนเองเปนการเรียนรูที่ผูเรียนเปน ผูรับผิดชอบในการวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผลความกาวหนาการเรียนของตนเอง (ชัยอนันต สมุทรวนิช. 2540: 2) โดยการเรียนรูดวยการนําตนเองเปนกระบวนการที่ผูเรียน


7 วิเคราะหความตองการในการเรียนรูของตนเอง ตั้งเปาหมายการเรียนรู แสวงหาความรู ผูสนับสนุน และแหลงความรู รวมทั้งผูเรียนประเมินผลการเรียนดวยตนเอง (Dixon. 1992: 2) การเรียนรูดวย ตนเอง (Self-directed Learning) จึงเปนวิธีแสวงหาความรูอยางหนึ่ง ที่ทําใหผูเรียนสามารถดํารง ชีพอยูในสังคมได อยางมีคุณภาพ การเรียนรูดวยตนเองจะทําใหผูเรียนซึ่งเปนบุคคลที่กระหายใครรู สามารถเรียนรูเรื่องตาง ๆ ที่มีอยูไดมากที่สุด และจะดําเนินการศึกษาอยางตอเนื่องโดยไมตองมีใคร มาบอก ตนเองจะเปนผูริเริ่มวางแผนการศึกษาไปจนจบกระบวนการเรียนรู การเรียนรูดวยตนเองจึง เปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับบุคคลในการเรียนรูตลอดชีวิต (Knowles. 1975) ซึ่งชอว (Zhao. 1998: 3) ไดกลาวสนับสนุนวาบทบาทของครูในการเรียนการสอนโดยใชเวิลด ไวด เว็บ (WWW) นั้น จะทําใหบทบาทของครูซึ่งไดเปลี่ยนจากครูผูสอนเปนผูถายทอดใหความรูและเปนศูนยกลาง ของการเรียนรูกลายมาเปนผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู ผูเรียนเปนผูแสวงหาความรูดวย การเรียนจากการเรียนเดี่ยวเฉพาะบุคคลโดยการสนับสนุนใหผูเรียนมีศักยภาพทางการเรียนไดดวย ตนเองตามลําพัง ซึ่งผูเรียนสามารถเลือกสรรบทเรียนที่เสนอในรูปของไฮเปอรมีเดีย ซึ่งเปน เทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหากับเนื้อหาอื่ นที่เ กี่ยวของ เปนไดทั้งการเชื่อมโยงจากขอความไปสู เนื้อหาที่มีความเกี่ยวของ หรือมีสื่อภาพและเสียงเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถควบคุม บทเรียนไดดวยตนเอง (Learner Control) โดยการเลือกลําดับเนื้อหาไดตามตองการ และเรียน ตามเวลาที่เหมาะสมตามความสะดวกของผูเรียน (Spiro; Feltorich; & Jaobson. 1991: 30) ในโลกยุคปจจุบัน อินเทอรเน็ตเปนเครือขายคอมพิวเตอรที่มีศักยภาพในการสื่อสารสูง และรวดเร็ ว ผู ใ ช ส ามารถส ง และรั บ ข อ มู ล ถึ ง กั น ได ห ลายรู ป แบบ ทั้ ง ที่ เ ป น ข อ ความ ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว หรือแมกระทั่งเสียง ดวยความสามารถของอินเทอรเน็ตจึงเขามามีบทบาทสําคัญ ในการเรียนการสอนปจจุบัน (วิชุดา รัตนเพียร. 2542) บทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเริ่มมี ความสําคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถทําใหเกิดการเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานที่ ไมจํากัดอยูแตใน หองเรียน หรือในโรงเรียนเทานั้น นอกจากนี้ยังเปนการสงเสริมความสามารถในการเรียนรูเปน รายบุคคล และการเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ตอบสนองคุณลักษณะใฝรู ใฝเรียน และพัฒนาทักษะการคิด การสืบคนของผูเรียน โดยสวนใหญแลว บทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ต จะถูกใชประโยชนในกรณีตอไปนี้ คือ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2547) 1. เปนแหลงความรูของผูเรียน (Knowledge Based) โดยที่อินเทอรเน็ตถือเปนแหลง ความรูที่ยิ่งใหญกวางขวางที่สุดในโลก ที่ผูเรียนควรไดรูจักศึกษา เพื่อการแสวงหา วิเคราะหและ สรางองคความรูไดเปนอยางดี 2. เปนหองปฏิบัติการของผูเรียน (Virtual Lab) ในโลกของอินเทอรเน็ตผูเรียนสามารถ เรียนรู ฝกฝนทักษะและปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ไดอยางมากมายโดยมีแหลงความรูที่กวางขวาง แต อยางไรก็ตามการที่ผูเรียนจะไดฝกฝนและปฏิบัติกิจกรรมตางๆ นั้นอาจตองอยูในความดูแล กํากับ แนะนํา ติดตามของครูผูสอนดวยจึงจะทําใหกิจกรรมตางๆ มีสวนเสริมการเรียนรูของผูเรียนไดอยาง มีประสิทธิภาพ


8 3. เปนสวนของหองปฏิบัติการจําลองสภาพตางๆ (Sim Lab) ในโลกของคอมพิวเตอร สามารถกระทําสิ่งตาง ๆ ไดในขณะที่โลกที่เปนจริงไมสามารถกระทําได เชน การจําลอง ปรากฏการณธรรมชาติ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต การเกิดภูเขาไฟระเบิด ฯลฯ หรือเหตุการณที่ อันตราย เชน การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร หรือ การถายทอดจินตนาการออกมาเปนภาพที่ชัดเจน เสมือนจริง ทําใหการเรียนรูและความคิดของมนุษยเปนไปอยางกวางขวาง อิสระ ไรขอบเขต และไร ขอจํากัดมากขึ้น 4. นําผูเรียนออกไปสูโลกกวาง (Reaching out) เปนการเปดประตูหองเรียนออกไป สัมผัสกับความเปนไปของโลก ศึกษาสิ่งที่เปนอยูจริงๆ ที่ไมไดมีอยูเฉพาะแตในหองเรียน หรือ หนังสือเรียนเทานั้น แตเปนการศึกษาความรูที่เปนอยูจริง ทําใหรูเทาทันความเปนไป การ เปลี่ยนแปลงของโลก และรูจักโลกที่เราอยูมากขึ้น 5. นําโลกกวางมาสูหองเรียน (Reaching within) เปนการดึงเอาเรื่องที่อยูไกลตัว ไกล จากประสบการณที่ผูเรียนจะสัมผัสไดจริง ๆ มาสูหองเรียน ทําใหมีความรูกวางขวาง และรูจัก นํามาใชใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูในสาขาวิชาตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันมากขึ้น ในโลก ปจจุบันเราจะพบวา “ผูที่มีขอมูลมากกวายอมไดเปรียบ และผูที่มีขอมูลมากที่สุดจะไดเปรียบกวา แต ที่ยิ่งไปกวานั้นอีกก็คือ ผูที่มีขอมูลที่ถูกตองและใชขอมูลเปนจะไดเปรียบที่สุด” ดังนั้น นอกจาก ผูเรียนจะรูจักแสวงหาขอมูลแลว ยังตองรูจักวิเคราะหความถูกตอง ความเหมาะสมของขอมูลที่มีอยู และสามารถนําขอมูลไปใชจึงจะเกิดประโยชนสูงสุด 6. เปนเวทีการแสดงออก (Performance) ระบบอินเทอรเน็ตเปนระบบที่เชื่อมโยงโลก ทั้งหมด เขาดวยกันทําใหระยะทางไมเปนปญหาในการติดตอสื่อสารอีกตอไป ผูเรียนสามารถแสดง ความคิดเห็น แสดงผลงาน แสดงทักษะ ความรู ความสามารถออกไปสูการรับรูของผูคนไดอยางไร ขอบเขต และไดรับการยอมรับมากขึ้น รวมถึงมีโอกาสที่จะกาวหนาและประสบความสําเร็จไดมาก ขึ้น 7. สนองความแตกตางระหวางบุคคล การเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนการเรียน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อสนองความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียนใหไดเรียนบรรลุผลกันทุก คน การสอนในลักษณะนี้ สนับสนุนความจริงที่วาคนยอมมีความแตกตางกันทุกคน ไมวาจะเปนดาน บุคลิกภาพ สติปญญาหรือความสนใจ โดยเฉพาะความแตกตางที่มีผลตอการเรียนรู ที่สําคัญ 4 ประการ คือ 7.1 ความแตกตางในเรื่องอัตราเร็วของการเรียนรู ผูเรียนแตละคนจะใชเวลาในการ เรียนรูและทําความเขาใจในสิ่งเดียวกันในเวลาที่ตางกัน 7.2 ความแตกตางในเรื่องความสามารถ เชน ความฉลาด ไหวพริบ ความสามารถ พิเศษตาง ๆ 7.3 ความแตกตางในเรื่องวิธีการเรียน ผูเรียนเรียนรูในวิถีทางที่แตกตางกัน 7.4 ความแตกตางในเรื่องความสนใจและสิ่งที่ชอบ


9 เมื่อผูเรียนแตละคนมีความแตกตางกันในหลายๆ ดานเชนนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนใน ลักษณะตางๆ กันจึงเปนสิ่งจําเปน เพื่อใหผูเรียนไดเลือกเรียนดวยตนเองและสนองความแตกตาง ดังกลาว (เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. 2528: 10) จากประโยชนของเทคโนโลยีที่กาวหนาอยางรวดเร็วและการสนับสนุนใหมีการเรียนไดใน ทุกเวลาทุกโอกาส ทําใหเห็นถึงความสําคัญของบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สามารถ นํ า มาใช ใ นการเรี ย นการสอนภาคปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให ผู เ รี ย นมี ก ารฝ ก ฝนทั ก ษะควบคู กั บ การเรี ย น ภาคทฤษฎีหรือการเรียนในแนวทฤษฎีเชิงปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายใหผูเรียนเกิดความเขาใจใน เนื้อหาทางทฤษฎีและสามารถลงมือปฏิบัติอยางชํานาญไดดวยทักษะที่ผานการฝกฝนมา ดวยเหตุนี้ การที่จะใหไดวิธีการเรียนการสอนที่เกิดผลสูงสุดก็คือการดึงเอาความสามารถของระบบเครือขาย อินเทอรเน็ตมาประสมประสานกับการฝกปฏิบัติไดในรูปแบบวิธีการสอนแบบสาธิต (Demonstration method) แลวใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติตาม และยังสามารถจําลองสถานการณ (Simulation) ใหผูเรียน ไดฝ ก ปฏิ บั ติ จะทํา ใหผู เ รี ย นสามารถพั ฒ นาตั ว เองทั้ ง ทางด า นความรู ความเข าใจ (Cognitive domain) และทางดานทักษะกลไก (Psychomotor domain) ควบคูกัน ซึ่งสามารถพัฒนาไดเปนการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตได ดังนั้นการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา จะเปนการเพิ่มศักยภาพทางการเรียนรู ใหเหมาะสมและกาวทันตอ ความเจริ ญ ก า วหน า ในยุ ค ของโลกที่ ไ ร พ รมแดน สามารถนํ า สื่ อ มาผสมผสานให อ ยู ใ นรู ป ของ มัลติมีเดียเพื่อใชสําหรับการเรียนการสอน และยังเปนการเพิ่มเติมเครื่องมือและอุปกรณที่จําเปน รวมทั้งเปนการลดคาใชจายในระยะยาวไดอีกทางหนึ่งดวย ซึ่งถือวาเปนการพัฒนาพื้นฐานทางดาน การเรียนรูและขยายสังคมแหงการเรียนรูใหกวางไกลยิ่งขึ้น และเปนรูปแบบที่สามารถนําไป พัฒนาการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคในวิชาอื่น ๆ ได งานวิจัยนี้จึงมุงที่จะศึกษาการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษา ซึ่ ง จะเป น ประโยชน ต อ การจั ด การศึ ก ษา ทางดานอาชีวศึกษาของประเทศไทยใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 3. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดังนี้


10 3.1 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.2 ศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.3 ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.4 ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ความสําคัญของการวิจัย ผลการวิจัยในครั้งนี้จะทําใหได 1. รู ป แบบการเรีย นการสอนฝกปฏิ บั ติท างเทคนิ ค บนเครื อข ายอิน เทอร เ น็ ต สํ าหรั บ นักเรียนอาชีวศึกษา ที่เหมาะสมกับบริบทของการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึกษา ซึ่งถือวาเปน ต น แบบของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นักเรียนอาชีวศึกษา โดยประกอบดวยองคประกอบและรายละเอียดของแตละองคประกอบ ที่ ผูสอนวิชาทฤษฎีกับปฏิบัติและวิชาปฏิบัติในวิชาอื่น ๆ สามารถนําไปใชเปนรูปแบบในการจัดการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติได 2. เปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคในวิชาทฤษฎีกับ ปฏิบัติและวิชาปฏิบัติในวิชาอื่น ๆ บนเครือขายอินเทอรเน็ตตอไป 3. เปนแนวทางในการวิจัยรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางอาชีวศึกษาในวิชา ทฤษฎีกับปฏิบัติและวิชาปฏิบัติในวิชาอื่น ๆ บนเครือขายอินเทอรเน็ตตอไป

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้มุงศึกษารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต หมายถึ ง ระบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต พร อ มทั้ ง คําอธิบายรายละเอียด ประกอบดวยองคประกอบหลักที่สําคัญ 5 ประการ 1.1 ปจจัยนําเขา (Input) ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การวิเคราะห ผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเตรียมความ พรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน


11 1.2 กระบวนการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต (Process) ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค และกิจกรรมเสริมทักษะ 1.3 การควบคุม (Control) ไดแก การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน และการตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 1.4 ผลผลิต (Output) ไดแก ประเมินผลการเรียนการสอน 1.5 ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ไดแก ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง ในการดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ใชขั้นตอนการดําเนินการการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2. ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 3. ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) โดยกําหนดขอบเขตของเนื้อหาที่ทําการวิจัยเปนเนื้อหาในภาคปฏิบัติ ในวิชางาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ใชเวลาในการเรียนทั้งหมด 4 สัปดาห ซึ่งครอบคลุมหนวยการ เรียน ดังนี้ 1. หนวยการเรียน การบัดกรีและการทําแผนวงจรพิมพ จํานวน 8 ชั่ วโมง ประกอบดวย 1.1 การบัดกรี 1.2 การทําแผนวงจรพิมพ 2. หนวยการเรียน การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส จํานวน 8 ชั่วโมง ประกอบดวย 2.1 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 2.2 โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร 2000 (Circuitmaker 2000) 2. แหลงขอมูลที่ใชในการวิจัย แบงออกไดเปน 3 กลุม ดังนี้ 2.1 แหลงขอมูลสําหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย 2.1.1 ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา เปนผูมีคุณวุฒิการศึกษาในสาขา เทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาเอกมีประสบการณในการสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบัน อาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 3 ป หรือระดับปริญญาโทมีประสบการณใน การสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 10 ป และตองมีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารยหรือตําแหนงขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา 4 จํานวน 5 คน ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sample) ซึ่งเปน ผูเ ชี่ ย วชาญพิ จ ารณารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


12 2.1.2 ผูเชี่ยวชาญดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนผูมีคุณวุฒิการศึกษาใน สาขาไฟฟาหรืออิเล็กทรอนิกส หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ระดับปริญญาเอกมีประสบการณใน การสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 3 ป หรือระดับปริญญาโทมีประสบการณในการสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาและ เกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 10 ป และตองมีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย หรือตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4 จํานวน 5 คน ไดมาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sample) ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญพิจารณารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2.2 แหล งข อมู ล สํ าหรับการศึก ษาประสิท ธิภาพของรูป แบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กลุมตัวอยางที่ใชใน การวิจัย เลื อกมาจากนั ก เรีย นระดั บ ประกาศนียบัต รวิชาชีพ ชั้นปที่ 1 (ปวช .1) แผนกวิ ช า อิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โดยการสุมตัวอยางอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวยวิธีการจับฉลาก โดยใชกลุมการเรียนเปนหนวยการสุมจากประชากรทั้งหมด 4 กลุม ไดกลุมตัวอยางจํานวน 2 กลุมการเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน แลวนํากลุมตัวอยางที่ไดมา ทดสอบความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายอีกครั้งดวยวิธีการจับฉลาก จากกลุมตัวอยางที่ มี แลวทําการทดลองหา คะแนนทักษะปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางจํานวน 32 คน ประสิทธิภาพ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน ดานความเขาใจของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอน ทักษะปฏิบัติ โดยการสังเกต สัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ไดมาปรับปรุงแกไข เพื่อใชทดลองในขั้น ตอไป ครั้งที่ 2 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 9 คน เพื่อหาแนวโนมของ ประสิท ธิ ภาพของรูปแบบการเรี ยนการสอนฝกปฏิบั ติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเ น็ต และ ตรวจสอบหาขอบกพรองในดานตาง ๆ จากนั้นนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป ครั้งที่ 3 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของ รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่สรางขึ้นใหไดตามเกณฑ การหาประสิทธิภาพ 85/85 2.3 แหลงขอมูลสําหรับการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2.3.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นป ที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียน วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 40 คน


13 2.3.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เลือกมาจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โดยการ นํานักเรียนมาทดสอบความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายดวยวิธีการจับฉลาก จากนักเรียนที่มี คะแนนทักษะปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางที่จะใชในการทดลองกับรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เพื่อใชในการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความ คิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จํานวน 20 คน 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 3.2 ประสิ ท ธิ ผ ลของรูป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติท างเทคนิ ค บนเครื อ ขา ย อินเทอรเน็ต ประกอบดวย 3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2.2 ทักษะปฏิบัติ 3.2.3 ความคงทนของทักษะปฏิบัติ 3.2.4 ความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4. นิยามศัพทเฉพาะ 1. ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อิ น เทอร เ น็ ต หมายถึ ง อั ต ราส ว นของผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นและทั ก ษะปฏิ บั ติ ที่ แ สดง ความกาวหนาของการเรียนรูระหวางเรียนกับเมื่อสิ้นสุดการเรียนจากการเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่สรางตามรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยกําหนดไวเปนเกณฑ 85/85 ดังนี้ 85 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ ไดจากการหาคาคะแนน เฉลี่ยจากแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน คิดเปนรอยละ 85 ขึ้นไป 85 ตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ ไดจากการหาคาคะแนนเฉลี่ย จากแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน คิดเปนรอยละ 85 ขึ้นไป


14 2. ประสิ ท ธิ ผ ลของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต หมายถึง คุณภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ประกอบดวย 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถที่ไดรับหลังจาก เรียนในเนื้อหา เรื่อง การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส ซึ่งวัด โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 ทักษะปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถที่จะปฏิบัติงานของทักษะปฏิบัติ ใน ระดับทําไดเอง (Mechanism) (Bloom. 1956) ตามใบงาน เรื่อง การประกอบวงจรแหลงจายไฟฟา กระแสตรงชนิดคงที่ ในวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยแสดงผลออกมาทั้งดาน กระบวนการ (Process) จากการปฏิบัติ ไดแก 1) ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 2) ความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน 3) การทําความสะอาด การใช การจัดเก็บ การบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ 4) เวลาในการปฏิบัติงาน และดานผลงาน (Product) จากการปฏิบัติ ไดแก 1) คุณภาพของวงจร 2) คุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร ที่ประเมินจากแบบวัดทักษะปฏิบัติ 2.3 ความคงทนของทักษะปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถที่จะปฏิบัติงานของ ทักษะปฏิบัติ ในระดับทําไดเอง (Mechanism) (Bloom. 1956) ตามใบงาน เรื่อง การประกอบวงจร แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ ในวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยแสดงผล ออกมาทั้งดานกระบวนการ (Process) จากการปฏิบัติ ไดแก 1) ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 2) ความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 3) การทําความสะอาด การใช การจัดเก็บ การบํารุงรักษาเครื่องมือและ อุปกรณ 4) เวลาในการปฏิบัติงาน และดานผลงาน (Product) จากการปฏิบัติ ไดแก 1) คุณภาพ ของวงจร 2) คุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร ที่ประเมินจากแบบวัดทักษะ ปฏิบัติ ในเวลาที่ผานไปแลว 2 สัปดาห คิดเปนอัตราสวนรอยละของทักษะปฏิบัติเมื่อสิ้นสุดการเรียน 2.4 ความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษา ที่มีตอการเรียน ตามรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติท างเทคนิ ค บนเครื อข า ยอิ น เทอรเ น็ ต สํา หรั บ นัก เรี ย น อาชีวศึกษา ซึ่งประเมินไดจากการใชแบบประเมินความคิดเห็นในดาน ๆ โดยประเมินคาเปน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย เฉยๆ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง

กรอบแนวคิดการวิจัย รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชี ว ศึ ก ษา เป น รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ นํ า เอาศั ก ยภาพของเทคโนโลยี บ นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตมาผสมผสานกับการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติที่เปนการฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณ จริง เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติและความคงทนของทักษะปฏิบัติ ที่สามารถนําไปประยุกตใชสําหรับ การเรียนการสอนในภาคปฏิบัติในระดับอาชีวศึกษา


15 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา องคประกอบ เนื้อหา รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย น อาชีวศึกษา ที่พัฒนาขึ้น มี 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการ เรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ข อ มู ล ป อ นกลั บ (Feedback) โดยมี 13 องคประกอบยอย คือ y ปจจัยนําเขา (Input) 1. กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 2. การวิเคราะหผูเรียน 3. การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4. กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5. การเตรีย มความพร อมด านสภาพแวดล อ ม ทางการเรียน y กระบวนการเรี ย นการสอนฝ กปฏิ บั ติ ท าง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 6. กําหนดบทบาทผูสอน 7. การสรางแรงจูงใจในการเรียน 8. การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 9. กิจกรรมเสริมทักษะ y การควบคุม (Control) 10. การตรวจสอบและควบคุ ม การเรี ย นของ ผูเรียน 11. การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน y ผลผลิต (Output) 12. การประเมินผลการเรียนการสอน y ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 13. ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง

วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เบื้ อ งต น (2100-1003) ใช เ วลา ในการเรียนทั้งหมด 4 สัปดาห ซึ่ ง ครอบคลุ ม หน ว ยการเรี ย น ดังนี้ 1. หน ว ยการเรี ย น การบั ด กรี แ ละ การทํ า แผ น วงจรพิ ม พ จํ า นวน 8 ชั่วโมง ประกอบดวย 1.1 การบัดกรี 1.2 การทําแผนวงจรพิมพ 2. หน ว ยการเรี ย น การประกอบ วงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส จํ า นวน 8 ชั่วโมง ประกอบดวย 2.1 ก า ร ป ร ะ ก อ บ ว ง จ ร อิเล็กทรอนิกส 2.2 โปรแกรมเซอร กิ ต เมคเกอร 2000 (Circuitmaker 2000)

ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา y ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตที่สรางตามรูปแบบ ไดตามเกณฑ 85/85

ประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน 1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน y ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

2. ทักษะปฏิบัติ 2.1 ดานกระบวนการ (Process) 2.1.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2.1.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 2.1.3 การใช ทําความสะอาด จัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ 2.1.4 เวลาในการปฏิบัติงาน 2.2 ดานผลงาน (Product) 2.2.1 คุณภาพของวงจร 2.2.2 คุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร y ทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษา อยูในระดับดี

3. ความคงทนของทักษะปฏิบัติ 3.1 ดานกระบวนการ (Process) 3.1.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3.1.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 3.1.3 การใช ทําความสะอาด จัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ 3.1.4 เวลาในการปฏิบัติงาน 3.2 ดานผลงาน (Product) 3.2.1 คุณภาพของวงจร 3.2.2 คุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร y ความคงทนของทักษะปฏิบัติหลังเรียนผานไปแลว 2 สัปดาห ไมต่ํากวา รอยละ 80

4. ความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4.1 ดานความนาสนใจ แปลกใหม 4.2 ดานการเรียนรูดวยตนเอง 4.3 ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 4.4 ดานการติดตอสื่อสาร 4.5 ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 4.6 ดานการฝกปฏิบัติ 4.7 ดานความชอบ yความคิดเห็นของนักเรียน อยูในระดับเหมาะสมมาก

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย


16

สมมติฐานการวิจัย 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝกปฏิ บัติท างเทคนิ ค บนเครื อข ายอิน เทอร เ น็ต สํ าหรั บ นักเรียนอาชีวศึกษาที่พัฒนาขึ้นเปนรูปแบบที่มีความเหมาะสม อยูในระดับเหมาะสมมาก 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 3. ทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต อยูในระดับดี 4. ความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไมต่ํากวารอยละ 80 5. ความคิ ด เห็ นต อการเรีย นตามรู ป แบบการเรีย นการสอนฝ ก ปฏิ บัติ ท างเทคนิค บน เครือขายอินเทอรเน็ต ของนักเรียนอาชีวศึกษา อยูในระดับเหมาะสมมาก


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตาม หัวขอตอไปนี้ 1. รูปแบบการเรียนการสอน 1.1 ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน 1.2 องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน 1.3 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 1.4 ระบบการเรียนการสอน 1.5 รูปแบบการเรียนการสอน 2. ทฤษฎีการเรียนรูที่เกี่ยวของกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2.1 ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง (Constructivism) 2.2 ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน (Constructionism) 2.3 การเรียนรูดวยตนเอง (Self-directed Learning) 3. การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.1 ความหมายของเครือขายอินเทอรเน็ต 3.2 ความเปนมาของอินเทอรเน็ต 3.3 รูปแบบการใหบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.4 องคประกอบของระบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.5 การใชเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา 4. การจัดการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึกษา 4.1 ความหมายของการอาชีวศึกษา 4.2 ทฤษฎีอาชีวศึกษา 4.3 หลักการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 5. ทักษะปฏิบัติ 5.1 ความหมายของทักษะปฏิบัติ 5.2 ความสําคัญของการสอนทักษะปฏิบัติ 5.3 จุดมุงหมายของการสอนทักษะปฏิบัติ 5.4 ทฤษฎีการเรียนรูทักษะปฏิบัติ 5.5 ขอควรคํานึงในการสอนทักษะปฏิบัติ


18 5.6 รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ 5.7 การวัดทักษะปฏิบัติ 6. ความคงทนของทักษะปฏิบัติ 6.1 ลักษณะของความคงทนของทักษะปฏิบัติ 6.2 ความหมายของความคงทนในการเรียนรู 6.3 ความหมายของการจํา 6.4 ชนิดของความจํา 6.5 ทฤษฎีความจํา 6.6 หลักการจัดการเรียนการสอนที่มีผลตอความคงทนในการเรียนรู 6.7 การวัดความคงทนในการเรียนรู 7. การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา 7.1 ความหมายของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา 7.2 ความสําคัญของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา 7.3 การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษากับการวิจัยทางการศึกษา 7.4 การดําเนินการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา 8. งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต


19

1. รูปแบบการเรียนการสอน 1.1 ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน นักการศึกษาไดกลาวถึงความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน ดังนี้ เซยเลอร และคนอื่นๆ (Saylor; et al. 1981) กลาววา รูปแบบการสอน (Teaching Model) หมายถึง แบบ หรือแผน (Pattern) ของการสอนที่มีการจัดกระทําพฤติกรรมขึ้นจํานวนหนึ่ง ซึ่งมีความแตกตางกัน เพื่อจุดหมาย หรือจุดเนนเฉพาะเจาะจงอยางหนึ่งอยางใด จอยส และวีล (Joyce; & Weil. 1972) ใหความหมายของรูปแบบการเรียนการสอนวา เปนแผน (Plan) หรือแบบ (Pattern) ซึ่งสามารถใชเพื่อการเรียนการสอนในหองเรียน หรือการสอน พิเศษเปนกลุมยอย หรือเพื่อจัดสื่อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสือ ภาพยนตร เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร หรือหลักสูตรรายวิชา แตละรูปแบบจะใหแนวทางในการออกแบบการสอน ที่ชวยใหนักเรียนบรรลุวัตถุประสงคตาง ๆ กัน จอยส และโชวเวอร (Joyce; & Showers. 1992) ใหความหมายของรูปแบบการ จัดการเรียนการสอนวาเปนแผนการสอนหรือรูปแบบที่สามารถนําไปใชในชั้นเรียนหรือใชสอนเสริม และเพื่อปรับสื่อการสอน เชน หนังสือพิมพ ฟลม เทปโปรแกรมคอมพิวเตอรและหลักสูตรของ รายวิชาที่สอนแตละรูปแบบจะใหแนวทางวาครูจะตองเตรียมการสอนอยางไร ดําเนินการสอนและ ประเมินผลอยางไร จึงจะชวยใหนักเรียนบรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ละเอียด รักษเผา (2528: 8) ใหความหมายของรูปแบบการเรียนการสอนวา รูปแบบ การเรียนการสอนคือ โครงสรางที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆ ที่จะใชจัดกระทํา เพื่อใหเกิดผลที่ตั้งเปาหมายใหแกผูเรียน ทิศนา แขมมณี (2547: 221) ใหความหมายของรูปแบบการเรียนการสอนคือ สภาพ ลักษณะของการเรียนการสอนที่ครอบคลุมองคประกอบสําคัญซึ่งไดรับการจัดไวอยางเปนระเบียบ ตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อตางๆ โดยประกอบดวยกระบวนการหรือ ขั้นตอนสําคัญในการเรียนการสอน รวมทั้งวิธีสอนและเทคนิคการสอนตาง ๆ ที่สามารถชวยให สภาพการเรียนการสอนนั้นเปนไปตามทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดที่ยึดถือซึ่งไดรับการพิสูจน ทดสอบ หรือยอมรับ วามีประสิ ทธิภาพ สามารถใช เปนแบบแผนในการเรียนการสอนใหบรรลุ วัตถุประสงคเฉพาะของรูปแบบนั้น ๆ จากแนวความคิดเกี่ยวกับความหมายของรูปแบบการเรียนการสอนที่กลาวมา ผูวิจัย จึงสรุปวา รูปแบบการเรียนการสอน หมายถึง สภาพ ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่แสดง การจัดโครงสรางที่ครอบคลุมองคประกอบสําคัญที่จัดไวอยางเปนระเบียบตามหลักปรัชญา ทฤษฎี แนวคิด ความเชื่อ ประกอบดวยขั้นตอนสําคัญในการเรียน รวมทั้งวิธีสอนและเทคนิคการสอนตางๆ ที่ชวยใหสภาพการเรียนการสอนเปนไปตามทฤษฎี แนวคิด หลักการพื้นฐาน ไดรับการยอมรับวามี ประสิทธิภาพ และใชเปนแบบแผนในการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว


20 1.2 องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน รู ป แบบการเรี ย นการสอนโดยทั่ ว ไปมี อ งค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ที่ ค วรคํ า นึ ง ถึ ง ดั ง นี้ (Joyce; & Weil. 1986) 1. หลักการของรูปแบบ เปนสวนที่กลาวถึงความเชื่อ แนวคิดของทฤษฎีที่รองรับ รูปแบบการเรียนการสอน หลักการของรูปแบบการเรียนการสอนจะเปนตัวกําหนดจุดประสงค เนื้อหา กิจกรรมและขั้นตอนการดําเนินการในรูปแบบการเรียนการสอน 2. จุดประสงค เปนสวนที่ระบุถึงความคาดหวังที่ตองการใหเกิดขึ้นจากการใชรูปแบบ การเรียนการสอน 3. เนื้อหา เปนสวนที่ระบุถึงเนื้อหาและกิจกรรมที่ใชในการเรียนการสอนเพื่อใหบรรลุ จุดประสงคของรูปแบบ 4. กิจกรรมและขั้นตอนการดําเนินการ เปนสวนที่ระบุถึงวิธีการปฏิบัติในแตละ ขั้นตอนเมื่อนํารูปแบบการเรียนการสอนไปใช 5. การวัดและประเมินผล เปนสวนที่ประเมินถึงประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียน การสอน จอยส และคนอื่น ๆ (Joyce; et al. 1992: 197) ไดเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการ สอน โดยเริ่มจากเสนอภาพเหตุการณในหองเรียน (Scenario) เพื่อนําไปสูการจัดการเรียนการสอน แตละแบบ ซึ่งแตละแบบมีองคประกอบ 4 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 กลาวถึงที่มาของรูปแบบการจัดการเรียนการสอน (Orientation to the Model) ประกอบดวยเปาหมายของรูปแบบ ขอตกลงเบื้องตน หลักการ มโนทัศนที่สําคัญที่สําคัญ ที่เปนพื้นฐานของรูปแบบการสอน สวนที่ 2 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน (The Model of Teaching) มี 4 สวน คือ 2.1 ขั้นตอนของรูปแบบ (Syntax หรือ Phase) เปนการจัดเรียงตามลําดับ กิจกรรมที่จะสอนเปนขั้น ๆ ซึ่งแตละรูปแบบมีจํานวนขั้นตอนการสอนแตกตางกันไป 2.2 รูปแบบของสังคม (Social System) เปนการอธิบายบทบาทของครูและ นักเรียน ซึ่งแตละรูปแบบจะตางกันไป 2.3 หลักการแสดงการโตตอบ (Principle of Reaction) เปนการบอกวิธีการที่ครู จะตอบสนองตอสิ่งที่นักเรียนกระทํา อาจเปนการใหรางวัล การสรางบรรยากาศอิสระไมมีการ ประเมินวาถูกหรือผิด เปนตน 2.4 สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน (Support System) เปนการบอกเงื่อนไขหรือ สิ่งจําเปนในการที่จะใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนใหเกิดผล เชน การสอนฝกทักษะ นักเรียน จะตองไดฝกการทํางานในสถานที่และดวยอุปกรณที่ใกลเคียงกับสภาพการทํางานจริง ๆ


21 สวนที่ 3 การนําเสนอรูปแบบการจัดการเรียนการสอนไปใช (Application) เปนการ แนะนําและใหขอสังเกตการใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนนั้น เชน จะใชกับเนื้อหาประเภทใดใช กับเด็กระดับใดจึงจะเหมาะ เปนตน สวนที่ 4 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนทั้งทางตรงและทางออม (Instructional and Nurturant Effects) เปนการบอกใหรูวาแตละรูปแบบจะเกิดผลอะไรบางกับนักเรียน โดยที่ผล ทางตรงมาจากการสอนของครูที่จัดขึ้นตามขั้นตอน สวนผลทางออมมาจากสภาพแวดลอม ซึ่งถือ เปนผลกระทบที่เกิดแฝงไปกับผลการสอนซึ่งสามารถใชเปนขอพิจารณาในการเลือกรูปแบบการสอน ไปใช ทิศนา แขมมณี (2547: 221-222) ไดเสนอวา รูปแบบการเรียนการสอนจําเปนตองมี องคประกอบสําคัญดังนี้ 1. ปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อที่เปนพื้นฐานหรือหลักของ รูปแบบการสอนนั้น ๆ 2. การบรรยายและอธิ บ ายสภาพหรื อ ลั ก ษณะของการจั ด การเรี ย นการสอนที่ สอดคลองกับหลักการที่ยึดถือ 3. การจัดระบบ คือ มีการจัดองคประกอบและความสัมพันธขององคประกอบของ ระบบใหสามารถนําผูเรียนไปสูเปาหมายของระบบหรือกระบวนการนั้นๆ 4. การอธิบายหรือใหขอมูลเกี่ยวกับวิธีสอน และเทคนิคการสอนตางๆ อันจะชวยให กระบวนการเรียนการสอนนั้นๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปไดวาในการออกแบบการเรียนการสอน จําเปนตองมีองคประกอบหลัก ไดแก เป าหมายการเรี ยนการสอนเปนลักษณะที่ตองการใหเ กิดขึ้นกับ ผูเ รียน วัต ถุประสงคการเรียน วิธีการเรียนการสอนที่จะนําไปสูเปาหมายและวัตถุประสงคการเรียน เครื่องมือในการประเมิน ผูเรียน สื่อการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนใหประสบความสําเร็จ ผูสอนจําเปนตองทราบขอมูลเกี่ยวกับผูเรียนที่จําเปนอันไดแก พื้นฐานความรูเดิม ความสนใจ เจต คติ ความพรอมในการเรียนรู เพื่อจะจัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน 1.3 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนใดก็ตาม จะกลายเปนรูปแบบการเรียนการสอนไดก็ตอเมื่อ การจัดการเรียนการสอนนั้น ไดผานกระบวนการจัดอยางเปนระบบเสียกอน ระบบการจัดการเรียน การสอนกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนหรือรูปแบบการเรียนการสอนมีความหมายเหมือนกัน (กมล โพธิเย็น. 2547: 48) องคประกอบสําคัญของการจัดการศึกษานอกจากหลักสูตรที่เปนตัวกําหนดวาจะสอน อะไรใหกับนักเรียนแลว องคประกอบที่มีความสําคัญไมแพกันอีกองคประกอบหนึ่งที่นักการศึกษา สวนใหญใหความสนใจ คือ วิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนความพยายามใน การหาและใชวิธีการที่จะทําใหนักเรียนบรรลุเปาหมายที่ตองการ และความพยายามนี้จะเปนไป


22 อยางมีประสิทธิภาพเมื่อไดผานกระบวนการกําหนดและเลือกใชวิธีดําเนินการดีที่สุดที่เรียกวาการ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนเปรียบเสมือนพิมพเขียวของการจัดการ เรียนการสอนที่ควรจะเปนพิมพเขียวนี้จะบอกใหทราบวาควรจะใชวิธีการใดในการเรียนการสอน สําหรับแตละเนื้อหาของแตละรายวิชาและนักเรียนกลุมเปาหมาย (Reigeluth. 1991: 7-11) กลาว สั้นๆ คือการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเปนกระบวนการที่ชวยในการตัดสินใจวาวิธีการใดของ การเรียนการสอนเปนวิธีที่ดีที่จะนําไปสูความเปลี่ยนแปลงที่ตองการในตัวนักเรียนซึ่งเปนประชากร กลุมเปาหมายทั้งดานความรูและทักษะที่กําหนด การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนมีจุดเริ่มตนที่การกําหนดความตองการจําเปนที่ ตองการใหเกิดกับนักเรียนกลุมเปาหมาย จากนั้นจึงออกแบบวิธีการซึ่งมักจะเรียกกันในชื่อของการ ออกแบบการเรียนการสอน (Instruction Design) แลวนําผลที่ไดจากการออกแบบไปทดลองใชเพื่อ ประเมินวาบรรลุผลตามความตองการจําเปนที่กําหนดไวหรือไม (Johnson; & Foa. 1989: 21) นั่น คือการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเปนกระบวนการที่ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 4 ขั้น เรียง ตามลําดับดังนี้ ขั้นที่ 1. การกําหนดความตองการ ขั้นที่ 2. การออกแบบวิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งสิ่งที่ตองการ ขั้นที่ 3. การนําวิธีการไปทดลองใชเพื่อหาประสิทธิภาพ ขั้นที่ 4. การประเมินผลลัพธ นอกจากนี้ ยั ง สามารถพิ จ ารณาการพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนในลั ก ษณะที่ เปนวัฎจักรไดดังนี้ กอนการเรียนการสอน

ระหวางการเรียนการสอน

การตั้งจุดประสงคและ การออกแบบการเรียน การสอน

การนําไปใชและการ จัดการเรียนการสอน

หลังการเรียนการสอน การประเมินผลลัพธที่ได จากการเรียนรู

ภาพประกอบ 2 วัฎจักรของการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ที่มา: Kameenui; & Simmons. (1990). Designing Instructional Strategies. pp. 88-89.


23 จอยส และวีล (Joyce; & Weil. 1986) ไดกลาวถึงการพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอน สามารถสรุปขั้นตอนพัฒนาไดดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะหขอมูลพื้นฐานตางๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ตองการนํามาพัฒนาเปน รูปแบบการเรียนการสอน 2. นํ า เสนอแนวคิ ด สํ า คั ญ ของข อ มู ล ที่ ไ ดจ ากการวิ เ คราะห ม ากํ า หนดหลั ก การ เปาหมาย และองคประกอบอื่นๆ ที่เห็นวามีความสําคัญ ทําใหรูปแบบการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งกําหนดลําดับความสําคัญ และรายละเอียดขององคประกอบ 3. กําหนดแนวทางในการนํารูปแบบไปใช โดยใหรายละเอียดเกี่ยวกับเงื่อนไข วิธีการใชรูปแบบ 4. ประเมินรูปแบบ โดยทดสอบประสิทธิภาพของรูปแบบที่ไดสรางขึ้น โดยการ ประเมินความเปนไปได ความสอดคลองภายในองคประกอบตางๆ โดยผูทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญดาน รูปแบบการเรียนการสอนทั้งในดานทฤษฎีและปฏิบัติ และความเปนไปไดเชิงปฏิบัติการโดยนํา รูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใชในสถานการณจริง คํานวณคาประสิทธิภาพของรูปแบบดวยสถิติ 5. ปรับปรุงรูปแบบ ในชวงกอนนําไปทดลองโดยขอมูลจากผูเชี่ยวชาญและหลังจาก การทดลองใชรูปแบบเพื่อปรับปรุง อาจทดลองซ้ําหลายครั้งจนไดผลเปนที่นาพอใจ ทิศนา แขมมณี (2547: 201-204) ไดกลาวถึงขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอน ดังนี้ 1. กําหนดจุดมุงหมายการพัฒนาหรือการสรางระบบหรือรูปแบบการเรียนการสอน ใหชัดเจน 2. ศึกษาหลักการ/ทฤษฎีที่เกี่ยวของ เพื่อกําหนดองคประกอบและเห็นแนวทางใน การจัดความสัมพันธขององคประกอบไดรอบคอบขึ้น ซึ่งจะทําใหรูปแบบหรือระบบมีความมั่นคงขึ้น 3. การศึกษาสภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของ จะชวยใหคนพบองคประกอบที่ สําคัญที่จะชวยใหระบบมีประสิทธิภาพเมื่อนําไปใชจริง ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ เปนสิ่งที่ตอง นํามาพิจารณาในการจัดองคประกอบตาง ๆ และจัดความสัมพันธขององคประกอบทั้งหลาย การนํา ขอมูลจากความเปนจริงมาใชในการสรางรูปแบบจะชวยขจัดหรือปองกันปญหาอันทําใหระบบนั้น ขาดประสิทธิภาพ 4. การกําหนดองคประกอบของระบบ ไดแก การพิจารณาวามีอะไรบางที่สามารถ ชวยใหเปาหมายหรือจุดมุงหมายบรรลุผลสําเร็จ 5. การจัดกลุมองคประกอบ ไดแก การนําองคประกอบที่กําหนดไวมาจัดหมวดหมู เพื่อความสะดวกในการคิดและดําเนินการในขั้นตอไป 6. การจั ดความสั มพันธขององคประกอบ ขั้นนี้เปนขั้นที่ตองใช ความคิด ความ รอบคอบมาก ผูสรางระบบตองพิจารณาวาองคประกอบใดเปนเหตุและเปนผลขึ้นตอกันในลักษณะ ใด สิ่งใดควรมากอนหลัง สิ่งใดสามารถดําเนินการคูขนานไปได ขั้นนี้เปนขั้นที่อาจใชเวลาในการ พิจารณามาก


24 7. การจัดผังระบบ เปนการสรางความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ โดยแสดงให เห็นถึงผังจําลองขององคประกอบตาง ๆ 8. การทดลองใชระบบ เพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้น 9. การประเมินผล ไดแก การศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการทดลองใชระบบใด ๆ แลว ไดผลตามเปาหมายหรือใกลเคียงกับเปาหมายมากนอยเพียงใด 10. การปรับปรุงระบบ นําผลการทดลองใชประโยชนในการปรับปรุงใหดียิ่งขึ้น จากแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน สรุปไดวาในการพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนจะตองดําเนินการอยางเปนระบบ โดยตองมีการกําหนดจุดมุงหมายของการสราง รู ป แบบใหชัด เจน มีก ารศึกษาหลัก การ แนวคิด และทฤษฎี ตาง ๆ เพื่ อใชเ ปนพื้ น ฐานในการ กําหนดองคประกอบตาง ๆ ของรูปแบบการเรียนการสอน รวมทั้งจัดกลุมขององคประกอบให มองเห็นความสัมพันธกัน มีการนํารูปแบบการเรียนการสอนที่สรางและพัฒนาขึ้นไปทดลองใชเพื่อ แกไขปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพ สําหรับการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยกําหนดขั้นตอนการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอน ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 4 ขั้น ไดแก ขั้นที่ 1. การศึกษาขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดเปาหมายและการสรางรูปแบบ ขั้นที่ 2. การสรางรูปแบบการเรียนการสอน ขั้นที่ 3. การหาประสิทธิภาพของรูปแบบ ขั้นที่ 4. การประเมินผลลัพธและปรับปรุงรูปแบบ 1.4 ระบบการเรียนการสอน 1.4.1 ความหมายของระบบ มีนักการศึกษาไดใหความหมายของระบบไวดังนี้ เบนาธี (Banathy. 1968: 7) กลาววา ระบบ หมายถึง การรวบรวมสิ่งตาง ๆ ที่ มนุษยไดออกแบบและสรางสรรคขึ้นมา เพื่อสามารถนําสิ่งเหลานั้นมาจัดดําเนินการใหบรรลุผลตาม เปาหมายที่วางไว กูด (Good. 1973) กลาววา ระบบ หมายถึง การจัดการสวนตาง ๆ ทุกสวนใหเปน ระเบียบโดยแสดงความสัมพันธซึ่งกันและกันของสวนตาง ๆ และความสัมพันธของแตละสวนกับ สวนทั้งหมดอยางชัดเจน เซมพรีวิโว (Semprevivo. 1976) อธิบายวา ระบบ คือ องคประกอบตาง ๆ ที่ ทํางานเกี่ยวโยงสัมพันธกันเพื่อใหเกิดผลอยางใดอยางหนึ่ง กลาวไดวา ระบบ คือ การปฏิสัมพันธ ขององคประกอบทั้งหลายในการปฏิบัติหนาที่และการดําเนินงาน ดังนั้นสามารถสรุปไดวา ระบบ หมายถึง การทํางานรวมกันขององคประกอบแต ละสวนอยางมีความสัมพันธกันอยางตอเนื่องเพื่อนําไปสูความสําเร็จตามเปาหมายที่ไดวางไว


25 1.4.2 องคประกอบของระบบ มีนักการศึกษาไดกลาวถึงองคประกอบของระบบไวดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2547: 199) ไดกลาวถึงองคประกอบของระบบที่จะทํางานได อยางสมบูรณจะประกอบดวยสวนสําคัญ 5 สวน คือ 1. ตัวปอน (Input) คือ องคประกอบตาง ๆ ของระบบนั้นหรืออีกนัยหนึ่งก็คือสิ่ง ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบนั้น 2. กระบวนการ (Process) คือ การจัดความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ของระบบใหมีลักษณะที่เอื้ออํานวยตอการบรรลุเปาหมาย 3. ผลผลิต (Product) คือ ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการดําเนินงาน 4. กลไกควบคุม (Control) คือ กลไกหรือวิธีการที่ใชในการควบคุมหรือ ตรวจสอบกระบวนการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) คือ ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหความสัมพันธ ระหวางผลผลิตกับจุดมุงหมายซึ่งจะเปนขอมูลปอนกลับไปสูการปรับปรุงกระบวนการและตัวปอน ซึ่งสัมพันธกับผลผลิตและเปาหมายนั้น จากองคประกอบดังกลาว สามารถแสดงแผนภูมิองคประกอบของระบบที่มีความ สมบูรณไดดังแผนภาพ ดังนี้

กลไกควบคุม

ตัวปอน

กระบวนการ

ผลผลิต

ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุงแกไข

ภาพประกอบ 3 องคประกอบของระบบที่มีความสมบูรณ ที่มา: ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตรการสอนองคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู ที่มีประสิทธิภาพ. หนา 200.


26 1.4.3 ความหมายของระบบการเรียนการสอน มีนักการศึกษาไดใหความหมายของระบบการเรียนการสอนไวดังนี้ กาเย บริกส และเวเกอร (Gange; Briggs; & Wager. 1988) กลาววา ระบบการ เรียนการสอน หมายถึง การจัดทรัพยากรและกระบวนการตาง ๆ เพื่อสงเสริมใหเกิดการเรียนรู สงั ด อุ ท รานัน ท (2532) กล า ววา ระบบการเรี ย นการสอน คื อ การจั ด องค ประกอบของการเรี ยนการสอนใหมีความสัมพันธกันเพื่อสะดวกต อการนํ าไปสูจุดมุงหมาย ปลายทางของการเรียนการสอนที่กําหนดไว สรุปไดวา ระบบการเรียนการสอน คือ การจัดองคประกอบใหมีความสัมพันธกัน เพื่อชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายของการเรียนการสอนที่กําหนดไว 1.5 รูปแบบการเรียนการสอน คิปเลอร (Kibler. 1974: 44–53) ไดเสนอรูปแบบการเรียนการสอนมี 4 องคประกอบ คือ 1. จุดมุงหมายในการเรียนการสอน เปนผลผลิตทางการเรียนการสอนที่มุงหวังให เกิดในผูเรียน ซึ่งมีความครอบคลุมพฤติกรรมทางดานสติปญญา (Cognitive Domain) ดานจิตใจ (Affective Domain) และดานการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) 2. การวัดพฤติกรรมพื้นฐาน เปนการตรวจสอบความพรอม ความรูพื้นฐานและ ทักษะเบื้องตนของผูเรียนกอนการเรียนการสอนจริงๆ 3. การจัดกระบวนการเรียนการสอน เปนการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาพฤติกรรม ของ ผูเรียนโดยเริ่มตนที่พฤติกรรมพื้นฐาน ตอเนื่องจนถึงพฤติกรรมปลายทาง 4. การประเมินผลรวม เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบวาการเรียนการสอนบรรลุ วัตถุประสงคเพียงใด มีวิธีการจัดการเรียนการสอนเหมาะสมเพียงใด เปนตน องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนของคิปเลอร แสดงดังภาพประกอบ 4 จุดมุงหมายใน การเรียนการสอน

การวัดพฤติกรรม พื้นฐาน

กระบวนการเรียน

การวัดและ ประเมินผล

ผลยอนกลับ

ภาพประกอบ 4 รูปแบบการเรียนการสอนของคิปเลอร ที่มา: Kibler. (1974). Behavioral Objectives and Instructional Process. pp. 44-53.


27 เกอรลาช และอีลี (Gerlach; & Ely. 1971) ไดนําเสนอองคประกอบของระบบการเรียน การสอนออกเปน 10 ประกอบ คือ 1. การกําหนดวัตถุประสงค เปนจุดเริ่มตนของระบบการเรียนการสอน วั ต ถุ ประสงค ที่กํ าหนดขึ้น ควรเปนวั ต ถุ ประสงค เ ชิง พฤติกรรมหรือวัต ถุ ป ระสงค เ ฉพาะที่ผูเ รี ย น สามารถปฏิบัติได ครูสามารถวัดและสังเกตได 2. การกําหนดเนื้อหา เปนการเลือกเนื้อหาเพื่อนํามาชวยใหผูเรียนไดเรียนรูและ บรรลุวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว 3. การประเมินผลพฤติกรรมเบื้องตน เปนขั้นตอนของการศึกษาขอมูลของผูเรียนวา มีความรูพื้นฐานเพียงพอที่จะเรียนเนื้ อหาสาระที่กําหนดไวไดหรือไม ทั้ งนี้จะไดเริ่มตนสอนให เหมาะสมกับระดับความรูความสามารถของผูเรียน 4. การกําหนดกลยุทธการสอน ยุทธศาสตรการสอนที่เกอรลาช และอีลี เสนอไวมี 2 แบบ คือ 4.1 การสอนแบบปอน เปนการสอนที่ครูจะเปนผูปอนความรูตาง ๆ ทั้งหมด ใหกับผูเรียน 4.2 การสอนแบบสืบเสาะหาความรู เปนการสอนที่ครูจะมีบทบาทเปนเพียงแตผู เตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เพื่อการเรียนรู และจัดสภาพการณการเรียนรูเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงค 5. การจัดแบงกลุมผูเรียน เปนการจัดกลุมเพื่อใหไดเรียนรูรวมกัน วัตถุประสงคของ การเรียนการสอน จะทําใหเราสามารถจัดกลุมผูเรียนไดอยางเหมาะสม 6. การกําหนดเวลาเรียน จะขึ้นอยูกับวัตถุประสงค เนื้อหา สถานที่ การบริการ และความสามารถ ตลอดจนความสนใจของผูเรียน 7. การจัดสถานที่เรียน หองเรียนปกติโดยทั่วไปจะมีผูเรียนประมาณ 30–40 คน ซึ่งนับวาเหมาะสมกับการสอนแบบบรรยาย แตอาจจะไมเหมาะสมกับการสอนที่ใชยุทธศาสตรแบบ อื่น ๆ ดวยเหตุนี้หองเรียนควรจะมีหลายขนาด 8. การเลือกวัสดุการสอนที่เหมาะสม ครูควรจะรูจักเลือกสื่อและแหลงวิทยาการที่ เหมาะสม เพื่อนํามาใชในการเรียนการสอนกับยุทธศาสตรการสอนที่ตางกัน 9. การประเมินผลพฤติกรรม เปนการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน เพื่อ ตรวจสอบดูวาผูเรียนไดรับความรู หรือมีความเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวเพียงใด 10. การวิเคราะหขอมูลยอนกลับ เปนการพิจารณาเพื่อตรวจสอบหาขอบกพรองเพื่อ ปรับปรุงแกไขตอไป องคประกอบของระบบการเรียนการสอนของเกอรลาชและอีลี แสดงดังภาพประกอบ 5


28 กําหนด เนื้อหา

กําหนดกลยุทธ การสอน จัดแบงกลุม ผูเรียน ประเมินผล พฤติกรรม เบื้องตน

กําหนดเวลา เรียน

ประเมินผล พฤติกรรม

จัดสถานที่เรียน

กําหนด จุดประสงค

เลือกวัสดุการ สอนที่เหมาะสม

วิเคราะหขอมูลยอนกลับ

ภาพประกอบ 5 ระบบการเรียนการสอนของเกอรลาชและอีลี ที่มา: Gerlach; & Ely. (1971). Teaching and Media: A Systematic Approach. เนิรค และเยนตรี (Knirk; & Gentry. 1971) ไดกําหนดองคประกอบของระบบการ เรียนการสอนเปน 6 สวน คือ 1. การกําหนดเปาหมาย เปนการกําหนดเปาหมายของการสอนไวอยางกวาง ๆ 2. การวิ เคราะห กิจกรรม เปนการวิ เคราะหงานตาง ๆ ที่จะตองทํ าโดยการยอย เปาหมายของการสอนออกเปนจุดประสงคของการสอนเพื่อใหมีความละเอียดและชัดเจนยิ่งขึ้น 3. การกําหนดกิจกรรม เปนการกําหนดกิจกรรมใหเปนหมวดหมู และเลือกเอา เฉพาะกิจกรรมที่มีความเหมาะสมที่สุด 4. การดําเนินการสอน เปนขั้นของการนําเอาแผนการที่วางไวไปสอนในชั้นเรียน ผูสอนจําเปนตองควบคุมการดําเนินกิจกรรมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพที่สุด 5. การประเมินผล เปนการประเมินผลการดําเนินงานทั้งหมดของระบบ เพื่อให ทราบจุดดีและจุดออนที่จะตองปรับปรุงแกไข


29 6. การปรับปรุงแกไข เปนขั้นของการนําขอมูลที่ไดจากการประเมินผลไปแกไข จุดออนของระบบการเรียนการสอนเพื่อจะทําใหเปนระบบการเรียนการสอนที่มีความเหมาะสมหรือมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น องคประกอบของระบบการเรียนการสอนของเนิรคและเยนตรี แสดงดังภาพประกอบ 6 ปรับปรุงแกไข

กําหนด เปาหมาย

ประเมินผล

วิเคราะห กิจกรรม

กําหนดกิจกรรม

ดําเนินการสอน

ภาพประกอบ 6 ระบบการเรียนการสอนของเนิรคและเยนตรี ที่มา: Knirk; & Gentry. (1971). Applied Instructional Systems. Educational Technology. 11(6), 58-62. ดิค และคาเรย (Dick; & Carey. 1985) ไดเสนอรูปแบบระบบการออกแบบการสอน สรุปรวมได 3 องคประกอบ คือ 1. กําหนดจุดมุงหมายของการสอน 2. การพัฒนาการสอน 3. การประเมินการเรียนการสอน จาก 3 องคประกอบ สามารถจัดแบงกิจกรรมการออกแบบระบบการสอนออกเปน 10 ขั้นตอน คือ 1. กําหนดจุดมุงหมายการสอน (Identify Instructional Goals) เปนการกําหนดความ มุงหมายการสอน ซึ่งตองพัฒนาใหสอดคลองกับความมุงหมายทางการศึกษา จากนั้นก็ทําการ วิเคราะหความจําเปน (Needs Analysis) และวิเคราะหผูเรียน


30 2. การวิเคราะหการสอน (Conduct Instructional Analysis) ขั้นตอนนี้อาจทํากอน หรือหลังขั้นที่ 3 หรืออาจทําไปพรอม ๆ กันก็ได การวิเคราะหการสอนเปนการวิเคราะหภารกิจ หรือวิเคราะหขั้นตอนดําเนินการสอน ผลการวิเคราะหการสอนที่ได จะเปนการจัดหมวดหมูของ ภารกิจ (Task Classification) ตามลักษณะของจุดมุงหมายการสอน 3. ศึกษาพฤติกรรมเบื้องตนและคุณลักษณะของผูเรียน (Identify Entry Behaviors) วาเปนผูเรียนระดับใด มีพื้นความรูเพียงใด 4. เขียนจุดมุงหมายการเรียน (Write Performance Objectives) ซึ่งเปนจุดมุงหมาย เฉพาะหรือจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม และสอดคลองกับจุดมุงหมายการสอน เพื่อประโยชน คือ 4.1 ชวยใหมองเห็นแนวทางการเรียนการสอน 4.2 เปนแนวทางในการวางแผน การจัดสภาพแวดลอมการเรียน 4.3 ชวยใหเห็นแนวทางในการสรางแบบทดสอบ 4.4 ชวยผูเรียนใหเรียนอยางมีจุดมุงหมาย 5. สรางแบบทดสอบอิงเกณฑ (Develop Criterion Referenced Test Items) เพื่อ ประเมินการเรียนการสอน 6. พัฒนายุทธศาสตรการสอน (Develop Instructional Strategy) เปนแผนการสอน หรือเหตุการณการสอน ที่ชวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามจุดมุงหมายการ สอน 7. พัฒนาและเลือกวัสดุการเรียนการสอน (Develop and Select Instructional Materials) เปนการพัฒนาและเลือกสื่อการเรียนการสอนทั้งสื่อสิ่งพิมพและสื่อโสตทัศน 8. ออกแบบและจัดการประเมินระหวางเรียน (Design and Conduct Formative Evaluation) 9. ออกแบบและจัดการประเมินหลังเรียน (Design and Conduct Summative Evaluation) 10. แกไขปรับปรุงการสอน (Revise Instruction) เปนขั้นการแกไขและปรับปรุงการ สอนตั้งแตขั้นที่ 2 ถึงขั้นที่ 8 องคประกอบของรูปแบบระบบการออกแบบการสอนของดิคและคาเรย แสดงดั ง ภาพประกอบ 7


31 ปรับปรุงการสอน วิเคราะห การสอน

กําหนด ความ มุงหมาย

เขียนจุด มุงหมาย เชิง พฤติกรรม

พัฒนาแบบ ทดสอบอิง เกณฑ

พัฒนา ยุทธศาสตร การสอน

พัฒนาและ เลือกวัสดุ การสอน

กําหนด ลักษณะ ผูเรียน

ออกแบบ และประ เมินผลเพื่อ ปรับปรุง

ออกแบบ และประ เมินผล สุดทาย

ภาพประกอบ 7 รูปแบบระบบการออกแบบการสอนของดิคและคาเรย ที่มา: Dick; & Carley. (1985). The Systematic Design of Instruction. เคมพ (Kemp. 1985: 1-10) ไดเสนอองคประกอบของระบบการจัดการเรียนการสอน 10 องคประกอบ ดังนี้ 1. วิเคราะหความตองการทางการเรียน (Learning Needs) กําหนดเปาหมายการ เรียน จัดลําดับความตองการและความจําเปน 2. กําหนดหัวขอเรื่องหรือภารกิจ (Topics or Job Tasks) และจุดมุงหมายทั่วไป (General Purposes) 3. ศึกษาลักษณะของผูเรียน (Learner Characteristics) 4. วิเคราะหเนื้อหาวิชาและภารกิจ (Subject Content Task Analysis) 5. กําหนดจุดประสงคการเรียน (Learning Objective) 6. กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching/Learning Activities) 7. กําหนดแหลงทรัพยากรการเรียนการสอน (Instructional Resources) 8. จัดบริการสิ่งสนับสนุน (Support Services)


32 9. ประเมินผลการเรียน/ประเมินผลโปรแกรมการเรียน (Learning Evaluation) 10. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) องคประกอบของระบบการจัดการเรียนการสอนของเคมพ แสดงดังภาพประกอบ 8

2. หัวเรื่องของวิชา งาน และจุดประสงคทั่วไป 10. การทดสอบกอน การเรียน

9.การประเมินผล การเรียน

3. คุณลักษณะของ ผูเรียน

1. ความตองการในการ เรียนและจุดมุงหมาย ในการสอน

8.บริการสนับสนุน

4. เนื้อหาวิชาและการ วิเคราะหงาน

5. ;วัตถุประสงคของ การเรียน 7.ทรัพยากรในการสอน

6. กิจกรรมการเรียน การสอน

ภาพประกอบ 8 ระบบการจัดการเรียนการสอนของเคมพ ที่มา: Kemp. (1985). The Instructional Design Process. p. 11. ซีลส และกลาสโกว (Seels; & Glasgow. 1990) ไดเสนอการจัดระบบการเรียนการ สอน โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. การวิเคราะหปญหา (Problem Analysis) เปนการพิจารณาวาเกิดปญหาอะไรใน การเรียนการสอนโดยผานการรวบรวมและเทคนิคการประเมินและระบุสิ่งที่เปนปญหา 2. วิเคราะหการสอนและกิจกรรม (Task and Instructional Analysis) เปนการ รวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอกําหนดดานเจตคติเพื่อกําหนดสิ่งที่ไดเรียนมากอน 3. การกําหนดวัตถุประสงคและแบบทดสอบ (Objective and Tests) เปนการ กําหนดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมและแบบทดสอบอิงเกณฑ


33 4. กลยุทธการเรียนการสอน (Instructional Strategy) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกับกล ยุทธและองคประกอบดานการเรียนการสอน 5. การตัดสินใจเลือกสื่อการสอน (Media Decision) เปนการเลือกสื่อการเรียนการ สอนและวิธีการใชเพื่อทําใหการเรียนการสอนบรรลุผล 6. การพัฒนาการสอน (Materials Development) เปนการวางแผนสําหรับผลผลิต การพัฒนาวัสดุ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใชในการเรียนการสอน 7. การประเมินผลยอยระหวางเรียน (Formative Evaluation) เปนการประเมินผล เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน รวบรวมขอมูล และตรวจสอบพัฒนาการของผูเรียน 8. การนําไปใชและบํารุงรักษา (Implementation Maintenance) เปนการนําไปใช เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 9. การประเมินผลรวมภายหลังการเรียน (Summative Evaluation) เปนการ พิจารณาประเมินผลวาผานเกณฑที่กําหนดหรือไม 10. การเผยแพรและขยายผล (Dissemination Diffusion) เปนขั้นของการจัดการใหมี การเผยแพร ขยายผลนวัตกรรมการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น องค ป ระกอบของระบบการเรี ย นการสอนของซี ล ส แ ละกลาสโกว แสดงดั ง ภาพประกอบ 9 วิเคราะห การสอน และ กิจกรรม

กลยุทธ การสอน

พัฒนา วัสดุ การสอน

นําไปใช และบํารุง รักษา

วิเคราะห ปญหา

เผยแพร

วัตถุ ประสงค และ ขอสอบ

ตัดสินใจ เลือกสื่อ

วัดผลเพื่อ ปรับปรุง

วัดผล สัมฤทธิ์

ภาพประกอบ 9 ระบบการเรียนการสอนของซีลสและกลาสโกว ที่มา: Seels; & Glasgow. (1990). Exercises in Instructional Design.


34 คลอสเมียร และริปเปล (Klausmeier; & Ripple. 1971: 11) ไดกําหนดองคประกอบ ของระบบการเรียนการสอนไว 7 สวน คือ 1. การกําหนดจุดมุงหมายของการเรียนการสอน 2. การพิจารณาความพรอมของผูเรียน 3. การจัดเนื้อหาวิชา วัสดุ อุปกรณและเครื่องมือตาง ๆ 4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5. การดําเนินการสอน 6. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน 7. สัมฤทธิผลของนักเรียน แสดงดัง องคประกอบของระบบการเรียนการสอนของคลอสเมียรและริปเปล ภาพประกอบ 10 1. การกําหนดจุดมุงหมายเฉพาะสําหรับ การสอน 2. การพิจารณาความพรอมของผูเรียน - ความสนใจ - สมรรถภาพของผูเรียน

3. การจัดเนื้อหาวิชา วัสดุ และอุปกรณ 4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5. การดําเนินการสอนใหเปนไปตามวัน เวลา และสถานที่กําหนดไว

6. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน - การวัดสมรรถภาพทางสติปญญาและ ลักษณะอื่น ๆ ของนักเรียน - การวัดความพรอมกอนที่จะเรียนวิชา ตาง ๆ - การวัดและประเมินความกาวหนา ระหวางเรียน - การวัดและประเมินผลหลังจากกิจกรรม การเรียนการสอนไดผานไปแลว - การวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา ทั้งระบบ

7. สัมฤทธิผลของนักเรียน

ภาพประกอบ 10 ระบบการเรียนการสอนของคลอสเมียรและริปเปล ที่มา: Klausmeier; & Ripple. (1971). Learning and Human Abilities: Educational Psychology.


35 จากระบบการเรียนการสอนของคิปเลอร, เกอรลาช และอีลี, เนิรค และเยนตรี, ดิค และคาเรย, เคมพ, ซีลส และกลาสโกว และคลอสเมียร และริปเปล นั้นจะเนนถึงองคประกอบที่ สําคัญของระบบการเรียนการสอนเพื่อใหเกิดคุณภาพที่ดีของการเรียนการสอน ดังนั้นผูวิจัยจึงนํา องคประกอบของระบบการเรียนการสอนดังกลาว มาวิเคราะหเพื่อหาองคประกอบที่เหมาะสม สํ า หรั บ การเรี ย นการสอนบนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต โดยในการเลื อ กองค ป ระกอบย อ ยจะเน น องค ป ระกอบที่ มี ค วามสํ า คั ญ ของแต ล ะระบบการเรี ย นการสอน โดยพิ จ ารณาจากการเป น องคประกอบที่ใชในแตละระบบการเรียนการสอนเปนสวนใหญและสอดคลองกับงานวิจัยที่เกี่ยวของ การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต แลวทําการสังเคราะหเปนองคประกอบของรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

2. ทฤษฎีการเรียนรู 2.1 ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง (Constructivist Theory) เปนไปตามปรัชญา สรางสรรคความรูนิยม (Constructivism) เปนทฤษฎีการเรียนรูที่มีพื้นฐานทางจิตวิทยา ปรัชญา และ มนุษยวิทยา โดยเฉพาะอยางยิ่งจากจิตวิทยาดานปญญา (Cognitive Psychology) โดยเชื่อวา ความรูไมไดมาจากการคนพบจากภายนอกหรือสิ่งแวดลอม แตเปนความรูที่มนุษยเปนผูสรางขึ้น ภายในจิ ต ใจ จากการทํ า ความเขา ใจหรือการใหค วามหมายกั บ เหตุ ก ารณ ประสบการณ หรื อ สารสนเทศ โดยอาศั ย ความรู เ ดิ ม ความเชื่ อ ทฤษฎี แ ละความคาดหวั ง ของตนในการแปล ความหมายเพื่อทําความเขาใจตอสถานการณ การสรางความรูใหมโดยผูเรียน ผูเรียนไมไดรับเอา ขอมูลและเก็บขอมูลความรูนั้นเปนของตนทันที แตจะแปลความหมายของขอมูลความรูเหลานั้น ดวยประสบการณของตนเสริมขยายและทดสอบการแปลความหมายของตนดวย (ไพฑูรย สินลา รัตน. 2543: 21; วารินทร รัศมีพรหม. 2542: 185) วารินทร รัศมีพรหม (2542: 184) กลาววา แนวคิดของทฤษฎีสรางความรูใหมโดย ผูเรียนเอง คือ 1. ผูเรียนจะมีการปะทะสัมพันธกับสิ่งแวดลอม บุคคล เหตุการณ และสิ่งอื่น ๆ และ ผูเรียนจะปรับตนเองโดยวิธีการดูดซึม การปรับโครงสรางทางปญญา และกระบวนการของความ สมดุลเพื่อใหรับสิ่งแวดลอม หรือความจริงใหมเขาสูความคิดของตนเองได 2. ในการนําเสนอหรืออธิบายความจริงที่ผูเรียนสรางขึ้นนั้น ผูเรียนจะสราง รูปแบบ หรือตัวแทนของสิ่งของ ปรากฏการณ และเหตุการณขึ้นในสมองของผูเรียนเอง ซึ่งอาจแตกตางกัน ไปในแตละบุคคล 3. ผูเรียนอาจมีผูใหคําปรึกษา (Mentor) เชน ครูผูสอนหรือบุคคลที่เกี่ยวของเพื่อชวย ใหไดสรางความหมายตอความจริงหรือความรูที่ผูเรียนไดรับเอาไว แตอยางไรก็ตามความหมาย เหลานั้นจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู


36 4. ผูเรียนจะควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง (Self – regulated Learning) การนําเอาทฤษฎีการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเองมาใช จะตองคํานึงถึงเครื่องมือ อุปกรณการสอน (Physical Technology) ดวย เพราะทฤษฎีนี้เหมาะสําหรับเครื่องมืออุปกรณที่ ผูเรียนสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือหาความรูดวยตนเอง เชน คอมพิวเตอร ดังนั้นเครื่องมือทั้ง Hardware และ Software จะตองเหมาะสมเพื่อสนับสนุนทฤษฎีนี้ (วารินทร รัศมีพรหม. 2542: 183) 2.1.1 ทฤษฎีการเรียนรูพื้นฐานของทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง รากฐานของทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง ซึ่งมีความเชื่อพื้นฐานมาจาก 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต (Piaget) และวีก็อทสกี้(Vigotsky) อันมีแนวคิดดังนี้ (สุนทร สุนันทชัย. 2540: 26) 1. ทฤษฎีการเรียนรูทางพุทธิปญญา (Cognitive Constructivism) หมายถึง ทฤษฎีที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต เชื่อวามนุษยเกิดมาพรอมที่จะมีปฏิสัมพันธ กับสิ่งแวดลอม และโดยธรรมชาติแลวมนุษยพรอมที่จะมีการกระทํากอน นอกจากนี้เพียเจตถือวา มนุษยมีแนวโนมพื้นฐานที่ติดตัวมาแตกําเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม (Organizing) และการ ปรับตัว (Adaption) ซึ่งอธิบายไดดังนี้ (สุรางค โควตระกูล. 2544: 48-49) 1.1 การจัดและรวบรวม หมายถึง การจัดระบบกระบวนการตาง ๆ ภายใน เขาเปนระบบอยางตอเนื่องเปนระเบียบและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา 1.2 การปรับตัว หมายถึง การปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมเพื่ออยูในสภาพ สมดุล ซึ่งมีองคประกอบดังนี้ 1.2.1 การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ (Assimilation) เมื่อมนุษยมี ปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมก็จะดูดซึมประสบการณใหมใหรวมเขาอยูในโครงสรางของสติปญญา (Cognitive Structure) 1.2.2 การปรับโครงสรางทางเชาวปญญาหรือการปรับความแตกตาง ซึ่งเปนกระบวนการที่ ตองใช เพื่อให เขากับ ความเขาใจและความรูเดิม (Accommodation) ความสามารถสูงกวากับกระบวนการดูดซึมเมื่อสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงจากสิ่งที่เคยประสบอินทรีย จะมีวิธีการรวบรวมจัดแจงสิ่งแวดลอมรอบตัวเพื่อใหเกิดความเขาใจและความคิดใหตรงกับสภาพที่ เปนจริงของสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนกระบวนการปรับสิ่งแวดลอมเขาเปนความรูใหมโดยการเปลี่ยน ความเขาใจเดิมนั่นเอง นอกจากนี้ เพียเจตยังไดอธิบายกระบวนการเรียนรูของมนุษยไดวา มนุษยจะมี ศัพทความรูเดิมอยูแลวจํานวนหนึ่ง เมื่อผูเรียนไดพบเห็นสิ่งใหมก็จะนํามาเปรียบเทียบกับคําศัพท เดิมความรูเดิม และจัดระบบสิ่งใหมใหเขากับอยูในหมวดหมูความหมายของศัพทหรือความรูเดิม เรียกวา การรวมสิ่งใหมเขาไปสูความรูเดิม แตถากระบวนการจัดเขาความรูเดิมไมเหมาะสมจัด ไม ไ ด ก็ จะตั้ ง ศั พท ใ หม ขึ้น มามี อ งค ป ระกอบใหม ขึ้น มาที่ นํา มาใชกั บ สิ่ง ใหม ส ภาพใหม เ หล านี้ ไ ด


37 เรียกวา สรางคําศัพทใหมความรูใหมขึ้นมา เพียเจตยังไดกําหนดเงื่อนไขการเรียนรูไวเปนกฎวา “ความรู = ความรูเดิม ทําปฏิกิริยากับประสบการณใหม” 2. แนวคิ ด ทฤษฎี ก ารสร า งความรู ด ว ยตนเองของวี ก็ อ ทสกี้ (Vygotskian Constructivisms) (Vygotsky. 1986) มีความเชื่อวาการพัฒนาตนเองของบุคคลมีอิทธิพลมาจาก บริบททางสังคม สิ่งแวดลอมและปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ซึ่งจะสงผลตอวิธีการหาความรูในการ เรียน เชน พัฒนาการดานภาษาเปนการเรียนรูจากบุคคลรอบขางและการติดตอสื่อสารในสถาบัน พัฒนาการดานสติปญญาของมนุษยเปนการเชื่อมโยงความรูจากสังคมเขาสูตัวบุคคล แนวคิดของวี ก็อทสกี้ การเรียนรูเปนกิจกรรมทางสังคมที่ผูเรียนสรางความรู ความเขาใจของตนเอง ผูสอนทํา หนาที่เปนผูอํานวยความสะดวก การจัดสิ่งแวดลอมที่มีความหมายและสามารถนําความรูออกใช ประโยชนได แตแนวคิดของเพียเจตเชื่อวาพัฒนาการดานสติปญญาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นที่ตัวบุคคลแลว นําไปสูสังคม โดยเหตุที่แนวคิดทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง วีก็อทสกี้เนนอิทธิพลของ สังคมตอการเรียนรู จึงเรียกชื่อแนวคิดนี้วา ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองเชิงสังคม (Social Constructivism) สวนเพียเจตนั้นเนนดานการพัฒนาทางสติปญญา จึงเรียกวาทฤษฎีการสราง ความรูดวยตนเองเชิงพุทธิปญญา (Cognitive Constructivism) ทฤษฎีการสอนแบบดั้งเดิม และ ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง แมนักจิตวิทยาทั้งสองทานจะเห็นแตกตางกันวาผูเรียนสรางความรูอยางไร ทุก คนตางก็เห็นรวมกันในคุณลักษณะรวมของทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง ดังนี้ (สุรางค โควตระ กูล. 2544: 211) 1. ผูเรียนสรางความเขาใจในสิ่งที่เรียนรูดวยตนเอง 2. การเรียนรูสิ่งใหมขึ้นอยูกับความรูเดิมและความเขาใจที่มีอยูในปจจุบัน 3. การมีปฏิสัมพันธมีความสําคัญตอการเรียนรู 4. การจัดสิ่งแวดลอมที่คลายคลึงกับชีวิตจริง ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมี ความหมาย 2.1.2 องคประกอบของการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง กระบวนการเรี ย นรู ต ามทฤษฎี ส ร า งความรู ใ หม โ ดยผู เ รี ย นเอง เฮนเดอร สั น (Henderson. 1996: 6-7) ไดอธิบายวา การสรางความรูจะตองมีองคประกอบสําคัญ 3 สวนดวยกัน คือ 1. ความรูเดิมหรือโครงสรางทางความรูเดิมที่มีอยู 2. ความรู ใหม ไดแก ขอมูล ขอเท็จจริง ความรู ความรูสึก ประสบการณ ใหมๆ ที่บุคคลรับเขาไป 3. กระบวนการทางสติปญญา หรือทักษะกระบวนการตาง ๆ ที่ใชในการทํา ความเขาใจความรูที่รับมาและใชในการเชื่อมโยงและปรับความรูเดิมเขากับความรูใหม


38 กรมวิชาการ (2543) อธิบายวา ทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง เนนผูเรียน เปนศูนยกลาง ผานรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อกระตุนใหผูเรียนตื่นตัวตลอดเวลา และมีการ เชื่อมโยงวิธีการเรียนรูในเนื้อหาวิชากับชีวิตจริง โดยมีองคประกอบดังนี้ 1. ผูเรียนตองเรียนรูดวยตนเอง เปนเจาของการเรียน ลงมือปฏิบัติจริง ไมใช การเรียนรูดวยการบอกเลา เรียนรูดวยความเขาใจ จากแหลงความรู 2 แหลง คือ ความรูที่เกิดจาก การที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ และความรูที่ไดจากการเรียนในหองเรียน 2. ผูเรียนจะเรียนรูไดดีตองผานกระบวนการกลุม ซึ่งจะชวยเสริมใหเกิดการ รวมมือในการทํางาน สงผลถึงทักษะทางสังคม ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ความรับผิดชอบ การเปน ผูนํา ผูตาม การตัดสินใจ การแกปญหาขอขัดของ การจัดการ การสื่อสาร 3. บทบาทครู จําเปนจะตองสื่อสารออกมาในลักษณะการกระตุนใหผูเรียนคิดมา วาบอกหรือตอบคําถามผูเรียนตรง ๆ ผูสอนจึงเปนผูชี้แนะไมใชผูชี้นํา และไมยัดเยียดความคิดของ ผูสอนใหกับผูเรียน 2.1.3 การออกแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีสรางความรูใหมโดยผูเรียน เอง จุดมุงหมายของการสอนจะมีการยืดหยุนโดยที่ยึดหลักวาไมมีวิธีการสอนใดที่ดี ที่สุด ดังนั้นเปาหมายของการออกแบบการสอนก็ควรจะตองพิจารณาเกี่ยวกับการสรางความคิด หรือปญญา เปนเครื่องมือสําหรับนําเอาสิ่งแวดลอมของการเรียนที่มีประโยชนมาชวยใหเกิดการ สรางความรูใหแกผูเรียน อยางไรก็ตามการนําเอาทฤษฎีการเรียนรูการสรางความรูใหมโดยผูเรียน เองมาใช จะตองคํานึงถึงเทคโนโลยีทางกายภาพดวยเพราะทฤษฎีนี้เหมาะสําหรับเครื่องมืออุปกรณ ที่ผูเรียนสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือหาความรูดวยตนเอง เชน คอมพิวเตอร เปนตน การให ผูเรียนไดมีโอกาสสรางความรูดวยตนเองตามแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูแบบสรางความรูใหมโดย ผูเรียนเองนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรูตองใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการทางสติปญญาดังนี้ 1. ใหผูเรียนไดรับหรือแสวงหาขอมูล ประสบการณดวยตนเอง 2. ใหผูเรียนไดศึกษา คิด วิเคราะห และสรางความหมายขอมูล/ประสบการณ ดวยตนเอง โดยใชทักษะกระบวนการตาง ๆ 3. ใหผูเรียนไดจัดระเบียบความรู ขอมูล หรือจัดโครงสรางความรูดวยตนเอง (ทิศนา แขมมณี. 2542: 10-12) โจนาสเซ็น (Jonassen. 1994) ไดสรุปวิธีการออกแบบการเรียนการสอนตามแนว ทฤษฎีการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง ไดดังนี้ 1. แสดงมุมมองของความเปนจริงในหลาย ๆ ดาน 2. แสดงความซับซอนของโลกแหงความเปนจริง 3. เนนการสรางองคความรูใหม ไมใชการนําองคความรูเดิมมาเลาใหม


39 4. เปดโอกาสใหมีการปฏิบัติในรูปแบบที่ตรงกับงานในชีวิตจริง มากกวาการ ปฏิบัติตามคําสั่งที่ผูสอนตั้งขึ้น 5. จําลองสภาพแวดลอมการเรียนรูที่เหมือนจริง 6. มีการสะทอนความเขาใจและความคิดเห็นในเชิงปฏิบัติ 7. สรางองคความรูที่มีความสัมพันธกับเนื้อหาที่ตองการ 8. สนับสนุนใหมีการอภิปรายระหวางผูเรียนเพื่อเปนการสรางองคความรู นอกจากนี้ เซฟรี่ และดัฟฟ (Savery; & Duffy. 1995) เสนอแนวทางในการ ออกแบบสภาพแวดลอมของการสอนแบบเนนสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง ดังนี้ 1. ประยุกตกิจกรรมการเรียนรูใหเขากับงานหรือปญหาที่อาจเกิดขึ้นจริง 2. ออกแบบลักษณะการทํางานเสมือนจริง 3. สนับสนุนใหผูเรียนรูจักการสรางปญหาหรือการตั้งโจทยการทํางานเสมือนจริง ดวยตนเอง 4. ออกแบบกิ จ กรรมหรื อ สภาพแวดล อ มการเรี ย นรู ที่ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ความ ซับซอนของโลกแหงความเปนจริง ซึ่งผูเรียนสามารถที่จะแกปญหาหรือดําเนินงานไดเมื่อจบการ เรียน 5. ใหผูเรียนสามารถแกปญหาดวยตนเอง 6. ออกแบบสภาพแวดลอมการเรียนรูใหทาทายความคิดของตนเอง 2.1.4 การประยุกตใชทฤษฎีในการเรียนการสอน แนวคิดเกี่ยวกับการรับรูความรูจากสภาพแวดลอม ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับ สิ่งแวดลอมเปนความเชื่อที่หยั่งลึกในทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเอง นักคิดกลุมนี้เชื่อวาความรู เปนสิ่งที่บุคคลตองสรางขึ้นมากกวาการรับเอาเฉย ๆ การนําแนวคิดนี้มาใชในการเรียนการสอนทํา ไดตามขอเสนอแนะดังนี้ (สุนทร สุนันทชัย. 2540: 29) 1. การถายทอดแบบอยาง เสนอแนะแนวคิดวาการเรียนรูโดยถายทอดจาก แบบอยาง เชน ระบบฝกงานเปนวิธีการเรียนรูที่ดี เพราะผูเรียนไดเรียนรูในกิจการโดยไมแยกการ ปฏิบัติออกจากทฤษฎี 2. การมีสวนรวมโดยมีการชี้แนะ เชื่อวาการใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมที่จัด ขึ้นโดยทํางานกับผูมีความสําคัญนั้นเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งในการเรียนรู เพราะผูเรียนจะไดประโยชน จากการชี้แนะของผูที่มีความรู ในขณะเดียวกันเพื่อนผูเรียนดวยกันก็จะเปนแหลงความรูแกกันละ กันอีกสวนหนึ่ง ทําใหสามารถแสวงหาความรูใหมไดดียิ่งขึ้น 3. การวางแผนควบคูกับการปฏิบัติ เสนอการจัดทําแผนกิจกรรมการเรียนการ สอนไวกอนแลว เสนอใหผูเรียนพิจารณาเปนแนวทางไปสูการปฏิบัติ แตผูเรียนตองพัฒนาทักษะ การเรียนรูของตัวเองใหสามารถแสวงหาความรูใหมไดตามแผนที่วางไว แตวิธีที่ดีอีกทางหนึ่งก็คือ การฝกใหผูเรียนมีทักษะที่จะสรางแผนขึ้นมาเองหรือปรับปรุงแผนใหเหมาะแกสถานการณดวย


40 4. การปรับตัวของผูเรียน การเรียนการสอนแบบเดิม มักจะเนนกิจกรรมที่แยก ออกเฉพาะอยางเพื่อใหผูเรียนเขาใจและสามารถใชสัญลักษณได แตกิจกรรมที่วานี้มักจะแยกออก จากประสบการณจริง ซึ่งเปนเหตุใหผูเรียนไมสามารถนําความรูไปใชได จึงควรปรับแกวิธีการสอน โดยนําวิธีการนอกโรงเรียนมาใชใหมากขึ้น กลาวคือใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความหมายจากการ สรางหรือแสดงสิ่งที่เปนรูปธรรมซึ่งจะใชแทนแนวคิดหรือทฤษฎีที่จะสอนหรือเรียนจากสถานการณ หรืองานจําลอง การสอนวิธีนี้จะเปนการเตรียมผูเรียนใหปรับตัวได เมื่อตองเผชิญสถานการณที่ไม สามารถพยากรณได หรือจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ หลักการจัดการศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเองมี ดังตอไปนี้ (Walker. 2002; ทิศนา แขมมณี. 2542: 10-12; สุนทร สุนันทชัย. 2540: 29) 1. เนนการสรางมโนทัศนและความเขาใจอยางลึกซึ้งเปนเปาหมายในการเรียน การสอน ซึ่งไมใชพฤติกรรมหรือทักษะ 2. การเรียนรูเกิดจากผูเรียนไดลงมือกระทํา การเรียนการสอนเปนการสงเสริมให ผูเรียนไดสรางความรู 3. ผูสอนตองใหโอกาสผูเรียนไดลงมือแกปญหาจากการทําความเขาใจในเรื่องที่ เกี่ยวของ 4. ใหผูเรียนไดมีการสะทอนคิด (Reflection) ถึงเนื้อหาและกระบวนการเรียนการ สอน 5. ใชกระบวนการกลุมโดยอาศัยความรวมมือกันในการทดสอบความเขาใจและ ขยายความเขาใจในประเด็นตาง ๆ 6. ผูสอนตองเชื่อมโยงความรูเดิม ประสบการณเดิมกับขอมูลใหมในชั้นเรียนให ชัดเจน ควรมีการสรุป ทบทวน เชื่อมโยงมโนทัศนหลักและจุดสําคัญเปนการสรุปบทเรียน 7. ควรใหผูเรียนศึกษาสถานการณเพื่อสรางความเขาใจมโนทัศนใหมโดยอาศัย ความรูเดิม 8. ผูสอนควรทาทายใหผูเรียนไดคิด โดยใชกรอบแนวคิดที่แตกตางออกไป 9. ตองจัดสิ่งแวดลอมการเรียนรูใหมีทางเลือก ลดทอนความกดดันและสงเสริมให เกิดความคิด ริเริ่มดวยการเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกตสํารวจเพื่อใหเห็นปญหา ในปจจุบันนี้การ เรียนการสอนมักจะเนนหนักในการควบคุมพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ตองอยูในกรอบและ ปฏิบัติตามสิ่งที่ครูบอกทุกอยางจนตนเองไมมีทางที่จะเลือกได 10. จัดบริบทการเรียนรู ซึ่งสนับสนุนความเปนอิสระของผูเรียน ในขณะเดียวกัน ครูก็ตองทําหนาที่เปนผูสนับสนุนที่ดี ชวยผูเรียนในการสรางความรูความเขาใจใหม ชวยผูเรียน สรางความรูความคิดเดิมที่ยังไมสมบูรณใหสมบูรณขึ้น พัฒนาผูเรียนจากการพึ่งพาผูอื่นมาเปนผู พึ่งพาตนเองใหสามารถกาวหนาขึ้นมาได สิ่งแวดลอมการเรียนรูในขอนี้ยังหมายถึงเพื่อน ๆ ของ ผูเรียน ตองมีบรรยากาศการทํางานดวยกันดวยดี มีความเกื้อกูลสนับสนุนซึ่งกันและกันดี จะเปน ปจจัยสนับสนุนใหพัฒนาการเรียนรูไดดีดวย


41 11. ผูเรียนมีโอกาสที่จะใชความรูที่เรียนในบริบทที่เหมาะสม เพื่อใหเห็นความ เชื่อมโยงระหวางสิ่งที่เรียนรูกับโลกที่เปนจริงภายนอก ผูสอนชวยผูเรียนในการตรวจสอบความ เขาใจ โดยพิจารณาวาความคิดรวบยอดที่เกิดขึ้นใหประสานกันเปนระเบียบ เปนโครงสรางความรู ที่สามารถนําไปใชในบริบททางสังคมไดเพียงใด 12. ผูสอนชวยผูเรียนสรางแผนผังความคิด โดยวิธีการใหผูเรียนนําความคิดรวบ ยอดที่สรางขึ้นมา นํามาอภิปรายรวมกันแลวหาขอสรุปและสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ใหมีทักษะและเจตคติที่เหมาะสมตอการแสวงและสรางความรู 13. เสริมสรางศักยภาพของผูเรียนใหพรอมที่จะเรียนรู รวมทั้งการยอมรับความ ผิดพลาดวาเปนเรื่องธรรมดาและเปนสิ่งที่จะชวยใหสามารถแสวงหาสิ่งที่ดีกวาและถูกตองไดตอไป จากหลักการทฤษฎีที่กลาวมา สรุปไดวาทฤษฎีการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเองมี แนวคิดหลักคือ ความรูเปนสิ่งที่ผูเรียนสรางขึ้นจากการไดมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทําใหเกิด ประสบการณใหม และประสบการณใหมจะเชื่อมโยงความรูเดิมเกิดเปนความรูใหมขึ้น ในการ จัดการเรียนการสอนจึงตองจัดสิ่งแวดลอมใหผูเรียนไดมีโอกาสเลือกแนวทางของตนเพื่อนําไปสู เปา หมายปลายทางการเรี ย น ผูเ รีย นไดต รวจสอบความเข า ใจดว ยตนเองพึ่ ง พาตนเองในการ แสวงหาความรูและสรางความรู ทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถนําความรู ไปใชไดดีกวาและมีความคงทนของความเขาใจอยางลึกซึ้ง นอกจากนี้ยังทําใหผูเรียนมีความสนใจ กระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น 2.2 ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน 2.2.1 แนวคิ ด พื้ น ฐานของทฤษฎี ก ารสร า งความรู ด ว ยตนเองโดยการ สรางสรรคชิ้นงาน ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน (Constructionism) ใชแนวคิดพื้นฐานเดียวกันกับทฤษฎีการสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง แตเพเพิรท (Papert) มี ความคิดตอเนื่องวา หากผูเรียนมีโอกาสไดสรางความรูและนําความคิดของตนเองไปสรางสรรค ชิ้นงานขึ้นโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะชวยทําใหความคิดนั้นเห็นเปนรูปธรรมที่ ชัดเจน เมื่อผูเรียนสรางสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมาในโลก ก็หมายถึงการสรางความรูขึ้นในตนเอง ความรู ที่สรางขึ้นจะมีความหมายอยูคงทน และไมลืมงาย นอกจากนั้นผูเรียนจะสามารถถายทอดใหผูอื่น เขาใจความคิดของตนไดและความรูที่สรางขึ้น จะเปนฐานที่มั่นคงชวยใหผูเรียนสามารถสราง ความรูตอไปเรื่อย ๆ อยางไมมีที่สิ้นสุด (ทิศนา แขมมณี; และคนอื่นๆ. 2545: 24) และการเรียนรู จะเกิดขึ้นไดดีเมื่อผูเรียนมีสวนรวมในการสรางสิ่งที่มีความหมายตอตนเองและสรางสิ่งที่ผูเรียนชอบ และสนใจ ดังนั้นการที่ผูเรียนมีโอกาสไดเลือกวาจะสรางอะไรไดมากเทาใด ผูเรียนก็จะเต็มใจมีสวน รวมและทํางานนั้น นอกจากนั้นการที่ผูเรียนสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ลงมือทําไดเทาใด ผูเรียนก็จะ สามารถเชื่อมโยงความรูใหมเขากับความรูเดิมหรือประสบการณเดิมมากขึ้นเทานั้น และจะเปน ความรูที่มีความหมายและยาวนาน (ชัยอนันต สมุทวณิช. 2541)


42 2.2.2 การประยุกตใชทฤษฎีในการเรียนการสอน ทิศนา แขมมณี และคนอื่นๆ (2545: 24) ไดอธิบายวา กระบวนการสอนตาม ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน มีดังนี้ 1. ครูควรสงเสริมใหผูเรียนสรางสาระการเรียนรูและผลงานตาง ๆ ขึ้นดวยตนเอง โดยครูจัดสภาพแวดลอม สื่อการเรียนรู และอํานวยความสะดวกตาง ๆ ใหแกผูเรียน 2. ครูควรสงเสริมการเรียนรู และการสรางความรูโดยใชสื่อและเทคโนโลยีที่ ทันสมัยเพราะสื่อเหลานั้นมีศักยภาพสูงในการพัฒนากระบวนการสรางความรูของผูเรียน หากไมมี สื่อดังกลาว การใชสื่อธรรมชาติและวัสดุทางศิลปะ เชน กระดาษ ดินเหนียว ไม พลาสติก โลหะ ของเหลือใชตาง ๆ ก็สามารถนํามาใชเปนวัสดุในการสรางความรูไดดีเชนกัน 3. ครูค วรสร างบรรยากาศที่ดีในการเรียนรู ซึ่งไดแก บรรยากาศที่ เ ป นมิต ร อบอุน ปลอดภัย สบายใจและบรรยากาศที่มีทางเลือกหลากหลายใหผูเรียนไดเลือกตามความสนใจ เพราะจะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจในการคิด การทําและการเรียนรูตอไป บรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรูตามกระบวนการสรางความรูดวยตนเองโดยการ สรางสรรคชิ้นงาน ตามความคิดของ เพเพิรท (Papert) มีสวนประกอบหลักสําคัญ 3 ประการ คือ (ไผท สิทธิสุนทร. 2542: 18-19) 1. ทางเลือก (Choice) ตามแนวคิดของทฤษฎีกระบวนการสรางความรูดวย ตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน คือ การเรียนรูที่จะกระตุนพลังทางความคิดมากที่สุดจะเกิดขึ้น ตอเมื่อนักเรียนมีสวนรวมในการสรางสิ่งที่มีความหมายตอตนเองโดยไมมีใครมาคอยบงการ ฉะนั้น การที่เด็กมีโอกาสเลือกสรางสรรคสิ่งที่เขาสนใจ เด็กก็จะเรียนรูอยางเต็มใจและมีความสุข 2. ความหลากหลาย (Diversity) ในสภาพแวดลอมแหงการเรียนรู มีความหมาย หลัก ๆ อยู 2 ประการ คือ 2.1 ความหลากหลายของทักษะ หมายถึงการที่บุคคลมีทักษะแตกตางกัน หลายระดับ ทั้งที่มีความรูมากและความรูนอยเรียนอยูปนกัน หรืออาจหมายถึงการที่ผูเรียนมีอายุ แตกตางกันในชั้นเรียน การที่นักเรียนในชั้นเรียนมีความแตกตางกันไปจะสรางโอกาสใหคนที่มี ประสบการณนอยหรือความรูนอยกวา สามารถเรียนรูไดจากคนที่มีทักษะมากกวา สวนคนที่มี ทักษะมากกวาคนอื่นจะไดฝกทักษะและมีความรูเพิ่มมากขึ้นจากการไดชวยเหลือผูอื่น การที่แตละ คนสรางสิ่งที่แตกตางหลากหลาย จะเทากับเปนการชวยจุดประกายความคิดใหกับคนอื่น ๆ อีกดวย 2.2 ความหลากหลายของรู ป แบบ หมายถึ ง เมื่ อ มี ก ารสร า งชิ้ น งานที่ มี ความหมายขึ้นมา จะไมมีวิธีใดเปนวิธีที่ถูกตองในการทํา ตัวอยางเชน บางคนวางแผนการทํางาน ก อ นอย า งระมั ด ระวั ง และอาจมี ก ารปรั บ แผนบ า งในระหว า งการทํ า งาน วิ ธี นี้ เ ป น วิ ธี ก ารที่ มี ประสิ ท ธิ ภาพ แตไม ได เ ป นวิ ธี เ ดี ย วในการทํา งาน บางคนพอใจที่จะทํางานโดยไม ต องมีก าร วางแผน แตใชวิธีพูดคุยถามไถกันในขณะทํางานนั้น พิจารณาดูงานที่ทําไป ตัดสินใจวาจะทําอะไร


43 ตอไป รูปแบบแรกเปนการทํางานแบบ “นักวางแผน” สวนที่สองเปนแบบ “คิดไปทําไป” ในการ ทํางานสามารถใชไดทั้งสองรูปแบบแลวแตความถนัดของแตละคน 3. ความเปนกันเอง (Congeniality) บรรยากาศแหงมิตรภาพเปนสวนประกอบ สําคัญอีกสวนหนึ่งของสภาพแวดลอมในการเรียนรู ทั้งนี้ผูสอนยังควรใหเวลาที่พอเพียงแกเด็กใน การทํางาน ครูควรใหโอกาสเด็กไดลองผิดลองถูก บรรยากาศและสภาพแวดลอมของการเรียนรูที่ดี ควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีความสัมพันธกับบุคคลอื่นที่มีความสนใจคลาย ๆ กันดวย การเปดโอกาสใหผูเรียนไดสรางความรูดวยตนเองนี้จะประสบผลสําเร็จไดมาก นอยเพียงใด มักขึ้นกับบทบาทของครู ครูจําเปนตองปรับเปลี่ยนบทบาทของตนใหสอดคลองกับ แนวคิด ครูจะตองทําหนาที่อํานวยความสะดวกในการเรียนรูใหแกผูเรียน ใหคําปรึกษาชี้แนะแก ผูเรียน เกื้อหนุนการเรียนรูของผูเรียนเปนสําคัญ ในดานการประเมินผลการเรียนรูนั้น จําเปนตอง มีการประเมินทั้งทางดานผลงาน (Product) และกระบวนการ (Process) ซึ่งสามารถใชวิธีการที่ หลากหลาย เชน การประเมินตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การประเมินโดยใช แฟมผลงาน เปนตน (ทิศนา แขมมณี. 2547: 98) จากหลักการทฤษฎีที่กลาวมา สรุปไดวาทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดย การสรางสรรคชิ้นงาน จะชวยใหผูเรียนมีโอกาสไดสรางความรูและนําความคิดของตนเองไป สรางสรรคชิ้นงานขึ้นโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะชวยทําใหความคิดนั้นเห็นเปน รูปธรรมที่ ชัดเจน เมื่ อผูเ รียนสรางสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมา ก็หมายถึงการสรางความรูขึ้นในตนเอง ความรู ที่ ส ร า งขึ้ น จะมี ค วามหมายอยูค งทน และไม ลื ม ง า ย ส ว นการประเมิ น ผลการเรี ย นรู นั้ น จําเปนตองมีการประเมินทั้งทางดานผลงาน (Product) และกระบวนการ (Process) 2.3 การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง (Self-directed Learning) เปนวิธีการเรียนที่นักการศึกษาให ความสําคัญและควรสงเสริมใหมีขึ้นในตัวผูเรียนตามเจตนารมณของการปฏิรูปการศึกษา เพราะ หากผูเรียนมีใจรักที่จะศึกษาคนควาจากความตองการของตนเองก็จะมีความตองการศึกษาตอเนื่อง ตอไปโดยไมตองมีใครบอก เกิดความอยากรูอยากเห็นไมมีที่สิ้นสุด ซึ่งจะนําไปสูการเปนผูเรียน ตลอดชีวิตอันเปนเปาหมายที่สําคัญของการศึกษา (สุวัฒน วัฒนวงศ. 2533) 2.3.1 ความหมายของการเรียนรูดวยตนเอง โนลส (Knowles. 1975) กลาววา การเรียนรูดวยตนเอง เปนกระบวนการซึ่ง ผูเรียนแตละคน มีความคิดริเริ่มดวยตนเอง (โดยอาศัยความชวยเหลือจากผูอื่น หรือไมตองการก็ ได) ผูเรียนจะทําการวิเคราะหความตองการที่จะเรียนรูของตน กําหนดเปาหมายในการเรียนรู แยกแยะ แจกแจง แหล ง ข อ มู ล ในการเรี ย นรู ทั้ ง ที่ เ ป น คนและอุ ป กรณ คั ด เลื อ กวิ ธี ก ารเรี ย นรู ที่ เหมาะสม และประเมินผลการเรียนรูนั้น ๆ การเรียนรูดวยตนเอง เปนการเรียนที่เกิดจากความสมัคร ใจของเด็ก มิใชการบังคับ


44 ไดสอน (Dixon. 1995) กลาววา การเรียนรูดวยตนเองเปนกระบวนการที่ผูเรียน วิเคราะหความตองการในการเรียนรูของตนเอง ตั้งเปาหมายในการเรียน แสวงหาผูสนับสนุน แหลงความรู สื่อการศึกษาที่ใชในการเรียนรู และประเมินผลการเรียนรูของตนเอง ผูเรียนอาจ ไดรับความชวยเหลือจากผูอื่นหรืออาจจะไมไดรับความชวยเหลือจากผูอื่นก็ได สมคิด อิสระวัฒน (2541: 38) กลาววา การเรียนรูดวยตนเองจะทําใหผูเรียนเปน บุคคลซึ่งมีความกระหายใครรู ใหสามารถเรียนรูเรื่องตาง ๆ ที่มีอยูไดมากที่สุด และจะดําเนิน การศึกษาอยางตอเนื่องทําใหเปนบุคคลในการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูดวยตนเองเปนแนวคิดที่ สนั บสนุนการเรี ยนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมและสนั บสนุนสภาพ “สังคมแห งการเรียนรู” เปาหมายการเรียนรูดวยตนเอง คือการพัฒนาผูเรียนใหใฝเรียนรูตลอดชีวิตหลังสําเร็จการศึกษา จากความหมายดั ง กล าวสรุ ป ไดว า การเรี ย นรูด ว ยตนเอง คื อ วิ ธีก ารเรี ย นที่ ผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนของตนเองอยางตั้งใจและกระตือรือรน โดยผูเรียนวินิจฉัย ความตองการในการเรียนดวยตนเอง กําหนดเปาหมายในการเรียน วางแผนการเรียน ออกแบบ วิธีการและกิจกรรมการเรียน คนหาและเลือกแหลงทรัพยากรในการเรียน เลือกวิธีการและเกณฑ การประเมินการเรียน โดยเกิดจากแรงจูงใจ ความรับผิดชอบสวนบุคคล การบริหารตนเอง และ การควบคุมกิจกรรมการเรียนของตนเองทั้งในดานเนื้อหาและวิธีการเรียน โดยอาจจะไดรับหรือไม ไดรับความชวยเหลือจากผูอื่น อันจะนําไปสูการศึกษาอยางตอเนื่องทําใหเปนบุคคลที่พรอมจะ เรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต 2.3.2 หลักการการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง มีหลักการดังนี้ (Knowles. 1975: 19–21) 1. การเรียนรูโดยพึ่งตนเองถือหลักวามนุษยมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนสูความ เปนผูมีวุฒิภาวะสูง ซึ่งสามารถพึ่งพาตนเองได 2. ประสบการณของผูเรียนจะมีมากขึ้น ถาผูเรียนแสวงหาความรูดวยตนเอง 3. ผูเรียนมีความพรอมที่จะเรียนในสิ่งที่เห็นวาจําเปนและนําไปแกปญหาของตน ได และผูเรียนแตละคนมีความพรอมในการเรียนรูตางกัน 4. การเรียนรู ขึ้นอยู กับงานหรือปญหาหลัก ดังนั้นการจัดประสบการณ การ เรียนรูจึงอยูในลักษณะของโครงการหรือหนวยการเรียนเพื่อแกปญหา (Problem–solving Learning Project or Unit) 5. การเรียนรูมาจากแรงจูงใจภายใน เชน ความตองการบรรลุผลสําเร็จ (Self– esteem) ความอยากรูอยากเห็นของผูเรียน เปนตน ลักษณะสําคัญของการเรียนรูดวยตนเองประกอบดวย (Candy. 1991: 208) 1. ก า วไปตามความสะดวก โดยผู เ รี ย นเป น ผู กํ า หนดเวลา สถานที่ ที่ เ ห็ น ว า สะดวกและเหมาะสมกวา


45 2. มีการเลือก ผูเรียนเปนผูวางแผนการเรียน กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู ตามที่ตนตองการ 3. ผูเรียนกําหนดวิธีการเรียนดวยตนเอง เชน การศึกษาดวยตนเอง การเขาฟง การบรรยาย การอานหนังสือ การใชสื่อการเรียนการสอน ชุดการเรียนหนวยการเรียนการสอน บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร 4. ผูเรียนกําหนดเนื้อหา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสนใจ และความตองการของผูเรียน แตละคน การเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนมีบทบาทในการรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง โดยเริ่มจากการวางแผนการเรียน ปรึกษาผูสอนเพื่อใหผูสอนตรวจสอบแผน การขอคําแนะนําใน เรื่องวิธีการ และแหลงความรูที่ไปศึกษาคนควา โดยผูเรียนทําสัญญาการเรียน (Learning Contract) เพื่อเปนหลักประกันแกผูสอนวาผูเรียนจะดําเนินการตามแผนการเรียน และเปนแรงจูงใจที่ทําให ผูเรียนเกิดความรับผิดชอบตามที่สัญญาไวกับผูสอน (Buzzell; & Roman. 1988: 135) ในยุคสารสนเทศการเรียนดวยตนเองมีบทบาทมากขึ้น การเรียนดวยตนเองแบบ สบาย ๆ ง า ย ๆ อยู กั บ บ า นพร อ มที่ จ ะโต ต อบทางไกลกั บ ผู ส อน ผ า นเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร โทรคมนาคม เครือขายคอมพิวเตอร รวมทั้งการเรียนกับสื่อสําเร็จรูปตาง ๆ กําลังจะเปนเรื่อง ธรรมดาเขาไปทุกที ในไมชาเราอาจไดเห็นตลาดประเภท “ตลาดวิชาอิเล็กทรอนิกส” เห็น “หางสรรพ วิทยาการ” เห็น “รานอาหารสมอง” หรือ “สวนอาหารความคิด” เกิดขึ้นพรอมใหคนเขาไปซื้อหา สินคาประเภทความรู หรือวิชาการเอาไปเรียนหรือ “บริโภค” เองที่บาน (เปรื่อง กุมุท. 2541: 18– 20) สรุปไดวาหลักการเรียนรูดวยตนเอง คือ การเรียนรูที่ผูเรียนไดริเริ่มการเรียนดวย ตนเอง รับผิดชอบตอการเรียนของตนเองดวยการตั้งเปาหมาย หาวิธีการไปสูการเรียนรูนั้นแลว ดําเนินการศึกษาคนควาความรูดวยตนเองจากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม มีการตรวจสอบและ ประเมินตนเองถึงผลการเรียนรูนั้น 2.3.3 ลักษณะการเรียนรูดวยตนเอง ลั ก ษณะของคนซึ่ ง มี ค วามพร อ มที่ จ ะเรี ย นไดด ว ยตนเองนั้ น มี ผู อธิ บ ายหลาย ลักษณะ กูกลิเอลมิโน (Guglielmino. 1978) อธิบายลักษณะของคนซึ่งมีความพรอมที่จะเรียนรูได ดวยตนเอง ดังนี้ 1. เปดโอกาสตอการเรียนรู ไดแก ความสนใจในการเรียน ชอบศึกษาคนควา จากหองสมุดมีความพยายามทําความเขาใจในเรื่องที่ยาก 2. มองตนเองวา เปนผูเรียนที่มีประสิทธิภาพ ไดแก ความสามารถที่จะเรียนเมื่อ ตองการเรียน รูวาเมื่อไรจะเรียน สามารถหาวิธีการเรียน และรูวาจะไปหาขอมูลที่ตองการไดที่ไหน 3. มีความคิดริเริ่ม และสามารถเรียนรูไดโดยอิสระ 4. มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง


46 5. มีค วามรั กในการเรียน ไดแก ความสนุกสนานในการคนควา หรือมี ค วาม ปรารถนาที่จะเรียนรู 6. มีความคิดสรางสรรค 7. มองอนาคตในแงดี ไดแก มีความตองการที่จะเรียนรูตลอดชีวิต คิดวาปญหา เปนสิ่งที่ทาทายและรูวาตนเองตองการเรียนอะไรเพิ่มเติม 8. สามารถใชทักษะหาความรู และทักษะการแกปญหา สเคเจอร (Skager. 1978: 116–117) ไดอธิบายลักษณะของผูซึ่งเรียนรูดวยตนเอง ดังนี้ 1. ยอมรับตนเอง (Self-acceptance) เปนผูมีเจตคติในทางบวกตอตนเองเชื่อวา ตนสามารถทําได 2. สามารถวางแผนการเรียนรูดวยตนเอง (Planfulness) ตองมีลักษณะ 2.1 รูถึงความตองการในการเรียนของตน 2.2 กําหนดจุดประสงคที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการที่ตั้งไว 2.3 วางแผนวิ ธี ก ารทํ า งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ที่ กําหนด 3. มีแรงจูงใจภายใน หมายถึง มีแรงจูงใจในการเรียนรูอยูในตัวเอง สามารถ เรียนรูไดโดยไมตองอาศัยสิ่งจูงใจภายนอก ผูที่มีแรงจูงใจในการเรียนจะมีการเรียนอยางตอเนื่อง เมื่อสําเร็จการศึกษาจากสถาบัน 4. มีการประเมินตนเอง สามารถที่จะประเมินตนเองไดวาจะเรียนไดดีแคไหน โดยอาจขอใหผูอื่นประเมินการเรียนรูของตนก็ได ซึ่งผูเรียนจะยอมรับการประเมินภายนอกก็ตอเมื่อ ผูประเมินมีอิสระในการประเมิน การประเมินสอดคลองกับสิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏเปนจริงอยูในขณะนั้น 5. เปดกวางตอประสบการณ (Openness to Experience) การเขาไปศึกษา ประสบการณ ใ หม ๆ ดว ยความใคร รู ความอดทนต อ ความยุ ง ยากสั บ สน ความคลุ มเครือ มี แรงจูงใจในการทํากิจกรรมใหม ๆ ซึ่งจะทําใหเกิดประสบการณใหม 6. มีความยืดหยุนในการเรียนรู มีความเต็มใจที่จะเปลี่ยนแปลงเปาหมายหรือ วิ ธีก ารเรี ย นและใช ร ะบบการเข าถึ งป ญ หาโดยใชทั ก ษะการสํ า รวจ การลองผิ ด ลองถู ก ความ ลมเหลวในการเรียนจะนํามาปรับปรุงแกไขมากกวาที่จะลมเลิกหรือยอมแพ 7. เปนตัวของตัวเองมีอิสระในการเรียนรู (Autonomy) ผูเรียนที่ดูแลตัวเองได สามารถที่จะตั้งปญหากับมาตรฐานของระยะเวลาที่ใหวา ลักษณะใดที่มีคุณคาและเปนที่ยอมรับได 2.3.4 แนวทางการจั ด การเรี ย นการสอนเพื่ อให ผูเ รีย นเกิ ด การเรีย นรู ดว ย ตนเอง เมซิโรว (Mezirow. 1981: 22-23) ไดเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเองไวดังตอไปนี้


47 1. จัดการเรียนการสอนที่คอย ๆ ลดการพึ่งพาของผูเรียนที่มีตอตัวผูสอนลง 2. ช ว ยให ผู เ รี ย นได เ ข า ใจถึ ง วิ ธี ก ารใช แ หล ง การเรี ย นรู โดยเฉพาะการดึ ง ประสบการณเดิมของผูเรียนมาใช สงเสริมใหมีปฏิสัมพันธกับแหลงเรียนรูรวมถึงผูรู 3. ชวยใหผูเรียนไดรูถึงความตองการในการเรียนรูของตนเอง 4. ใหผูเรียนเกิดความรูสึกรับผิดชอบตอการเรียน ดวยการใหระบุจุดประสงค การเรียนรู วางแผนและประเมินความกาวหนาในการเรียนของตนเอง 5. จัดประสบการณใหผูเรียนไดเรียนรูในเรื่องที่เกี่ยวกับปญหาใกลตัว เรื่องที่ ผูเรียนสนใจและเหมาะกับระดับความเขาใจของผูเรียน 6. กระตุ น ให ไ ด คิ ด วิ เ คราะห ตั ด สิ น ใจ ด ว ยการให มี ส ว นร ว มในการจั ด ประสบการณใหไดแสดงความคิดเห็นโดยผูสอนทําหนาที่เปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียน ควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดกําหนดทางเลือก 7. กระตุน ใหผูเ รี ยนได ตั ดสินใจผลงาน สะท อนตนเองและบูรณาการเข ากับ ประสบการณ 8. กระตุนใหผูเรียนไดมีการตรวจสอบความถูกตองถึงผลการเรียนรู เปนการ สรางลักษณะนิสัยในการเรียน 9. การกํ า หนดป ญ หา สถานการณ เ พื่ อ นํ า ไปสู บ ทเรี ย นควรเป น สิ่ ง ที่ มี ความสัมพันธกับผูเรียนมีสวนเกี่ยวของหรือเปนเรื่องราวที่สาธารณชนใหความสนใจ 10. เสริ ม แรงในด า นการรั บ รู ต นเอง ด ว ยการพั ฒ นาผู เ รี ย นให ก า วหน า ตาม ศักยภาพของแตละคน สรางบรรยากาศการเรียนดวยการใหขอมูลยอนกลับเพื่อกระตุนใหเกิดความ พยายาม หลีกเลี่ยงการแขงขันหรือตัดสินความสามารถของผูเรียน วิธีการที่เหมาะสมคือการใช กลุมสนับสนุนการเรียนสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน 11. เนนการเรียนรูจากประสบการณ การมีสวนรวม วิธีการเรียนที่เหมาะสมคือ การใชวิธีการเรียนแบบใชสัญญาการเรียนหรือวิธีการเรียนโดยใชโครงงาน 12. สนับสนุนใหผูเรียนใชวิธีการเรียนที่มีคุณภาพ และปรับปรุงในสิ่งที่ตนเลือก ใหดียิ่งขึ้น โนลส (Knowles. 1975) ไดเสนอหลักการจัดการสอนเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ดวยตนเองไวดังตอไปนี้ 1. การใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน รับผิดชอบรวมกันในกระบวนการเรียนรู จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี 2. ในกระบวนการเรียนรู ควรเปดโอกาสและสงเสริมใหผูเรียนนําประสบการณ ความรู ทั ก ษะ เจตคติ แ ละค า นิ ย มต า ง ๆ ของตน เข า มาใช ใ นการทํ า ความเข า ใจสิ่ ง ใหม ประสบการณใหม 3. ในการจัดประสบการณการเรียนรูใหแกผูเรียน ควรเปดโอกาสใหผูเรียนได เลือกสิ่งที่เรียนและวิธีการเรียนดวยตนเอง


48 4. ในกระบวนการเรียนการสอน ครูควรเขาใจและสงเสริมความแตกตางระหวาง บุคคล ควรเปดโอกาสและสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาคุณสมบัติเฉพาะตน ไมควรปดกั้นเพียงเพราะ เขาไมเหมือนคนอื่น 5. ในกระบวนการเรียนรู ควรเปดโอกาสและสงเสริมใหผูเรียนตัดสินใจดวย ตัวเอง ลงมือกระทํา และยอมรับผลของการตัดสินใจหรือการกระทํานั้น จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับทฤษฎีการเรียนรู สรุปไดวาการเรียนรูจะ เกิดขึ้นไดจะตองมีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเรียนรู เชน การมี ทางเลือก (Choice) การมีความหลากหลาย (Diversity) และการมีความเปนกันเอง (Congeniality) นอกจากนี้ผูเรียนที่จะสามารถเรียนรูดวยตนเองไดดี จะตองมีความสมัครใจที่จะเรียน สามารถ จัดการกระบวนการเรียนรูไดดวยตนเอง และมีความกระตือรือรนที่จะเรียน โดยมีครูผูสอนเปนผู แนะนําและเปนที่ปรึกษาอยางใกลชิด และจะตองติดตามผลความกาวหนาในการเรียนของผูเรียนอยู เสมอ

3. การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต เมื่อศึกษาถึงเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต พบวา การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต มีการใชชื่อเรียกที่แตกตางกันออกไป ไดแก e-Learning, Online Learning, Web-based Education, Web-based Instruction, Web-based Learning, Tele-learning, Virtual Classroom และ Virtual University (สกศ. 2544) ซึ่งไมวาจะใช ชื่ อ ใดก็ ต าม ก็ ยั ง คงมี ลั ก ษณะและวิ ธี ก ารที่ ค ล า ยกั น การจั ด การเรี ย นการสอนบนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตถือไดวาเปนการเรียนการสอนในรูปแบบใหม ที่ใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทางใน การถายทอดเนื้อหา เปนเครื่องมือในการเขาถึงขอมูลขาวสารและเปนเครื่องมือในการสรางองค ความรู (ประชิต อินทะกนก. 2541) การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนการเปดโอกาส ใหผูเรียนสามารถเรียนไดทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime) โดยใชเครื่องมือที่สําคัญที่มีอยูใน อินเทอรเน็ตและเว็บ ไดแก กระดานขาว ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การประชุมทางไกล เปนตน สามารถเรียนไดทั้งแบบพรอมกันได (Synchronous Learning) และไมพรอมกันได (Asynchronous Learning) (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. 2544) สนับสนุนใหผูเรียนใฝหาความรูดวยตนเองอีกทั้งยัง สงเสริมใหผูเรียนไดมีโอกาสเขามารวมทํากิจกรรมตาง ๆ กับกลุมผูเรียนดวยกันเองและระหวาง ผูเรียนกับผูสอน (วิชุดา รัตนเพียร. 2548) สามารถนําไปสูการเรียนรูแนวใหมที่ใหผูเรียนไดมีการ เรียนรูดวยตนเอง (Self-direct Learning) เปนซึ่งกระบวนการที่ผูเรียนวิเคราะหความตองการในการ เรียนรูของตนเอง ตั้งเปาหมายการเรียนรู แสวงหาความรู ผูสนับสนุนและแหลงความรู รวมทั้ง ผูเรียนประเมินผลการเรียนดวยตนเอง (Dixon.1992) เปนการเพิ่มบทบาทใหแกผูเรียนใหมีการ แสวงหาความรู ด ว ยตนเองมากขึ้ น และทํ า ให บ ทบาทของครู ซึ่ ง ได เ ปลี่ ย นจากครู ผู ส อนเป น ผู ถายทอดใหความรูและเปนศูนยกลางของการเรียนรูกลายมาเปนผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู


49 (Learning Center) (Zhao. 1998) การเรียนรูดวยตนเองจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับบุคคลใน การเรียนรูตลอดชีวิต (Knowles. 1975) 3.1 ความหมายของเครือขายอินเทอรเน็ต มีนักการศึกษาไดกลาวถึงความหมายของเครือขายอินเทอรเน็ต ไวดังนี้ อธิปตย คลี่สุนทร (2541) ไดใหความหมายของเครือขายอินเทอรเน็ตวาเปนเสมือน ระบบเครือขายทางเดินขอมูลสารสนเทศซึ่งมีระบบเชื่อมโยง และมีระบบแจกจายจากแตละจุดยอย เล็ก ๆ ไปยังจุดใหญ หรือจากจุดใหญไปยังจุดยอยซึ่งเปรียบเสมือนการรวมหองสมุดของสรรพวิชา และตําราตาง ๆ มาไวใชดวยกัน ระบบนี้ยังถือเปนการทดสอบความสามารถของมนุษยในการ พัฒนาระบบใหญมหาศาล ที่เปนระบบเปดเพื่อครอบคลุมผูใชทั่วโลก ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2540) กลาววา เครือขายอินเทอรเน็ต คือ เครือขายของ เครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร (ทั้งที่อยูในองคกรรัฐ และเอกชน) ทั่วทุกมุมโลกเขา ดวยกัน ภายใตมาตรฐานการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเพื่อการแลกเปลี่ยนและสงผานขอมูล การ ทํางานของเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นไมมีใครหรือองคกรกลางใดองคกรหนึ่งเปนเจาของ การเขาเปน สวนหนึ่งของเครือขายทําไดโดยการขอเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอรเขากับเครือขายใดเครือขายหนึ่ง ที่เปนสวนหนึ่งของเครือขายอินเทอรเน็ตอยูแลว เมื่อมีเครื่องเชื่อมตอแลวก็จะสามารถใชบริการบน เครือขายอินเทอรเน็ตได กิดานันท มลิทอง (2539) กลาววาเครือขายอินเทอรเน็ต คือ ระบบของการเชื่อมโยง ขายงานคอมพิวเตอรขนาดใหญมากครอบคลุมไปทั่วโลก เพื่ออํานวยความสะดวกในการใหบริการ การสื่อสารขอมูล เชน การบันทึกเขาระยะไกล (Remote Login) การถายโอนแฟม ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส และกลุมอภิปราย เครือขายอินเทอรเน็ตเปนวิธีการเชื่อมโยงขายงานคอมพิวเตอรที่ มีอยูใหขยายออกไปอยางกวางขวางเพื่อการเขาถึงของแตละระบบที่มีสวนรวมอยู พรทิพย โลหเลขา (2537) กลาววา เครือขายอินเทอรเน็ต คือ ระบบเครือขาย คอมพิวเตอรที่ใหญที่สุดของโลก เปนกระบวนการสื่อสารขอมูลทางสาย (Online) ระหวาง คอมพิวเตอรตางระบบและตางชนิด รวมกับสายเคเบิ้ลและผูใชจํานวนมาก อาศัยซอฟตแวรและ เครื่องชวยสื่อสารตาง ๆ ในแงของวิชาการ เครือขายอินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรที่ สื่ อสารกั นโดย ทีซีพี/ไอพี ซึ่งหมายถึง กฎเกณฑ ที่ค อยควบคุ ม กระบวนการสงขา วสารไปมา ระหวางคอมพิวเตอรหลายรอยชนิดที่อยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต การมีทีซีพี/ไอพี ใชรวมกัน ผูใช สามารถเชื่อมโยงคอมพิวเตอรของตนกับเครือขายใดก็ไดบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อติดตอกับ ผูอื่น หรือเพื่อสื่อสารกับซอฟตแวรของแตละเครือขายบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ความหมายของเครือขายอินเทอรเน็ตจากนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน สามารถสรุปได วา ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต คือ เครือขายของเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก โดยการเชื่อมโยงระหวางระบบเครือขายจํานวนมหาศาลทั่วโลกเขาดวยกัน ภายใตหลักเกณฑหรือ การใชมาตรฐานเดียวกัน ใชโปรโตคอลเดียวกัน ซึ่งโปรโตคอลก็คือขอตกลงที่เปนสื่อกลาง ในการ


50 สื่อสารคอมพิวเตอรที่ติดตอกันเปนระบบเครือขาย และแตละระบบเครือขายก็เชื่อมตอกันทั่วโลกซึ่ง จะทําใหผูคนสามารถเชื่อมตอ แลกเปลี่ยนขอมูลถึงกันไดโดยสะดวกรวดเร็ว ไมวาขอมูลเหลานั้น จะอยูในรูปแบบใด ๆ อาจจะเปนตัวอักษร ขอความ หรือเสียง และประโยชนเพื่ออํานวยความ สะดวกในการใหบริการสื่อสารขอมูล เชน การบันทึกเขาระยะไกล การถายโอนแฟม ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส และกลุมอภิปราย เปนตน เครือขายอินเทอรเน็ตเปนวิธีในการเชื่อมโยงขายงาน คอมพิวเตอรที่มีอยูใหขยายออกไปอยางกวางขวาง เพื่อการเขาถึงแตละระบบที่มีสวนรวมอยู 3.2 ความเปนมาของอินเทอรเน็ต เครือขายอินเทอรเน็ตเกิดในชวงยุคสงครามเย็นระหวางกลุมประเทศคอมมิวนิสตและ สหรัฐอเมริกา หากมีการทําลายสถานที่ตั้งมั่นขอมูล ขอมูลที่เก็บไวในเครื่องคอมพิวเตอรสามารถ จัดสงไปยังเครื่องอื่น ๆ ในสถานที่ตาง ๆ กัน และการสื่อสารติดตอก็จะไมถูกตัดขาดหรือทําลายไป ทั้งหมด เมื่อยุคของสงครามเย็นยุติลงในป ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) หนวยงานอารพา (ARPA: Advanced Research Project Agency) ไดพัฒนาโครงการสื่อสารโดยใชเครือขายคอมพิวเตอรใน กลุมนักวิจัย ตอมาหนวยงานหลักทางการศึกษาเอ็น เอส เอฟ (NSF: National Science Foundation) ไดมีโครงการสนับสนุนการจัดตั้งซูเปอรคอมพิวเตอรเปนเซิรฟเวอรไวที่มหาวิทยาลัย 5 แหง และจัดตั้งเปนเครือขายรูจักกันในนามเครือขายเอ็น เอส เอฟ (NSFNet) ในฐานะหนาที่ที่ เรียกวาสันหลังหลักหรือแกน (Backbone) จึงถือไดวาเครือขายเอ็น เอส เอฟ เปนเครือขาย การศึกษาแหงแรก ซึ่งสถาบันการศึกษาไดรวมใชเครือขายกันอยางกวางขวางจนกระทั่งเครือขาย เอ็น เอส เอฟ ไมสามารถรับหนาที่เปนเครือขายหลักไดอีกตอไป และตอมาไดมีอีกหลายเครือขาย ทําหนาที่ดังกลาว หลังจากนั้นการใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทางในการสื่อสารจึงแพรหลาย มากขึ้นในกลุมหนวยงานการศึกษาและกระจายถึงภาคเอกชน อินเทอรเน็ตในประเทศไทย เริ่มตนขึ้นในป พ.ศ.2530 สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (Asian Institute of Technology) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดแลกเปลี่ยนไปรษณีย อิเล็กทรอนิกสกับมหาวิทยาลัยเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย ขณะนั้นใชวิธีการหมุนโทรศัพทขาม ประเทศ (Dial-up Networking) โดยใชโปรโตคอลเอ็ม เอส เอช (MSH: Message Handling Services) ในชวงเวลานี้ไดมีการจัดตั้งศูนยเนคเทค (Nectec: National Electronics and Computer Technology Center) ทําหนาที่สนับสนุนสงเสริมการจัดตั้งเครือขาย ตอมาในป พ.ศ.2535 ศูนยเนคเทค ไดรวมกับสถาบันการศึกษาอีก 5 แหง คือ จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย สถาบั น เทคโนโลยี แ ห ง เอเชี ย มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร และมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร จั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยชื่ อ ไทยสาร (THAIsarn - ThaiSocail/Scientific, Academic and Research Network) และเปดสายเชา (Leased-line) เพื่อเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ตแทนการหมุนโทรศัพทขามประเทศ ในเวลาใกลเคียง กั น สถาบั น การศึ ก ษาอี ก 4 แห ง คื อ จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม


51 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดจัดตั้งกลุมเครือขาย ชื่อ ไทยเน็ต (Thainet) และเปดเครือขายสูอินเทอรเน็ต เวลาของการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือในชวงป พ.ศ.2538 สถาบันอุดมศึกษาหลาย แห ง ได เ ป ด ให นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาเข า สู เ ครื อ ข า ยโดยไม เ สี ย ค า ใช จ า ยพร อ มกั น นั้ น กลุ ม ผู ใ ห บ ริ ก าร อินเทอรเน็ตเพื่อการคาก็เริ่มเปดใหบริการเขาสูอินเทอรเน็ตใหกับประชาชนทั่วไปผูใหบริการเขาสู อินเทอรเน็ต (Internet Service Provider) รายแรก ๆ ไดแก บริษัท International Thailand Services และบริษัท KSC จากนั้นความตื่นตัวในการใชอินเทอรเน็ตก็ไดเริ่มตนขึ้นในประเทศไทย (ใจทิพย ณ สงขลา. 2547: 1-2) 3.3 รูปแบบการใหบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต เปนเครือขายคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอกันไปทั่วโลก มีผูเขามาใชบริการ มากมาย ด ว ยเหตุ นี้ ลั ก ษณะการให บ ริ ก ารจึ ง เกิ ด ขึ้น อยา งหลากหลายรู ป แบบเพื่ อ สนองความ ตองการของผูใช โดยสามารถสรุปรูปแบบการใหบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนี้ (กิดานันท มลิทอง. 2548: 245-247) 1. เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web: WWW) หรือที่เรียกกันสั้น ๆ วา “เว็บ” เปน การสืบคนสารสนเทศที่อยูในอินเทอรเน็ตในระบบสื่อหลายมิติ สารสนเทศที่เสนอจะมีทุกรูปแบบทั้ง ในลักษณะของตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง นอกจากนี้เวิลดไวดเว็บยังรวมการใช งานอื่น ๆ เขาไวดวย เชน ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การถายโอนแฟม การพูดคุยสด กลุมอภิปราย การคนหาไฟล ฯลฯ การเขาสูเวิลดไวดเว็บจะตองใชโปรแกรมทํางาน เชน Internet Explorer และ Netscape Navigator เปนตน 2. ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (Electronic-mail: E-mail) หรือที่เรียกสั้น ๆ วา “อีเมล” เปนการรับสงขอความผานเครือขายคอมพิวเตอร โดยสามารถใชทั้งแบบบนเว็บหรือไมก็ได ผูใช สามารถสงขอความจากเครือขายที่ตนใชอยูไปยังผูรับอื่น ๆ ในเครือขายเดียวกันหรือขามเครือขาย อื่นในอินเทอรเน็ตไดทั่วโลกในทันที นอกจากขอความที่เปนตัวอักษรแลว ยังสามารถสงไฟลภาพ และเสียงรวมไปดวยไดเพื่อใหผูรับไดอานทั้งตัวอักษร ดูภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว รวมทั้ง เสียงพูดหรือเสียงเพลงประกอบดวย 3. การถายโอนไฟล (File Transfer Protocol: FTP) เปนการถายโอนไฟลขอมูล ประเภทตาง ๆ เชน ไฟลขาว ไฟลภาพ ไฟลเสียงเพลง ฯลฯ จากคอมพิวเตอรเครื่องอื่นดาวน โหลดไวในคอมพิวเตอรของเรา หรือจะอัพโหลดขอมูลจากคอมพิวเตอรของเราสงไปที่เครื่องบริการ เพื่อใหผูอื่นนําไปใชไดเชนกัน 4. กลุมอภิปรายหรือกลุมขาว (Newsgroup) เปนการรวมกลุมของผูใชอินเทอรเน็ตที่ มีความสนใจในเรื่องเดียวกันเพื่อสงขาวหรืออภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องที่สนใจนั้น กลุมอภิปรายนี้จะอยูในกระดานขาว (Bulletin Board), เว็บบอรด (Webboard) หรือในยูสเน็ต (UseNet) ก็ได


52 5. การสนทนาในเครือขาย (Internet Relay Chat: IRC) เปนการสนทนาสดที่ผูใช ฝ า ยหนึ่ ง สนทนากั บ ผู ใ ช อี ก ฝ า ยหนึ่ ง โดยมี ก ารโต ต อบกั นทั น ที แ บบประสานเวลาโดยการพิ ม พ ขอความหรือใชเสียง หรือจะใชทั้งเสียงและเห็นภาพผูรวมสนทนาดวย โดยอาจสนทนาเปนกลุม หรือระหวางบุคคลเพียง 2 คนก็ได การสนทนาในรูปแบบนี้เปนที่นิยมใชกันมาก เนื่องจากสามารถ เปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพูดคุยกันไดทันทีในเวลาจริงทําใหไมตองรอคําตอบเหมือนกับการ สงทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หากมีการใชซอฟตแวร เชน Microsoft NetMeeting จะสามารถใช กระดานขาวเพื่อเขียนขอความหรือวาดภาพกราฟกเพื่อชวยในการสื่อสารรวมกันได 6. การประชุมบนอินเทอรเน็ต (Internet Conference) เปนการสื่อสารแบบประสาน เวลาเชนเดียวกับการสนทนาสดแตจะเปนการประชุมทางไกลดวยภาพและเสียงบนจอมอนิเตอรของ คอมพิวเตอรในรูปแบบที่เรียกวา “Web Conference” โดยอาจสื่อสารเฉพาะบุคคลหรือเปนกลุมก็ได ผูใชทั้งสองฝายตองมีไมโครโฟนสําหรับพูดและมีกลองดิจิตอลหรือเว็บแคมเพื่อสงภาพดวย การ ประชุมรูปแบบนี้จะประหยัดคาใชจายมากกวาการใชการประชุมทางไกลดวยวีดิทัศน 7. สิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส (Electronic Publisher) เปนการบรรจุเนื้อหาและภาพที่ลง พิมพในสิ่งพิมพลงในเว็บไซตเพื่อใหผูใชอินเทอรเน็ตไดอาน นอกจากสิ่งพิมพในเชิงการคาแลวยังมี เอกสาร วิท ยานิ พนธ และตําราวิ ชาการที่พิมพ เปนเล มไวแลวบรรจุล งบนอิ นเทอรเน็ตเพื่อให คนควาหาความรูดวย สิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสเหลานี้จะเรียกกันหลายชื่อ เชน “e-magazine”, “ejournal” และ “e-text” เปนตน 8. รายชื่อสงอีเมล (Mailing Lists หรือที่รูจักกันในชื่อ “Listserv”) เปนการสื่อสาร แบบตางเวลาที่จะสงอีเมลโดยอัตโนมัติไปยังบุคคลตาง ๆ ที่สมัครรับขอมูลขาวสารและมีชื่ออยูใน รายการ การสงในลักษณะนี้จะชวยประหยัดเวลาสําหรับผูสงทําใหสงอีเมลไปยังบุคคลจํานวนมาก ไดในเวลาเดียวกันและผูรับที่มีรายชื่ออยูในรายการจะไดรับอีเมลเหมือนกันพรอม ๆ กัน 9. สมุดรายชื่ อ เปนการตรวจหาชื่อและที่อยูของผูที่เราตองการจะติดตอดวยใน อินเทอรเน็ต โปรแกรมในการคนหาที่นิยมใชกัน ไดแก Finger และ Whois เปนตน 10. การขอเขาใชระบบจากระยะไกล เปนโปรแกรมที่ใชในอินเทอรเน็ตเพื่อการขอเขา ใชระบบจากระยะไกล โปรแกรมหนึ่งที่รูจักกันดี คือ เทลเน็ต (Telnet) การใชเทลเน็ตจะเปนการให ผูใชสามารถเขาไปใชทรัพยากรหรือขอใชบริการจากคอมพิวเตอรเครื่องอื่นได และใหคอมพิวเตอร เครื่องนั้นทําหนาที่ประมวลผลโดยผูใชปอนคําสั่งผานคอมพิวเตอรของตนแลวจึงสงผลลัพธกลับมา แสดงบนหนาจอภาพ 11. การค น หาไฟล เนื่ อ งจากอิ น เทอร เ น็ ต เป น ระบบขนาดใหญ ที่ ค รอบคลุ ม กวางขวางทั่วโลก โดยมีไฟลขอมูลตาง ๆ มากมายหลายลานไฟลบรรจุอยูในระบบเพื่อใหผูใช สามารถสืบคนใชงาน เว็บไซตที่ใหบริการคนหาไฟลและทรัพยากรบนเว็บที่นิยมใชกันมากใน ปจจุบัน คือ www.google.com และ www.yahoo.com จะมีเว็บเพจที่เปนหัวขอเรื่อง ภาพ และกลุม สนทนา เพื่อใหผูใชสามารถเชื่อมโยงไปยังสวนที่ตองการได


53 3.4 องคประกอบของระบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตตองอาศัยการดําเนินการอยางเปนระบบ เนื่องจากการดําเนินการตองมีความเกี่ยวของกันหลายฝาย ในการจัดระบบการเรียนการสอนบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้น อยางนอยที่สุดควรประกอบไปดวยสวนประกอบที่สําคัญ 7 สวน คือ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2547) 1. กระบวนการจัดการเรียนรู (Learning Process) ประกอบดวย การวิเคราะห หลักสูตร กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังหรือจุดประสงคการเรียนรู กําหนดเนื้อหา กําหนดกิจกรรม การวัดและประเมินผลการเรียนรู ซึ่งรวมแลวอาจหมายถึงตัวหลักสูตรและการจัดการเรียนรูของ สถานศึกษานั่นเอง ในสวนนี้เปนหนาที่รับผิดชอบของครูผูสอนโดยตรง 2. ระบบเครือขาย (Network) ประกอบดวยการวางระบบเครือขายภายใน (Intranet) และระบบเครือขายภายนอก (Internet) ใหเชื่อมโยงทั่วถึงกัน การจัดการเกี่ยวกับระบบเครือขายของ สถานศึกษาจะตองมีความสัมพันธสอดคลองกับระบบโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) ดาน ICT ของประเทศดวย โดยอยูในความรับผิดชอบของฝายคอมพิวเตอรหรือผูดูแลระบบ 3. สื่อการสอน (Instructional Media) ประกอบดวยสื่อที่ใชการเรียนรูชนิดตาง ๆ ซึ่ง ในที่นี้หมายถึง สื่อที่ใชการถายทอดเนื้อหาโดยผานระบบอิเล็กทรอนิกสโดยเฉพาะ ที่สามารถ นําเสนอผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรไดโดยสะดวก ซึ่งผลิตโดยครูผูสอนและอาจมีฝายอื่น ๆ รวมดวย 4. การติดตอสื่อสาร (Communication) ประกอบดวยวิธีการติดตอสื่อสารแบบตางๆ ระหวางผูสอนกับผูเรียนเพื่อใหการเรียนการสอนประสบผล การติดตอสื่อสารมีทั้งระบบปด เชน จดหมายอิเล็กทรอนิกส, เว็บแคม (Web Cam) หรือระบบเปด เชน กระดานขาว กระดานสนทนา และการประชุมทางไกล เปนตน การเลือกวิธีสื่อสารที่เหมาะสมจะพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนได อยางมีประสิทธิภาพ 5. บุคลากรที่เกี่ยวของ (Personnels) ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาซึ่งเปน ผูดูแลนโยบาย สนับสนุนและควบคุม ผูดูแลระบบเปนผูจัดการระบบ ผูพัฒนาโปรแกรม ครูผูสอน และชางเทคนิคเปนผูผลิต หรืออาจรวมถึงผูเชี่ยวชาญในสาขาอื่น ๆ รวมดวย เชน นักวิเคราะหและ ออกแบบระบบการสอน นักออกแบบสื่อการนําเสนอ และผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา เปนตน 6. ผูเรียน (Learners) จะตองมีความพรอมที่จะเรียนรูผานระบบเครือขาย โดยมี ความรูความสามารถดานคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐานพอสมควร เกี่ยวกับการใชอินเทอรเน็ตในการ สืบคน การใชคอมพิวเตอรในการจัดทําเนื้อหา ขอมูล การนําเสนองาน และการติดตอสื่อสาร 7. แหลงเรียนรู (Resources) ซึ่งครูผูสอนจะตองศึกษา จัดหา เตรียมไวในระบบ สําหรับผูเรียนใหสามารถศึกษาและสืบคนไดโดยสะดวก ในปจจุบันแหลงเรียนรูมีอยูกวางขวาง มากมาย และหลากหลายเพียงพอตอการเรียนรูโดยที่ผูสอนไมจําเปนตองเปนผูผลิตเนื้อหาตางๆ


54 ทั้งหมดเพียงแตครูผูสอนควรไปศึกษาแหลงเรียนรูตาง ๆ ไวกอนเพื่อที่จะแนะนําผูเรียนไดอยาง เหมาะสม 3.5 การใชเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา เครือขายอินเทอรเน็ตเขามามีบทบาทในการเรียนการสอนทั้งในและนอกหองเรียนเปน อยางมาก อินเทอรเน็ตจึงเปนสิ่งที่มีประโยชนในวงการศึกษาเปนอยางนานัปการ ประโยชนของ เครือขายอินเทอรเน็ต ในทางการศึกษามีดังนี้ อธิปตย คลี่สุนทร (2540: 12) ไดกลาวถึงประโยชนของเครือขายอินเทอรเน็ตดาน การศึกษาวา เครือขายอินเทอรเน็ตมีประโยชนสําหรับการศึกษาในการชวยเสริมสรางคุณภาพและ ความเสมอภาคทางการศึกษาหลายประการดังนี้ 1. ครู อาจารย สามารถพัฒนาคุณภาพบทเรียน หรือแนวคิดในสาขาวิชาที่สอน โดยการเรียกดูจากสถาบันอื่น ไมวาจะเปนเนื้อหาทางดานวิชาการ คูมือครู แบบฝกหัด ซึ่งบาง เรื่อ งสามารถคั ด ลอกมาใช ไ ด ทันที เนื่ องจากผู ผลิ ต ผู คิดเดิ ม แจงความจํา นงให ส าธารณชน นําไปใชได (Public domain) ในทางกลับกัน ครูอาจารยที่มีแนว วิธีสอน คูมือการสอนที่นาสนใจ และคาดวาจะสรางความเขาใจไดดีกวาผูอื่น ก็สามารถนําเรื่องราวดังกลาวผานเว็บเพจของสถาบัน ตนเองเพื่อใหผูอื่นศึกษาและนําไปใชงานได 2. นักเรียน นักศึกษา สามารถเขาถึงการเรียนการสอนของครู อาจารย ในตาง สถาบัน สามารถคนหาขอมูล สาระความรูที่หองสมุดของตนเองยังไมมี เชน บทความ รูปภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เอกสารอางอิงที่เกี่ยวของกับการเรียน เปนตน นอกจากนี้ ยังเกิดการเรียนรูดวย ตนเองผานบทเรียนสําเร็จรูป การแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนนักเรียนทั้งในสถาบันเดียวกันและตาง สถาบันดวย 3. การติดตาม ถายโอน และแลกเปลี่ยนขอมูลการบริหารจัดการ (MIS) เพื่อชวยให อาจารยประจําชั้น ประจําวิชา หรือฝายบริหาร ไดติดตามแลกเปลี่ยนถายโอนขอมูลตามความ จําเปนเพื่อดูแลใหนักเรียนหรือครู อาจารย สามารถพัฒนาตนเองไดสูงสุดตามศักยภาพของตน เชน ทะเบียนประวัตินักเรียน การเลือกเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขอมูลครู อาจารย คุณวุฒิ การอบรม ความรูความสามารถพิเศษ เปนตน 4. ครู อาจารย นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา จะมี ค วามสะดวกในการค น หาเรื่ อ งราวที่ เกี่ยวของกับความสนใจที่จะศึกษา วิเคราะห วิจัย โดยเฉพาะในสวนที่เปนงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึง่ มีผูศึกษาวิจัยไวแลว เพื่อนํามาอางอิงหรือเปนตนแบบในการศึกษาวิจัยตอไป 5. การขอใชเครื่องบริการ ที่มีประสิท ธิภาพสูงกวาในเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อ ประมวลผลการทํ า งาน เช น การคํ า นวณที่ ต อ งการความรวดเร็ ว และความซั บ ซ อ นสู ง ซึ่ ง สถานศึกษาบางแหงอาจมีเครื่องคอมพิวเตอรท่ีมีประสิทธิภาพไมเพียงพอที่จะทํางานในบางลักษณะ ก็สามารถทํางานบนเครื่องของตนเองสงงานประมวลผลหรือคํานวณไปใหเครื่องคอมพิวเตอรที่มี ประสิทธิภาพสูงกวาใหชวยทํางานนั้น ๆ ใหแลวสงกลับมายังจอคอมพิวเตอรของเจาของงาน


55 6. แลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นดานศิลปะ วัฒนธรรมกับคนตางชาติ ตางภาษา ขนบธรรมเนียม และความเปนอยู เพื่อนําสวนที่ดีและเหมาะสมของบางสังคมมาใชในการเรียนการ สอน หรือประยุกตในชีวิตประจําวัน ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2540–2541) ไดกลาวถึงคุณคาและความสําคัญของ กิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนี้ 1. จากการสํารวจคุณคาทางการศึกษาของกิจกรรมบนเครือขายคอมพิวเตอรทั่ว สหรัฐอเมริกา โดยวิทยาลัยครูแบงคสตรีท พ.ศ. 2536 พบวา กิจกรรมบนเครือขายคอมพิวเตอร ชวยเป ดโลกกวางให กับ ผู เรี ยนกิ จกรรมการเรียนการสอนบนเครือขายมีผลใหผูเ รียนมีการรับ รู เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมและโลกมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการมีเครือขายการศึกษา เชน เครือขาย อินเทอรเน็ต อนุญาตใหผูเรียนสามารถติดตอสื่อสารกับผูคนทั่วโลกไดอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนใน ลักษณะปฏิสัมพันธโตตอบในทันที เชน บริการหองสนทนาหรือไมทันทีก็ตาม เชน ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส เปนตน และยังอนุญาตใหผูเรียนสามารถสืบคนหรือเผยแพรขอมูลสารสนเทศจาก ทั่วโลกได โดยไมจํากัดเวลาวาขอมูลนั้นจะตองมาจากแหลงเดียวกันเสมอไป 2. สามารถจั ด หาขุ ม ทรั พ ย ข อ มู ล สารสนเทศมากมายมหาศาลแก ผู เ รี ย นใน ลักษณะที่สื่อประเภทอื่นๆ ไมสามารถทําได กลาวคือ ไมวาผูเรียนจะตองการคนหาขอมูลใน ลั ก ษณะใด เช น การค น หาหนั ง สื อ หรื อ อ า นบทคั ด ย อ จากห อ งสมุ ด ออนไลน การเข า ไปอ า น นิตยสารตางๆ วรรณกรรม ตํารา วารสารหรือเอกสารทางวิชาการบนเครือขาย การวางแผนงาน โครงการวิจัยเกี่ยวกับปญหากับผูเรียนที่อยูในสถาบันอื่นๆ ตางจังหวัดหรือตางประเทศก็สามารถใช เครือขาย อินเทอรเน็ตในการนํามาซึ่งขอมูลที่ตองการไดอยางงายดาย 3. มีผลกระทบของกิจกรรมตอทักษะการคิดอยางมีระบบ โดยเฉพาะทักษะการ วิเคราะหสืบคน การวิเคราะหขอมูล การแกปญหาและการคิดอยางอิสระ ทั้งนี้อาจเปนเพราะ ธรรมชาติของเครือขายเอื้ออํานวยใหผูเรียนเกิดการคิดเชิงวิเคราะหอยูเสมอ เพื่อแยกแยะวาขอมูล สารสนเทศใดเปนขอมูลที่มีสารประโยชนหรือไรประโยชน 4. สนับสนุนการสื่อสารและการรวมมือกันของผูเรียน ไมวาจะในลักษณะของผูเรียน รวมหองหรือตางหองบนเครือขายเดียวกัน นอกจากนี้ ผูเรียนที่ใชบริการขอมูลเครือขายก็จะตอง ทํางานรวมกับบรรณารักษหรือครูผูสอนอยางใกลชิดเพื่อใหไดมาซึ่งกลยุทธการสืบคนขอมูลที่มี ประสิทธิภาพ 5. สนับสนุนกระบวนการสหวิทยาการ (Interdisciplinary Approach) กลาวคือ ในการนําเครือขายมาใชเชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอนนักการศึกษาสามารถที่จะบูรณาการ การเรียนการสอนในวิชาตางๆ เขาดวยกันไดอยางเกี่ยวเนื่องและมีความหมาย 6. เปดโอกาสใหผูเรียนไดทํางานรวมกับผูอื่นซึ่งอาจมีความคิดเห็นแตกตางกัน จะ ทําใหผูเรียนมีโอกาสที่จะมองปญหานั้นๆ ไดหลายแงมุม


56 7. การที่เครือขายอินเทอรเน็ต อนุญาตใหผูเรียนสามารถเขาถึงผูเชี่ยวชาญ หรือ ผูใหคําปรึกษาและการที่ผูเรียนมีความอิสระในการเลือกศึกษาสิ่งที่ตนสนใจ ถือเปนแรงจูงใจสําคัญ อยางหนึ่งในการเรียนรูของผูเรียน กิดานันท มลิทอง (2548: 250-252) ไดกลาวถึง การใชอินเทอรเน็ตในการศึกษา สามารถทําไดหลายรูปแบบ ไดแก 1. การคนควา เนื่องจากอินเทอรเน็ตเปนเครือขายที่รวมเครือขายตาง ๆ มากมาย เขาไวดวยกัน จึงทําใหสามารถสืบคนขอมูลจากแหลงตาง ๆ ทั่วโลกได การสืบคนแหลงขอมูลนี้ สามารถทําไดโดยใชเว็บไซตตาง ๆ ในเวิลดไวดเว็บ เชน www.google.com และ www.yahoo.com เปนตน 2. การเรียนการสอนดวยอินเทอรเน็ต สามารถใชรูปแบบตาง ๆ ไดหลายวิธีการ เชน 2.1 การสอนบนเว็ บ โดยให ผู เ รี ย นเรี ย นเนื้ อ หาจากเว็ บ ไซต ที่ กํ า หนดไว ใ น ลักษณะวิชาเอกเทศ และแบบใชเว็บเสริมวิชาในหองเรียนหรือใหผูเรียนเรียนเพิ่มเติมที่บานดวย ตนเอง 2.2 การใหผูเรียนคนควาความรูจากเว็บไซตที่เกี่ยวของเพื่อนํามาเสริมการเรียน 2.3 การเสนอเนื้อหาบทเรียนโดยใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเพื่อใหผูเรียนเปด อานเรื่องราวและภาพประกอบที่เสนอในแตละบทเรียน หรือการเสนอบทเรียนใหม 2.4 การสนทนาสดเพื่ อแลกเปลี่ยนขอมู ลความรู ระหวางผูสอนกับ ผูเ รียนหรือ ระหวางผูเรียนดวยกันเอง 2.5 การประชุมทางไกลดวยเสียงและภาพ เปนการเผยแพรการสอนของผูสอน ในสถาบันหนึ่งไปยังสถาบันอื่นที่อาจขาดแคลนผูสอนที่ชํานาญในวิชานั้น ๆ 2.6 การใชกลุมขาวหรือกลุมอภิปรายติดประกาศในเว็บบอรดเพื่อใหผูสนใจแสดง ความคิดเห็น 2.7 การใชบทเรียนซีเอไอบนเว็บเพื่อใหผูเรียนสามารถใชการเชื่อมโยงการเรียนรู ในลักษณะสื่อหลายมิติไดทั้งภายในบทเรียนเองและกับขอมูลบนอินเทอรเน็ต 2.8 การดาวนโหลดและการใช FTP ในการถายโอนบทเรียนจากผูสอนสูผูเรียน หรือถายโอนจากเว็บไซตตาง ๆ เพื่อความสะดวกในการเรียน 3. การติ ด ต อ สื่ อ สาร ผู ส อนและผู เ รี ย นสามารถใช อิ น เทอร เ น็ ต ในการเรี ย นและ ติดตอสื่อสารกันไดโดย 3.1 การใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงงานที่ทําแลวไปยังผูสอน หรือผูเรียน จะถามคําถามที่ของใจจากการอานบทเรียนในเว็บไซต 3.2 กลุมผูเรียนดวยกันเองสามารถติดตอสื่อสารกันเพื่อทบทวนบทเรียนหรือ อภิปรายเนื้อหาเรื่องราวที่เรียนไปแลวไดโดยผานทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กลุมสนทนา และ เว็บบอรด


57 3.3 การรับขาวสารขอมูลผานทางรายชื่อสงอีเมล (Mailing Lists) เพื่อความ สะดวกและทันตอเหตุการณ 3.4 การประชุมทางไกลดวยเสียงและภาพ เพื่อความสะดวกในการเชิญวิทยากร มาบรรยายโดยไมตองเสียเวลาเดินทาง หรือเพื่อการสื่อสารระหวางผูสอนและผูเรียนในสถาบัน ตาง ๆ รอบโลก 4. การศึกษาทางไกล สามารถใชไดในรูปแบบ ดังนี้ 4.1 ห อ งเรี ย นเสมื อ น เป น การส ง การสอนจากห อ งเรี ย นหรื อ ห อ งส ง ใน สถาบันการศึกษาไปยังหองเรียนอื่น ๆ ทั้งภายในสถานศึกษาเดียวกันหรือในสถานศึกษาตาง ๆ รอบโลกเพื่อใหสามารถเรียนไดพรอมกัน 4.2 สถาบันการศึกษาเสมือน ในลักษณะมหาวิทยาลัยเสมือนและโรงเรียนเสมือน โดยการใหผูเรียนลงทะเบียนเรียนกับสถาบันการศึกษาที่มีการสอนในรูปแบบนี้ และทําการเรียน และสื่อสารกับผูสอนผานทางอินเทอรเน็ต 5. การเรียนการสอนอินเทอรเน็ต เปนการฝกอบรมเพื่อใหผูใชคอมพิวเตอรสามารถ ใชโปรแกรมตาง ๆ เพื่อทํางานในอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. การประยุกตใชอินเทอรเน็ต เปนการใชอินเทอรเน็ตในกิจกรรมการเรียนการสอน เชน การจัดตั้งโครงการรวมระหวางสถาบันการศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลหรือการสอนในวิชา ตาง ๆ รวมกัน การใหโรงเรียนตาง ๆ สรางเว็บไซตของตนขึ้นมาเพื่อเสนอสารสนเทศแกผูสอนและ ผูเรียนในโรงเรียนนั้น เปนตน ปรัชญนันท นิลสุข (2542: 19–23) ไดกลาวถึง รูปแบบของการใชเว็บเพื่อการสอน เชิงวิศวกรรม ก็จะมีแนวคิดการออกแบบเพื่อการสอนในลักษณะเดียวกับการออกแบบระบบการ สอนทั่วไป แตมีลักษณะที่เนนไปเฉพาะทางวิศวกรรม จึงควรมีกรอบแนวคิดที่ประกอบดวยศาสตร ในสองสาขามาผนวกกันนั่นคือ ศาสตรในมุมมองทางการศึกษากับศาสตรในมุมมองทางดาน วิศวกรรม โดยแบงเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 สวนที่เปนมุมมองดานการศึกษา (Education) มีองคประกอบ 4 ประการ คือ 1. เว็บเบสการสอน (Web-Based Instruction: WBI) ถือเปนเครื่องมืออยางหนึ่งที่จะ นํามาใชในการจัดการเรียนการสอนทางดานการศึกษา เรียกไดวา เว็บชวยสอน แตมีลักษณะที่ แตกตางไปจากคอมพิวเตอรชวยสอนหรือสื่อการสอนแบบอื่น ๆ เพราะเว็บชวยสอนก็มีคุณลักษณะ เฉพาะของตนเอง แตเว็บชวยสอนเองก็อยูในขอบเขตของเวิลดไวดเว็บในมุมมองทางการศึกษา 2. เวิลดไวดเว็บ (World Wide Web: WWW) ซึ่งหมายถึงเครื่องมือในการสืบคน ภายในระบบเครือขายหรืออินเตอรเน็ต ซึ่งในมุมมองทางการศึกษาถือวาเปนระบบสื่อสารทางไกลใน แบบเครือขายประเภทหนึ่ง ที่นักการศึกษาสามารถนํามาใชเพื่อประโยชนทางการศึกษาได แตตัว ระบบไมไดมีเนื้อหาหรือวิธีการเพื่อการสอนโดยตรง ดังนั้นเว็บเบสจึงเปนสวนหนึ่งของเวิลดไวดเว็บ ที่ทําหนาที่ในการจัดการสอนภายในเครือขายนี้


58 3. การศึกษาทางไกล (Distance Education) ในเมื่อเครื่องมือที่ใชเปนระบบเครือขาย ที่เชื่อมโยงไปยังสวนตาง ๆ ที่อยูไกลออกไปไดทั่วโลก นักการศึกษาจึงจัดรูปแบบของการใช เครื่องมือเพื่อจัดการศึกษาในลักษณะนี้วา เปนการจัดการศึกษาทางไกลโดยมีเวิลดไวดเว็บเปนสื่อ ในการนําขอมูลขาวสารไปยังผูรับ 4. การพัฒนาระบบการเรียนการสอน (Instructional Development) เมื่อเราตองการ ใชเว็บเพื่อการเรียนการสอนเชิงวิศวกรรม ในมุมมองของนักเทคโนโลยีการศึกษา เว็บเปนเครื่องมือ หนึ่งที่ตองสื่อสารในระบบเครือขายเวิลดไวดเว็บในลักษณะที่เปนการศึกษาทางไกล แตเว็บจะ กลายเปนสื่อในการเรียนรูไดก็ตอเมื่อไดออกแบบและจัดระบบใหเกิดการเรียนรูขึ้นภายในเว็บนั้น สภาพของเว็บจึงจะเรียกไดวา เว็บการสอน องคประกอบสุดทายในการบงบอกความเปนเว็บเพื่อ การสอนคือ เว็บนั้นตองไดรับการออกแบบและพัฒนาเพื่อใชในการเรียนการสอน สวนที่ 2 สวนที่เปนมุมมองทางดานวิศวกรรม ก็มีองคประกอบ 4 สวนเชนกันคือ 1. เว็บชวยสอน ซึ่งก็จะมีมุมมองในลักษณะที่เปนการใชเว็บ เพื่อนํามาใชในการเรียน การสอนเชนกันกับนักการศึกษา 2. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เปนมุมมองที่เห็นไดวา ลักษณะของเว็บเพื่อใชในการสอนเปนการนําเอาระบบอินเทอรเน็ตมาใชในการสืบคนขอมูล โดยมุง ประเด็นเปนในแนวทางของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่นําคอมพิวเตอรเขามาใชใน การจัดการศึกษาผานระบบอินเทอรเน็ต 3. การเรียนโดยการทําโครงการ (Project-based Learning) การเรียนรูในเชิง วิศวกรรมยอมที่จะเนนใหผูเรียนมีทักษะในเชิงวิศวกรรมในสาขาตาง ๆ ที่แตกตางกันไป แตใน มุมมองของทุกสาขาก็จะเนนในผูเรียนไดเรียนในลักษณะที่ทําจริง รูจริง แกปญหาจริง โดยพยายาม ใหเครื่องมือตาง ๆ ไดฝกผูเรียนอยางแทจริง 4. การจัดการศึกษาในแนวคิดของคอนสตัคชั่นนิสซึ่ม (Constructionism) เปน แนวคิดการจัด การศึกษาในแนวคิดของคอนสตัคติวิซึ่ม (Contructivism) ที่แยกตัวมาใหชัดเจนโดย เนนถึงการสรางที่เปนแนวคิดหลักสอดคลองกับการสอนเชิงวิศวกรรม โดยมุงที่การเรียนรูจะตอง เกิดขึ้นภายในตัวของผูเรียนเอง เปนการเรียนรูในแบบ Learning by doing ของจอหน ดิวอี้ ผูเรียน จะเปนศูนยกลางของการเรียนรู แนวคิดนี้จะจัดการสอนแบบโครงการ (Project-based Learning) โดยสรุ ป เครื อ ข า ยมี ป ระโยชน ใ นทางการศึ ก ษามากในด า นการสนั บ สนุ น การทํ า กิจกรรมตาง ๆ ที่โดยปกติแลวการเรียนการสอนในขั้นเรียนตามปกติไมสามารถทําได การเรียน การสอนบนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต เป น การเป ด โอกาสให ผู เ รี ย นสามารถเรี ย นได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา (Anywhere Anytime) โดยใชเครื่องมือที่สําคัญที่มีอยูในอินเทอรเน็ตและเว็บ ไดแก กระดานขาว ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การสนทนาบนเครือขาย การประชุมทางไกล และการคนหาไฟล เปนตน โดยใหผูเรียนเรียนเนื้อหาจากเว็บไซตที่กําหนดไว การใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงงานที่ทํา แลวไปยังผูสอนหรือผูเรียนจะถามคําถามที่ของใจจากการอานบทเรียนในเว็บไซต การสนทนาสด เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลความรูระหวางผูสอนกับผูเรียนหรือระหวางผูเรียนดวยกันเอง และกลุมผูเรียน


59 ดวยกันเองสามารถติดตอสื่อสารกันเพื่อทบทวนบทเรียนหรืออภิปรายเนื้อหาเรื่องราวที่เรียนไปแลว ไดโดยผานทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส กลุมสนทนาและเว็บบอรด นอกจากนี้การใชบทเรียนบน เครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อการสอนเชิงวิศวกรรม จะจัดการศึกษาตามแนวคิดของทฤษฎีการสราง ความรูดวยตนเองโดยการสรางสรรคชิ้นงาน (Constructionism) จะเนนในผูเรียนไดเรียนในลักษณะ ที่ทําจริง รูจริง แกปญหาจริง โดยพยายามใหเครื่องมือตาง ๆ ไดฝกผูเรียนอยางแทจริง โดยมุงที่ การเรียนรูจะตองเกิดขึ้นภายในตัวของผูเรียนเอง เปนการเรียนรูในแบบ Learning by doing ผูเรียนจะเปนศูนยกลางของการเรียนรู สามารถทําใหผูเรียนไดมีการเรียนรูดวยตนเอง (Self-direct Learning) ซึ่งการเรียนรูดวยตนเองถือเปนเครื่องมือที่สําคัญสําหรับบุคคลในการเรียนรูตลอดชีวิต

4. การจัดการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึกษา 4.1 ความหมายของการอาชีวศึกษา จากการศึกษาความหมายของคําวาอาชีวศึกษา โดยศึกษาจากเอกสารและตําราที่ เกี่ยวของพบวามีความหมายของคําศัพทภาษาอังกฤษหลายคําที่มีความหมายคลายคลึงกับคําวา อาชีวศึกษา หลายคํา เชน Career Education, Vocational Education, Technical Education และ Technical and Vocational Education ซึ่งแตละคํามีความหมายดังนี้ อาชีวศึกษา (Vocational Education) หมายถึง โปรแกรมการศึกษา ซึ่งมีระดับต่ํา กวาระดับวิทยาลัย มีจุดมุงหมายเพื่อฝกอบรมบุคคลออกไปประกอบอาชีพ หรือเพื่อพัฒนาแรงงาน ฝมือที่มีงานทําอยูแลวใหมีแรงงานฝมือระดับสูงขึ้น การศึกษาดังกลาวรวมแขนงวิชาชีพตาง ๆ เหลานี้ คือ การอุตสาหกรรม ชางเทคนิค การเกษตร การพาณิชย และคหกรรม (Good. 1973: 603) เทคนิคศึกษา (Technical Education) หมายถึง การศึกษาที่เนนการเรียนรูดาน เทคนิคหรือการปฏิบัติการทางเทคนิคและทักษะ มีจุดมุงหมายเพื่อฝกฝนผูเรียนใหเปนชางเทคนิค ปกติจัดในระดับที่สูงกวามัธยมศึกษาตอนปลาย แตไมถึงระดับปริญญา (Good. 1973: 554) อาชีพศึกษา (Career Education) หมายถึง กระบวนการที่ชวยใหเด็ก เยาวชนและ ผูใหญไดคนพบและพัฒนาศักยภาพของตนเองเพื่อการทํางาน เปนการจัดการศึกษาวิชาชีพใหแก ผูเรียน ตั้งแตระดับประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษาและการศึกษาผูใหญ เพื่อชวยใหผูเรียนได เขาใจ ไดฝกฝนและไดประสบความสําเร็จในโลกแหงการทํางาน กระบวนการนี้แบงออกเปน 2 สวน คือสวนการพัฒนาอาชีพ และสวนการฝกอาชีพ ซึ่งสวนการพัฒนาอาชีพ ไดแก การใหผูเรียน ไดรับรูโลกแหงการทํางานและสามารถตัดสินใจเลือกอาชีพ สวนการฝกอาชีพ เปนการจัดการศึกษา ใหเชี่ยวชาญเฉพาะอาชีพหรือเฉพาะกลุมใหแกผูเรียน (Ralph; & William. 1974: 7) องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมขององคการสหประชาชาติ (UNESCO. 1974) ไดใหความหมายของ อาชีวศึกษา คือ การศึกษาเพื่อเตรียมบุคลากรดานฝกฝมือระดับคุณวุฒิ ที่ต่ํากวาสําหรับอาชีพหนึ่งหรือกลุมอาชีพชางและงานตาง ๆ อาชีวศึกษาตามปกติจัดขึ้นในระดับ


60 มัธยมศึกษาตอนปลาย จะตองจัดใหมีการศึกษาวิชาชีพพื้นฐานทั่วไป วิชาทฤษฎีสัมพันธและฝก ภาคปฏิบัติเพื่อพัฒนาฝมือที่ตองการสําหรับอาชีพหนึ่งๆ สัดสวนของวิชาตาง ๆ จะแตกตางกัน แต ตามปกติแลวจะตองเนนการฝกภาคปฏิบัติเปนสําคัญ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2543: 13-14) กลาววา การอาชีวศึกษา เปนการศึกษา วิชาชีพสาขาตาง ๆ ที่อาศัยความรูระดับต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งรวมถึงการศึกษาใน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพื่อผลิตกําลังคนตั้งแตระดับแรงงานทั่วไป (Unskilled) ไป จนถึงแรงงานฝมือ (Skilled) นอกจากนี้การอาชีวศึกษายังหมายถึงการมุงผลิตกําลังคน โดยมุงให ผูสําเร็จการศึกษาทางดานอาชีวศึกษาและทางดานเทคนิคศึกษามีคุณภาพที่จะเปนกําลังที่สําคัญใน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใหแกชาติ กําลังคนที่ผลิตโดยการอาชีวศึกษามีหลายระดับ ดังนี้ 1. กําลังคนระดับกึ่งฝมือ 2. กําลังคนระดับชางฝมือ 3. กําลังคนระดับชางเทคนิค 4. กําลังคนระดับชางเทคนิคชั้นสูง การอาชี ว ศึ ก ษาจึ ง เป น การศึ ก ษาที่ แ ตกต า งจากการศึ ก ษาทั่ ว ไป ในแง ที่ ว า เป น การศึกษาเพื่อการทํางานและประกอบอาชีพ ในการจัดการศึกษาจึงตองจัดเพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพ ความสามารถ ความเขาใจ และเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ รวมทั้งการสรางอุปนิสัยที่ดีและจําเปนในการ ทํางาน ธีรวุฒิ บุณยโสภณ (2542: 1) กลาววา การอาชีวศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษา เพื่ อ เตรี ย มทรั พ ยากรมนุ ษ ย ที่ มี คุ ณ ภาพสํ า หรั บ อาชี พ หนึ่ ง หรื อ กลุ ม อาชี พ โดยจั ด เป น ขบวน การศึกษาที่มุงพัฒนาและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลในดานทักษะ หรือความชํานาญงาน (Psychomotor Domain) ดานความรู ความเขาใจ (Cognitive Domain) และดานเจตคติ (Affective Domain) เพื่อใหสามารถประกอบอาชีพที่ตนเลือกเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ วิรัช กุทุมมาศ (2528: 49) กลาววา การอาชีวศึกษา เปนการจัดการศึกษาเพื่อ เตรีย มบุ ค คลให มี อ าชี พ เป น หลั ก ฐานในอนาคตและเพื่ อ ช ว ยเหลื อ ผู ที่มี อ าชี พ อยู แล ว ให มี ค วาม เจริญกาวหนาในอาชีพของตนหรือเปลี่ยนอาชีพใหมที่ดีกวาเดิม สรุปไดวา การอาชีวศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาวิชาชีพใหกับผูเรียน เพื่อ นําไปประกอบอาชีพ โดยมุงใหผูเรียนไดมีความรู ทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ การจัดอาชีวศึกษาควรจะจัดใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงานและสังคม 4.2 ทฤษฎีอาชีวศึกษา นักอาชีวศึกษาคนสําคัญคือ โปรสเซอร และอัลเลน (Prosser; & Allen. 1925) ไดสรุป ทฤษฎีเกี่ยวกับการอาชีวศึกษาไว 16 ขอ ดังนี้ 1. การจั ด การเรี ย นการสอนอาชี ว ศึ ก ษา ต อ งจั ด สภาพให เ หมื อ นกั บ ในสถานที่ ทํางานจริง


61 2. การสอนอาชีวศึกษาตองสอนดวยกระบวนการ เครื่องมือ เครื่องจักร เหมือนกับ ที่ใชในงานจริง ครูตองมีประสบการณในการทํางานจริงมากอน 3. การสอนอาชีว ศึกษาตองฝก ฝนใหผูเ รียนมีนิสัยการคิดแกป ญหาอยางมีร ะบบ และมีทักษะปฏิบัติที่ถูกตองเหมาะสมกับแตละอาชีพ โดยคํานึงถึงระยะเวลาการฝกฝนที่เพียงพอใน การสรางนิสัยดังกลาว 4. การจัดการอาชีวศึกษาตองคํานึงถึงความสนใจ ความถนัด เชาวปญญา ของ ผูเรียนแตละคนและสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองไดสูงสุดตามความสามารถของตนเอง 5. การจัดการอาชีวศึกษาควรมุงเฉพาะกลุมผูสนใจหรือผูที่มีความสามารถที่จะใช วิชาชีพที่ไดเรียนมาในการพัฒนางานอาชีพของตนเองไดเทานั้น 6. ตองมีการฝกฝนบอยครั้งและมากเพียงพอที่จะสรางวิสัยการคิดและทักษะพื้นฐาน ที่จําเปนพรอมกับการฝกทักษะทางอาชีพ 7. ครูผูสอนอาชีวศึกษาควรมีประสบการณการทํางานจริงในอาชีพที่ตนสอนมากอน ทั้งทางดานทักษะและความรู 8. การจั ด การอาชี ว ศึ ก ษาต อ งสามารถสร า งคนให มี ค วามสามารถ บุ ค ลิ ก ภาพ คุณธรรม ที่สอดคลองกับความตองการของผูจางงาน 9. การจัดการอาชีวศึกษาตองคํานึงถึงความตองการของตลาดแรงงาน ถึงแมวาการ ฝกอาชีพบางประเภทจะนาสนใจ แตไมควรใหความสําคัญไปกวาความตองการของสังคมและชุมชน 10. การฝ ก ฝนผู เ รี ย นอาชี ว ศึ ก ษา ต อ งฝ ก ในสภาพที่ เ ป น จริ ง ไม ค วรฝ ก ด ว ย แบบฝกหัดจําลอง 11. ขอมูลความรูที่เชื่อถือไดสําหรับการฝกฝนอาชีพ ตองมาจากประสบการณของผู รอบรูในอาชีพนั้น ๆ เทานั้น 12. ในทุก ๆ อาชีพตางก็มีเนื้อหาความรูเปนการเฉพาะของตนเอง ซึ่งไมมีในอาชีพ อื่น ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนควรคํานึงถึงเนื้อหาวิชาตาง ๆ ที่นํามาสอน ตองใหสอดคลอง และใชประโยชนในอาชีพนั้น ๆ 13. การจัดการอาชีวศึกษาที่จะไดผลดีตอสังคม ควรจัดใหตรงตามความตองการของ แตละคนหรือแตละกลุมในเวลาที่เขาตองการ เพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูไปใชประโยชนได เต็มที่ทันตอความตองการ 14. การจั ด การอาชี ว ศึ กษา ควรใหค วามสํ า คั ญ กั บ ความสนใจ ความถนัด และ ความสามารถของแตละคน ที่เหมาะสมกับการเรียนในแตละอาชีพ มากกวาคะแนน หรือระดับ IQ. ของเขาจึงควรมีกระบวนการแนะแนวที่เหมาะสม 15. โครงสรางของการจัดการอาชีวศึกษา เชน หลักสูตรและการสอน ควรมีความ ยืดหยุนและปรับตัวเองได ไมควรยึดโครงสรางที่แข็งและไมปรับตัว เพราะอาชีพและเทคโนโลยีจะ มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ


62 16. การจัดการอาชีวศึกษาเปนการจัดการศึกษาที่มีตนทุนตอหัวสูงกวาสามัญศึกษา อยางมาก ดังนี้การจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ ผูจัดควรมีความพรอมทางเศรษฐกิจที่เพียงพอ มิฉะนั้นจะเปนการลงทุนที่ไมคุมคา 4.3 หลักการเรียนการสอนอาชีวศึกษา กระบวนการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ประกอบดวยหลักสําคัญ 9 ประการ คือ (ธวัช วงษสุวรรณ. 2535: 424-425) 1. การเรี ย นการสอนอาชี ว ศึ ก ษา เป น การสร า งและธํ า รงรั ก ษาอาชี พ ต า ง ๆ (Established and Maintained) บนพื้นฐานของความปรารถนาตองการในอาชีพนั้น ๆ 2. การเรียนการสอนอาชีวศึกษา จะบังเกิดผลตาง ๆ ตามความตองการของผูเรียน ทุก ๆ คนไดนั้น ก็ขึ้นอยูกับกําลังความสามารถหรือธรรมชาติที่มีอยูในตัวเองของแตละบุคคล ที่จะ สามารถนําออกมาใชใหเกิดประโยชน 3. เงื่อนไขหรือสถานการณตาง ๆ (Conditions) ที่จัดขึ้นในการเรียนการสอน อาชีวศึกษานั้น จะตองจัดใหสอดคลองสัมพันธหรือเสมือนจริงกับสถานการณตาง ๆ ที่มีอยูในการ ประกอบอาชีพนั้น ๆ อยางดีที่สุด 4. งานที่แทจริง (Real Jobs) คือ การตระเตรียมหรือจัดใหมีการปฏิบัติทดลองที่ดี ที่สุด (The Best Laboratory) สําหรับการอาชีวศึกษา 5. มาตรฐานในการอาชีวศึกษา (The Standards in Vocational Education) จะตอง อยูในระดับที่สูงกวามาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการประกอบอาชีพ 6. โปรแกรมการอาชีวศึกษาตาง ๆ นั้น จะตองมีหลักสูตรสั้น ๆ และหลักสูตรเขม (Short, Intensive Course) และหลักสูตรเต็มเวลาตลอดเทอม (Long-term Course) 7. โปรแกรมการเรียนการสอนอาชีว ศึ กษา จะตองมี ลั กษณะสํ าคัญคือ สามารถ เปลี่ยนแปลงหรือยืดหยุนได (Flexibilities) 8. มีความรูและขาวสารขอมูลทางเทคนิคหรือวิชาการ (Technical Information) อยู เปนอันมาก ที่เปนความตองการในการประกอบสัมมาอาชีพเพื่อประโยชนแกสังคม 9. การเรียนการสอนอาชีวศึกษานั้น เปนการใหทั้งความรูหรือขาวสารขอมูลและ กิจกรรมตาง ๆ ซึ่งเปนการวางแผนเพื่อที่จะคุมครองปองกัน และธํารงรักษาชีวิตมนุษย สําหรับแนวการสอนวิชาชีพซึ่งครูอาชีวศึกษาสามารถนําไปปฏิบัติในงานการเรียนการ สอนประกอบไปดวย 1. ต อ งทํ า การสอนให ส อดคล อ งต อ ทั ก ษะที่ จ ะฝ ก หั ด เพื่ อ พั ฒ นาความสามารถ ทางดานอาชีพ 2. วิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ไดแก วิทยาศาสตร, คณิตศาสตร และภาษาอังกฤษ ตองสอนควบคูกับวิชาชีพและในขณะเดียวกันก็เนนจริยธรรมและคุณธรรมของวิชาชีพตลอดจน ความรูเรื่องงานอุตสาหกรรมสมัยใหม


63 3. สนั บ สนุ น โครงการต า ง ๆ ที่ จ ะพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมที่ จ ะเป น ผลต อ การพั ฒ นา ประเทศ 4. ให ก ารศึ ก ษาแก ผู เ รี ย นในการที่ จ ะหาความรู ทั ก ษะ และทั ศ นคติ ที่ ดี ท าง เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชน 5. ปลูกฝงทัศนคติและความพึงพอใจในวิชาชีพของตนเองและพรอมที่จะเสียสงเสริม ใหเกิดความกาวหนากับคนรุนหลังตอไป (กฤษมันต วัฒนาณรงค. 2536: 31) จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอนทางดานอาชีวศึกษา สรุปไดวาการจัดการศึกษาทางดานอาชีวศึกษา เปนการจัดการศึกษาเพื่อฝกฝนและพัฒนากําลังคน ให เ ป น ช า งฝ มื อ และช า งเทคนิ ค ที่ มี คุ ณ ภาพ โดยมี เ ป า หมายในการผลิ ต แรงงานที่ มี ค วามรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ การเรียนทางดานอาชีวศึกษาจะใหผูเรียนเรียนรู จากประสบการณจากการปฏิบัติงานจริง ๆ คือ การเรียนรูโดยการกระทํา (Learning by Doing) ซึ่ง เน น ความสํ า คั ญ ด า นทั ก ษะมากกว า ด า นสติ ป ญ ญา และด า นเจตคติ ดั ง นั้ น การสอนทางด า น อาชีวศึกษาผูสอนตองทําการสอนใหสอดคลองตอทักษะที่จะฝกหัดเพื่อพัฒนาความสามารถทางดาน อาชีพ

5. ทักษะปฏิบัติ 5.1 ความหมายของทักษะปฏิบัติ เมื่อศึกษาถึงความหมายของคําวาทักษะปฏิบัติ โดยศึกษาจากเอกสารและตําราที่ เกี่ยวของพบวามีความเกี่ยวของกับความหมายของคําศัพทหลายคํา ไดแกคําวา Skill, Motor Skill, Motor Learning, Practical Skill, Performance, Performance Skill และ Psychomotor Skill ไดนทอน (Deighton. 1971) ไดใหความหมายของคําวา ทักษะ (Skill) วาหมายถึง ระดับของความชํานาญที่ไดรับผลสําเร็จในการทํางานหรือกลุมของงาน เชน ทักษะของความชํานาญ ในการขับเครื่องบิน และความหมายของทักษะนี้ มีขอตกลงวา จะตองเปนทักษะที่เกี่ยวของใน กิจกรรมที่มีความซับซอนมากกวาความสามารถเบื้องตน ตัวอยาง เชน ในการยิงปนจะตองขึ้นอยู กับความสามารถพื้นฐานของการบังคับมือ และการรวมกันทํางาน ของอวัยวะหลาย ๆ สวน ซิลเวียส และเคอรรี่ (Silvius; & Curry. 1971) กลาววา ทักษะ (Skill) คือ ความสามารถทางกายและทางความคิดที่บุคคลเรียนแลว และทําไดโดยงายและแมนยํา หรือไดรับ จากการฝกจากอุตสาหกรรม หรือสถาบันการศึกษาวิชาชีพ โดยการทําซ้ํา ๆ อยางมีระบบ กาเย, บริกส และเวเกอร (Gagne'; Briggs; & Wager. 1988: 20) กลาววา ทักษะ ปฏิบัติ (Skill) คือ การจัดลําดับการดําเนินงานจากการผสมผสานการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของ รางกายเขาดวยกันเพื่อใหเกิดการปฏิบัติและผลงาน เปนการทํางานของกลไกทางรางกายรวมกับ การสั่งงานของสมอง ระบบประสาท และกลามเนื้อรวมกันเปนอยางดี ทักษะจะแสดงออกมาให


64 ทราบได จากการแสดงความสามารถในการปฏิบัติใหเกิดผลผลิตที่ตอบสนองความตองการ ดวย การเคลื่อนไหวกลไกทางรางกายอยางตอเนื่อง ครอสเมียรและริปเปล (Klausmeier; & Ripple. 1971) ใหความหมายของทักษะไววา ทักษะหมายถึง ระดับของความคลองแคลวในการประกอบกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งใหดําเนินไป อยางตอเนื่องตามลําดับ ผูที่มีความสามารถทางทักษะสูง ไดแกผูที่มีลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. สามารถประกอบกิจกรรมนั้น ๆ ใหสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ แมวาจะมีความ ตั้งใจในการกระทํานั้นแตเพียงนอยก็ตาม 2. สามารถแยกแยะ และมองเห็นแนวทางที่จะทําไดดีกวา 3. สามารถรูผลหรือตรวจสอบความถูกตองไดเร็วและไมผิดพลาด 4. ทําไดเร็วและมีการประสานงานกันดี 5. มีความคงที่ คือทําไดดีสม่ําเสมอ แมวาจะอยูภายใตภาวะแวดลอมตาง ๆ กัน กาเย (Gagne'. 1979) ไดใหความหมายของการปฏิบัติ (Performance) วาการปฏิบัติ ของทั ก ษะปฏิ บั ติ จะถูก สะท อ นออกมาในการกระทํ า ของการเคลื่ อ นไหวร า งกายที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ กิจกรรมของกลามเนื้อ การกระทําที่สังเกตไดจะถูกทําใหเปนมาตรฐานในรูปของความรวดเร็ว ความแมนยํา ความแรง หรือความราบรื่นในการจัดการ ซิงเกอร (Singer. 1982) กลาววา การเรียนรูในการปฏิบัติ (Motor Learning) หมายถึ ง การเรี ย นรู ทั ก ษะพื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ การเคลื่ อ นไหว รวมไปถึ ง การสะท อ นหรื อ การส ง ความเห็นของการเปลี่ยนแปลงที่มีความสัมพันธอยางถาวรในการปฏิบัติ หรือผลของพฤติกรรมที่มี ศักยภาพจากการปฏิบัติ และประสบการณในอดีต สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 9) กลาววา ทักษะ (Skill) ในความหมายทั่วไป หมายถึง ความสามารถ ความชํานาญทางกลามเนื้อ ของบุคคลซึ่งเรียกวา ทักษะปฏิบัติ (Motor Skill) หรือ ทักษะทางกลามเนื้อ (Psychomotor Skill) ทักษะทางกลามเนื้อ หรือทักษะปฏิบัติ เปนลักษณะ พฤติกรรมที่เปนผลผลิตจากการเรียนรูรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเปนการเรียนรูทักษะ ความชํานาญในโรง ฝกงาน เชน การตะไบ สกัด เลื่อย การใชเครื่องจักรกล การเชื่อมโลหะ การซอมเครื่องยนต การ ประกอบวงจร ฯลฯ ลวนเปนพฤติกรรมที่ตองแสดงออกของกลามเนื้อ ในดานของความถูกตอง ความคลองแคลว ความเชี่ยวชาญและชํานาญการ ซึ่งตองอาศัยการฝกหัดที่เหมาะสม จากความหมายที่กลาวมาขางตนพอสรุปไดวา ทักษะปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถ ความชํานาญทางกลามเนื้อ ที่กระทําออกมาอยางถูกตอง คลองแคลวและรวดเร็ว ซึ่งตองอาศัย การฝกหัดอยางเหมาะสม ทําใหเกิดเปนความชํานาญในการปฏิบัติงาน 5.2 ความสําคัญของการสอนทักษะปฏิบัติ การสอนทักษะปฏิบัติเปนการเรียนการสอนอยางหนึ่งซึ่งชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จากการปฏิบัติไดดวยตนเอง ไดฝกทักษะเพิ่มเติมจากเนื้อหา โดยมีครูเปนผูแนะนําชวยเพิ่มพูน ความรูใหแกนักเรียน การฝกปฏิบัติเฉพาะทางนั้นจะอาศัยเฉพาะแบบเรียนและการฝกปฏิบัติใน


65 แบบเรียนเพียงอยางเดียวนับวายังนอยเกินไป ทั้งจะไมชวยใหนักเรียนมีความสามารถในทักษะ เฉพาะทางไดเพียงพอ ดังนั้นจึงมีความสําคัญที่ครูจะตองสรางการฝกปฏิบัติเฉพาะทางขึ้นสําหรับ ฝกเพิ่มเติมเพื่อชวยใหนักเรียนมีความคลองแคลวในทักษะเฉพาะทาง ความสําคัญของการสอนทักษะปฏิบัติ ไพฑูรย สินรารัตน (2522: 129-130) ไดแยก ออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1. ความสําคัญในแงของการศึกษา ในแงของการศึกษา การสอนทักษะปฏิบัติมีความสําคัญเพราะทําใหการศึกษา เปนการศึกษาที่สมบูรณ เปนการศึกษาที่ผสมผสานกันไประหวางทฤษฎีและปฏิบัติ โดยปกติการ สอนแบบบรรยายจะเปนแตเพียงการบอกหรือการสอนดวยคําพูดเทานั้น ในการอภิปรายก็เปนการ ซักถามดวยคําพูดอีกเชนกัน แตการสอนทักษะปฏิบัติเปนการสอนโดยใหผูเรียนเรียนจากของจริง และลงมือทําดวยตนเอง ผูเรียนจะรูดวยตนเองวาสิ่งที่เรียนนั้นเปนอยางไร มีปญหาอะไร และใน บางกรณีก็จะแกปญหาดวยตนเองดวยพรอมกันไป แลวแตรูปแบบของการฝกปฏิบัติ เปนการให ประสบการณตรง (Direct Experiences) กับผูเรียน 2. ความสําคัญในแงของผูเรียนผูสอน ในแง ข องผู ส อน การสอนทั ก ษะปฏิ บั ติ จ ะช ว ยให ผู เ รี ย นเรี ย นได อ ย า งดี มี ประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงคในแงของการนําไปใชในขณะที่ผูสอนไดมีโอกาสเห็นผลการสอน ของตนในทันทีทันวา สอนแลวนิสิตนักศึกษาสามารถทําไดจริงหรือเปลา ไดเรียนรูจริงหรือไม นอกจากนั้นผูเรียนและผูสอนยังมีโอกาสไดใหขอติชม (Feedback) ทันทีทันใดซึ่งจะสงผลใหการ เรียนรูดีขึ้น และ รัชนี ศรีไพรวรรณ (2525: 56) ไดกลาวถึงความสําคัญของการสอนทักษะ ปฏิบัติวา 1. ทําใหผูเรียนเขาใจบทเรียนไดดีขึ้นเพราะการฝกทักษะปฏิบัติจะเปนเครื่องมือ ทบทวนความรูที่ผูเรียนไดเรียนและทําใหเกิดความชํานาญ คลองแคลวในเนื้อหาวิชาเหลานั้นยิ่งขึ้น 2. ทําใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียน ซึ่งจะชวยใหครูสามารถ ปรับปรุงเนื้อหา วิธีสอบและกิจกรรมในแตละบทเรียน ตลอดจนสามารถชวยผูเรียนใหเรียนไดดีที่สุด ตามความสามารถ 3. ฝกใหผูเรียนมีความเชื่อมั่น และสามารถประเมินผลงานของตนเองได 4. ฝกใหผูเรียนไดทํางานตามลําพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย สรุปไดวา การสอนทักษะปฏิบัติ มีความสําคัญในแงของการฝกฝนทักษะตาง ๆ พรอมกันไป เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนรูวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ในขณะเดียวกันผูสอนก็ จะไดพบดวยวา สิ่งที่ตนเองสอนนั้นนักเรียนสามารถจะปฏิบัติทําไดมากนอยเพียงใด


66 5.3 จุดมุงหมายของการสอนทักษะปฏิบัติ ไพฑูรย สินรารัตน (2522: 130-131) และสุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 30) กลาววา หัวใจของการสอนทักษะปฏิบัติ คือ การใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติในสิ่งที่เรียนนั้น แลวผูเรียนจะรูได ในทันทีวา สิ่งที่เขาทํานั้นเปนอยางไร การสอนแบบฝกปฏิบัติมีจุดมุงหมายไดอีกหลายประการ เชน 1. ใหผูเรียนรูจักและคุนเคยกับเครื่องมือและอุปกรณที่สําคัญ 2. ใหผูเรียนไดคุนเคยกับการวางแผนเตรียมการและทดลองใชเครื่องมือปฏิบัติการ และการฝกปฏิบัติตาง ๆ 3. เพื่อฝกฝนและพั ฒนาความสามารถในการสังเกต รวบรวมและตีค วามขอมูล ตาง ๆ ที่ไดจากหองปฏิบัติการหรือฝกปฏิบัติตาง ๆ 4. เพื่อฝกฝนและพัฒนาความสามารถในการเสนอรายงานผลการฝกปฏิบัติที่ดีและมี ความเหมาะสม 5. เพื่ อ พั ฒ นาความสามารถของผู เ รี ย นในการที่ จ ะรวบรวมและสั ม พั น ธ แ นวคิ ด หลักการและความรูตาง ๆ เขาดวยกัน เพื่อมองเห็นภาพรวมของวิชานั้น 6. เพื่ อ ประยุ ก ต ห ลั ก การทั่ ว ไปเข า กั บ สถานการณ จริ ง ในห อ งทดลองหรื อ ในการ ปฏิบัติภาคสนามอื่น ๆ 7. เพื่อใหเห็นปญหาและพิจารณาถึงทางเลือกในการดําเนินงานปฏิบัติสิ่งตาง ๆ 8. เพื่อใหรูจักวิเคราะหผลของการฝกตอสมมติฐานที่ตั้งไวและวิเคราะหผลที่เกิด ขึ้นกับการปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวัน 9. เพื่อสงเสริมและพัฒนาทัศนคติที่ดี และกอใหเกิดความภูมิใจในงานอาชีพดาน ตาง ๆ 5.4 ทฤษฎีการเรียนรูทักษะปฏิบัติ ทฤษฎีการเรียนรูที่จะกลาวถึงในที่นี้ ไดแก ทฤษฎีในกลุมพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีของ นักจิตวิทยากลุมเกสตอลท ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) แนวทฤษฎีของ นักจิตวิทยาสาขาไซเบอรเนติก ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีลําดับขั้นตอน (Hierarchical Control Model) และทฤษฎีการเรียนรูการเชื่อมโยงแบบตอเนื่อง (Chaining) ของกาเย (Gagne') ทฤษฎีการ เรียนรูดังกลาวมีประเด็นสําคัญ และการนํามาประยุกตสูการสอนทักษะปฏิบัติได ดังรายละเอียด ตอไปนี้


67 ตาราง 1 การเชื่อมโยงประเด็นสําคัญของทฤษฎีประยุกตสูการสอนทักษะปฏิบัติ ทฤษฎี ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม

ประเด็นสําคัญ การประยุกตสูการสอนทักษะปฏิบัติ 1. ก า ร เ รี ย น รู เ กิ ด จ า ก ก า ร 1. ครูสามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เชื่อมโยงสิ่งเรากับการตอบสนองที่ ทั ก ษะปฏิ บั ติ ไ ด โ ดยการจั ด สภาพการณ ที่ เหมาะสม เหมาะสม คือ สภาพการณที่ใกลเคียงกับการ ทํางานในโรงงานหรือสถานประกอบอาชีพ และไดฝก การทํางานโดยใช วัสดุอุป กรณที่ ใกล เ คี ย งกั บ การทํ า งานในการประกอบ อาชีพจริง ๆ 2. การเรี ย นรูเ กิ ดได จ ากการวาง 2. การเรี ย นรู ทั ก ษะปฏิ บั ติ เ กิ ด ขึ้ น ได เ มื่ อ เงื่อ นไข และการใหการเสริม แรง ผูเรียนไดเห็นแบบอยางการปฏิบัติงานนั้น ๆ แบบตาง ๆ และไดรั บ การเสริม แรงภายหลังที่ ผูเรี ย นมี พฤติกรรมเลียนแบบอยางนั้น 3. การเรี ย นรู จ ะเกิ ด ได ดี แ ละมี 3. ครู ส ามารถทํ า ให ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ความคงทนสูง เมื่อผูเรียนมีโอกาส ทักษะปฏิบัติไดดี และมีความคงทนของการ ไดทําพฤติกรรมนั้นซ้ํา ๆ หลาย ๆ เรียนรูสูง เมื่อครูเปดโอกาสใหผูเรียนไดฝก ครั้ง ทํางานทักษะปฏิบัตินั้นซ้ํา ๆ หลาย ๆ ครั้ง

ทฤษฎี ข องนั ก จิ ต วิ ท ยา 4. ประสิ ท ธิ ภ าพของการเรี ย นรู 4. การสอนทักษะปฏิ บัติจะใหความสํ า คัญ กลุมเกสตอลท ขึ้นอยูกับธรรมชาติของการเรียนรู กับการกระทํารายบุคคลมากกวาการทํางาน สวนบุคคล เปนกลุม ดังนั้นครูจะตองจัดสภาพการเรียน การสอนโดยคํ า นึ ง ถึ ง ความแตกต า งของ ผูเรียนเฉพาะของผูเรียนเปนรายบุคคล ท ฤ ษ ฎี ป ร ะ ม ว ล 5. การเรียนรูเกิดจากกระบวนการ 5. ครู ต อ งให ค วามสนใจกั บ วิ ธี ก ารเสนอ สารสนเทศ (Information ที่ เ กี่ ย วกั บ ความตั้ ง ใจ ความจํ า เทคนิคการจัดระบบขอมูลใหกับผูเรียนอยาง Processing) และกระบวนการภายในอื่ น ๆ มีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูเรียนเกิดความคิด เชื่อมโยงกับการจัดระบบและการ รวบยอดเกีย่ วกับการทํางาน ใ ห ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ข า ว ส า ร ความสามารถในการรับรูและการ ทํางาน


68 ตาราง 1 (ตอ) ทฤษฎี ประเด็นสําคัญ การประยุกตสูการสอนทักษะปฏิบัติ ทฤษฎี ข องนั ก จิ ต วิ ท ยา 6. การใหผลยอนกลับมีอิทธิพลตอ 6. การฝ ก ฝนการทํ า งานทั ก ษะปฏิ บั ติ โ ดย การเกิดการเรียนรูและทํางาน ไดรับขอมูลยอนกลับเปนระยะ ๆ จะทํา ให สาขาไซเบอรเนติก ผู เ รี ย นเกิ ด ความชํ า นาญในการทํ า งาน ดั ง นั้ น ครู จ ะต อ งจั ด กิ จ กรรมให ผู เ รี ย นได ฝ ก ฝนงานที่ ไ ด รั บ การสอน โดยครู จ ะต อ ง จัดการใหขอมูลยอนกลับเปนระยะ ๆ และ ฝ ก ให ผู เ รี ย นรู จั ก การสั ง เกต และให ผ ล ยอนกลับดวยตนเองเพื่อนําไปปรับปรุงการ ทํ า งานในครั้ ง ต อ ไปจนสามารถทํ า งานได อยางชํานาญ 7. การทํ า งานที่ เ ป น ทั ก ษะขั้ น สู ง ต อ งเกิ ด จากการได เ รี ย นรู ก าร ทํางานทักษะพื้นฐานแลวรูจักเลือก เอาทั ก ษะพื้ น ฐานที่ รู แ ล ว มาปรั บ เพื่ อ การทํ า งานในทั ก ษะขั้ น สู ง ตอไป

7. ในการสอนทักษะปฏิบัติ ครูตองวิเคราะห งานโดยการแตกรายละเอียดของงานที่จะให ผู เ รี ย นปฏิ บั ติ อ อกเป น ทั ก ษะย อ ย แล ว เรียงลําดับงานทักษะยอยเหลานั้นจากงาย ไปหายาก แล ว สอนงานทั ก ษะย อ ยที่ ง า ย กอน และการประเมิน ผลการปฏิบัติทัก ษะ ยอยของผูเรียน ทักษะยอยใดที่ผูเรียนยังไม ประสบผลสําเร็จใหผูเรียนกลับไปฝกใหมจน ประสบผลสําเร็จกอน

ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู ข อง 8. ทั ก ษ ะ ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว Gagne' (1985) ประกอบด ว ยขั้ น ตอนเป น ลํ า ดั บ ตอเนื่องกัน ในแตขั้ น ตอนตอ งใช ทั ก ษะย อ ยเป น จํ า นวนมาก การ เรี ย นรู ทั ก ษะการเคลื่ อ นไหวจะ เกิ ด ขึ้ น ได ง า ยและรวดเร็ ว เมื่ อ องคประกอบของทักษะรวมเปนสิ่ง ที่ผูเรียนไดเรียนรูมาแลวเปนอยาง ดี

8. ในการสอนทั ก ษะปฏิ บั ติ ค รู จ ะต อ ง วิ เ คราะห ง านย อ ยและเรี ย งลํ า ดั บ งานย อ ย เหล า นั้ น ตามลํ า ดั บ ขั้ น ตอน ในขณะสอน จ ะ ต อ ง ส อ น ใ ห ง า น ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ สอดคลอ งกับ ความรู ง านเดิม ที่ ผูเ รีย นมี อ ยู และครูควรตรวจสอบระดับความรูพื้นฐานที่ ผูเรียนมีอยูกอนทําการสอน

ทฤษฎี ก ารเรีย นรู อย า งมี ลํ า ดั บ ขั้ น ต อ น (Hierarchical Control Model)

ที่มา: นวลจิตต เชาวกีรติพงศ.2534: 51-53; อางอิงจาก Singer. 1982. The Learning of Motor Skills.


69 5.5 ขอควรคํานึงในการสอนทักษะปฏิบัติ อาภรณ ใจเที่ยง (2546: 66-70) ไดกลาวถึงขอควรคํานึงในการสอนทักษะปฏิบัติ จําเปนตองคํานึงตอไปนี้ 1. สถานการณในการฝก ถาใชสถานการณที่เปนจริงได ก็ควรใชสถานการณจริง แต ถ า เป น สถานการณ จํ า ลองต อ งใช ส ถานการณ จํ า ลองในการฝ ก ทั ก ษะบางอย า งควรสร า ง สถานการณใหเหมือนสถานการณจริงอยางที่สุด 2. ผูเรียนควรมีโอกาสไดฝกฝนในสถานการณหลาย ๆ แบบเปนการเพิ่มพูนความ แมนยํา คลองแคลวในการฝกทักษะนั้น 3. การสาธิตใหดูกอนหรือการใหเห็นขั้นตอนการปฏิบัติจากภาพยนตร เปนการ ประหยัดเวลาและไมทําใหเขาใจผิด 4. ใหผูเรียนลงมือฝกหัดทันทีหลังจากที่ไดดูจากการสาธิตแลว การสาธิตจะเสียเวลา เปลาถาไมมีโอกาสไดฝกหัดทดลองทํา 5. ผูฝกทักษะตองไดรับคําแนะนํา เพื่อปรับปรุงพัฒนาทักษะนั้น ๆ ถึงแมวาผูเรียน จะสามารถสังเกตผลที่เกิดขึ้นดวยตนเองก็ตาม การตักเตือนชี้แนะใหเห็นขอบกพรองและแนว ปฏิบัติที่ดี ยังมีความจําเปนมากเพราะผูเรียนอาจประเมินผลการปฏิบัติของตนผิดพลาด 6. การใหคําแนะนําในขณะฝกหัด ผูสอนตองใจเย็นไมวิจารณ ไมดุดา ไมทําให ผู เ รี ย น เกิ ด ความตึ ง เครี ย ด หวาดกลั ว ควรยั่ ว ยุ ใ ห ผู เ รี ย นเกิ ด ความพยายามที่ จ ะลองสร า ง บรรยากาศใหเปนบรรยากาศที่สบายใจ 7. ตองคํานึงถึงชวงเวลาฝก การเรียนทักษะตองฝกใหเหมาะสมกับเวลา ตองมีการ เวนชวงเวลา ถาฝกหัดแบบตอเนื่องอาจเมื่อยลาหรือทําใหเกิดความเบื่อหนายได สรุปไดวา ทักษะปฏิบัติจะเกิดขึ้นไดดวยการปฏิบัติ ในหลักของการปฏิบัตินั้น การ ปฏิบัติแบบแบงระยะเวลาปฏิบัติใหมีเวลาหยุดพักเปนชวง ๆ จะกอใหเกิดผลดีกวาการปฏิบัติไมมี การหยุดพักและการรูผลของการปฏิบัติจะสงผลใหเกิดทักษะไดดี การปฏิบัติตามขั้นตอนจากการ สังเกตการสาธิตจากผูสอนหรือภาพยนตร จะเปนการประหยัดเวลาไดดีกวาการฟงอธิบายแตเพียง อยางเดียว ดังนั้นในการสอนทักษะจึงตองเนนการลงมือฝกปฏิบัติอยางมีหลักการเปนสําคัญ 5.6 รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ รู ป แบบการเรี ย นการสอนเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะปฏิ บั ติ เป น รู ป แบบที่ มุ ง ช ว ยพั ฒ นา ความสามารถของผูเรียนในดานการปฏิบัติ การกระทํา หรือการแสดงออกตาง ๆ ซึ่งจําเปนตองใช หลักการ วิธีการ ที่แตกตางไปจากการพัฒนาทางดานจิตพิสัยหรือพุทธพิสัย (ทิศนา แขมมณี. 2547: 243) ซึ่งมีนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน ไดนําเสนอรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ ปฏิบัติดังนี้ ซิมพซัน (Simpson. 1972) กลาววา ทักษะปฏิบัตินี้สามารถพัฒนาไดดวยการฝกฝน ซึ่งหากไดรับการฝกฝนที่ดีแลว จะเกิดความถูกตอง ความคลองแคลว ความเชี่ยวชาญชํานาญการ


70 และความคงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระทําสามารถสังเกตไดจากความรวดเร็ว ความ แมนยํา ความแรงหรือความราบรื่นในการจัดการ ซึ่งกระบวนการเรี ยนการสอนของรูปแบบมี ทั้งหมด 7 ขั้น คือ 1. ขั้นการรับรู (Perception) เปนขั้นการใหผูเรียนรับรูในสิ่งที่จะทํา โดยการให ผูเรียนสังเกตการณทํางานนั้นอยางตั้งใจ 2. ขั้นการเตรียมความพรอม (Readiness) เปนขั้นการปรับตัวใหพรอมเพื่อการ ทํางานหรือแสดงพฤติกรรมนั้น ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ และอารมณ โดยการปรับตัวใหพรอมที่ จะทําการเคลื่อนไหวหรือแสดงทักษะนั้น ๆ และมีจิตใจและสภาวะอารมณที่ดีตอการที่จะทําหรือ แสดงทักษะนั้น ๆ 3. ขั้นการสนองตอบภายใตการควบคุม (Guided Response) เปนขั้นที่ใหโอกาสแก ผูเรียนในการตอบสนองตอสิ่งที่รับรู ซึ่งอาจใชวิธีการใหผูเรียนเลียนแบบการกระทํา หรือการแสดง ทักษะนั้น หรืออาจใชวิธีการใหผูเรียนลองผิดลองถูก (Trial and Error) จนกระทั่งสามารถ ตอบสนองไดอยางถูกตอง 4. ขั้นการใหลงมือกระทําจนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) เปนขั้นที่ชวยใหผูเรียนประสบผลสําเร็จในการปฏิบัติ และเกิดความเชื่อมั่นในการทําสิ่งนั้น ๆ 5. ขั้นการกระทําอยางชํานาญ (Complex Overt Response) เปนขั้นที่ชวยใหผูเรียน ไดฝกฝนการกระทํานั้น ๆ จนผูเรียนสามารถทําไดอยางคลองแคลว ชํานาญเปนไปโดยอัตโนมัติ และดวยความเชื่อมั่นในตนเอง 6. ขั้นการปรับปรุงและประยุกตใช (Adaptation) เปนขั้นที่ชวยใหผูเรียนปรับปรุง ทักษะหรือการปฏิบัติของตนใหดียิ่งขึ้น และประยุกตใชทักษะที่ตนไดรับการพัฒนาในสถานการณ ตาง ๆ 7. ขั้นการคิดริเริ่ม (Origination) เมื่อผูเรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อยางชํานาญ และสามารถประยุกตใชในสถานการณที่หลากหลายแลว ผูปฏิบัติจะเริ่มเกิดความคิด ใหม ๆ ในการกระทําหรือปรับการกระทํานั้นใหเปนไปตามที่ตนตองการ แฮรโรว (Harrow. 1972: 96-99) ไดจัดลําดับขั้นของการเรียนรูทางดานทักษะปฏิบัติ โดยเริ่มจากระดับที่ซับซอนนอยไปจนถึงระดับที่มีความซับซอนมาก ซึ่งกระบวนการเรียนการสอน ของรูปแบบมีทั้งหมด 5 ขั้น คือ 1. ขั้นการเลียนแบบ เปนขั้นที่ใหผูเรียนสังเกตการกระทําที่ตองการใหผูเรียนทําได ซึ่งผูเรียนยอมจะรับรูหรือสังเกตเห็นรายละเอียดตาง ๆ ไดไมครบถวน แตอยางนอยผูเรียนจะ สามารถบอกไดวา ขั้นตอนหลักของการกระทํานั้น ๆ มีอะไรบาง 2. ขั้นการลงมือกระทําตามคําสั่ง เมื่อผูเรียนไดเห็นและสามารถบอกขั้นตอนของ การกระทําที่ตองการเรียนรูแลว ใหผูเรียนลงมือทําโดยไมมีแบบอยางใหเห็น ผูเรียนอาจลงมือทํา ตามคําสั่งของผูสอน หรือทําตามคําสั่งที่ผูสอนเขียนไวในคูมือก็ได การลงมือปฏิบัติตามคําสั่งนี้


71 แมผูเรียนจะยังไมสามารถทําไดอยางสมบูรณ แตอยางนอยผูเรียนก็ไดประสบการณในการลงมือทํา และคนพบปญหาตาง ๆ ซึ่งชวยใหเกิดการเรียนรู และการปรับการกระทําใหถูกตองสมบูรณขึ้น 3. ขั้นการกระทําอยางถูกตองสมบูรณ (Precision) ขั้นนี้เปนขั้นที่ผูเรียนจะตอง ฝกฝนจนสามารถทําสิ่งนั้น ๆ ไดอยางถูกตองสมบูรณ โดยไมจําเปนตองมีแบบอยางหรือมีคําสั่งนํา ทางการกระทํ า การกระทําที่ถู กตองแม นยําตรง พอดี สมบูรณแ บบ เปนสิ่งที่ผูเ รียนจะตอง สามารถทําไดในขั้นนี้ 4. ขั้นการแสดงออก (Articulation) ขั้นนี้เปนขั้นที่ผูเรียนมีโอกาสไดฝกฝนมากขึ้น จนกระทั่งสามารถกระทําสิ่งนั้นไดถูกตองสมบูรณแบบอยางคลองแคลว รวดเร็ว ราบรื่น และดวย ความมั่นใจ 5. ขั้นการกระทําอยางเปนธรรมชาติ (Naturalization) ขั้นนี้เปนขั้นที่ผูเรียนสามารถ กระทําสิ่งนั้น ๆ อยางสบาย เปนไปอยางอัตโนมัติ โดยไมรูสึกวาตองใชความพยายามเปนพิเศษ ซึ่งตองอาศัยการปฏิบัติบอย ๆ ในสถานการณตาง ๆ ที่หลากหลาย เดวีส (Davies. 1971: 50-56) ไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว วา ทักษะสวนใหญจะประกอบไปดวยทักษะยอย ๆ จํานวนมาก การฝกใหผูเรียนสามารถทําทักษะ ยอย ๆ เหลานั้นไดกอนแลวคอยเชื่อมโยงตอกันเปนทักษะใหญ จะชวยใหผูเรียนประสบผลสําเร็จได ดีและรวดเร็วขึ้น ซึ่งกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบมีทั้งหมด 5 ขั้น คือ 1. ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระทํา ขั้นนี้เปนขั้นที่ใหผูเรียนไดเห็นทักษะหรือการ กระทํ า ที่ ตองการให ผู เ รี ยนทํา ได ใ นภาพรวม โดยการสาธิต ให ผูเ รีย นดูทั้ งหมดตั้ งแตต นจนจบ ทักษะหรือการกระทําที่สาธิตใหผูเรียนดูนั้น จะตองเปนการกระทําในลักษณะที่เปนธรรมชาติ ไม ช า หรื อ เร็ ว เกิ น ปกติ ก อ นการสาธิ ต ครู ค วรให คํ า แนะนํ า แก ผู เ รี ย นในการสั ง เกต ควรชี้ แ นะ จุดสําคัญที่ควรใหความสนใจเปนพิเศษในการสังเกต 2. ขั้นสาธิต และใหผูเ รียนปฏิ บัติทัก ษะยอย เมื่อผูเรียนได เห็นภาพรวมของการ กระทําหรือทักษะทั้งหมดแลว ผูสอนควรจะแตกทักษะทั้งหมดใหเปนทักษะยอย ๆ หรือแบงสิ่งที่ กระทําออกเปนสวนยอย ๆ และสาธิตสวนยอยแตละสวนใหผูเรียนสังเกตและทําตามไปทีละสวน อยางชา ๆ 3. ขั้นใหผูเรียนปฏิบัติทักษะยอย ผูเรียนลงมือปฏิบัติทักษะยอยโดยไมมีการสาธิต หรือมีแบบอยางใหดู หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะ และชวยแกไขจนผูเรียนทําได เมื่อ ไดแลวผูสอนจึงเริ่มสาธิตทักษะยอยสวนตอไป และใหผูเรียนปฏิบัติทักษะยอยนั้นจนทําได ทํา เชนนี้เรื่อยไปจนกระทั่งครบทุกสวน 4. ขั้นใหเทคนิควิธีการ เมื่อผูเรียนปฏิบัติไดแลว ผูสอนอาจแนะนําเทคนิควิธีการที่ จะชวยใหผูเรียนสามารถทํางานนั้นไดดีขึ้น เชน ทําไดประณีตสวยงามขึ้นทําไดรวดเร็วขึ้น ทําได งายขึ้น หรือสิ้นเปลืองนอยลง เปนตน


72 5. ขั้นใหผูเรียนเชื่อมโยงทักษะยอย ๆ เปนทักษะที่สมบูรณ เมื่อผูเรียนสามารถ ปฏิบัติแตละสวนไดแลว จึงใหผูเรียนปฏิบัติทักษะยอย ๆ ตอเนื่องกันตั้งแตตนจนจบ และฝกปฏิบัติ หลาย ๆ ครั้งจนกระทั่งสามารถปฏิบัติทักษะที่สมบูรณไดอยางที่ชํานาญ ฟททส (Fitts. 1964) ไดใหขอแนะนําการพัฒนาทักษะการกระทําที่ชํานาญจะเกิดขึ้น ภายใตขั้นตอนการพัฒนาทักษะไว 3 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นความรูความเขาใจ (The Cognitive Phase) เปนขั้นตอนที่จะบอกถึงทักษะ และความรู ท างทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วขอ ง ซึ่ ง ผูส อนควรให ขอมู ล แกผูเ รี ย นในดา นต าง ๆ ได แก ตอ งทํ า อะไรบาง ตองดูและหลีกเลี่ยงในเรื่องอะไรบาง กระบวนการที่ตองทํางาน อะไรที่จําเปนที่ตองรู ตอง ระมัดระวังอะไรบาง และระดับมาตรฐานที่ตองการ ผูเรียนควรจะใหความสนใจเปนพิเศษในดานการ วิเคราะหขอผิดพลาดตาง ๆ ขั้นความรูความเขาใจนี้ควรจะกระทําในชวงเวลาสั้น ๆ 2. ขั้นปฏิบัติ (The Associative Phase) เปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมใน รู ป แบบที่ ถู กต อง ทั ก ษะจะเกิดขึ้นได เ มื่ อไดล งมือปฏิบัติการ ขอผิ ดพลาดหรื อ พฤติ กรรมที่ไ ม ถูกตองควรไดรับการจํากัด ขั้นปฏิบัติการนี้ผูสอนควรจัดใหผูเรียนในดานตาง ๆ ไดแก การสาธิต ทักษะที่จะฝก เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลียนแบบทักษะ ฝกหัดทักษะนั้นดวยสถานการณจริงและ สถานการณจําลอง ใหความรูและขอมูลเกี่ยวกับผลของทักษะ และใหคําแนะนําและชวยเหลือตาม ความจําเปน ขั้นตอนนี้ควรจะเริ่มตนตอจากขั้นความรูความเขาใจ และควรกระทําติดตอไปเปน ระยะ 3. ขั้นชํานาญ (The Autonomous Phase) เปนขั้นที่ปฏิบัติทักษะนั้นรวดเร็วและ ถูกตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทําผิดก็จะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญ เปนอัตโนมัติมากขึ้น ในขั้นนี้เราเรียกวาขั้นผูเชี่ยวชาญ ซึ่งตองใชการปฏิบัติมาก ๆ การฝกทักษะ ในขั้นนี้ถือวาไดบรรลุถึงขั้นสุดทายของระดับ Taxonomy ในทักษะพิสัย ซึ่งในขั้นนี้ผูสอนควรจัดให ผูเ รียนได กระทําในดานต าง ๆ ไดแก การฝกทั กษะจนถึงระดับเกินพอ เรี ยนรู วิธี การเอาชนะ เพิ่มพูนความเร็วและความถูกตอง และบรรลุถึง ความเครียดและการสอดแทรกตาง ๆ ประสบการณในระดับมาตรฐานที่ตองการ ในขั้นนี้ผูเรียนแตละคนอาจจะแสดงผลสําเร็จที่แตกตาง กัน ซึ่งความแตกตางกันนี้มักจะขึ้นอยูกับ ความสามารถ ความสนใจ นิสัย อารมณ และความ ขยันหมั่นเพียรของผูเรียน ดี เชคโค (De Cecco. 1974: 272-279) ไดเสนอขั้นตอนการสอนเพื่อใหเกิดทักษะไว 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. วิเคราะหทักษะที่จะสอน เปนขั้นแรกของการสอนทักษะ โดยที่ผูสอนจะตอง วิเคราะหงานที่จะใหผูเรียนปฏิบัติกอนวา งานนั้นประกอบดวยทักษะยอยอะไรบาง 2. ประเมินความสามารถเบื้องตนของผูเรียน วาผูเรียนมีความรูความสามารถ พื้นฐานเพียงพอที่จะเรียนทักษะใหมหรือไม ถายังขาดความรูความสามารถที่จําเปนตอการเรียน ทักษะนั้นก็ตองเรียนเสริมใหมีพื้นฐานความรูเพียงพอเสียกอน


73 3. จัดขั้นตอนการฝกใหเปนไปตามลําดับขั้นจากงายไปยาก จากทักษะพื้นฐานไปสู ทักษะที่มีความสลับซับซอน จัดใหมีการฝกทักษะยอยเสียกอน แลวฝกรวมทั้งหมด 4. สาธิตและอธิบายแนะนํา เปนขั้นใหผูเรียนไดเห็นลําดับขั้นตอนการปฏิบัติจาก ตัวอยางที่ผูสอนสาธิตใหดู หรือจากภาพยนตร จากวีดิทัศน ซึ่งจะทําใหผูเรียนเห็นรายละเอียดการ ปฏิบัติในขั้นตอนตาง ๆ ไดอยางชัดเจน 5. จัดใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจริง โดยคํานึงถึงหลักการตอไปนี้ 5.1 ความตอเนื่อง จัดใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติทักษะที่เรียนตามลําดับขั้นตอนอยาง ตอเนื่องกัน 5.2 การฝกหัด ใหผูเรียนไดฝกทักษะ เนนทักษะยอยที่สําคัญ ปรับปรุงแกไข ขอบกพรองในสวนที่ผิด ในการฝกนี้ตองจัดแบงเวลาฝก เวลาพักใหเหมาะสม 5.3 การใหแรงเสริม โดยใหผูเรียนไดรูผลของการฝกปฏิบัติ (Feedback) ซึ่งมี 2 ทาง คือ การรูผลจากภายนอก (Extrinsic Feedback) คือ จากคําบอกกลาวของครูวาดีหรือ บกพรองอยางไร ควรแกไขอยางไร พอผูเรียนเกิดความกาวหนาไปถึงขั้นที่จะเพิ่มพูนความชํานาญ เขาจะรูไดโดยการสังเกตดวยตนเอง เปนการรูผลจากภายในตนเอง (Intrinsic Feedback) วูดรัฟฟ (Woodruff. 1961) และ จอยส และวีล (Joyce; & Weil. 1972) ไดกลาวถึง องคประกอบที่ควรมีในกระบวนการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ดังนี้ 1. มีชิ้นงานตนแบบ 2. อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติอยางละเอียดและชัดเจน 3. การสาธิต การปฏิบัติงานอยางละเอียดและชัดเจน 4. การสาธิต การทํางานซ้ําอีกครั้งตั้งแตตนจนจบ 5. การแสดงการปฏิบัติแตละขั้นตอนอยางงาย ๆ และทําใหดูอยางชา ๆ 6. การเปดโอกาสใหผูเรียนไดลงมือทําเอง ตั้งแตตนจนจบในสายตาครูและครูเปนพี่ เลี้ยง 7. การเปดโอกาสใหผูเรียนทํางานเองตามลําพัง แลวนําผลงานที่ทําไดมาตรวจสอบ กับชิ้นงานตนแบบ สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 39-40) ไดกลาววา การสอนทักษะปฏิบัติก็ยอมตองมี ขั้นตอนตามขั้นตอนการเรียนรูเชนกัน ขั้นตอนในการสอนทักษะปฏิบัติควรปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นการกลาวนํา (Introduction) ในขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนเริ่มตนของขบวนการ เรียนรู กระทําเพื่อ -ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน -ทดสอบพื้นความรูเดิมของผูเรียน -สรางความสนใจ สรางปญหา สรางแรงจูงใจ -จัดตําแหนงของผูเรียนใหเหมาะสม กอนการเริ่มตนใหเนื้อหาวิชา


74 2. ขั้นการสาธิตจากครู (Demonstration from the Teacher) หลังจากนําเขาสู บทเรียนแลว ซึ่งหมายถึงวาไดขอมูลจากผูเรียนแลว ไดชี้แจงใหผูเรียนไดทราบเปาหมายที่จะเรียน จะฝกกันแลว ผูเรียนไดมีปญหาและมีความพรอม มีความสนใจที่จะแกปญหานั้นกันแลว ผูสอนก็ ควรจะเริ่มใหเนื้อหาดวยการกลาวถึงหลักทฤษฎีที่เกี่ยวของ อธิบายลักษณะงานวิธีการทํางาน โดย มีรายละเอียดตามลําดับดังนี้ -แสดงใหผูเรียนดูวาทักษะที่จะเรียนกันนั้นปฏิบัติไดจริง -สาธิตพรอม ๆ กับอธิบายงานวา จะทําอะไร (What), ทําอยางไร (How), และ ทําไมจึงตองทําเชนนั้น (Why) อาจจะทําการอธิบายประกอบคําถามก็ได -สาธิตซ้ําอีกครั้ง แตสรุปเทาที่จําเปนที่สําคัญจริง ๆ -ทวนซ้ําอีกครั้ง (ถาจําเปน) 3. ขั้นการสาธิตจากผูเรียน (Demonstration from the Learner) ควรจะใหโอกาสแก ผูเรียนไดสาธิตดวยทั้งนี้โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ -ใหผูเรียนลองปฏิบัติใหดูวาทําไดหรือไม พรอมกับใหการตรวจ-ปรับ -อาจใหผูเรียนปฏิบัติพรอมกับการอธิบาย โดยผูสอนตองคอยถามจุดสําคัญของ เนื้อหาในแตละชวงดวยคําถาม “ทําอะไร” “ทําอยางไร” “ทําไมตองทําอยางนั้น” -ใหผูเรียนหมุนเวียนกันสาธิต พรอมอธิบายสรุปเฉพาะจุดสําคัญ -ผูสอนตองมั่นใจวาผูเรียนทําไดโดยไมผิดพลาด หากไมแนใจใหผูเรียนทําซ้ําให ดูใหมจนแนใจ 4. ขั้นใหแบบฝกหัดและตรวจผลสําเร็จ (Exercise and Progress) เมื่ อ แน ใ จว า ผูเรียนทําไดแลวโดยไมผิดพลาด จึงจะมอบหมายใหทํางานไดเพราะการฝกทักษะปฏิบัติโดยการใช เครื่องจักรมีอันตรายมาก และอีกประการหนึ่งคือ ทักษะที่ฝกจะลืมไดยากดังนั้นหากฝกในทางที่ผิด ยอมแกไขใหดีไดยาก ในขั้นนี้ผูสอนอาจทําตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ -มอบงานฝกใหผูเรียนไปปฏิบัติ -คอยตรวจสอบขณะปฏิบัติอยูเสมอดวยการถาม สังเกตพฤติกรรมและตรวจดู ชิ้นงานที่ฝก -ชมเชย เสริมกําลังใจ เมื่อผูเรียนทําไดสําเร็จ และใหการตรวจ-ปรับ แกไขเมื่อ ผลงานไมสําเร็จผล บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ (2519: 147-148) ไดกลาวถึงวิธีการภาคปฏิบัติแบงไดเปน ขั้นตอนได 4 ขั้น ตามวิธีการของ TWI – Method (TWI = Training Within Industry) คือ 1. ขั้นเตรียมการสอน ผูสอนจะตองเตรียมตัวเพื่อสอน เตรียมแบบ เตรียมอธิบาย ลักษณะงานที่จะใหนักเรียนทํา เตรียมวิธีการที่จะเรงเราความสนใจใหนักเรียนอยากทํา และให เขาใจงานนั้นใหดีเสียกอน ขั้นตอนนี้เปนหนาที่ของผูสอน นักเรียนเปนผูฟง 2. ขั้นครูทําใหดู ขั้นตอนที่ครูผูสอนจะตองสาธิตวิธีทํางานที่ถูกตอง หรือทักษะใหม ใหนักเรียนดู พรอมกับอธิบายดวยคําพูดที่ชัดเจน ขั้นตอนนี้ นักเรียนเปนผูสังเกต


75 3. ขั้นนักเรียนทดลองทําดู ขั้นตอนนี้นักเรียนเริ่มทดลองทําตามวิธีที่ครูไดสาธิตไว ครูจะตองตามคอยสังเกต ชวยเหลือแกไขและแนะนําวิธีที่ถูกให 4. ขั้นปฏิบัติ เมื่อไดแนใจวานักเรียนเขาใจและทําไดถูกตองวิธีแลว ครูจะอนุญาต ใหนักเรียนลงมือปฏิบัติได ครูจะเปนผูกําหนดชิ้นงานและควบคุมคุณภาพหรือตรวจใหคะแนน ชิ้นงานนั้น ๆ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2548: 101-103) ไดกลาวถึง การสอนทักษะปฏิบัติมี ขั้นตอนดังนี้ 1. วิเคราะหทักษะนั้น ตองพิจารณาแยกแยะรายละเอียดของทักษะนั้นออกมา 2. ตรวจสอบความสามารถเบื้องตนที่เกี่ยวกับทักษะของผูเรียน วามีอะไร เพียงใด ใหทดสอบการปฏิบัติเบื้องตนตาง ๆ ตามลําดับกอนหลัง 3. จัดการฝกหนวยยอยตาง ๆ และฝกหนักในหนวยที่ขาดไป และอาจจะฝกสิ่งที่เขา พอเปนอยูแลวใหชํานาญเต็มที่ และใหความสนใจในสิ่งที่ยังไมชํานาญ 4. ขั้นอธิบายและสาธิตทักษะใหผูเรียน เปนการแสดงทักษะทั้งหมด ทั้งการอธิบาย และการแสดงใหเห็นตัวอยาง โดยใหผูเรียนดูภาพยนตรหรือผูเชี่ยวชาญแสดงใหดู ในขั้นตนไม จําเปนตองอธิบายมาก ใหผูเรียนดูตัวอยางและสังเกตเอง เพราะถาอธิบายมากจะเปนสิ่งรบกวน การสังเกตของผูเรียน การใชภาพยนตรสอนทักษะตาง ๆ นั้นมีคุณคาอยางยิ่ง ในขั้นแรกของการ เรียน และขั้นสุดทายของการเรียน เพราะเมื่อผูเรียนมีทักษะในขั้นสูงแลว ก็อาจจะหันมาพิจารณา รายละเอียดจากภาพยนตรอีกครั้งหนึ่ง การใชภาพยนตรนั้น เมื่อดูแลวควรอภิปรายโดยใหผูเรียน อธิบายเปนคําพูดของเขาเอง และควรจะฉายใหดูอีกครั้งกอนที่จะลงมือปฏิบัติ 5. ขั้นจัดภาวะเพื่อการเรียน 3 ประการ คือ 5.1 จั ด ลํ า ดั บ ขั้ น สิ่ ง เร า และการตอบสนอง ให ผู เ รี ย นได ป ฏิ บั ติ อ ย า งถู ก ต อ ง ตามลําดับกอนหลัง สิ่งใดที่เกี่ยวกันตองจัดใหติดตอกัน 5.2 การปฏิบัติ ตองจัดกําหนดเวลาของการปฏิบัติใหดี จะใชเวลาแตละครั้งนาน เทาใด หรือแตละครั้งจะมีการหยุดพักมากนอยเพียงใด การฝกแตละอยางอาจใชครั้งเดียวหรือ หลายครั้ง จะตองคิดพิจารณาใหดี จะใชการปฏิบัติแบบแบงปฏิบัติหรือฝกแบบรวดเร็วเดียวกัน ขึ้นอยูกับขั้นตาง ๆ ของการเรียนทักษะ ในขั้นสุดทายของการเรียนทักษะอาจจะใชการฝกฝนนาน ได 5.3 ใหรูผลของการปฏิบัติ การรูผลนั้นมี 2 อยาง คือ รูจากคําบอกเลาของ ครูผูสอนและรูผลโดยตัวเอง ในขั้นแรก ๆ บอกเลาวาเขามีขอบกพรองอยางไร แบบนี้เปนการรูผล จากภายนอกเปนการบอกใหรูวาจะแกไขอยางไร พอผูเรียนกาวหนาไปถึงขั้นที่สองและขั้นที่สาม คือ มี ค วามชํ า นาญมากขึ้ น เขาจะสั ง เกตตั ว เอง เป น การรู ผ ลจากตั ว เองโดยดูจ ากผลของการ เคลื่อนไหว ชม ภูมิภาค (2516: 236-237) ไดกลาวถึง การสอนทักษะใด ๆ ก็ตามยอมจะมี ขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ คือ


76 1. วิเคราะหทักษะนั้น ตองพิจารณาแยกแยะรายละเอียดของทักษะนั้นออกมา จัดลําดับการกระทํากอน หลัง ไวใหดี 2. ตรวจสอบความสามารถเบื้องตนที่เกี่ยวกับทักษะของผูเรียนวามีอะไร เพียงใดให ทดสอบการปฏิบัติเบื้องตนตาง ๆ ตามลําดับกอน หลัง ตองฝกหนวยที่ขาดเสียกอน 3. จัดการฝกหนวยตาง ๆ โดยเฉพาะในหนวยที่ขาดไป หรืออาจจะฝกสิ่งที่เขาพอ เปนอยูแลว ใหชํานาญเต็มที่ 4. ขั้นอธิบายและสาธิตทักษะใหผูเรียน ในขั้นนี้เปนการแสดงทักษะทั้งหมด เปน การอธิบาย เปนการแสดงใหเห็นตัวอยาง ใหผูเรียนดูวิดีโอ ดูภาพยนตร หรือใหผูเชี่ยวชาญแสดง ใหดู 5. จัดภาวะเพื่อการเรียนทักษะ 3 ประการให ในเรื่องนี้ก็คือ การจัดลําดับสิ่งเราและ การตอบสนองใหนักเรียนไดปฏิบัติถูกตอง ตามลําดับกอน หลัง สิ่งใดที่เกี่ยวเนื่องกันตองจัดให ติดตอกัน การปฏิบัตินั้นตองจัดกําหนดเวลาของการปฏิบัติใหดี จะใชเวลาแตละครั้งนานเพียงใด หรือแตละครั้งจะมีการหยุดพักมากนอยเพียงใด การฝกแตละอยางจะใชครั้งเดียวหรือกี่ครั้งจะใช การปฏิบัติแบบแบงปฏิบัติ หรือฝกแบบรวดเดียวนั้นขึ้นอยูกับขั้นตาง ๆ ของการเรียนทักษะ ในขั้น สุดทายของการเรียนทักษะอาจจะใชเวลาฝกฝนนาน ๆ ได และสิ่งที่สําคัญคือ การรูผลการปฏิบัติ การรูผลนั้นก็มี 2 อยางคือ รูผลจากภายนอก คือจากคําบอกกลาวของผูสอนหรือครู และการรูผล ภายในตัวเอง เขาจะสังเกตตนเอง เปนความรูสึกภายใน ไพโรจน ตีรณธนากุล (2542: 134-135) ไดกลาววา การสอนทักษะปฏิบัติ ตอง ดําเนินดวยวิธีการที่จะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามลําดับขั้นตอนที่เหมาะสม ในการสอนทักษะ ปฏิบัติมีลําดับขั้น 4 ขั้น ดังนี้คือ 1. ขั้นกลาวนํา (Introduction) เพื่อสรางความสนใจ ชี้แจงใหผูเรียนทราบเปาหมาย ที่จะฝกกัน ตลอดจนจัดตําแหนงผูเรียนใหเหมาะสมกอนเริ่มตนใหเนื้อหาวิชา 2. ขั้นการสาธิตจากครู (Demonstration from the teach) อธิบายลักษณะงาน วิธีการทํางาน แลวสาธิตพรอม ๆ กับอธิบายดวย 3. ขั้นการสาธิตจากผูเรียน (Demonstration from the learner) ใหผูเรียนลองปฏิบัติ ไดเพียงใด ซึ่งจะเปน Feed back ใหครูผูสอนปรับปรุงในการสอน 4. ขั้นใหการฝกหัดและตรวจผลสําเร็จ (Exercise and Progress) ตองแนใจวาผูเรียน ทําไดแลวโดยไมผิดพลาด จึงจะมอบหมายใหทํางานได พวงเพ็ญ อินทรประวัติ (2532: 105-106) ไดกลาววา รูปแบบการสอนการฝกทักษะ มีขั้นตอนการสอนตามรูปแบบการฝกนี้แบงออกไดเปน 5 ขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1. ระบุจุดมุงหมาย จุดมุงหมายตองชัดเจน นักเรียนทุกคนเขาใจดีวาตองการใหเขา ทําอะไร


77 2. การอธิบายแนวทฤษฎี เมื่อบอกวาตองการใหนักเรียนทําอะไรแลว ครูก็อธิบาย ใหเหตุผลตามทฤษฎีวาทําไมจึงตองทําใหไดตามจุดมุงหมายนั้น การทําอยางนี้จะชวยทําใหผูเรียน เขาใจเปาหมายไดแจมแจงขึ้น และเขาใจตอไปวาทําไมจึงตองฝกทักษะนั้น ๆ 3. สาธิตการกระทําที่ถูกตอง ครูอาจจะใหนักเรียนดูการแสดงสาธิต ใหดูแบบอยาง จากภาพยนตร ในขั้นนี้จะเปนขั้นที่บอกใหนักเรียนรูวาการกระทําที่ถูกตองนั้นเปนอยางไร 4. ฝกหัดเลียนแบบและการรับขอมูลยอนกลับ เมื่อนักเรียนรูวาจะตองทําอะไรและ ทําอยางไรแลว ครูก็ใหนักเรียนฝกปฏิบัติ โดยเริ่มใหเลียนแบบจากครูใหเหมือนตามแบบใหมาก ที่สุด เมื่อนักเรียนทําตามแบบที่ครูทําใหดู แตยังทําไดไมถูกตอง ครูก็อธิบายหรือทําใหดูใหม จนกระทั่งนักเรียนสามารถทําไดตามแบบอยางถูกตอง หลังจากที่นักเรียนทําทาถูกตองแลว ครูก็ ใหฝกหัดทําตามแบบที่ถูกตองนั้นจนสามารถทําไดอยางคลองแคลวเปนอัตโนมัติตอไป สวนการให ขอมูลปอนกลับนั้นทําไดโดยการชมเชย การแสดงแบบที่ถูกตองใหดู ซึ่งจะทําใหผูเรียนรูวาการ ปฏิบัติทําที่ถูกตองนั้นเปนอยางไร เมื่อครูฝกใหนักเรียนปฏิบัติเรื่องหนึ่งเรื่องใดแลว กอนที่ครูจะ เริ่มฝกเรื่องใหมตอไป ครูตองทดสอบเสียกอนวา เรื่องเดิมนั้นนักเรียนไดปฏิบัติไดอยางถูกตองแลว หรือไม เพราะถาไมทําเชนนั้นก็จะไมสามารถฝกเรื่องอื่น ๆ ใหดีได เนื่องจากการฝกในขั้นแรก ๆ นั้นจะตองใชเปนพื้นฐานในการฝกเรื่องอื่น ๆ ตอไป 5. การถายโอนความรูและทักษะ ในการเรียนนั้น ครูอาจจะใหนักเรียนทดลองฝกใน หองเรียน หลังจากที่นักเรียนสามารถกระทําไดอยางถูกตองแลว ครูก็นํานักเรียนออกไปฝกซอมใน สนาม ตอไปก็จัดใหมีการแขงขันกัน แลวใหนักเรียนดูวาการฝกนั้นยังบกพรองหรือไม อยางไร โดยใหนักเรียนดูการกระทําของเพื่อน ๆ ดวยกันเอง และใหขอมูลยอนกลับแกเพื่อนดวยเพื่อที่จะให เพื่อน ๆ ไดกระทําไดอยางถูกตอง ครูอาจจะใหนักเรียนคนหนึ่งลองฝกปฏิบัติ แลวครูก็เปนผูให ขอมูลยอนกลับ นักเรียนคนอื่น ๆ ก็เปนผูสังเกตการณและจดจําสิ่งที่เพื่อน ๆทํา และฟงขอมูล ยอนกลับที่ครูใหดวย หลังจากนั้น นักเรียนก็วิเคราะหการกระทําของตนเองและตรวจสอบวาตัวเอง ทําถูกตองหรือไมเอง สุดทายก็สามารถลงทําการแขงขันไดจริง ๆ แตครูผูสอนก็ยังคงใหขอมูล ยอนกลับอีกเรื่อย ๆ แมกระทั่งในขณะที่ทําการแขงขัน ประสาท อิศรปรีดา (2523: 174) ไดสรุปแนวการสอนทักษะ ไดดังนี้ 1. วิเคราะหทักษะออกเปนทักษะยอย ๆ แลวสอนทักษะยอย ๆ นั้นใหสอดคลองตาม ความสามารถ และระดับพัฒนาการทางสมองของผูเรียน 2. สาธิตเพื่อแสดงตัวอยางการตอบสนองที่ถูกตองในทักษะนั้น ๆ ใหแกผูเรียน 3. แนะนําการตอบสนองในระยะแรก เริ่มดวยการใชคําพูด หรือกริยาทาทาง 4. ใหมีการฝกอยางเหมาะสม ซึ่งตองพิจารณาถึงการฝกการพัก กําหนดชวงเวลา ฝกใหเหมาะสมกับกิจกรรมนั้น ๆ 5. ใหผูเรียนทราบผลการกระทํา เพื่อจะไดแกไขปรับปรุงการตอบสนองที่ไมถูกตอง ใหถูกตองสมบูรณ


78 พรรณี ช. เจนจิต (2538: 539 -541) ไดอธิบายถึง การสอนทักษะ ไวดังนี้ 1. บอกใหผูเรียนทราบวาจะทําอะไร ชี้แจงใหเห็นความสําคัญเพื่อเราใหผูเรียนเกิด ความสนใจ และกระตุนใหเห็นวาสิ่งนั้นมีความจําเปนสําหรับตนอยางไร ตอจากนั้นจึงสาธิตใหดู ตั้งแตตนจนจบเพื่อใหผูเรียนจัดระบบสิ่งที่จะเรียนเปนเรื่องเปนราวเมื่อสาธิตจบ อธิบายใหเขาใจถึง ความสัมพันธระหวางสิ่งตาง ๆ เนนจุดที่สําคัญหรือจุดที่จะตองสังเกตโดยเขียนบนกระดาน ซึ่งครู จะสามารถอางอิงถึงเมื่อแสดงใหดูอีกครั้ง โดยทําไปทีละขั้น 2. ใหผูเรียนมีโอกาสไดฝกหัดทันทีหลังจากการสาธิต สิ่งที่ตองคํานึงถึงการทําซ้ํา และการเสริมแรง ถาเครื่องใชมีไมพอ ใหสาธิตกับผูเรียนเปนกลุมเล็ก ๆ เพื่อใหผูเรียนทุกคนมี โอกาสฝกหัด และครูจะไดใหการเสริมแรงอยางทั่วถึง การฝกทักษะจะเสียเวลาเปลาถาเด็กไมมี โอกาสไดฝกหัด ในชั่วโมงฝกหัดจะไดผลดีถาผูเรียนอยูในสภาพกระตือรือรนซึ่งหมายถึงครูใหการ เสริมแรงเปนการกระตุนทุกครั้ง ถาพบวาในขณะที่ฝกหัดมีคนบางคนทําผิด ใหสาธิตใหมอยาทํา เฉพาะคน เพราะผูเรียนจะคิดวาตัวเองเขาใจอะไรยากกวาเพื่อน ๆ หรือบางครั้งเพื่อนในหองอาจจะ คิดวาทําไมครูจะตองเอาใจใสกับผูเรียนบางคนเปนพิเศษซึ่งความคิดทั้ง 2 อยางนี้ไมมีผลดีทั้งสิ้น 3. ในขณะฝกหัดใหคําแนะนําเพื่อชวยใหผูเรียนทําทักษะนั้น ๆ ไดดวยตนเอง 4. ใหคําแนะนําในลักษณะที่อยูในบรรยากาศที่สบาย ๆ ไมวิจารณ 5. ในการฝ ก หั ด การเน น สิ่ ง ที่ ถู ก เป น สิ่ ง ที่ มี ป ระโยชน แต บ างครั้ ง การทํ า สิ่ ง ที่ ผิดพลาดจนเกินกวาเหตุก็จะชวยแกไขขอผิดใหถูกได มาลินี จุฑะรพ (2537: 133) ไดกลาวไววา การสอนเพื่อใหเกิดทักษะควรดําเนินการ ใหครบ 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นใหความรู ในการฝกทักษะเรื่องใดก็ตาม ผูฝกจะตองใหความรูวาทักษะที่จะ ฝกนั้ นมีขั้นตอนอย างไร อาจใช วิ ธีการบรรยาย สาธิ ต ใหช มวีดิทั ศ น ฉายสไลดประกอบคํ า บรรยาย หรือฉายภาพยนตรประกอบคําบรรยาย 2. ขั้นใหลงมือปฏิบัติ ในการฝกทักษะจะตองใหทั้งความรูและใหลงมือปฏิบัติจริง ๆ เพื่อใหเกิดความถูกตองและยืนยันวาปฏิบัติจริงได 3. ขั้นใหทดสอบความถูกตองรวดเร็ว ในการฝกทักษะที่ดีจะตองมีการทดสอบวาทํา ไดถูกตองและรวดเร็วเพียงใด ผูรับการฝกทักษะมีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติทักษะดังกลาวได โดยอัตโนมัติหรือไมเพียงใด ถาทําไดครบทั้ง 3 ขั้นตอน ก็เปนที่ยืนยันไดวาบุคคลนั้นเกิดทักษะ แลว จากการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติจากนักการศึกษาหลาย ๆ ทาน จะเห็นไดวาขั้นตอนของรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติของนักการศึกษา หลาย ๆ ทาน จะมีขั้นตอนที่คลาย ๆ กัน จะแตกตางกันบางในเรื่องการกําหนดหัวขอของขั้นตอน และรายละเอียดบางหัวขอยอยเทานั้น ดังนั้นผูวิจัยจึงนํามาวิเคราะหและสังเคราะหเปนขั้นตอนการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


79 5.7 การวัดทักษะปฏิบัติ การวัดทักษะปฏิบัตินั้นตองมีการใหผูเรียนมีการปฏิบัติงาน หากประมวลแนวคิดของ นั ก วั ด ผลทั้ ง หลายจะพบว า ทั ก ษะการปฏิ บั ติ ง านเป น ความสามารถซึ่ ง อาจจะเป น ด า นสมอง (Cognitive Skills) หรือไมใชทางสมอง (Non-cognitive Skills หรือ Manual Skills) ก็ได ทั้งนี้ทักษะ ดังกลาวสามารถทดสอบไดโดยใหผูถูกทดสอบ “แสดง” (Perform) ใหดูเพื่อจะไดมีขอมูลในการ ตัดสินระดับความสามารถในการปฏิบัติงานทั้งความถูกตองในกระบวนการปฏิบัติงานหรือคุณภาพ ของผลงานที่เปนผลมาจากกระบวนการปฏิบัตินั้น หรือทั้งกระบวนการและผลงาน การวัดทักษะ ปฏิ บั ติ จึ ง เป น กระบวนการที่ วั ด ทั ก ษะการปฏิ บั ติ โ ดยสิ่ ง ที่ วั ด หรื อ ทั ก ษะที่ วั ด (Object of Measurement) เปนความสามารถดานใดก็ได จุดสําคัญอยูที่วาพฤติกรรมที่แสดงออกใหเห็นนั้น เปนการตอบสนองตอสิ่งเราในรูปของการปฏิบัติ การวัดทักษะปฏิบัติเปนการวัดที่ใชสถานการณเพื่อทดสอบการปฏิบัติงานของบุคคล ซึ่งสวนใหญเปนการวัดพฤติกรรมการปฏิบัติงานทีละคน ทั้งนี้ผูถูกวัดจะไดรับมอบหมายใหทํางาน ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง มีกระบวนการทํางานตามขั้นตอนที่ควรจะเปน จุดมุงหมายสุดทายไดเปนผลงาน ออกมา การวัดทักษะปฏิบัติจึงเปนการวัดกระบวนการปฏิบัติงาน (Process) และการวัดคุณภาพ ของงานที่ไดจากการปฏิบัติ (Product) (สุวิมล วองวาณิช. 2547: 2-3) 5.7.1 การประเมินผลการเรียนรูทักษะปฏิบัติ การประเมินการปฏิบัติชวยใหผูสอนไดทราบถึงความสามารถ นิสัย วิธีการทํางาน ของผูเรียน และพฤติกรรมตาง ๆ ของผูเรียนในลักษณะที่เปนความจริง เชน ความสามารถในการใช ภาษาตางประเทศ ความสามารถในการทดลองทางวิทยาศาสตร การสาธิตผลงาน การทํางานกับ กลุมเพื่อน การใชอุปกรณในการปฏิบัติงาน ผูสอนสามารถสังเกตและประเมินความสามารถของ ผูเรียนได ในกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองอาศัยความสามารถของผูเรียนอยางหลากหลาย เชน วิธีการวัด และประเมินผลการปฏิบัติงานนอกจากจะใชวิธีการสังเกต การสัมภาษณผูเรียนทั้งกระบวนการและ ผลการทํางานแลว ผูสอนอาจใชวิธีการสอบที่เรียกวา Performance Test เชน การสอบภาคปฏิบัติ ในวิชาวิทยาศาสตร การสอบภาคปฏิบัติในวิชาดนตรี นาฏศิลป การสอบภาคปฏิบัติในวิชาพลศึกษา เปนตน (สุวิมล วองวาณิช. 2547: 3) การประเมิ น ผลการเรี ย นรู ทั ก ษะปฏิ บั ติ สามารถทํ า ได โ ดยการทดสอบ ความสามารถทางกลามเนื้อของผูเรียนที่แสดงออกมาในเรื่องของความเร็ว ความถูกตอง ความ แข็งแรง ความคงทนและการประสานสัมพันธกัน ในการทดสอบดังกลาวครูจะตองทําการทดสอบ ความสามารถในดานตาง ๆ ดังกลาวนี้อยางนอยหนึ่งอยางหรือมากกวานั้น ตามรายละเอียดตอไปนี้ ความเร็ว (Speed) สามารถวัดไดในรูปของปริมาณงานที่ผูเรียนสามารถทําได ภายในระยะเวลาที่กําหนด เชน จํานวนคําตอนาทีที่พิมพได หรือในรูปของเวลาที่ตองใชในการ ทํางานที่กําหนดไดใหแลวเสร็จ


80 ความถูกตอง (Accuracy) สามารถวัดไดจากการนับจํานวนที่ผิด หรือระยะทางที่ หางออกไปจากเปาหมาย ความแข็งแรง (Strength) สามารถวัดไดจากสิ่งที่มีน้ําหนักขนาดตาง ๆ หรือ แรงกลที่ปรากฏในมาตรวัดมักใชในการตรวจสอบคุณภาพของชิ้นงาน (นวลจิตต เชาวกีรติพงศ. 2534: 51-53; อางอิงจาก Singer. 1982. The Learning of Motor Skills.) สุวิมล วองวาณิช (2547: 4-5) ไดแบงคุณลักษณะของการวัดออกเปน 2 ดาน คือ 1. คุ ณลั ก ษณะที่ ใ ชวั ด กระบวนการ ขึ้น อยู กับ ธรรมชาติข องงานที่ ใ ห ผูเ รีย น ปฏิบัติ ลักษณะสําคัญที่ควรวัดจําแนกได 2 ประการ คือ ประสิทธิภาพในการทํางาน (Efficiency of the Process) และความถูกตองของกระบวนการทํางาน (Accuracy of the Process) คุณลักษณะที่ ใชในการวัดกระบวนการ โดยทั่วไปสามารถแบงเปนลักษณะยอย ๆ ไดดังนี้ 1.1 คุณภาพขณะปฏิบัติงาน 1.1.1 ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติ 1.1.2 ความคลองแคลววองไวในการปฏิบัติ 1.1.3 การเลือกใชวัสดุอุปกรณอยางเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ 1.2 เวลา คือ ปริมาณเวลาที่ใชในการปฏิบัติ (ใชเวลานอย) 1.3 ทักษะการปรับปรุงงาน คือ การลดขั้นตอนการทํางานใหสั้นขึ้น 1.4 ความปลอดภัยในการทํางาน 1.4.1 ความปลอดภัยในการใชเครื่องมือ 1.4.2 จํานวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นขณะทํางาน 1.5 ความสิ้นเปลืองของทรัพยากร คือ จํานวนวัสดุที่ใชเกิน 2. คุณลักษณะที่ใชวัดผลงาน คุณภาพของผลงานเปนผลมาจากคุณภาพของ กระบวนการทํางาน การตัดสินใจคะแนนคุณภาพของผลงานขึ้นอยูกับมาตรฐานของผูประเมิน การ ตัดสินผลงานตองอิงคุณลักษณะที่วัดซึ่งยึดเปนเกณฑท่ีตกลงรวมกันระหวางผูประเมิน และตอง อาศั ย ผู ป ระเมิน ที่มีค วามชํ า นาญในเรื่ องนั้ นจริ ง ๆ คุ ณลั ก ษณะที่ ใ ชใ นการวัด ผลงานโดยทั่ว ไป สามารถแยกออกเปนลักษณะยอย ๆ ได ดังนี้ 2.1 คุณภาพของผลงาน 2.1.1 ผลงานมีคุณภาพสอดคลองกับเกณฑมาตรฐาน 2.1.2 จุดดีจุดเดนของผลงาน 2.1.3 ความเหมาะสมในการนําไปใช 2.1.4 ลักษณะภายนอกที่ปรากฏ เชน ความสวยงาม ความประณีต ฯ 2.2 ปริมาณงาน คือ ปริมาณของผลผลิตที่ทําไดภายใตเวลาที่กําหนด 2.3 ทักษะการปรับปรุงงาน 2.3.1 พัฒนาการของผลงานในเชิงคุณภาพ 2.3.2 พัฒนาการของผลงานในเชิงปริมาณ


81 2.4 ความปลอดภั ย ของผลงาน คื อ ระดั บ ความปลอดภั ย ของผลผลิ ต เมื่ อ นําไปใชจริง 2.5 ความสิ้นเปลือง/ผลเสีย คือ จํานวนชิ้นงานที่ทําแลวใชไมได หรือยอมรับ ไมได นอกจากนี้ การตรวจสอบความสามารถทางทักษะภาคปฏิบัตินั้น อาจกระทําได ดวยการกําหนดงานใหผูเรียนไดปฏิบัติซึ่งบางครั้งอาจเรียกวา Performance Test ซึ่งตองการให ผู เ รี ย นได ล งมื อ ปฏิ บั ติ ทั ก ษะนั้ น แล ว ผู ส อนก็ ทํ า การตรวจสอบและสั ง เกตพฤติ ก รรมในขณะ ปฏิบัติงาน และตรวจสอบคุณภาพของชิ้นงานสําเร็จที่ผูเรียนไดกระทําขึ้น 1. การตรวจสอบความรู ความเขาใจเนื้อหาทางทฤษฎี กระทําไดทั้งระหวาง การเรียนการสอนและหลังบทเรียนแลว การตรวจสอบความรูทางทฤษฎีนี้อาจกระทําไดดวยการใช แบบทดสอบทางขอเขียน การสัมภาษณผูเรียน การใชคําถามปากเปลาในขณะสอน หรือการ อภิปรายกลุมของผูเรียน การตรวจสอบความรูความเขาใจเนื้อหาทางทฤษฎีนี้ อาจทําการวัดหรือ ตรวจสอบในดานตาง ๆ ดังนี้ - ความสามารถในการอานแบบ ไดอะแกรม สัญลักษณ หรือการใชหนังสือ ตํารา และคูมือตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน - เนื้อหาความรูทางทฤษฎีที่สัมพันธกัน และความคิดในเหตุผลตาง ๆ - ความสามารถในการวิเคราะหงาน และวางแผนขั้นตอนการทํางานนั้น ๆ - กฏเกณฑและหลักความปลอดภัยในการทํางาน 2. การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน การตรวจสอบความสามารถ ในการปฏิบัติงานนี้รวมถึงความสามารถทางกลามเนื้อ (Motor Skill) และทัศนคติที่ดีตอการทํางาน ซึ่ ง สามารถกระทํ า ได ใ นระหว า งการปฏิ บั ติ ง านของผู เ รี ย น ด ว ยการสั ง เกตการทํ า งาน การ สัมภาษณ หรือการอภิปรายกลุมของผูเรียน การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน อาจทํา การวัดหรือตรวจสอบในดานตาง ๆ ดังนี้ - ทักษะทางดานความถูกตอง และความปลอดภัยในการใชเครื่องมือและ อุปกรณ ซึ่งรวมถึงการใชการบํารุงรักษา และการเก็บเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ - ความสามารถในดานการเตรียมงาน และลําดับขั้นตอนการทํางานตั้งแตตน จนกระทั่งสําเร็จ - ระยะเวลาในการทํางานจนกระทั่งสําเร็จ - นิสัย ทัศนคติ และความขยันในการทํางาน ผลจากการสั ง เกตและตรวจสอบความสามารถในการทํ า งานของผู เ รี ย นนั้ น นอกจากจะใหผลดีในดานการเรียนของผูเรียนแลว ยังใชเปนขอมูลในการใหคะแนนการทํางานซึ่ง เปนสวนหนึ่งของการประเมินผลการเรียนของผูเรียนดวย เพราะการประเมินผลการเรียนดวยการ พิจารณาเฉพาะผลงานหรือชิ้นงานสําเร็จ แตเพียงอยางเดียวยอมไมถูกตองนัก


82 3. การตรวจสอบคุ ณ ภาพผลงานหรือ ชิ้น งานสํ า เร็ จ การตรวจสอบคุ ณ ภาพ ผลงานของผูเรียนนี้ กระทําไดหลังบทเรียนเมื่อผูเรียนปฏิบัติงานเสร็จและนําผลงานนั้นมาสง การ ตรวจสอบคุณภาพผลงานนี้ เปนการประเมินคุณภาพของชิ้นงานที่สําเร็จรูปซึ่งวัดในรูปของความ ละเอี ย ดประณี ต ของงาน ความถู ก ต อ ง และความเที่ ย งตรงต อ ขนาดตามแบบงานทั้ ง ในจุ ด ที่ มองเห็นไดและจุดที่มองไมเห็น ซึ่งอาจใชเครื่องมือชวยในการตรวจสอบดวย การตรวจสอบคุณภาพผลงานสําเร็จนี้ ควรคํานึงถึงความเที่ยงตรงในการตรวจ เสมอ ด ว ยการตรวจคุ ณ ภาพโดยใช เ ครื่ อ งมื อ ตรวจสอบ เช น พิ จ ารณาที่ ข นาด (Objective Valuation) และแมในการตรวจคุณภาพของผลงานในบางจุด เชน รูปทรงภายนอกของชิ้นงาน ความสวยงามของชิ้ น งาน เป น ต น อาจต อ งอาศั ย การตรวจโดยใช ค วามนึ ก คิ ด ของผู ต รวจ (Subjective Valuation) ซึ่งผูตรวจตองตรวจดวยใจที่เปนธรรม และอาจใชผูตรวจหลายคน ซึ่งตอง ใชแบบประเมินผลในการตรวจสอบผลงานนั้น (สุชาติ ศิริสุขไพบูลย. 2526: 89-90) 5.7.2 เครื่องมือวัดทักษะปฏิบัติ ในการประเมินทักษะปฏิบัติ โดยสวนมากผูตรวจตองใหคะแนนกระบวนการหรือ ผลงานของผูเรียน หากไมมีเครื่องมือและเกณฑในการตัดสินใจก็ยากที่จะหาความเที่ยงตรงได ดังนั้นจึงมีการสรางเครื่องมือเพื่อชวยใหผูตรวจใหคะแนนไดสะดวกและเที่ยงตรงมากขึ้น เครื่องมือ ในการวัดทักษะปฏิบัติ มีหลายแบบดังนี้ 1. แบบสํารวจรายการ (Check List) แบบสํารวจรายการจะเปนรายการที่กําหนด ไวเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ตองการใหกระทําหรือวิธีการที่มีจุดประสงคจะใหทําตามนั้น ผูสังเกตจะ ตรวจสอบวาผูถูกประเมินไดทําตามรายการนั้นหรือไม การใชแบบสํารวจรายการเปนการกําหนด น้ําหนักคะแนนวาไดหรือไม ถาผานหรือไดแสดงวาผูปฏิบัติไดทําตามรายการนั้นถูกตอง ถาไมได แสดงวาทําไมถูกตอง (สุนันท ศลโกสุม. 2432: 70-71) ในการสังเกตการณปฏิบัติบางครั้งอาจใหผูสังเกตบันทึกลําดับที่ของการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมตามลําดับตั้งแต 1 เปนตนไปก็ได ซึ่งในลักษณะนี้จะทําใหมองเห็นภาพรวมของการ ปฏิบัติงานอีกดวย (ส. วาสนา ประวาลพฤกษ. 2537: 36) ในบางครั้งอาจมีการระบุความถี่ของ พฤติกรรมที่ทําดวย เชน ยิ้ม 3 ครั้ง ยกมือ 5 ครั้ง ซึ่งจะบอกถึงความเขมขนของการปฏิบัติเชนกัน (Tuckman. 1976: 174; Mehrens; & Lehman. 1978: 351) 2. แบบมาตราประมาณคา (Rating Scale) มาตราสวนประมาณคาไมไดมีความ แตกตางจากแบบสํารวจรายการมากนัก เพียงแตมีการขยายลําดับคะแนนที่ใหเพิ่มขึ้น แตเปนที่ นิยมในการใชวัดการปฏิบัติมากกวาเพราะมีคุณลักษณะที่ตอเนื่อง อาจทําเปน 2 ระดับ จนถึง 10 ระดับ แตนิยมทําเปนเลขที่มากกวา เชน 3, 5, 7 ระดับ (ส. วาสนา ประวาลพฤกษ. 2527: 3; โกวิท ประวาลพฤกษ; สมศักดิ์ สินธุระเวชญ. 2523: 110-111 ) 3. แบบจัดอันดับ (Ranking) การจั ด อั น ดั บ เป น วิ ธี ที่ จ ะเรี ย งลํ า ดั บ ผู เ รี ย นใน คุณสมบัติหนึ่ง ๆ ตามที่กําหนดให ซึ่งสามารถใชในการวัดวิธีหรือผลงานได แตสวนใหญใชในการ


83 วัดผลงานมากกวา การจัดอันดับมีความเชื่อมั่นสูงขึ้นถาจัดอันดับดวยคุณสมบัติใดคุณสมบัติหนึ่ง โดยเฉพาะ และมีนิยามของคุณสมบัตินั้นชัดเจน ในการจัดอันดับคุณภาพผลงาน ซึ่งมักใชในการ สอบดานการปฏิบัตินั้น ครูอาจจะแบงคุณภาพผลงานออกเปนหลายประการแลวจัดอันดับทีละ คุณภาพ การจัดอันดับที่งายและสะดวก โดยมากนิยมใชหลักการแบงทีละ 3 ดังนี้ (ส. วาสนา ประวาลพฤกษ. 2527: 2-3) 3.1 นําผลงานทั้งหมดมาแบงเปน 3 กลุม คือ สูง ปานกลาง และต่ํา 3.2 นํากลุมปานกลางมาพิจารณาแบงเปน 3 อีกครั้ง หลังจากนั้นทํา เชนเดียวกันในกลุมสูง และกลุมต่ํา 3.3 กําหนดใหกลุมสูงเปน 9, 8, 7 ซึ่ง 9 คือ กลุมที่มีผลงานดีที่สุดในกลุมสูง และ 7 คือ กลุมที่มีผลงานต่ําที่สุดในกลุมสูง และใหกลุมกลางเปน 6, 5, 4 และกลุมต่ําเปน 3, 2, 1 ทั้งนี้ตัวเลขที่มีคาสูงแทนคุณภาพงานที่สูง 3.4 นํากลุมที่อยูระหวางกลุมสูงและกลุมต่ํา คือ 7 และ 6 มาพิจารณาเพื่อ โยกยายใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น และทําเชนเดียวกันในกลุม 4 และ 3 4. แบบบันทึก (Record) การบันทึกมักเปนวิธีการที่ไมไดกําหนดรูปแบบไว อยางชัดเจนเหมือนวิธีอื่น ๆ ผูบันทึกคอนขางมีอิสระในการบันทึกลงไปมากกวาเครื่องมือชนิดอื่น การบันทึกเพียงครั้งเดียวไมสามารถใหขอมูลที่มีความหมายนัก แตการบันทึกตอเนื่องหลาย ๆ ครั้ง จะทําใหไดขอมูลที่ชัดเจนขึ้น การบันทึกไมควรลงความเห็นของผูบันทึกลงไป ยกเวนใหเขียนแยก ใหชัดเจน 5.7.3 การสรางเครื่องมือวัดทักษะปฏิบัติ มีผูเสนอหลักและขั้นตอนในการสรางเครื่องมือวัดทักษะปฏิบัติไวหลายทาน ดังนี้ ทัคแมน (Tuckman. 1976: 180-185) ไดเสนอขั้นตอนในการสรางแบบทดสอบ ดานการปฏิบัติโดยทั่วไปไว 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กําหนดวัตถุประสงคของการปฏิบัติงานที่ชัดเจน คําบงชี้การกระทํา (Action Word) ที่ใชประจํา คือ แสดงหรือสาธิต (Demonstrate) และสราง (Construct) ตัวอยางของการ กําหนดจุดประสงคของการปฏิบัติ เชน 1.1 เพื่อแสดงวิธีการแบงมุมออกเปน 2 สวนเทา ๆ กัน 1.2 เพื่อแสดงวิธีการวัดความตานทานไฟฟา 2. กําหนดสถานการณของการทดสอบที่ชัดเจน ซึ่งสถานการณดังกลาวนี้จะ เปนสิ่งที่อํานวยความสะดวกในการที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ ไดแก การกําหนดวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงาน การกําหนดคําสั่งในการปฏิบัติงาน 3. กําหนดเกณฑในการประเมินผลกระบวนการ (Process) และผลงาน (Product) อยางชัดเจนที่จะทําใหเปนการตัดสินใจที่มีความเปนปรนัยมากขึ้น


84 4. สรางแบบประเมินในการใหคะแนนการปฏิบัติงานซึ่งเปนการนําเกณฑในการ ประเมินงานที่ปฏิบัติที่ไดจัดทําขึ้นในขอ 3 นํามาเรียงลําดับกอนหลังตามขอคําถาม และกําหนดให น้ําหนักคะแนนเกณฑแลวแตความสําคัญในวิธีการปฏิบัติงาน ผูประเมินจะพิจารณากอนการปฏิบัติ ของผูเขาสอบวาตรงตามเกณฑที่ระบุไวหรือไมแลวใหคะแนนตามเกณฑ เมหเรนส และเลหแมน (Mehrens; & Lehman. 1984: 208) ไดกําหนดขั้นตอนใน การพัฒนาแบบทดสอบดานการปฏิบัติดังนี้ 1. ทําการวิเคราะหงาน (Job Analysis) เพื่อกําหนดวามีความสามารถอะไรบาง ที่ควรทดสอบ วิธีหนึ่งที่ดีที่สุดในการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะที่จําเปนของงานก็คือใหผูที่ทําการ ทดสอบ (Examiner) เรียนรูงานและตรวจตราอยางระมัดระวังในขั้นตอนการฝกหัด วิธีนี้จะทําให ผูสรางแบบทดสอบเห็นภาพพจนไดวา สภาพที่แทจริงที่เกี่ยวของดวยเปนอยางไร มากกวาที่จะ ไดมาจากการสังเกตผลงานเพียงอยางเดียว 2. เลือกงาน ทักษะและความสามารถที่มีความสําคัญที่จะเกี่ยวของในงานและ การปฏิบั ติ หรือทักษะบางอย างควรระบุไว ดวยในการวิ เคราะหงาน หลังจากที่ ตั ดสินใจแลว วา ความสามารถอะไรบางที่จะถูกทดสอบ เราจะตองกําหนดวาการปฏิบัตินั้นเกี่ยวของกับกระบวนการ หรือผลงานหรือทั้งสองประการรวมกัน 3. การสรางแบบฟอรมการสังเกต หรือแบบฟอรมการประเมิน ควรบอกชนิด ของสิ่งที่ตองมีการบันทึกประกอบการสังเกตดวย เชน คุณภาพของผลงานที่ทํา ความเร็วในการ ปฏิบัติงาน อยางไรก็ตามควรใหความสําคัญกับทักษะและความสามารถในการปฏิบัติ 4. สรางรูปแบบของแผนงานตัวอยาง เราทราบวาไมมีแบบทดสอบฉบับใดที่ สามารถบรรจุทุกสิ่งทุกอยางที่เราตองการจะวัด สําหรับแบบทดสอบวัดดานการปฏิบัติผูสรางตอง อาศัยหลักเกณฑจากการวิเคราะหงาน แลวเลือกงานที่สําคัญที่สุด 5. การสรางแผนการดําเนินการสอบ เชน เตรียมคําสั่ง ขอบเขตของเวลา วัสดุ คําแนะนําในการใหคะแนน และอื่น ๆ 6. ทดลองขอสอบกอนที่จะจัดทํารูปแบบขอสอบ สรุ ป ได ว า การประเมิ นทั ก ษะปฏิ บั ติ เป น การตรวจสอบความสํ า เร็ จ ของผู เ รี ย น ทางดานการปฏิบัติ ซึ่งกระทําได 3 ประการ คือ 1. การตรวจสอบความรู ความเขาใจเนื้อหาทางทฤษฎี 2. การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน 3. การตรวจคุณภาพผลงานสําเร็จ การประเมินทักษะปฏิบัติตองครอบคลุมการทดสอบความสามารถในดานความเร็ว, ความถูกตอง และความแข็งแรง ซึ่งเครื่องมือที่ใชในการวัดทักษะปฏิบัติ ไดแก แบบสํารวจรายการ (Check List), แบบมาตราประมาณคา (Rating Scale), แบบจัดอันดับ (Ranking) และแบบบันทึก (Record) เปนตน


85 5.7.4 การกําหนดเกณฑการประเมินภาคปฏิบัติ สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 95-96) และพิสิฐ เมธาภัทร (2533: 201-204) ได กลาวถึงการกําหนดเกณฑการประเมินภาคปฏิบัติ สามารถทําได 2 ทาง คือ 1. กําหนดโดยอาศัยความนึกคิดของผูตรวจ (Subjective Evaluation) มาเปน เกณฑ จึงจําเปนตองใชคนตรวจอยางนอย 2 คน การกําหนดเกณฑดวยวิธีนี้จะเปนลักษณะการให คะแนนในขั้นวิธีการปฏิบัติงาน ลําดับขั้นการวางแผนโดยพิจารณาจาก 1.1 การใชและวิธีการระวังรักษาเครื่องมือและอุปกรณ 1.2 ลําดับขั้นการทํางาน 1.3 การระวังอุบัติเหตุขณะทํางาน การใชเครื่องปองกัน 1.4 ความสะอาด ความเปนระเบียบในการจัดวางเครื่องมือ 1.5 ความประหยัดวัสดุบางอยาง เชน น้ํามันหลอลื่น เปนตน คะแนนที่ไดจากผูตรวจสอบ 2 คน นํามาหาคาเฉลี่ยเปนคะแนนผลงานนั้นได เชน 10 คะแนน สําหรับผลงานดี ลักษณะงานดี การใชงานดี การทํางานดี 6 คะแนน สําหรับงานพอใช ลักษณะงานพอใช และใชงานได 1 คะแนน สําหรับผลงานใชไมได ลักษณะงานไมดี และใชงานไมได 0 คะแนน สําหรับกรณีที่ไมมีผลงาน 2. กําหนดโดยพิจารณาที่ขนาดของผลงาน (Objective Evaluation) นับวาเปน การกําหนดที่มีความเที่ยงตรง แมนยําและใชเปนมาตรฐานได เพราะใชเครื่องมือในการตรวจสอบ ได พิจารณากําหนดไดดังนี้ 10 คะแนน สําหรับงานที่อยูในพิกัดที่กําหนดให 7 คะแนน สําหรับงานที่มีขนาดอยูนอกพิกัดไมเกิน ± รอยละ 25 ของพิกัด 1 คะแนน สําหรับงานที่มีขนาดอยูนอกพิกัดไมเกิน ± รอยละ 50 ของพิกัด 0 คะแนน สําหรับกรณีที่ไมมีผลงาน นอกจากแนวทางการกําหนดเกณฑการประเมินทั้ง 2 แนวทางดังกลาว ประสงค พรจินดารักษ (2530: 13) ยังไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนเวลาในการปฏิบัติงานดวย โดยเผื่อ เวลาการปฏิบัติงานไว ± รอยละ 15 ของเวลาที่กําหนด หากตองตอเวลาอีกไมควรใหเกินรอยละ 10 ของเวลาที่เผื่อไว โดยใหคะแนนทีละ 1 คะแนน ของเวลาที่เสร็จเร็วขึ้นรอยละ 2 ของเวลาที่ กําหนด แตไมควรใหเกิน 5 คะแนน และในทางกลับกันถาผูที่ทําชากวากําหนดก็จะตองถูกตัด คะแนนไมเกิน 5 คะแนนเชนกัน


86 ตาราง 2 การใหคะแนนเวลาในการปฏิบัติงาน จุดใหคะแนน 1. ใชเวลาไมเกินกําหนดใหได 2. ใชเวลาเกินที่กําหนด 5 นาที 3. ใชเวลาเกินที่กําหนด 10 นาที 4. ใชเวลาเกินที่กําหนด 15 นาที 5. ใชเวลาเกินที่กําหนด 20 นาที 6. ใชเวลาเกินที่กําหนด 30 นาที รวมคะแนนเวลาที่ใชปฏิบัติงาน

ใหไดคะแนน 5 4 3 2 1 0 5

จากการกําหนดเกณฑการประเมินที่กลาวมาแลว สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (2526: 96) ไดกลาววา ในการปฏิบัติทักษะปฏิบัติในจุดตาง ๆ นั้น มักจะพบวาในแตละจุดของชิ้นงานมี ความยากงายในการทํางานไมเทากัน ดังนั้นจึงควรใชตัวคูณ (Factor) เปนตัวกําหนดน้ําหนักของ ทักษะปฏิบัติตาง ๆ เหลานี้ โดยใหใชตัวคูณที่มีคาตั้งแต 1 ถึง 5 โดยกําหนดขึ้นตามความสําคัญ ของทักษะปฏิบัติตาง ๆ ดังนั้นคะแนนที่ใหสําหรับความสามารถในจุดตาง ๆ ใหคูณดวยตัวคูณ จะ เปนคาคะแนนที่ควรจะไดจริง ดังตารางที่ 3 ตาราง 3 การกําหนดน้ําหนักคะแนนของทักษะปฏิบัติ จุดใหคะแนน จุดที่ 1 จุดที่ 2 จุดที่ 3 รวม

คะแนนที่ได 7 10 3

ตัวคูณ 5 5 2

คะแนนรวม 35 50 6 91

คะแนนรวม 50 50 20 120

คะแนนที่ไดจากขอกําหนดเกณฑรวมทั้งหมดของวิธีการปฏิบัติงานและผลงาน สามารถนํามาประเมินผลพิจารณาตัดสินผลการประเมินไว 2 แบบ คือ การคิดเกรดเปนเปอรเซนต และการคิดเกรดเปนดัชนี 1. การคิ ด เกรดเป น เปอร เ ซนต เป น วิ ธี ก ารคิ ด โดยเที ย บความสั ม พั น ธ ระหวางคะแนนที่ไดกับคาคะแนนเต็ม ตามสูตร


87 เปอรเซ็นตที่ได = คะแนนรวม x100 คะแนนเต็ม 2. การคิดเกรดเปนดัชนี อาจกระทําไดงายโดยใชการเทียบคาเปอรเซนต ออกมาเปนดัชนี ดังตารางที่ 4 ตาราง 4 การคิดเทียบเปอรเซ็นตเปนดัชนี เปอรเซนต 90 ขึ้นไป 75 ถึง 89 60 ถึง 74 30 ถึง 59 ต่ํากวา 30

ดัชนี A B C D F

ผลงาน ผลงานดีเลิศทุกจุด คุณภาพดีมาก ผลงานอยูในชั้นใชได คุณภาพดี ผลงานอยูในระดับปานกลาง คุณภาพใชได ผลงานอยูในขั้นต่ํา คุณภาพของงานใชไมได ผลงานไมสําเร็จหรือไมมีผลงานออกมา

จากแนวทางการกําหนดเกณฑการประเมินทั้งหมดสรุปไดวา เกณฑการประเมิน หมายถึง คะแนนที่กําหนด เพื่อบอกถึงระดับพฤติกรรมของวิธีการปฏิบัติงานและผลงานที่ได โดย การสังเกตและวัดดวยเครื่องมือวัดมาตรฐานของผูประเมิน ซึ่งใชวิธีการกําหนดเกณฑโดยอาศัย ความนึกคิดของผูตรวจ นํามาพิจารณาตัดสินผลการประเมินภาคปฏิบัติ 5.7.5 คุณภาพของแบบวัดทักษะปฏิบัติ ทัคแมน (Tuckman. 1975: 180) ไดกลาววา แบบวัดทักษะปฏิบัติควรมีลักษณะ สําคัญ 5 ประการ คือ 1. ความเที่ยงตรง (Validity) งานที่กําหนดใหนักเรียนปฏิบัติตองเปนตัวแทนที่ดี ของประชากร การวัดทักษะปฏิบัติครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลงาน ความเที่ยงตรงนี้จําแนก ตามจุดมุงหมายได 3 ประเภท ไดแก ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความ เที่ยงตรงตามเกณฑสัมพันธ (Criterion-related Validity) และความเที่ยงตรงตามโครงสราง (Construct Validity) ผูวิจัยไดเลือกใชความเที่ยงตรงตามเนื้อหา ซึ่งเปนความเที่ยงตรงเชิงเหตุและ ผล (Logical Validity) ที่จะตรวจสอบในดาน 3 ดาน คือ ความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และความ สอดคลองของเกณฑการประเมินกับขอปฏิบัติ นําคาการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญมาหาคาดัชนี ความสอดคลอง (Index of Consistency: IOC) ซึ่งความเที่ยงตรงนี้จะตองมีคามากกวาหรือเทากับ 0.5 จึงจะถือไดวาสอดคลองกัน (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539: 248-249) 2. ความเชื่อมั่น (Reliability) ถาแบบวัดทักษะปฏิบัติมีความเชื่อมั่น ควรมีผูวัด และประเมินตั้งแต 2 คนขึ้นไป วัดและประเมินอยางเปนอิสระตอกัน การประเมินผลงานอาจจะตอง


88 ใชแบบอยางของผลงานมาเปรียบเทียบ ซึ่งแบบอยางของผลงานนี้ จะตองผานการตัดสินของ ผูเชี่ยวชาญวามีความแตกตางกันในเชิงคุณภาพอยางชัดเจน การตรวจสอบความเชื่อมั่นทําได หลายวิธี แตที่นิยมกันไดแก วิธีสอบซ้ํา (Test – retest Method) วิธีสอบแบบคูขนาน (Parallel Method) วิธีแบงครึ่งขอสอบ (Spilt-half Method) วิธีของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder Richardson Method) และวิธีหาคาสัมประสิทธิ์การสรุปอางอิง (Generalizability Coefficient: ρ2) ซึ่งผูวิจัยได เลือกใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์การสรุปอางอิงของครอนบัค (Cronbach) เนื่องจากเครื่องมือที่ผูวิจัย สรางขึ้นมาเปนแบบมาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) ที่ใชแบบทดสอบฉบับเดียวทําการ ทดสอบเพียงครั้งเดียว และมีผูตรวจใหคะแนนมากกวา 1 คน และนอกจากนั้นยังใชวิธีการ ตรวจสอบความเชื่อมั่นของผูประเมิน 2 คน เพื่อหาคาสหสัมประสิทธิ์แบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) จะทําใหเกิดความสอดคลองซึ่งกันและกันของผูสอบ และผูประเมินทั้ง 2 คน ซึ่งผูวิจัยไดเลือกใชวิธีหาคาสหสัมประสิทธิ์แบบเพียรสันเนื่องจากวา เครื่องมือที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาใชผูประเมิน 2 คน ความเชื่อมั่นที่ไดจากการประเมินควรจะมีคาตั้งแต 0.7 ขึ้นไป จึงจะเปนแบบประเมินที่เชื่อมั่นได (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2539: 209) 3. อํานาจจําแนก (Discrimination) อํานาจจําแนกควรมีคาตั้งแต 0.20 ขึ้นไป 4. ความยาก (Difficulty) ความยากขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการวัดและลักษณะ ของผูสอบ ถาตองการวัดลักษณะขั้นต่ําที่จําเปนโดยทั่วไปของผูสอบ หรือถาผูสอบนั้นไดรับการ ฝกฝนมาอยางดี ความยากจะมีคาสูง ในกรณีนี้ควรใชความยากตั้งแต 0.70 ขึ้นไป แตถาไมวัดใน ลักษณะขั้นต่ําที่จําเปนของผูสอบ หรือถาผูสอบไมไดรับการฝกฝนมาเปนอยางดี ความยากจะ ลดลง 5. ความเปนปรนัย (Objectivity) ความเปนปรนัย หมายถึง พฤติกรรมหรือ ขอความหรือวิธีการสังเกต และวิธีการใหคะแนนจะตองชัดเจน และเหมาะสมกับงานที่ใหผูสอบ ปฏิบัติ สุวิมล วองวานิช (2547: 24-27) ไดกลาววา ความเชื่อถือไดของผลการวัดดาน ทักษะปฏิบัติอยูที่คุณภาพของเครื่องมือและการประเมินผลของผูวัด คุณภาพของการวัดขึ้นอยูกับ ความตรง (Validity) และความเที่ยง (Reliability) แตถาเครื่องมือวัดเปนแบบสังเกต โดยหลักการ แลวประเภทของความตรง คือ ความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามเกณฑสัมพันธ และความตรง เชิงจําแนก ความตรงตามเนื้อหา คือ ความสามารถของเครื่องมือวัดผลที่สามารถวัดในสิ่งที่ ตองการวัดไดอยางถูกตอง ในการวัดทักษะปฏิบัติ เครื่องมือวัดที่ดีตองประกอบดวยความสมบูรณ เหมาะสมของคุณลักษณะที่มุงวัด คุณลักษณะดังกลาวแยกออกเปน 2 สวน คือ คุณลักษณะที่ใชวัด กระบวนการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ใชวัดผลงาน เครื่องมือที่ใชวัดกระบวนการมีเนื้อหา เกี่ยวของกับกิจกรรมหรือขั้นตอนการทํางาน ในสวนของเครื่องมือวัดผลงานมีเนื้อหาเกี่ยวกับตัว บงชี้ คุณภาพของผลงาน


89 ความตรงตามเกณฑสัมพันธ คือ ความสามารถของเครื่องมือที่สามารถวัดสิ่งที่ ตองการวัดแลวใหผลสอดคลองกับการวัดโดยใชเครื่องมืออื่นหรือขอมูลที่เชื่อถือไดนํามาเปนเกณฑ ความตรงเชิงจําแนก คือ ความสามารถของเครื่องมือที่สามารถแยกทักษะการ ปฏิบัติงาน ความสามารถของผูเรียนไดอยางถูกตอง จากคุณลักษณะดังกลาว ผูวิจัยไดเลือกคุณลักษณะความตรง (Validity) และ ความเชื่อมั่น (Reliability) มากําหนดคุณภาพของแบบวัดทักษะปฏิบัติที่สรางขึ้น

6. ความคงทนของทักษะปฏิบัติ 6.1 ลักษณะของความคงทนของทักษะปฏิบัติ ทักษะปฏิบัติ (Motor Skill) หรือ ทักษะทางกลามเนื้อ (Psychomotor Skill) เปน ลักษณะที่เปนผลผลิตจากการเรียนรูรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจะเปนการเรียนรูความสามารถและความ ชํานาญทางฝมือในการปฏิบัติงาน เชน การตะไบ การสกัด การเลื่อย การใชเครื่องมือกล การเชื่อม โลหะ การซอมเครื่องยนต เปนตน ลวนเปนพฤติกรรมที่ตองแสดงออกของกลามเนื้อในดานความ ถู ก ต อ ง ความคล อ งแคล ว ความเชี่ ย วชาญและชํ า นาญการ ซึ่ ง เมื่ อ ได รั บ การฝ ก ฝนที่ ดี แ ล ว กลามเนื้อจะจดจําทักษะนั้นไวไดนาน การจดจําทักษะจะอยูไดนานหรือคงทนกวาการจดจําความรู ทางสมอง เราจะเห็นไดวาเมื่อเราไดตะไบเปนแลว ไมวาเวลาจะผานไปนานเพียงใด เราก็ยัง สามารถปฏิ บั ติ ก ารตะไบได อี ก แม ว า จะขาดความคล อ งแคล ว ไปบ า งก็ จ ะสามารถฟ น คื น ได เหมือนเดิมในเวลาอันรวดเร็ว สวนการจดจําความรูทางสมอง เชน การจดจําคําศัพทตาง ๆ นั้นจะ จําอยูไดไมนาน เมื่อไมไดนํามาใชงาน และไมอาจฟนคืนกลับมาไดงายนัก ทักษะซึ่งไดเรียนรูไปแลวนั้น จะสามารถจดจําไดนานหรือลืมยาก ดังนั้นการเรียนรู ทักษะจึงจะตองมี ความระมัดระวังพอควร ผูเ รียนจะไดรับการเรียนรูดวยการฝ กหั ดในทั กษะที่ ถูกตองเสียตั้งแตตอนระยะเริ่มตน ถาหากไดฝกหัดในสิ่งที่ผิดหรือในสิ่งที่ไมเหมาะสม จะทําให ผูเรียนจดจําทักษะนั้นไป ซึ่งจะเปนการยากแกการแกไขในภายหลัง การสาธิตหรือการแสดงของ ครูจะตองดําเนินการใหถูกตอง และการฝกหัดของผูเรียนก็ควรจะอยูภายใตการควบคุมอยางใกลชิด ของผูสอนโดยมีการตรวจปรับที่ดีอยูตลอดเวลา การฝกปฏิบัติทางทักษะจะตองไดรับการพัฒนาและ ฝกฝนทีละนอยโดยอาศัยเวลา ทักษะที่ดีไมอาจจะฝกฝนไดดวยเวลาอันสั้น และลําดับความยาก ของทักษะควรจะไดถูกจัดใหเหมาะสมจากทักษะงายทีละทักษะใหมีความชํานาญอยางเพียงพอกอน แล ว จึ ง ค อ ยเพิ่ ม ความยากขึ้ น เป น ลํ า ดั บ การฝ ก หั ด จะได ผ ลดี ม ากยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ ผู เ รี ย นได ฝ ก หั ด ใน สถานการณของงานจริงและมีชวงเวลาในการฝกที่เหมาะสม ตลอดจนมีชวงเวลาของการหยุดพัก บาง และมีการเสริมกําลังใจจากผลของการฝกหัดที่ดี ซึ่งจะชวยใหการฝกทักษะไดรับผลดี และ สงเสริมปริมาณรับไดใหมีประสิทธิภาพที่ดีอีกดวย (สุชาติ ศิริสุขไพบูลย. 2527: 82-83)


90 6.2 ความหมายของความคงทนในการเรียนรู ในการศึกษาความหมายของความคงทนในการเรียนรูไดมีนักการศึกษาหลายทานได ใหความหมายไวดังนี้ อาดัม (Adam. 1998: 9) กลาววา ความคงทนทางการเรียนรู คือ การคงไวซึ่งผลการ เรียนหรือความสามารถที่จะระลึกไดตอสิ่งเราที่เคยเรียน หรือเคยมีประสบการณการรับรูมาแลว หลังจากที่ไดทิ้งไวชั่วระยะเวลาหนึ่ง กาเย (Gagne'. 1977) กลาววา ความคงทนในการเรียนรู เปนการสะสมสิ่งที่เรียนรู ซึ่งก็คือความสามารถในการเก็บรักษาหรือสะสมสิ่งที่ไดเรียนรูใหคงอยู หรือกลายเปนความจําระยะ ยาว พรรณี ช. เจนจิต (2538) กลาววา ความคงทนในการเรียนรู เปนพฤติกรรมที่ผูสังเกต สามารถระลึกถึงสิ่งที่สังเกตไดเปนภาพในใจ และสามารถเขารหัสดวยคําพูดหรือถอยคํา และยัง เปนผูที่สามารถแสดงพฤติกรรมเลียนแบบไดแมเวลาจะผานไป กมลรัตน หลาสุวงษ (2541: 129) สรุปไดวา ความคงทนทางการเรียนรู หมายถึง การรวบรวมประสบการณตาง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรูทั้งทางตรงและทางออม แลวสามารถ ถายทอดออกมาในรูปของการระลึกไดหรือการจําได สุชา จันทรเอม (2544: 201) ไดใหความหมายของความคงทนในการเรียนรูไววา ความคงทนในการเรี ยนรู คือ การเก็บหรือรักษา และความเขาใจที่เ กิดจากการรับรู โดยผาน ประสาทสัมผัสตาง ๆ จากความหมายของความคงทนในการเรียนรูที่นักการศึกษาไดใหไว อาจสรุปไดวา ความคงทนในการเรี ย นรู หมายถึ ง ความสามารถของผู เ รี ย นในการระลึ ก ถึ ง ความรู หรื อ ประสบการณที่เคยไดเรียนรูมา หลังจากทิ้งไวชวงระยะเวลาหนึ่ง จากความหมายของความคงทน ในการเรียนรู สิ่งที่มีอิทธิพลอยางมากตอความคงทนในการเรียนรูคือการจํา ดังนั้นการศึกษาความ คงทนในการเรียนรูจําเปนที่จะตองศึกษาความรูเกี่ยวกับการจํา เพื่อใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับ ความคงทนในการเรียนรูอยางแทจริง 6.3 ความหมายของการจํา การจําเปนสิ่งที่มีความสําคัญยิ่งตอการเรียนรู การจดจําเหตุการณตาง ๆ ที่คนเรา รับรูมีความสําคัญอยางยิ่งในการดํารงชีวิตและการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม มีนักการศึกษา หลายทานไดใหความหมายของความจําไว ดังตอไปนี้ แอนเดอรสัน (Anderson. 1995: 5) กลาววา การจํา หมายถึง การบันทึก ประสบการณใหมีความคงทน ซึ่งอาศัยการเรียนรูเปนฐาน กมลรัตน หลาสุวงษ (2541: 128) ไดใหความหมายของการจําวา การจํา หมายถึง กระบวนการที่ ส มองสามารถสะสมประสบการณ ต า ง ๆ ที่ ไ ด รั บ จากการเรี ย นรู ทั้ ง ทางตรงและ ทางออม แลวสามารถถายทอดออกมาในรูปของการระลึกไดหรือจําได


91 ถวิล ธาราโภชน และ ศรัณย ดําริสุข (2545: 93) กลาวถึงความหมายของการจําวา หมายถึง ความสามารถในการเก็บเรื่องราวตาง ๆ ไวในตัวของเราและระลึกออกมาเมื่อมีการอางถึง เรื่องนั้น ๆ จิราภา เต็งไตรรัตน และคนอื่นๆ (2544: 138) ไดใหความหมายของการจําไววา คือ ความสามารถคงสิ่งที่ไดเรียนรูไดและระลึกได การจําเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ เชนเดียวกับการ รับรู การคิด พฤติกรรมที่เกิดขึ้นภายในจิตใจนี้เปนพฤติกรรมภายในไมสามารถสังเกตเห็นได โดยตรง จากความหมายของการจํ า ดั ง ที่ ก ล า วมาแล ว สรุ ป ได ว า การจํ า หมายถึ ง ความสามารถในการเก็บหรือบันทึกเรื่องราวที่ไดเรียนรูหรือประสบการณที่เคยผานมา และระลึกได เมื่อตองการนําความรูนั้นมาใชหรือมีการกลาวถึงเรื่องนั้น ๆ 6.4 ชนิดของความจํา แอตคินสัน และซิฟฟริน (Atkinson; & Shiffrin. 1968.) ไดแบงความจําของมนุษย ออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1. ความจําจากการรูสึกสัมผัส (Sensory Memory) หมายถึง การคงอยูของ ความรูสึกสัมผัสหลังจากเสนอสิ่งเราสิ้นสุดลง การสัมผัสดวยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ไดแก หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง หรือสวนใดสวนหนึ่ง 2. ความจําระยะสั้น (Short-term Memory) เขียนยอวา STM คือ ความจําหลังการ เรียนรูเปนความจําที่คงอยูในระยะเวลาสั้น ๆ ที่ตั้งใจจําหรือใจจดจอตอสิ่งนั้นเทานั้น เมื่อไมไดใสใจ ในสิ่งเหลานั้นแลวความจําก็จะเลือนหายไป 3. ความจําระยะยาว (Long-term Memory) เขียนยอวา LTM หมายถึง ความจําที่ คงทนมากกวาความจําระยะสั้น ไมวาจะทิ้งระยะไวเนิ่นนานเพียงใด ถาเมื่อตองการรื้อฟนความจํา นั้น ๆ จะระลึกออกมาไดทันทีและถูกตอง ระบบความจําระยะยาวนี้เปนระบบความจําที่มีคุณคายิ่ง เปนความหมายหรือความเขาใจในสิ่งที่ตนรูสึก เปนการตีความ จึงขึ้นอยูกับประสบการณเดิม ความสนใจและความเชื่อของแตละคน 6.5 ทฤษฎีความจํา แอตคินสัน และซิฟฟริน (Atkinson; & Shiffrin. 1968.) ไดกลาวถึงทฤษฎีความจํา สองกระบวนการ (Two Process Theory of Memory) ซึ่งแสดงดังภาพประกอบ 11


92

สิ่งเรา

ความจําระยะสั้น

การฝงตัว

ความจําระยะยาว

สลายตัว ลืม

ภาพประกอบ 11 ทฤษฎีความจําสองกระบวนการ ที่มา: Atkinson; & Shiffrin. (1968). Human Memory: A Proposed System and Its Control Processes. จากภาพประกอบ 11 สวนประกอบในโครงสรางของความจําประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ การรับรู การจําระยะสั้น และการจําระยะยาว สวนการลืมนั้นอาจจะเกิดขึ้นในขั้นตอน ใด ๆ ก็ได ความจําระยะสั้นเปนการจําเพียงชั่วคราว แตความจําระยะยาวเปนการจําที่ถาวรจะ เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งใดมาสะกิดใจแลวสามารถรื้อฟนขึ้นมาได ความจําระยะยาวนี้ คือ ความคงทนในการ จํานั่นเอง หรือกลาวสรุปไดดังนี้ 1. ความจําระยะสั้นเปนความจําชั่วคราว 2. สิ่งที่จําไวในความจําระยะสั้นตองไดรับการทบทวนตลอดเวลา ไมเชนนั้นความจํา จะสลายตัวไปอยางรวดเร็ว 3. ในการทบทวนนั้น เราจะไมสามารถทบทวนทุกสิ่งที่เขามาอยูในความจําระยะสั้น ดังนั้นจํานวนสิ่งของที่เราจําไดในความจําระยะสั้นจึงมีจํากัด 4. สิ่งใดก็ตามถาอยูในความจําระยะสั้นยิ่งนานก็จะมีโอกาสฝงตัวอยูในความจําระยะ ยาวมากเทานั้น 5. การฝงตัวในความจําระยะยาว เปนกระบวนการสรางความสัมพันธระหวางสิ่งที่ อยูในความจําระยะยาวแลวกับสิ่งเราที่เราตองการจํา


93 กาเย (Gagne'. 1977) ไดอธิบายขั้นตอนของกระบวนการเรียนรูและการจําพอสรุปได ดังนี้ 1. การจูงใจ (Motivation Phase) เปนการชักจูงใหผูเรียนอยากเรียนรู 2. การทําความเขาใจ (Apprehending Phase) เปนขั้นที่ผูเรียนสามารถเขาใจ สถานการณที่เปนสิ่งเรา 3. การเรียนรูปรุงแตงสิ่งที่เรียนรูไวเปนความจํา (Acquisition Phase) ขั้นนี้จะมีการ เปลี่ยนแปลงเปนความสามารถอยางใหมเกิดขึ้น 4. ความสามารถในการสะสมสิ่งเราเก็บไวในความจํา (Retention Phase) ขั้นนี้เปน การนําสิ่งที่เรียนรูไปเก็บไวในสวนของความจําชวงเวลาหนึ่ง 5. การรื้อฟน (Recall Phase) ขั้นนี้เปนการเอาสิ่งที่เรียนรูไปแลวและเก็บเอาไวนั้น ออกมาใชในลักษณะของการกระทําที่สังเกตได 6. การสรุปหลักการ (Generalization Phase) ขั้นนี้เปนความสามารถที่ใชในสิ่งที่ เรียนรูไปแลวไปประยุกตกับสิ่งเราใหมที่ประสบมา 7. การลงมือปฏิบัติ (Performance Phase) เปนการแสดงพฤติกรรมที่แสดงออกถึง การเรียนรู 8. การสรางผลยอนกลับ (Feedback Phase) ขั้นนี้ผูรับทราบผลการเรียนรู ถาขั้น ทําความเขาใจและการเรียนรูไมดี ขั้นการจําก็จะลดลงหรือจําไมไดเลยจากกระบวนการเรียนรูแสดง ใหเห็นวา คนเราจะจําสิ่งที่เรียนมาไดมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับกระบวนการเรียนรู วาจะชวยให เกิดความจําระยะยาวแกผูเรียนไดดีเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 6.6 หลักการจัดการเรียนการสอนที่มีผลตอความคงทนในการเรียนรู วารินทร รัศมีพรหม (2532: 62-64) ไดกลาวถึงหลักการจัดการเรียนการสอนที่มีผล ตอความคงทนในการเรียนรู ไวดังนี้ 1. การเรียนรูสิ่งที่มีความหมายตอผูเรียน จะทําใหผูเรียนเรียนไดเร็วและจําไดนาน กวาสิ่งที่ไรความหมาย 2. การเรียนรูที่เชื่อมโยงวัสดุหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกันมากกวา 2 อยางขึ้นไป จะ เกิดขึ้นไดถานําวัสดุหรือเหตุการณนั้นไวติดกันหรือตอเนื่องกัน หลักการนี้มาจากหลักการที่เรียกวา หลักความใกลชิด (Proximity) และหลักความตอเนื่อง (Contiguity) 3. ความถี่ของสิ่งเรา (Stimulus) และการตอบสนองที่เกิดขึ้นเหมือนหรือคลายกัน มี อิทธิพลตอการเรียนรู ตามกฎความถี่ของ ธอรนไดค (Thorndike) นั่นเอง การกระทําซ้ํา ๆ หรือการ ซั กซอมนั้น จะเกิ ดประโยชนอยางดี ตอความคงทนของข อมู ล ในระยะสั้น ๆ แตก ระบวนการที่ “active” เชน การใหรหัส การเสริมแตงและการถายทอดเปนอยางดีจะเปนสิ่งสําคัญสําหรับความ คงทนของขอมูล (ความจํา) ในความจําระยะยาว


94 การกระทําซ้ํา ๆ เปนสิ่งจําเปนในการเรียนทักษะและในการเรียนรูสิ่งที่ไรความหมาย ดังนั้นผูออกแบบสารจึงตองออกแบบสารใหมีความหมายที่ผูเรียนสามารถจําไดดีขึ้น 4. การเรียนรูขึ้นอยูกับผลเปนอยางมาก ถาผลของการเรียนนั้นใหความชื่นชอบ ความนาสนใจ ลดความตึงเครียด มีประโยชน ใหรางวัล หรือเปนขอมูลที่ตอ งการการเรียนรู จะมี ประสิทธิภาพมากขึ้นและคงทนมากขึ้นตามกฎของ ธอรนไดค คือ กฎแหงความพอใจ (Law of Effect) 5. การเรียนรูนั้นสามารถจะวัดใหแตกตางกันไดโดยขึ้นอยูกับสภาพของการวัดดวย เชน ถาวัดความจําก็ควรใหมีการเรียนรูเพื่อใหจํา เปนตน อุดม จํารัสพันธุ (2541: 118) ไดอธิบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อให ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ข อ เท็ จ จริ ง และมี ค วามคงทนในการเรี ย นรู ต อ งจั ด สิ่ ง เร า ในการเรี ย นให เอื้ออํานวยตอการรับสัมผัส การรับรูและการจําที่ดี ซึ่งมีขอคํานึงในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. จัด ระบบระเบี ย บสื่ อเอกสารที่ใ ช ใ นการเรี ย นให เ ปนหมวดหมู สะดวกตอ การ เรียนรู 2. ชวยใหนักเรียนเกิดการรับรูอยางมีความหมาย โดยสรางความสัมพันธระหวาง ความรูเดิมและความรูใหมที่ไดรับ 3. สื่อเอกสารขอสนเทศที่ซับซอนตองมีการเรียงลําดับกอนหลังใหเอื้อตอการเรียนรู 4. จัดเตรียมคําสรุปความรูที่ถูกตองเอาไวใหผูเรียนไดตรวจสอบความรูความเขาใจ ของตน 5. จัดใหมกี ารฝกหรือการทบทวนเพื่อใหเกิดความคงทนในการจํา 6. สงเสริมใหผูเรียนตรวจสอบและประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง พิมพันธ เดชะคุปต (2544: 10) ไดอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนที่เนนให ผูเรียนสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง (Constructivism) ที่ทําใหผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรู สรุปไดวา ความรูที่ผูเรียนสรางขึ้นเองจะทําใหเกิดโครงสรางทางสติปญญา (Cognitive Structure) ที่อยูในชวงความจําระยะยาว (Long-term Memory) เปนการเรียนรูอยางมีความหมายทําใหผูเรียน สามารถจําไดถาวร และสามารถนําไปใชไดในสถานการณตาง ๆ เพราะโครงสรางทางสติปญญา คือ กรอบของความหมายหรือแบบแผนที่บุคคลสรางขึ้น ใชเปนเครื่องมือในการตีความหมาย ให เหตุผล แกปญหา ตลอดจนเปนพื้นฐานการสรางโครงสรางทางปญญาใหม 6.7 การวัดความคงทนในการเรียนรู ในการเรียนการสอนเมื่อดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จแลว นอกจาก จะทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือทักษะปฏิบัติขิงผูเรียนแลว ผูสอนควรวัดความคงทน ในการเรียนรูหรือความคงทนของทักษะปฏิบัติของผูเรียน มีนักการศึกษาไดกลาวถึงการวัดความ คงทนในการเรียนรู ดังนี้


95 อดัมส (Adams. 1967: 9) ไดกลาวเกี่ยวกับการวัดความคงทนในการเรียนรู สรุปได วา การประเมินผลการเรียนรูเปนการพิจารณาผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ถาประเมินผลทันทีที่ ผูเรียนเรียนจบ ผลประเมินที่ไดจะเปนผลของการเรียน แตหากประเมินผลหลังจากเรียนรูแลวทิ้ง ไวระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจเปน 2 นาที 5 นาที หรือหลาย ๆ วัน การเปลี่ยนแปลงที่ไดจะเปนผล ของการเรียนรูและความคงทนในการเรียน กมลรัตน หลาสุวงษ (2541: 242-248) ไดกลาวถึงการวัดความคงทนในการเรียนรูวา เมื่อผูเรียนไดเรียนรูแลวจะมีการคงไวซึ่งผลการเรียนรู หรือสามารถระลึกไดตอสิ่งเราที่เคยไดเรียน หรือมีประสบการณรับรูมาแลว โดยจะทิ้งไวสักระยะหนึ่งแลวจึงทําการวัดจึงเรียกวา การวัดความ คงทนในการเรียนรูหรือการทดสอบความจํา ซึ่งมีวิธีการวัดอยู 3 วิธี คือ 1. การจําได (Recognition) เปนการทดสอบความจํา โดยการปรากฏสิ่งเราที่เคย ประสบมาแลวในอดีตปะปนกับสิ่งเราใหมๆ แลวชี้วาสิ่งเราใดเปนสิ่งเราเดิมไดถูกตอง เชน การชี้ตัว ผูตองหาบนโรงพัก โดยปะปนอยูกับบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับเหตุการณนั้น ๆ 2. การระลึกได (Recall) เปนการดึงความจําถึงสิ่งที่เคยประสบมาในอดีตไดโดยไมมี สิ่งเราที่เคยประสบมาปรากฏใหเห็น 3. การเรียนซ้ํา (Relearning) หมายถึง การทําซ้ํา ๆ หรือเสนอสิ่งเราซ้ํา ๆ ในการ เรียนรู การเรียนรูแบบนี้มักใชวัดดวยเวลาหรือจํานวนครั้ง การวัดความจําโดยการเรียนซ้ํานี้วัดได เร็วกวาการจําไดและการระลึกได กลาวคือ ความจําบางอยางเหลือนอยจนไมอาจวัดไดดวยวิธีการ จําหรือการระลึก แตเมื่อใชวิธีการเรียนซ้ําก็จะพบวายังมีความจําเหลืออยู เชน เมื่อเยาววัยเรา เรียนรูการทองอาขยานบทหนึ่งถึง 10 ครั้งจึงจําได ครั้นโตขึ้นเราคิดวาลืมบทอาขยานนั้นไปแลวแต ถาตองการเรียนรูใหมจะใชระยะเวลาในการทองจําเพียง 5 ครั้ง หรือนอยกวา 10 ครั้ง ก็สามารถจํา ได การวัดความคงทนในการเรียนตองคํานึงถึงระยะเวลาที่ใชวัดความคงทนในการเรียนรู เนื่องจากการสอนเร็วไปอาจเกิดปญหาเด็กจําขอสอบได และถาทิ้งระยะเวลานานเกินไปผูเรียน อาจจะลืมสิ่งที่เรียนรูไปแลว ดังนั้นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาหลายทานไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ เวลาที่ใชวัดความคงทนในการเรียนรู ดังนี้ นันนาลลี (Nunnally. 1959: 105-108) ไดเสนอวา การลดความคลาดเคลื่อนในการวัด ความคงทนในการเรียน ควรเวนชวงเวลาในการสอบหางกันอยางนอย 2 สัปดาห เพราะความเคย ชินในการทําแบบทดสอบจะทําใหคาสหสัมพันธระหวางคะแนนทั้งสองครั้งสูง และหากคะแนนที่ได จากการทดสอบโดยเวนชวงหางระหวางการทดสอบครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มาก จะมีคาความเชื่อมั่น มากกวาการเวนชวงหางระหวางการทดสอบนอย ลินดวอลล และนิทโค (Lindvall; & Nitko. 1967: 127) ไดกลาวไววา การสอบซ้ําควร ทิ้งระยะหางกันตั้งแต 1 สัปดาห ถึง 1 เดือน เพราะการเวนชวงเวลาดังกลาวจะทําใหเกิดการคงที่ ของคะแนนที่ไดจากการสอบซ้ํา


96 ชัยพร วิชชาวุธ (2540) กลาววา การศึกษาทบทวนสิ่งที่จําไดอยูแลวซ้ําอีก จะชวย ใหความจําถาวรมากขึ้น ชวงเวลาที่ความจําระยะสั้นจะฝงตัวกลายเปนความจําระยะยาว หรือ ความคงทนในการเรียนใชเวลาประมาณ 14 วัน หลังจากไดเรียนรูผานไปแลว จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับความคงทนทางการเรียนรู สรุปไดวา ความคงทน ทางการเรียนรู โดยมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอการจํา คือ ทัศนคติและความในใจ , การฝกฝน และ ระยะเวลา โดยเฉพาะในเรื่องความคงทนของทักษะปฏิบัติ จะสัมพันธกับการฝกฝน โดยถาผูเรียน ฝกฝนทบทวนในสิ่งที่เรียนอยูเสมอ ก็จะทําใหสามารถจดจําสิ่งนั้นไดเปนเวลานาน นอกจากนี้ยัง สัมพันธกับกระบวนการเรียนรูและการจําของกาเย (Gagne') ที่จะทําใหเกิดความคงทนของทักษะ ปฏิบัติไดคือการลงมือปฏิบัติ (Performance Phase) เปนการแสดงพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการ เรียนรู โดยชวงระยะเวลาที่ความจําระยะสั้นจะฝงตัวกลายเปนความจําระยะยาวหรือความคงทนใน การเรียนรูจะใชเวลาประมาณ 14 วัน การวัดความคงทนในการเรียนรูมี 3 วิธี คือ การจําได การ ระลึกได และการเรียนซ้ํา ทักษะปฏิบัติ (Motor Skill) หรือ ทักษะทางกลามเนื้อ (Psychomotor Skill) เปนพฤติกรรมที่ตองแสดงออกของกลามเนื้อในดานความถูกตอง ความคลองแคลว ความ เชี่ยวชาญและชํานาญการ ซึ่งเมื่อไดรับการฝกฝนที่ดีแลว กลามเนื้อจะจดจําทักษะนั้นไวไดนาน การจดจําทักษะจะอยูไดนานหรือคงทนกวาการจดจําความรูทางสมอง ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัย เลือกใชเวลา 2 สัปดาหในการดําเนินการทดสอบซ้ําเพื่อวัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ (ชัยพร วิชชาวุธ. 2540) การกําหนดรอยละของความคงทนของทักษะปฏิบัติที่เหลืออยู ใชเกณฑตามที่เอบ บิงฮอส (Ebbinghaus. 1850-1909) ไดทําการศึกษาคนควาเกี่ยวกับการจําและการลืม ปรากฏวา ภายหลังจากการเรียนแลว 2 วัน เหลือ 30% และผานไป 31 วัน ความจําเหลือเพียง 20% โดย กําหนดทักษะปฏิบัติที่ยังคงเหลืออยูไวที่รอยละ 80% ซึ่งกําหนดไวสูงกวารอยละของขอมูลที่จําได เพราะทักษะปฏิบัติเมื่อทําไดแลวจะอยูไดนานหรือคงทนกวาการจดจําความรูทางสมอง (สุชาติ ศิริ สุขไพบูลย. 2527: 83)

7. การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา 7.1 ความหมายของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา นักการศึกษาไดกลาวถึงความหมายของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา ดังนี้ การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา (Educational Research and Development: R&D) เปนการพัฒนาการศึกษาโดยพื้นฐานการวิจัย (Research Based Education Development) เปนกลยุทธหรือวิธีการสําคัญวิธีหนึ่งที่นิยมใชในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการศึกษา โดยเน น หลั ก เหตุ ผ ลและตรรกวิ ท ยาเป า หมายหลั ก คื อ ใชเ ป น กระบวนการในการพัฒ นาและ ตรวจสอบคุณภาพของผลผลิตทางการศึกษา (Education product) อันหมายถึง วัสดุครุภัณฑทาง การศึกษา ไดแก หนังสือแบบเรียน ฟลม สไลด เทปเสียง เทปโทรทัศน คอมพิวเตอรและโปรแกรม คอมพิวเตอร ฯลฯ (Borg; & Gall. 1979: 771-798; พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ. 2531: 21-24)


97 7.2 ความสําคัญของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา การวิ จั ย และพั ฒ นาทางการศึ ก ษา เป น กระบวนการของการพั ฒ นา การทดสอบ ภาคสนามและวิเคราะหขอมูลที่ใชจากการทดสอบ ถึงแมวาการพัฒนาสื่อจะประกอบดวยการวิจัย พื้ น ฐานและการวิ จั ย ประยุ ก ต เพื่ อ จุ ด ประสงค พื้ น ฐานในการค น พบสิ่ ง ใหม ในทางตรงกั น ข า ม เปาหมายของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา คือ การนําความรูที่ไดจากการศึกษาวิจัยไปพัฒนา สื่อ ให ส ามารถใช ไ ด ดั ง นั้ น การวิ จั ย และพั ฒ นาทางการศึ ก ษาเป น ตั ว เชื่ อ มระหว า งการวิ จั ย ทาง การศึกษาและแบบฝกหัดทางการศึกษา ซึ่งทําใหสื่อสารศึกษาสมบูรณยิ่งขึ้น (ธัญวดี มงคลพันธ. 2544) ดังนั้นในการบริหารหรือการศึกษาวิจัยที่มุงแกปญหาหรือพัฒนาใหเกิดคุณภาพ เมื่อ ผูบริหารหรือผูปฏิบัติงานคนพบปญหา และเกิดความตระหนักในปญหาก็จะคิดคนรูปแบบสื่อหรือ รูปแบบการพัฒนาที่มักเรียกวา นวัตกรรม เพื่อใชในการแกปญหาหรือพัฒนางานดังกลาว โดยที่ รูปแบบสื่ อหรื อรูปแบบการพัฒนาที่คิดขึ้นจะตองมี เหตุผล หลักการหรือทฤษฎีรองรับ ทั้งนี้อาจ เลื อ กใช วิ ธี ก ารปรั บ ปรุ ง ในสิ่ ง ที่ มี ผู อื่ น ได ศึ ก ษา หรื อ เคยใช ไ ด ผ ลในสถานการณ ที่ เ ป น ป ญ หา เชนเดียวกันมากอน หรืออาจคิดวิธีการขึ้นใหมก็ได แตการทําใหรูหรือมั่นใจไดวาวิธีการที่คิดคนขึ้น นั้นดีหรือไม จําเปนตองนํามาทดลองจริง มีการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อพิสูจนวาสามารถแกปญหา หรื อ พั ฒ นางานได ถ า ไม ป ระสบผลสํ า เร็ จ ก็ ต อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง จนได ผ ลดี สามารถนําไปเผยแพรใหผูอื่นไดทราบหรือนําไปใชไดตอไป (ธเนศ ขําเกิด. 2540: 157) 7.3 การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษากับการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษาตางจากการวิจัยทางการศึกษาใน 2 ประการ คือ 7.3.1 เปาประสงค (Goal) การวิจัยทางการศึกษามุงคนควาหาความรูใหมโดยการ วิจัยพื้นฐานหรือมุงคําตอบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานโดยการวิจัยประยุกต แตการวิจัยและพัฒนาทาง การศึกษา มุงพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพผลผลิตทางการศึกษา แมวาการวิจัยประยุกตทางการ ศึกษาหลายโครงการก็มีการพัฒนาผลผลิตทางการศึกษา เชน การวิจัยเปรียบเทียบประสิทธิผลของ วิธีสอน หรืออุปกรณการสอน ผูวิจัยอาจพัฒนาสื่อหรือผลผลิตทางการศึกษา สําหรับการสอนแตละ แบบ แตผลผลิตเหลานี้ไดใชสําหรับการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยแตละครั้งเทานั้น ไมไดพัฒนา ไปสูการใชสําหรับโรงเรียนทั่วไป 7.3.2 การนําไปใช การวิจัยการศึกษามีชองวางระหวางผลการวิจัยกับการนําไปใช จริงอยางกวางขวาง กลาวคือ ผลการวิจัยทางการศึกษาจํานวนมากอยูในตูไมไดรับการพิจารณา นําไปใช นั กการศึ กษาและนั กวิจัยจึงหาทางลดชองวางดั งกลาวโดยวิธีที่เรียกวา “การวิจัย และ พัฒนา” อย า งไรก็ ต าม การวิ จั ย และพั ฒ นาทางการศึ ก ษามิ ใ ช สิ่ ง ที่ จ ะทดแทนการวิ จั ย การศึกษา แตเปนเทคนิควิธีที่จะเพิ่มศักยภาพของการวิจัยการศึกษาใหมีผลตอการจัดการศึกษา คือ เปนตัวเชื่อมเพื่อแปลงไปสูผลผลิตทางการศึกษาที่ใชประโยชนไดจริงในโรงเรียนทั่วไป ดังนั้นการใช


98 กลยุทธการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษาเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการศึกษา จึงเปนการ ใชผลการวิจัยทางการศึกษาไมวาจะเปนการวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยประยุกตใหเปนประโยชนมาก ยิ่งขึ้น (Borg; & Gall. 1979: 771-798; พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ. 2531; บุญสืบ พันธุดี. 2537: 7980) 7.4 การดําเนินการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา บอรกและกอลล (Borg; &Gall. 1981: 221-229; Borg; & Gall. 1979: 222-223) ได กลาวถึงขั้นตอนสําคัญของการวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา โดยมีขั้นตอน 10 ขั้นตอน ดังนี้ 7.4.1 การกําหนดผลผลิตและรวบรวมขอมูล (Product Selection) การกําหนดผลผลิตทางการศึกษาที่จะพัฒนาเปนขั้นตอนแรกและเปนขั้นตอนที่ จําเปนที่สุดคือตองกําหนดใหชัดเจนวาผลผลิตทางการศึกษาที่จะวิจัยและพัฒนาคืออะไรโดยมีการ กําหนดลักษณะทั่วไป รายละเอียดของการใชและวัตถุประสงคของการใชและมีเกณฑในการเลือก กําหนดผลผลิต โดยมีเกณฑในการเลือกกําหนดผลผลิตการศึกษาที่จะวิจัยและพัฒนา 4 ขอ คือ 7.4.1.1 ตรงกับความตองการอันจําเปนหรือไม 7.4.1.2 ความก า วหน า ทางวิ ช าการมี พ อเพี ย งในการพั ฒ นาผลผลิ ต ที่ กํ า หนด หรือไม 7.4.1.3 บุคลากรที่มีอยูมีทักษะความรู และประสบการณที่จําเปนตอการวิจัยและ พัฒนานั้นหรือไม 7.4.1.4 ผลผลิตนั้นจะพัฒนาขึ้นในเวลาอันสมควรไดหรือไม เมื่อกําหนดผลผลิตที่ตองการวิจัยและพัฒนาไดแลวผูวิจัยจะตองรวบรวมขอมูล และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การใช ผ ลผลิ ต นั้ น ถ า มี ค วามจํ า เป น ผู ทํ า วิ จั ย และพั ฒ นาอาจต อ ง ทําการศึกษาวิจัยขนาดเล็ก เพื่อหาคําตอบซึ่งงานวิจัยและทฤษฏีที่มีอยูไมสามารถตอบได กอนที่จะ เริ่มทําการพัฒนาตอไป 7.4.2 การวางแผนการวิจัยและพัฒนา (Planning) การวางแผนการวิจัยและพัฒนาประกอบดวย (1) กําหนดวัตถุประสงคของการใช ผลผลิต (2) ประมาณการคาใชจาย (3) การกําหนดกําลังคน (4) การกําหนดระยะเวลาที่ตองใชเพื่อ ศึกษาความเปนไปได และ (5) พิจารณาผลสืบเนื่องจากผลผลิต ขั้นตอนในการวางแผนการวิจัย และพัฒนาเปนขั้นตอนที่ผูวิจัยจะสามารถคาดคะเนไดวาการวิจัยครั้งนี้จะมีแนวทางเปนไปไดหรือ ประสบความสําเร็จตามเวลาที่วางแผนไวหรือไม 7.4.3 การพัฒนารูปแบบขั้นตอนของการผลิต (Develop Preliminary Form of Product) ขั้ น นี้ เ ป น การออกแบบและจั ด ทํ า ผลผลิ ต ทางการศึ ก ษาที่ ว างไว เช น ถ า เป น โครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้นก็ตองออกแบบหลักสูตร เตรียมวัสดุหลักสูตร


99 คูมือผูฝกอบรม เอกสารในการฝ กอบรมและเครื่องมือในการประเมินผล โดยใหสอดคลองกับ จุดมุงหมายของผลผลิตทางการศึกษาที่ตั้งไว 7.4.4 ทดลองหรือทดสอบผลผลิตขั้นตน (Preliminary Field Testing) ในขั้นนี้จะเปนการนําผลผลิตที่ออกแบบและจัดเตรียมไวในขั้นที่ 3 ไปทดลองใช เพื่อทดสอบคุณภาพขั้นตนของผลผลิตในสถาบันการศึกษา จํานวน 1-3 สถาบัน ใชกลุมตัวอยาง ขนาดเล็ก 6-12 คน ประเมินผลโดยการใชแบบสอบถาม การสังเกต และการสัมภาษณ แลว รวบรวมขอมูลมาวิเคราะห 7.4.5 นําขอมูลและผลการทดลองมาปรับปรุงผลผลิตครั้งที่ 1 (Main Product Revision) ในขั้นตอนนี้จะนําขอมูลและผลการทดลองที่ไดจากขั้นที่ 4 มาปรับปรุงผลผลิตครั้ง ที่ 1 7.4.6 ทดลองหรือทดสอบผลผลิตครั้งที่ 2 (Main Field Testing) ในขั้ น นี้ จ ะนํ า ผลผลิ ต ที่ ไ ด รั บ การปรั บ ปรุ ง ไปทดลองเพื่ อ ทดสอบคุ ณ ภาพของ ผลผลิตตามวัต ถุประสงค โดยใช สถาบันประมาณ 5-15 สถาบัน ใชกลุมตัวอยาง 30-100 คน ประเมินผลเชิงปริมาณในลักษณะทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับทดสอบหลังเรียน (Post-test) นํา ผลไปเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของการใชผลผลิตอาจมีกลุมควบคุมการทดลองถาจําเปน 7.4.7 นําขอมูลและผลการทดลองมาปรับปรุงผลผลิตครั้งที่ 2 (Operational Product Revision) ในขั้นตอนนี้จะนําขอมูลและผลการทดลองที่ไดจากขั้นที่ 6 มาปรับปรุงผลผลิตครั้ง ที่ 2 7.4.8 ทดลองหรือทดสอบผลผลิตครั้งที่ 3 (Operational Field Testing) ในขั้ น นี้ จ ะนํ า ผลผลิ ต ที่ ไ ด รั บ การปรั บ ปรุ ง ไปทดลองเพื่ อ ทดสอบคุ ณ ภาพของ ผลผลิ ต ตามวัต ถุประสงคโดยใชสถาบั นประมาณ 10-30 สถาบั น ใชกลุมตัวอย าง 40-200 คน ประเมินโดยการใชแบบสอบถาม การสังเกตและการสัมภาษณแลวรวบรวมขอมูลมาวิเคราะห 7.4.9 นําขอมูลและผลการทดลองมาปรับปรุงผลผลิตครั้งที่ 3 (Final Product Revision) ในขั้นตอนนี้จะนําขอมูลและผลการทดลองที่ไดจากขั้นที่ 8 มาปรับปรุงเพื่อผลิต และเผยแพรตอไป 7.4.10 การเผยแพร (Dissemination) เสนอรายงานเกี่ ย วกั บ ผลการวิ จั ย และพั ฒ นาผลผลิ ต ในที่ ป ระชุ ม สั ม มนาทาง วิชาการหรือวิชาชีพสงไปลงเผยแพรในวารสารทางวิชาการและติดตอกับหนวยงานทางการศึกษา เพื่อจัดทําผลผลิตทางการศึกษาเผยแพรไปในโรงเรียนตาง ๆ หรือติดตอกับบริษัทเพื่อผลิตจําหนาย ตอไป


100 สวนแนวคิดของเอสพิชและวิลเลียมส (Espich; & Williams. 1967: 75-79) ไดอธิบาย ถึงการทดลองใชและปรับปรุงแกไขสื่อการสอนและบทเรียนสําเร็จรูปไว 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การทดสอบทีละคน (One to One Testing) จากกลุมตัวอยางที่มีผลการเรียน ระดับที่ต่ํากวาปานกลางเล็กนอยจํานวน 2-3 คน เพื่อใหศึกษาสื่อที่พัฒนาขึ้นและหลังจากที่ศึกษาผู ที่พัฒนาสื่อจะทําการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับขอบกพรองของสื่อจากกลุมตัวอยาง 2. การทดลองกับกลุมเล็ก (Small Group Testing) ในขั้นนี้จะใชผูทดลองเปนกลุม ประมาณ 5-8 คน จะดําเนินการที่คลายกับขั้นตอนที่ 1 แตจะใหกลุมตัวอยางไดรับการทดสอบกอน เรียนและหลังเรียนดวยเพื่อที่จะไดนําผลไปวิเคราะหทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อ โดยอาศัย เกณฑ 80/80 ซึ่ง 80 ตัวแรกหมายถึงผูเรียนรอยละ 80 ของทั้งหมดสามารถทําขอสอบไดถูกตองและ ถาผลการวิเคราะหเปนไปตามเกณฑดังกลาว ก็ปรับปรุงแกไขเฉพาะขอที่บกพรองเพื่อนําไปทดลอง ในขั้นที่ 3 ตอไป และถาหากผลการวิเคราะหไมเปนไปตามเกณฑดังกลาว ก็จะดําเนินการตาม วิธีการเดิมกับกลุมตัวอยางใหมจนกวาจะไดตามเกณฑตามที่กําหนด 3. การทดสอบภาคสนาม (Field Testing) ทดสอบกับกลุมตัวอยางที่เปนประชากร เป า หมายจริ ง โดยผู พั ฒ นาสื่ อ จะไม เ ข า ไปเกี่ ย วข อ งกั บ การทดลองด ว ยแต จ ะอาศั ย ครู ผู ส อน ดําเนินการแทนโดยใชวิธีการเชนเดียวกับตอนที่ 2 สรุปโดยในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยนําแนวทางในการวิจัยและพัฒนามาใชในการออกแบบ การวิจัยโดยมีขั้นตอนในการวิจัยดังตอไปนี้ 1. การกําหนดปญหาในการวิจัยและพัฒนา ศึกษาความเปนไปได ศึกษาเอกสารทั้ง จากบทความขอมูลทางอินเทอรเน็ตทั้งในและตางประเทศและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับสิ่งที่ตองการ ศึกษา 2. กําหนดวัตถุประสงคของการวิจัยและการวางแผนในการวิจัยทําการศึกษาขอมูลที่ เกี่ยวของกับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ จากนั้นทําการวิเคราะหสั งเคราะห รูป แบบการเรียนการสอนฝกปฏิบั ติ ท างเทคนิคบนเครือขาย อิ น เทอร เ น็ ต และออกแบบโครงสร า งของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ตโดยมีการนําทฤษฎีทางดานเทคโนโลยีการศึกษา ทฤษฎีการสอน ทฤษฎีการ เรียนรูและจิตวิทยาการเรียนรู รวมทั้งหลักการออกแบบเว็บไซต กิจกรรมและการวางแผนการ ประเมินผลผูเรียน 3. การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตตามที่ไดวางแผนและออกแบบไว 4. การทดสอบรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้นแบบหนึ่งตอหนึ่ง โดยนําไปทดลองกับผูเรียนจํานวน 3 คน ประเมินผลโดย การใชแบบสอบถาม การสังเกตและการสัมภาษณ แลวรวบรวมขอมูลมาวิเคราะห 5. ปรั บ ปรุ ง รู ป แบบรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตครั้งที่ 1


101 6. นํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตไป ทดลองกับผูเรียนกลุมเล็กที่คลายคลึงกับกลุมตัวอยาง จํานวน 9 คน ประเมินผลดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในลักษณะของการทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับการทดสอบหลังเรียน (Post-test) และประเมินผลดานทักษะปฏิบัติระหวางเรียนและทักษะปฏิบัติหลังเรียน โดยใชแบบวัดทักษะ ปฏิบัติ นําผลไปเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของการใชผลผลิต 7. ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ครั้งที่ 2 8. นํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตไป ทดลองกับกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน ประเมินผลดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในลักษณะของการ ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) กับการทดสอบหลังเรียน (Post-test) และประเมินผลดานทักษะปฏิบัติ ระหวางเรียนและทักษะปฏิบัติหลังเรียน โดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ 9. ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ครั้งที่ 3 10. เสนอรายงานเกี่ยวกับผลการวิจัยและพัฒนา จากการศึ กษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนฝ กปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดนําแนวทางวิธีระบบ (Systematic Approach) มาใชเปน กรอบในการออกแบบและพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต (วารินทร รัศมีพรม. 2542) โดยมีรายละเอียดและขั้นตอน 5 ขั้นตอน คือ 1) กําหนด ปญหาการวิจัย 2) ขั้นรวบรวมและวิเคราะหขอมูล 3) ขั้นการออกแบบ 4) ขั้นการพัฒนา 5) ขั้น การนําไปทดลองใช การควบคุม การประเมินผล และการปรับปรุงระบบ

8 . งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิ คบนเครือขายอิ นเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึ กษายังไม พบวามีผู ใดทําการศึกษาไว โดยตรง แตมีงานวิจัยบางสวนที่ไดศึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และ บางสวนที่ไดศึกษาเกี่ยวกับทักษะปฏิบัติ ซึ่งสามารถนําผลการวิจัยมาใชประโยชนได ดังจะได นําเสนอตอไปนี้ 8.1 งานวิจัยที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต บุญเรือง เนียมหอม (2540) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบการเรียนการสอน ทางอินเทอรเน็ตในระดับอุดมศึกษา ผลการวิจัยพบวา 1. การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ตในปจจุบัน ดวยการ วิจัยเอกสาร โดยวิเคราะหเนื้อหาเอกสารอิเล็กทรอนิกสจากเวิลดไวดเว็บ พบวาระบบการเรียนการ


102 สอนเนนองคประกอบดานกระบวนการเรียนการสอนดวยกิจกรรมอินเทอรเน็ต การควบคุม การ ติดตามการเรียน และการเตรียมความพรอมทรัพยากรสนับสนุนการเรียนทางอินเทอรเน็ต มีการใช ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และเวิลดไวดเว็บในการเรียนการสอนมากที่สุด ใชรูปแบบการเรียนการ สอนตามทัศนะนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม ผสมผสานกับการเรียนแบบรวมมือ และการเรียนรูดวย ตนเอง โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางเว็บไซต 2. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ต ดวยวิธีการเชิงระบบไดระบบ การเรียนการสอน ประกอบดวยองคประกอบ 12 ประการ และไดรูปแบบกระบวนการเรียนการสอน ทางอินเทอรเน็ต จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม และ กระบวนการสอนของกาเย ผสมผสานกับรูปแบบการเรียนแบบรวมมือ การเรียนดวยตนเอง และ การศึกษารายบุคคล โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางเว็บเพจหองเรียนเสมือน ที่มี โครงสรางประกอบดวยโฮมเพจ เว็บเพจประกาศ เว็บเพจประมวลรายวิชา เว็บเพจ หองเรียน เว็บ เพจทรัพยากรการเรียนรู เว็บเพจประเมินผล และเว็บเพจประวัติ 3. การประเมินระบบการเรียนการสอน โดยเชิญอาจารยจํานวน 23 คนเขารวม ทดลองสรางเว็บไซตการเรียนการสอนตามระบบรูปแบบกระบวนการเรียนการสอน และโครงสราง เว็ บ เพจที่ ผู วิ จัย ได พัฒ นาขึ้ น พบว า ระบบการเรี ย นการสอนมี ค วามเหมาะสมทุ ก องคประกอบมีความจําเปน อาจารยตางสาขากันมีความคิดเห็นไมแตกตางกันในเรื่องความ จําเปนของขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอน และอาจารยสามารถนําระบบไปใช ในการ ออกแบบระบบการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ตได แตการนําไปใชงานจริงสวนใหญพบปญหาการ ติดตอกับแหลงทรัพยากรภายนอก ความลาชาในการรับสงขอมูล และไมสามารถติดตอกับ แหลงขอมูลไดตามตองการ ทิพยเกสร บุญอําไพ (2540) ทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบการสอนเสริมทางไกล ผานอินเทอรเน็ตของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ผลการวิจัยพบวา 1. ระบบการสอนเสริ ม ทางไกลผ า นอิน เทอร เ น็ ต (DTSI Plan) ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชที่พัฒนาขึ้นประกอบดวยองคประกอบหลัก 6 องคประกอบ ซึ่ง จัดเปนขั้นตอน 6 ขั้น ไดแก 1) การวิเคราะหสถานการณ 2) การออกแบบการเรียนการสอน 3) การผลิตชุดการสอนผานอินเทอรเน็ต 4) การทดสอบประสิทธิภาพ 5) การดําเนินการเรียนการ สอนผานอินเทอรเน็ต และ 6) การประเมินผลและปรับปรุง ระบบการสอนเสริมทางไกลผาน อินเทอรเน็ต ไดรับการประเมินจากผูทรงคุณวุฒิทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา และทาง ระบบการศึกษาทางไกล เห็นวาอยูในเกณฑ “เหมาะสมมาก” 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสอนเสริมทางไกลผานอินเทอรเน็ตกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจากการสอนเสริมโดยวิธีเผชิญหนาไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญที่ .05 3. ความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนจากการสอนเสริมทางไกลผานอินเทอรเน็ตอยู ในเกณฑ “เห็นดวยมาก”


103 สุวิทย ปูทอง (2541) ไดศึกษาเรื่อง การนําเสนอการสอนอินเทอรเน็ตสําหรับผูเรียน ระดับอุดมศึกษา พบวา จุดประสงคในการสอนอินเทอรเน็ตระดับชาติ เพื่อเปนการพัฒนาเยาวชน ของชาติใหสามารถใชอินเทอรเน็ตในฐานะที่เปนเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนหาขอมูล ในระดับ หลักสูตร เพื่อใหผูเรียนรักในการแสวงหาความรู รูถึงมารยาทในการใชและสามารถใชอินเทอรเน็ต ไดอยางมีประสิทธิภาพ ในระดับรายวิชา ผูเรียนควรที่จะสามารถใชบริการตาง ๆ ในอินเทอรเน็ต โดยเฉพาะการใชอินเทอรเน็ตเพื่อการสืบคนขอมูล สวนเนื้อหาควรประกอบดวย การใชบริการ เวิลด ไวด เว็บ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต การเชื่อมตอเครือขาย การใชงานโปรแกรม รับสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส การถายโอนแฟมขอมูล การสรางเว็บเพจ ความรูเกี่ยวกับฮารดแวร และซอฟตแวร สวนดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบดวยการบรรยายและการฝก ปฏิบัติ ผูสอนควรมอบหมายใหผูเรียนเปนผูสืบคนหาคําตอบดวยตนเองโดยใชอินเทอรเน็ตเปน เครื่องมือ ผูสอนจะตองติดตามขาวสาร ขอมูลเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตอยางสม่ําเสมอ ในสวนของ อุปกรณ เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการเรียนการสอนควรเปนเครื่องเพนเทียมขึ้นไป มีอุปกรณ โมเด็ม อุปกรณการสอนควรใชเครื่องถายทอดสัญญาณ แอล ซี ดี โปรเจคเตอร หรือโทรทัศนและ เครื่องแปลงสัญญาณ ในดานโปรแกรมควรใชโปรแกรมสืบคนเน็ตสเคปและอินเทอรเน็ตเอ็กพลอ เรอรที่ใชงานบนโปรแกรมวินโดวส 95 และในดานวิธีการวัดและประเมินผล แบงเปน 2 สวนคือ ภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎี ในการสอบภาคปฏิบัติจะทดสอบกับเครื่องคอมพิวเตอร และภาคทฤษฎี ใชแบบทดสอบ เกณฑในการวัดและประเมินผลประกอบดวยภาคทฤษฎีรอยละ 40 และภาคปฏิบัติ รอยละ 60 สมพร สุขะ (2545) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบของเว็บเพจเพื่อการเรียนรู ดวยตนเองผานเครือขายอินเทอรเน็ต” ผลการวิจัยพบวา 1. รูปแบบของเว็บเพจที่พัฒนาในหกดาน ไดแก การนําเสนอเนื้อหาสื่อมัลติมีเดีย การโต ต อบกั บ ผู ใ ช ระบบการนํ า ทาง ภาพประกอบ และส ว นสนั บ สนุ น การใช ง าน มี ค วาม เหมาะสมในการเรียนรูดวยตนเองผานเครือขายอินเตอรเน็ต ในระดับมาก 2. ความตองการในการเรียนรูเนื้อหาจากเว็บเพจผานเครือขายอินเตอรเน็ตของนิสิต ระดับปริญญาตรีในระดับตองการมาก มีเจ็ดเรื่อง ไดแก แนะนําเว็บไซตสําหรับวัยรุน โครงการ ถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย ผลกระทบตอสุขภาพจากการใชคอมพิวเตอร แนะนําวิธีคลายเครียด โทรศัพทฟรีอินเตอรเน็ต วิธีเรียนใหประสบผลสําเร็จและเสนทางรถเมลไปมหาวิทยาลัยใน กทม. 3. ผลการทดสอบความรูของนิสิตหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยทางสถิติที่ ระดับ .05 เสกสรร สายสีสด (2545) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการ สอนโดยใชอินเทอรเน็ต สําหรับสถาบันราชภัฏ” ผลการวิจัยพบวา 1. การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการสอนโดยใชอินเทอรเน็ต สําหรับสถาบันราช ภัฏ ที่ทําการวิเคราะหเนื้อหา ไดขั้นตอนรูปแบบระบบ จํานวน 11 ขั้นตอน ประกอบดวยการ กําหนดเปาหมายการเรียนการสอน วิเคราะหผูเรียน ออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรม


104 การเรียนการสอน การเตรียมความพรอมสิ่งแวดลอมการเรียน เตรียมผูสอน การสรางแรงจูงใจใน การเรียน การดําเนินการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมทักษะ ประเมินผลการเรียนการสอน และ ขอมูลกลับเพื่อปรับปรุง ซึ่งผานการประเมินจากผูเชี่ยวชาญอยูในเกณฑ เหมาะสมมาก 2. ผลการหาประสิทธิภาพเว็บเพจบทเรียนผานอินเทอรเน็ตรายวิชาระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ (E1/E2) มีคาเทากับ 84.44/82 ซึ่งสูงกวาเกณฑ มาตรฐานที่กําหนดไว ที่ระดับ 80/80 3. ผลของการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของ นักศึกษาที่เรียนดวยเว็บเพจบทเรียน พบวาผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 นฤมล ศิระวงษ (2548) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน วิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพในระดับอุดมศึกษา” ผลการวิจัยพบวา 1. การพั ฒ นารู ป แบบบทเรี ย นออนไลน ใ นระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ได ขั้ น ตอนรู ป แบบ บทเรียนจํานวน 12 ขั้นตอน ประกอบดวย กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน วิเคราะหผูเรียน ออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอม ทางการเรี ย น กํ า หนดบทบาทผู ส อน สร า งแรงจู ง ใจในการเรี ย น ดํ า เนิ น การเรี ย นการสอน กิ จ กรรมเสริม ทัก ษะ กํ า หนดช ว งเวลาการทดสอบ ประเมิน ผลการเรี ย นการสอน และข อมู ล ป อ นกลั บ ซึ่ ง ผ า นการประเมิ น จากผู เ ชี่ ย วชาญอยู ใ นเกณฑ เ หมาะสมมาก และผลการหา ประสิทธิภาพบทเรียนออนไลนวิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพ ที่พัฒนาขึ้นมีประสิท ธิภาพ (E1/E2) 94.3/93.5 เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 2. ผลของการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของ นั กศึ กษาที่ เ รี ย นจากบทเรี ย นออนไลน พบว ามี ผ ลการเรี ย นหลั งเรีย นสู ง กวาก อ นเรี ยนอย า งมี นัยสําคัญ 3. นักศึกษาที่เรียนผานบทเรียนออนไลน วิชา การเขียนหนังสือเพื่อการพิมพ ที่ ผูวิจัยพัฒนาขึ้น มีความคิดเห็นตอการเรียนการสอนดวยบทเรียนออนไลนอยูในระดับดี ไทอัน และคนอื่นๆ (Tyan; et al. 1998) ไดทําการวิจัยเรื่องการใชการติดตอสื่อสาร ผานคอมพิวเตอรในระดับอุดมศึกษาเอกชนของไตหวัน ดวยการจัดระบบการศึกษาที่นําเอา Computer Mediated Communication และ Virtual Classroom and Virtual Corporation System มาพัฒนาในการจัดสภาพสิ่งแวดลอมทางการศึกษาดวยอิเล็กทรอนิกส และพัฒนาคุณภาพทาง การศึกษา นักเรียนแตละคนมีความตองการที่จะมีสวนรวมในการประชุมทางอิเล็กทรอนิกส กอน จะใชการอภิปรายแบบเผชิญในหองเรียนปกติ ทําใหนักเรียนไดมีโอกาสที่จะเรียนรูแบบรวมมือกัน และการเรียนรูโดยผูเรียนเอง (Constructivism) ไดเปนอยางดี เจย (Jay. 2001) ไดจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ตแบบโฮมสคูล (Home School) โดยไดเปดหลักสูตรการเรียนการสอน คือ วิทยาศาสตรทั่วไป ฟสิกส ชีววิทยา และเคมี


105 ใหกับนักเรียนเปนรายบุคคลนอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ ผูเรียนจะตองเสียคาใชจายใน การลงทะเบียนเรียนในแตละรายวิชา โดยมีขอกําหนดในการเรียน ดังนี้ 1. การเรียนผานอินเทอรเน็ตนี้ ผูเรียนจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล ที่มี ระบบปฏิบัติการเปน Windows 95 หรือสูงกวา และใชโปรแกรม Browser เปน Microsoft Explorer Version 5.0 หรือสูงกวา อีกทั้งสามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตได 2. การเรียนจะเปนแบบออนไลนผานเว็บไซตรายวิชาที่ทางโรงเรียนกําหนดไวให โดยกําหนดผูเรียนในแตละรายวิชาเพียง 15 คน 3. จะมีอาจารยผูสอนคอยใหคําปรึกษาและแนะนําการเรียนในแตละรายวิชา 4. นักเรียนจะไดรับเอกสารประกอบการเรียนที่เกี่ยวของกับหลักสูตร 5. ในแต ล ะสั ป ดาห นั ก เรี ย นสามารถติ ด ต อ ผู ส อนแบบออนไลน ผ า นทางวี ดิ โ อ คอนเฟอรเรนซ (Videoconference) เพื่อปรึกษาและรวมกันอภิปรายถึงปญหา และเรื่องที่ไดศึกษา มาแลว ผูเรียนจะตองมีกลองวีดิโอ (Video Camera) และไมโครโฟน (Microphone) เพื่อใชในการ สนทนากับผูสอนและเพื่อนรวมชั้นเรียน 6. จะมีการแจงเตือนเปนระยะ ๆ สําหรับผูเรียนที่มีผลการเรียนระหวางเรียนในระดับ ต่ําโดยจะแจงเปนรายบุคคล 7. นักเรียนสามารถเลือกกําหนดวัน เวลา ในการทดสอบไดดวยตนเองเมื่อมีความ พรอม แตทั้งนี้ตองอยูในระยะที่ผูสอนเห็นสมควร 8. ผูเรียนจะตองสงรายงาน หรือผลการทดลอง ประกอบกับการพิจารณาใหระดับผล การเรียนดวย 9. ขั้นตอนสุดทายของการเรียน ผูเรียนจะไดรับรายงานผลการเรียนในรายวิชานั้น หลั ก สู ต รลั ก ษณะนี้ ไ ด อ อกแบบไว สํ า หรั บ การเรี ย นการสอนเป น รายบุ ค คล จาก การศึ ก ษาพบว า มี นั ก เรี ย นจํ า นวนมากที่ ส ามารถเรี ย นรู ไ ด ด ว ยตั ว ของเขาเอง โดยมี ค รู แ ละ ผูปกครองเปนแคเพียงผูใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาเทานั้น 8.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับทักษะปฏิบัติ นวลจิตต เชาวกีรติพงศ (2534) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนที่เนนทักษะปฏิบัติสําหรับครูวิชาอาชีพ” ผลการวิจัยพบวา รูปแบบการจั ดการเรี ยนการสอนที่ พัฒนาขึ้น ประกอบด วยองคประกอบสํ าคั ญ 7 องคประกอบ คือ ความสําคัญและความเปนมา วัตถุประสงค ขอบเขตของรูปแบบฯ ความเชื่อ พื้นฐาน และหลักการของรูปแบบฯ ลักษณะของรูปแบบฯ กระบวนการจัดการเรียนการสอนของ รูปแบบฯ และขอเสนอแนะในการใชรูปแบบฯ องคประกอบดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย ขั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอน คือ ขั้นการศึกษารายละเอียดของหลักสูตรรายวิชา ขั้นการวางแผนการสอนระยะยาว ขั้น การวางแผนการสอนรายหนวย และการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน


106 การเสนอรูปแบบฯ ไดเสนอพรอมกับคูมือการใชรูปแบบ ซึ่งเปนสวนขยายความใน ขั้นตอนการดําเนินการตามกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเสนอเปนหลักการ แนวทาง ปฏิ บั ติ ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น การ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ตั ว อย า งการดํ า เนิ น การตามขั้ น ตอน และ ขอเสนอแนะตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอครู การเขียนรายละเอียดดังกลาว มีลักษณะเปนเชิงระบุให ปฏิบัติตามได (Prescriptive) มากกวาลักษณะบรรยาย (Descriptive) ลักษณะดังกลาวทําใหครู สามารถปฏิบัติตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนของรูปแบบฯ ไดทันที ในขั้ น ตอนของกระบวนการจั ด การเรี ย นการสอนของรู ป แบบฯ ประกอบด ว ย กระบวนการที่สําคัญ คือ การสอนทักษะปฏิบัติ 3 ลักษณะ ไดแก การสอนทฤษฎีกอนปฏิบัติ การ สอนปฏิบัติกอนสอนทฤษฎีและการสอนทฤษฎีและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน สามารถเลือกใชตาม เงื่อนไขหรือสถานการณที่เหมาะสมตามเกณฑเสนอแนะในรูปแบบลักษณะดังกลาวทําใหรูปแบบฯ มีความยืดหยุนและใชไดครอบคลุมกับการสอนทักษะปฏิบัติในสายอาชีพสายตาง ๆ จากการทดลองใชรูปแบบฯ ปรากฏผลวา รูปแบบฯ นี้มีคุณภาพและประสิทธิภาพตรง ตามเกณฑที่กําหนดไวทุกประการ กลาวคือ มีความตรงตามเนื้อหา ผูเรียนประสบผลสําเร็จในการ เรียนรูดานทักษะพิสัย รวมทั้งดานพุทธิพิสัย และจิตพิสัย ตามเกณฑที่กําหนด ครูมีความพึงพอใจ ในการใชรูปแบบฯ และผูเรียนมีความพึงพอใจที่ไดเรียนตามแบบของรูปแบบฯ นี้ดวย รวีวัตร สิริภูบาล (2543) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบจําลองระบบฝกอบรมครู เชิงทักษะปฏิบัติ” ผลการวิจัยพบวา 1. ระบบฝกอบรมครูเชิงทักษะปฏิบัติมีองคประกอบหลัก 4 องคประกอบ คือ ปจจัย นําเขา กระบวนการ การประเมินผล และกลไกควบคุม และมีองคประกอบของ 14 องคประกอบ คือ วิเคราะหความตองการปญหา กําหนดวัตถุประสงค กําหนดกลุมเปาหมาย กําหนดหลักสูตร กําหนดทรัพยากรและบุคลากร สรางหลักสูตร ออกแบบวิธีการฝกอบรม พัฒนาเครื่องมือฝกอบรม เตรียมความพรอมกอนฝกอบรม ดําเนินการฝกอบรม ประเมินผลหลังฝกอบรม และผลยอนกลับ 2. ระบบฝ ก อบรมครู เ ชิ ง ทั ก ษะปฏิ บั ติ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการฝ ก อบรมตามเกณฑ 86.00/87.71 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว 3. ผูเ ข า รั บ การฝ ก อบรมจากระบบฝ ก อบรมครู เ ชิ ง ทั ก ษะปฏิ บั ติ มีค ะแนนเฉลี่ ย ความรูกอนการฝกอบรมแตกตางคะแนนเฉลี่ยความรูหลังการฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 โดยมีคะแนนเฉลี่ยความรูหลังการฝกอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยความรูกอนการฝกอบรม 4. ผูเขารับการฝกอบรมจากระบบฝกอบรมครูเชิงทักษะปฏิบัติโดยรวมมีเจตคติที่ดี ตอระบบฝกอบรมครูเชิงทักษะปฏิบัติ บุญธง วสุริย (2546) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อการถายโยง ทักษะปฏิบัติสําหรับอาชีวอุตสาหกรรม” ผลการวิจัยพบวา 1. รูปแบบการสอนเพื่อถายโยงทักษะปฏิบัติมีประสิทธิภาพในดานทักษะปฏิบัติและ ความสามารถในการถายโยงทักษะปฏิบัติ สวนดานความรูในเนื้อหามีพัฒนาการอยางมีนัยสําคัญ โดยผานเกณฑขั้นต่ํา


107 2. เสนทางการแกปญหาของนักศึกษามีรูปแบบที่แตกตางกัน เมื่อจําแนกตามระดับ ของความรูพื้นฐาน ความถนัดทางชาง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. โดยรวมนักศึกษามีความพอใจกับกิจกรรมการเรียนการสอนของรูปแบบการสอน และจากการวิเ คราะหภูมิหลั งทางวิ ชาการของกลุมตัวอยาง พบว าสว นใหญ เ ปนกลุมที่มีร ะดับ สัมฤทธิผลทางวิชาการต่ํา ซึ่งอาจมีอิทธิพลตอผลการศึกษาครั้งนี้ วัตสัน (Watson. 1980) ไดศึกษาการเรียนรูจิตวิทยาทักษะปฏิบัติและไดเสนอชุดการ สอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อใชในสถาบันเทคนิคศึกษา ชุดการสอนที่มุงที่จะพัฒนาครูใหมีความรูกวางขวาง และเกิดความเขาใจในจิตวิทยาของทักษะปฏิบัติ เพื่อที่จะไดปรับปรุงการสอน ทักษะปฏิบัติในชั้น เรียนหรือในโรงฝกงาน ชุดการสอนนี้แบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนพื้นฐาน และสวนที่เปนชั้น นํ า ในส ว นแรกจะกล า วถึ ง ความหมายของทั ก ษะปฏิ บั ติ แ ละวิ ธี ก ารสอนซึ่ ง จะประกอบด ว ย 2 สวนยอย คือ ธรรมชาติของทักษะและทักษะในการทํางานและการสอนทักษะปฏิบัติในชุดการสอนนี้ ในสวนที่ 2 คือ สวนที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการเรียนรูทักษะปฏิบัติ ซึ่งประกอบดวย สวนประกอบยอย ๆ 5 สวน คือ การฝกงาน การชี้แนะ การใหขอมูลยอนกลับ วิธีการจัดระบบการ ฝกฝน และการจูงใจ ซึ่งในแตละสวนนี้จะมีการระบุถึงกิจกรรมและคําถามเพื่ออภิปรายในสวนของ ภาคผนวก ไดจัดหาแบบฝกหัดในชั้นเรียน 2 แบบฝกหัด ในรูปแบบของการทดลองที่ออกแบบ เพื่อใหเกิดความสงสัยและชักจูงใหเกิดการอภิปราย พาเดลฟอรด (Padelford. 1984) ไดศึกษาวิธีการสอนเพื่อใหเกิดทักษะปฏิบัติในวิชา ชางเทคนิค โดยไดเสนอวา ทักษะปฏิบัติเปนสิ่งที่จําเปนมากในการสอนในวิชาตาง ๆ ของสถาบัน ชางเทคนิคผูเรียนบางคนเรียนรูทักษะไดงาย ซึ่งก็ขึ้นอยูกับคุณสมบัติทางดานรางกายของผูเรียน แตละคน คุณสมบัติดังกลาว คือ ความเร็ว ความสม่ําเสมอ การรับรู ความคลองแคลว ความ กระฉับกระเฉง ความยืดหยุน ความคงทน ความสมดุล แข็งแรง และความสามารถในการทํางาน ที่ตองอาศัยการประสานกันของกลามเนื้อ กอนที่ผูเรียนจะไดพยายามเรียนรูทักษะปฏิบัติทางอาชีพ พวกเขาจะไดรับการประเมินคุณสมบัติและความสามารถที่จะเรียนทักษะปฏิบัติ ในการสอนเพื่อให ผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ มีขั้นตอนที่สําคัญอยู 4 ขั้นดวยกัน คือ การรับรู การจูงใจ การเลียนแบบ และการฝกฝน โดยผูเรียนสามารถกระทําขั้นตอนทั้ง 4 ขั้นนี้กลับไปกลับมาได ในระหวาง กระบวนการของการเรียนรู ครูวิชาชีพสามารถชวยใหผูเรียนปรับปรุงการเรียนรูเพื่อใหไดมาซึ่ง ทักษะปฏิบัติได 2 แนวทางดวยกัน คือ 1. ครูสามารถกําหนดคุณสมบัติที่ตองการใหเกิดทักษะปฏิบัติ และคิดหาวิธีการที่จะ ชวยใหผูเรียนเพิ่มพูนคุณภาพของคุณสมบัติเหลานั้น และ 2. ครูควรจะเพิ่มย้ําขั้นตอนที่ 4 ของกระบวนการที่จะทําใหเกิดทักษะปฏิบัติ ตัวอยางเชน ในขั้นตอนเริ่มแรกครูสามารถใชวิธีการหลาย ๆ อยาง ในการเสนอตัวอยางที่จะให ผูเรียนมีการรับรูมากขึ้น ในขั้นที่ 2 คือ การเพิ่มแรงจูงใจโดยการสนับสนุนการทํากิจกรรมและทําให เกิดความรูสึกของการไดรับความสําเร็จในขั้นตอนที่ 3 คือ ขั้นของการเลียนแบบครูทําการสงเสริม โดยการเขียนขั้นตอนสั้น ๆ ที่เรียงลําดับกัน และการใชตัวอยางและแผนภาพการเสริมแรงในขั้น


108 ของการฝกฝน ซึ่งเปนขั้นที่ 4 สามารถทําใหผูเรียนบรรลุผลสําเร็จได โดยการใชเกม หรือการ แขงขันการเนนที่จะชวยใหผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ จะชวยเหลือผูเรียนใหบรรลุสําเร็จไดในที่สุด สรุปการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดแนวทางในการพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดังนี้ 1. การกําหนดองคประกอบหลักของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต โดยอาศัยแนวทางของวิธีการเชิงระบบ (Systematic Approach) ซึ่ง ประกอบดวยองคประกอบหลักที่สําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 2. การกําหนดองคประกอบในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ผูวิจัยไดใชขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนของคิปเลอร (Kipler), เกอรลาชและอีลี (Gerlach and Ely), ดิคและคาเรย (Dick and Carey), เนิรคและเยนตรี(Knirk and Gentry), เคมพ (Kemp), ซีลสและกลาสโกว (Seels and Glasgow) และ คลอสเมียรและริปเปล Klausmeier and Ripple) มาเปนแนวทางโดยวิเคราะหและ สังเคราะหองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อกําหนดเปนองคประกอบของการพัฒนา รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย สํ า หรั บ นั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษา ซึ่ ง ประกอบไปดวยทั้งหมด 13 องคประกอบยอย คือ 1) กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 2) การ วิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) การ เตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสราง แรงจูงใจในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 11) การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง 3. การกําหนดขั้นตอนของการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ผูวิจัยไดวิเคราะหและสังเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติของนักการศึกษา หลาย ๆ ทาน เพื่อกําหนดเปนขั้นตอนของการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ซึ่งประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นความรูความเขาใจ (Knowledge Phase) 2. ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 3. ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 4. การศึกษาถึงหลักการออกแบบและการสรางบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และ หลักการเรียนรูทักษะปฏิบัติ เพื่อนํามาเปนหลักการในการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนใหแก


109 บทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อความเหมาะสมกับการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดังนั้นผูวิจัยจึงมีจุดมุงหมายที่จะพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ซึ่งจะเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เปดโอกาส ใหผูเรียนไดสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองตามความสามารถและเต็มศักยภาพ โดยคํานึงถึง ความแตกตางระหวางบุคคล เพื่อใหผูเรียนสามารถเลือกเรียนไดตามความถนัดและความสนใจของ ตนเอง มีการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง ทําใหผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติและความ คงทนของทักษะปฏิบัติ รวมทั้งเปนการจัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ ผูเรียน สามารถติดตอถึงผูเรียนดวยกันเองและติดตอผูสอนไดตลอดเวลา นอกจากนั้นยังเปนการใหผูเรียน ไดเกิดการเรียนรูดวยตนเอง (Self-directed Learning) อันจะนําไปสูการศึกษาอยางตอเนื่องทําให เปนบุคคลที่พรอมจะเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต


บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ในการวิจัย เรื่อง รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การกําหนดประชากร และการเลือกกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การดําเนินการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล

1. การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง 1.1 แหลงขอมูล สําหรับ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบั ติทางเทคนิ คบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย 1.1.1 ผู เ ชี่ ย วชาญด า นเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา เป น ผู มี คุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาในสาขา เทคโนโลยีการศึกษา ระดับปริญญาเอกมีประสบการณในการสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบัน อาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 3 ป หรือระดับปริญญาโทมีประสบการณใน การสอนในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 10 ป และตองมีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารยหรือตําแหนงขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา 4 จํานวน 5 คน ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sample) ซึ่งเปน ผูเ ชี่ ย วชาญพิ จ ารณารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ขา ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1.1.2 ผูเชี่ยวชาญดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนผูมีคุณวุฒิการศึกษาในสาขา ไฟฟาหรืออิเล็กทรอนิกส หรือสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ระดับปริญญาเอกมีประสบการณในการสอน ในสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และเกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 3 ป หรือ ระดั บ ปริ ญ ญาโทมี ป ระสบการณ ใ นการสอนในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาหรื อ สถาบั น อาชี ว ศึ ก ษาและ เกี่ยวของกับการศึกษาไมนอยกวา 10 ป และตองมีตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย หรือตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4 จํานวน 5 คน ไดมาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sample) ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญพิจารณารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1.2 แหลงขอมูลสําหรับศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เลือกมาจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส


111 วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ใน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โดยการสุมตัวอยางอยางงาย (Simple Random Sampling) ดวย วิธีการจับฉลาก โดยใชกลุมการเรียนเปนหนวยการสุมจากประชากรทั้งหมด 4 กลุม ไดกลุม ตัวอยางจํานวน 2 กลุมการเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน แลวนํากลุมตัวอยางที่ไดมาทดสอบ ความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายอีกครั้งดวยวิธีการจับฉลาก จากกลุมตัวอยางที่มีคะแนนทักษะ ปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางจํานวน 32 คน แลวทําการทดลองหาประสิทธิภาพ 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 3 คน เพื่อทดสอบคุณภาพเบื้องตน ดาน ความเขาใจของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอนทักษะ ปฏิบัติ โดยการสังเกต สัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ไดมาปรับปรุงแกไข เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป ครั้งที่ 2 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 9 คน เพื่อหาแนวโนมของประสิทธิภาพ ของรูป แบบการเรี ยนการสอนฝ กปฏิ บัติ ท างเทคนิ ค บนเครือข า ยอิ นเทอร เ น็ต และตรวจสอบหา ขอบกพรองในดานตาง ๆ จากนั้นนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป ครั้งที่ 3 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่สรางขึ้นใหไดตามเกณฑการหา ประสิทธิภาพ 85/85 1.3 แหลงขอมูลสําหรับการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1.3.1 ประชากรที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียน วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) จํานวน 40 คน 1.3.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เลือกมาจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โดยการ นํานักเรียนมาทดสอบความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายดวยวิธีการจับฉลาก จากนักเรียนที่มี คะแนนทักษะปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางที่จะใชในการทดลองกับรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เพื่อใชในการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความ คิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จํานวน 20 คน


112

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบไปดวยเครื่องมือตาง ๆ ไดแก 2.1 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา 2.2 แบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2.3 บทเรียนฝ กปฏิบั ติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 2.4 แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 2.5 แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน 2.6 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.7 แบบวัดทักษะปฏิบัติ 2.8 แบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 2.9 แบบประเมินความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับการสรางและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัยรูปแบบการเรียนการสอน ฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษา มี ขั้ น ตอนการ ดําเนินการดังนี้ 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา มีขั้นตอนในการพัฒนา ดังนี้ 1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากเอกสาร ตํารา งานวิจัย และคนควาจากฐานขอมูลตาง ๆ เชน UMI, ERIC, IEEE และ Search Engine ตาง ๆ ในอินเทอรเน็ตเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา ในขั้นตอนตอไปโดยดําเนินการ ดังนี้ 1.1.1 ศึกษาระบบการเรียนการสอนในดาน องคประกอบของระบบการเรียน การสอน ขั้นตอนของระบบการเรียนการสอน และรายละเอียดขององคประกอบของระบบการเรียน การสอน เพื่อนําขอมูลมาเปนแนวทางในการสรางรูปแบบ 1.1.2 ศึกษารูปแบบการเรียนการสอนโดยใชอินเทอรเน็ต ไดแก องคประกอบ ของรู ป แบบการเรี ย นการสอนโดยใช อิ น เทอร เ น็ ต รายละเอี ย ดขององค ป ระกอบหลั ก และ องคประกอบยอยของรูปแบบการเรียนการสอนโดยใชอินเทอรเน็ต และขั้นตอนขององคประกอบ


113 ของรู ป แบบการเรี ย นการสอนโดยใช อิ น เทอร เ น็ ต เพื่ อ นํ า ข อ มู ล มาเป น แนวทางในการจั ด องคประกอบในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1.3 ศึกษารูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ไดแก รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติ การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ขั้นตอนการฝกปฏิบัติ กิจกรรม การเรี ย นการสอนทั ก ษะปฏิ บั ติ และการประเมิ น ผลทั ก ษะปฏิ บั ติ เพื่ อ นํ า ข อ มู ล มากํ า หนด องคประกอบในการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ 1.1.4 ศึกษาหลักการ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติ เพื่อนํามาประยุกตใชในการจัดรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคใหสอดคลอง กับกลุมเปาหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต 1.1.5 ศึ ก ษาข อ มู ล เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งบริ ก ารคอมพิ ว เตอร ผ า นเครื อ ข า ย (Web Server) และซอฟแวรที่ใชในการผลิตและใหบริการสารสนเทศ ในดานประสิทธิภาพการใหบริการ ขอบขาย และกระบวนการในการปฏิบัติงาน และศึกษาซอฟตแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ สามารถประยุกตใชเปนระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management System: LMS) การสราง เนื้อหาการฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณผูที่ เกี่ยวของ เพื่อนําขอมูลมาเปนแนวทางในการออกแบบรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1.6 ศึ ก ษางานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต โดยศึกษาจากฐานขอมูลทางอินเทอรเน็ตตาง ๆ เชน UMI, ERIC และ IEEE 1.2 วิ เ คราะห ใ ห ไ ด รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย ในขั้นนี้เปนการนําขอมูลในขั้นตอนของการศึกษาเอกสารตาง ๆ มาวิเคราะห อินเทอรเน็ต องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตโดยอิงวิธี ระบบ (Systematic Approach) ไดแก การนําปจจัยตาง ๆ ของการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคในหองเรียนปกติ และการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มา วิเคราะหจําแนกตามองคประกอบของรูปแบบ คือ การปจจัยนําเขา กระบวนการ การควบคุม ผลิตผล และขอมูลปอนกลับ และวิเคราะหคุณลักษณะของปจจัยตาง ๆ ในแตละองคประกอบ เพื่อ เปนขอมูลสําหรับการประยุกตรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคใหมีลักษณะเหมาะสม กับลักษณะของการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับวิธีการ วิเคราะหนั้นใชวิธีวิเคราะหจากเอกสารโดยดําเนินการดังนี้ 1.2.1 รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต และการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ซึ่งไดดําเนินการ ในขั้นการศึกษาเอกสารของการวิจัย ไดแก เอกสารจากแหลงขอมูลตาง ๆ และขอมูลจากเว็บไซต (Website) เปนตน


114 1.2.2 จําแนกองคประกอบตาง ๆ ของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ตามองคประกอบของระบบที่สมบูรณได 5 องคประกอบหลัก คือ 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) และ 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) โดยใช เ ป น องค ป ระกอบหลั ก ในรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต 1.2.3 วิเคราะหองคประกอบยอยขององคประกอบหลัก โดยใชองคประกอบ ของระบบการเรียนการสอนของนักการศึกษาจํานวน 12 ทาน (ระบบการเรียนการสอน 7 ระบบ) ไดแก ระบบการเรียนการสอนของคิปเลอร, เกอรลาชและอีลี, เนิรคและเยนตรี, ดิคและคาเรย , เคมพ, ซีลสและกลาสโกว และ คลอสเมียรและริปเปล ในการเลือกองคประกอบยอยจะเนน องค ป ระกอบที่ มี ค วามสํ า คั ญ ของแต ล ะระบบการเรี ย นการสอน โดยพิ จ ารณาจากการเป น องคประกอบที่ใชในแตละระบบการเรียนการสอนเปนสวนใหญและสอดคลองกับงานวิจัยที่เกี่ยวของ การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต (แสดงไวในภาคผนวก จ.) 1.2.4 วิ เ คราะห ขั้ น ตอนการเรี ย นการสอนเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะปฏิ บั ติ โดยใช ขั้นตอนการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของนักการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศจํานวน 17 ทาน (ขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ 15 รูปแบบ) ทําการเลือกขั้นตอนการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติที่สอดคลองกับการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (แสดงไวใน ภาคผนวก จ.) 1.2.5 สรุปผลการวิเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ผลการวิเคราะห องคประกอบหลัก ปจจัยนําเขา (Input) ของรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต พบวา ปจจัยนําเขา มี 5 องคประกอบ ยอย ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การวิเคราะหผูเรียน การออกแบบเนื้อหา บทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการ เรียน ผลการวิเคราะห องคประกอบหลัก กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติบน เครือขายอินเทอรเน็ต (Process) ของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต พบวา กระบวนการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ บ นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต มี 4 องคประกอบยอย ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค ซึ่งประกอบดวย 3 องคประกอบยอย คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) มีขั้นตอน 2 ขอยอย 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) มีขั้นตอน 4 ขอยอย และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) มีขั้นตอน 2 ขอยอย และกิจกรรมเสริมทักษะ


115 ผลการวิเคราะห องคประกอบหลัก การควบคุม (Control) ของรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต พบวา การควบคุม มี 1 องคประกอบ ยอย คือ การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน เปรี ย บเที ย บผลการวิ เ คราะห ก ารเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค ใน หองเรียนปกติใชผูสอนควบคุมทักษะปฏิบัติของผูเรียนโดยการใหผูสอนทําการตรวจสอบทักษะ ปฏิบัติระหวางเรียน ใหคําชี้แนะ และชวยแกไขจนผูเรียนมีทักษะปฏิบัติที่ถูกตอง ซึ่งในการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตจึงนําองคประกอบยอยนี้มาใชในการควบคุม ทักษะปฏิบัติของผูเรียน ผลการวิเคราะห องคประกอบหลัก ผลผลิต (Output) ของรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต พบวา ผลผลิต มี 1 องคประกอบยอย คือ ประเมินผลการเรียนการสอน ผลการวิเคราะห องคประกอบหลัก ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ของรูปแบบ การเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิบั ติท างเทคนิค บนเครื อข า ยอิน เทอรเ น็ต พบว า ขอ มูล ป อ นกลั บ มี 1 องคประกอบยอย คือ ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง 1.3 สั ง เคราะห รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตจากขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลใหไดรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตที่เหมาะสม ขั้นตอนนี้เปนการสังเคราะหรูปแบบขั้นตน โดยการนําขอมูลจาก ขั้นการวิเคราะหขอมูลมาพิจารณาคัดเลือกเปนองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิค บนเครื อข ายอิ น เทอรเ น็ ต ที่เหมาะสมสํา หรับ นั ก เรี ย นอาชีว ศึ ก ษาพรอ มทั้งปรั บ ปรุ ง เปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตแลว สามารถสังเคราะหองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ได 5 องคประกอบหลักดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3. การควบคุม 4. ผลผลิต 5. ขอมูลปอนกลับ โดยใชเปน องคประกอบหลักในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต และ องคประกอบยอย 12 องคประกอบ โดยดําเนินการดังนี้ 1.3.1 ร า งรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต ในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดจัดทําองคประกอบหลัก 5 องคประกอบ พรอมรายละเอียดในแต ละองคประกอบ 1.3.2 เขียนโครงสรางแสดงทิศทาง และความสัมพันธตอเนื่องของรูปแบบ 1.3.3 จัดทําคําบรรยายประกอบรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ ต สําหรับนักเรียนอาชีว ศึกษา (รายละเอียดดัง ภาคผนวก จ. โครงราง รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต)


116 1.4 นํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่ รางเสร็จไปใหผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษาจํานวน 5 ทานและผูเชี่ยวชาญทางดาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจํานวน 5 ทาน รวม 10 ทาน ทําการประเมินโครงรางรูปแบบ ผลการประเมินโครงรางรูปแบบมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.27 อยูในระดับเหมาะสม มาก และมีขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญใหปรับปรุงแกไขรูปแบบใหเหมาะสมยิ่งขึ้น สรุปไดดังนี้ 1) ขอเสนอแนะดานปจจัยนําเขา (Input) - ควรเนนการสรางความเขาใจใหกับผูเรียน การใหคําแนะนํา การวางแผน ใชทรัพยากรใหคุมคาและอํานวยความสะดวกใหผูเรียนอยางเต็มที่ - การกํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค ก ารเรี ย น ควรกํ า หนดเป น วั ต ถุ ป ระสงค เ ชิ ง พฤติกรรม - การออกแบบเนื้อหาบทเรียน ควรทํา Task Analysis - กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนควรเนน Simulation 2) ขอเสนอแนะดานกระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต (Process) - กําหนดบทบาทผูสอน ควรเนนวาผูสอนจะทําอะไรบนเครือขายอินเทอรเน็ต บาง - การวิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน - หลัง ในขั้น ปฏิบัติ ควรจะอยูในองคประกอบการออกแบบเนื้อหาบทเรียนของปจจัยนําเขา - การเรียนควรเนนการฝกปฏิบัติ การทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) เพื่อสงให อาจารยตรวจเปนระยะ ๆ - ใช Project-based Learning เพื่อพัฒนาทักษะความชํานาญ 3) ขอเสนอแนะดานการควบคุม (Control) - ควรขยายรายละเอียดการควบคุมการเรียนโดยใชโปรแกรม LMS ติดตามดู การเรียนทุกระยะ ให Feedback แกผูเรียนเพื่อประเมินตนเองตอไป - ใชโปรแกรม LMS เปนเครื่องมือตรวจสอบและควบคุมการเรียน 4) ขอเสนอแนะดานผลผลิต (Output) - นอกจากวัดผลสัมฤทธิ์แลวควรประเมินกระบวนการเรียนดวย เพื่อดูวามี ความกาวหนาทางการเรียนและผลิตผลเปนอยางไร 5) ขอเสนอแนะดานขอมูลปอนกลับ (Feedback) - ควรตองใชสวนของผลผลิต (Output) มา Feedback ไปเปรียบเทียบกับ Input เพื่อขอบกพรองไปปรับปรุงกระบวนการ (Process) 6) ขอเสนอแนะอื่น ๆ - การฝกทักษะดานปฏิบัติ ตองเนนความปลอดภัยเปนอันดับแรกเสมอ


117 - ควรเสริมทักษะดวยการใหนักเรียนมีแฟมสะสมงานของแตละคน เพื่อใชใน การตรวจสอบและประเมินผลงาน - ควรขยายรายละเอียดของแตละองคประกอบยอยใหชัดเจนและเขาใจมาก ขึ้น ผูวิจัยไดปรับปรุงแกไขรูปแบบตามที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะไว ดังนี้ 1) เพิ่มองคประกอบยอยจาก 12 องคประกอบยอยเปน 13 องคประกอบ ยอย (รายละเอียดดังภาพประกอบ 12) ไดแก องคประกอบยอยขององคประกอบหลัก การควบคุม (Control) เพิ่มองคประกอบยอย การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน โดยผูเชี่ยวชาญ แนะนําใหใชระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management system: LMS) เปนเครื่องมือ ตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 2) ปรับปรุงการเขียนทิศทางขององคประกอบหลักใหดูเขาใจการทํางานของ ระบบงายขึ้น และขยายรายละเอียดขององคประกอบหลัก 2 องคประกอบ คือ ผลผลิต (Output) และขอมูลปอนกลับ (Feedback) ใหเห็นรายละเอียดขององคประกอบยอย 3) เพิ่มรายละเอียดของขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติให มีรายละเอียดและชัดเจนมากขึ้น 4) ตัดขั้นตอนการวิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน หลัง ในขั้นปฏิบัติออกไป แลวนําไปเขียนรายละเอียดในองคประกอบการออกแบบเนื้อหาบทเรียน ของปจจัยนําเขา 5) เพิ่มรายละเอียดและคําอธิบายขององคประกอบยอยทั้งหมดเพื่อความ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น รายละเอียดเกี่ยวกับองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่ปรับปรุงเรียบรอยแลว มีรายละเอียดดังนี้


118

การควบคุม (Control) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของ ผูเรียน การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

ปจจัยนําเขา (Input) กําหนดเปาหมายในการเรียน การสอน การวิเคราะหผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการ สอน การเตรียมความพรอมดาน สภาพแวดลอมทางการเรียน

กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) y ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) y ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) กิจกรรมเสริมทักษะ

ผลผลิต (Output) ประเมินผลการเรียนการสอน y ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน y ทักษะปฏิบัติ y ความคงทนของทักษะ ปฏิบัติ y ความคิดเห็นของ นักเรียน

ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง y ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ y ความคิดเห็นของผูเรียน y ผลการเรียนการสอน y ผลจากการปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ

ภาพประกอบ 12 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


119

C

ขั้นความรูความเขาใจ ( ognitive Phase)

การเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคตามขั้นตอนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model)

ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีภาพเคลื่อนไหว สตรีมมิ่งวีดิโอ และการจําลองสถานการณ

บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต

A

การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ขั้นปฏิบัติ ( ssociative Phase) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมด ตั้งแตตนจนจบ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) สอนแบบสาธิต

สาธิตทักษะยอยและใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวน อยางชาๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มี สตรีมมิ่งวีดิโอสอนแบบสาธิตรวมกับการฝกปฏิบตั ิกับวัสดุและอุปกรณจริง

ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัด จุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงโดยมีผูสอนคอย ควบคุมและใหขอมูลปอนกลับ

A

ขั้นชํานาญ ( utonomous Phase) ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่ สามารถกระทําไดเอง (Mechanism)

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงดวยการเรียนรู แบบโครงงาน (Project-based Learning)

เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว

การเรียนกับบทเรียนแบบจําลองสถานการณ (Simulation) และฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง การประเมินทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

รวบรวมคะแนนและผลงานลงแฟมสะสมงาน (Portfolio)

ภาพประกอบ 13 ขั้นตอนการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบตั ิ ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model)


120 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ เปาหมาย และหลักการของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา เปนการนําแนวคิดและหลักการของการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตมา ผสมผสานกับการฝกปฏิบัติทางเทคนิคตามกระบวนการสอนทักษะปฏิบัติ โดยมีเปาหมายเพื่อ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะปฏิบัติ และความคงทนของทักษะปฏิบัติ องคประกอบของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาในครั้งนี้ ไดพัฒนาขึ้นตาม แนวคิดวิธีระบบ (Systematic Approach) โดยรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) โดยมี 13 องคประกอบยอย คือ 1) กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 2) การ วิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) การ เตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจ ในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การ ตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 11) การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยมีรายละเอียดของแตละ องคประกอบหลักดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) องคประกอบที่เปนปจจัยนําเขาในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน, การวิเคราะหผูเรียน, การออกแบบเนื้อหาบทเรียน, กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการ เตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน โดยแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การเรียนการสอนฝกปฏิบัติมีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อใหผูเรียนเรียนรูทักษะปฏิบัติ เพื่อใหสามารถทํางานได นอกจากนั้นยังตองการใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ การทํางาน และมีเจตคติที่ดีตอการทํางานดวย ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจะตองจัดให ผูเรียน ไดรับความรู เจตคติ และทักษะปฏิบัติในการทํางานไปพรอม ๆ กัน แตจะเนนเปนพิเศษ


121 ในเรื่องของทักษะปฏิบัติ สวนที่เปนความรู และเจตคติจะบรรจุลงไปเพื่อเสริมในเรื่องของการ ทํางานใหไดผลดีที่สุดและระดับความลึกซึ้งของจุดประสงคการเรียนรูในแตละดานจะมีมากนอย เพียงใด ขึ้นอยูกับระดับมาตรฐานรายวิชาของวิชานั้น ๆ ระดับความลึกซึ้งของจุดประสงคการ เรียนรูแตละดานเปนดังนี้ 1. ดานความรู (Cognitive) มีจุดประสงคใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ การทํางาน การนําวิธีการที่เรียนรูไปใช การวิเคราะหงาน การสังเคราะหงานใหมขึ้นมา และ ความสามารถในการประเมินผลงานไดดวยตนเอง 2. ดานเจตคติ (Affective) มีจุดประสงคใหผูเรียนสามารถรับการเรียนรู มีการ ตอบสนองอยางเห็นคุณคา สามารถจัดกลุมคานิยม และกําหนดคุณลักษณะของตัวเองในเรื่องของ การทํางานในอาชีพของตน 3. ดานทักษะปฏิบัติ (Psychomotor) มีจุดประสงคใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเพื่อ ความสามารถในการปฏิบัติงานในโรงฝกงาน หรือหองทดลองโดยผูเรียนจะตองสามารถแสดง พฤติกรรมการเรียนในขั้นตอนตาง ๆ ตั้งแต ความสามารถในการรับรู การเตรียมพรอมในการ ทํ า งาน การปฏิ บั ติต ามโดยอาศั ย ผู แ นะ การปฏิบั ติง านได เ อง และการปฏิบั ติง านด ว ยความ ชํานาญ ในการเขียนจุดประสงคสําหรับการสอนทักษะปฏิบัติ ควรเขียนเปนจุดประสงค เชิงพฤติกรรม ที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติและผูสอนสามารถวัดหรือสังเกตได โดยมีลําดับขั้นตอนใน การเขียนจุดประสงคเชิงพฤติกรรมดังนี้ 1. กําหนดหัวเรื่องและทักษะที่จะสอน 2. หาลําดับขั้นตอนในการทํางาน 3. จําแนกขั้นตอนการทํางานออกเปนทักษะและความรู 4. รวบรวมทักษะและความรูใหมเขียนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม การวิเคราะหผูเรียน ในการวิเคราะหผูเรียนนั้นจะชวยในการกําหนดจุดประสงคการสอน ชวยในการ กําหนดเนื้อหา ชวยในการแบงกลุมผูเรียน และชวยใหผูสอนรูวาในระหวางการเรียนการสอน สมควรจะไดชวยเหลือกลุมใดหรือคนใดเปนพิเศษ เพื่อจะทําใหเรียนรูไดทันผูอื่น ดังนั้นผูสอนควร จะตองทราบพื้นฐานผูเรียนในดานตอไปนี้ 1. ความสามารถทางสติ ป ญ ญา ผู เ รี ย นแต ล ะคนจะมี ค วามสามารถทาง สติ ป ญ ญาไม เ หมื อ นกั น ผู ส อนจะทราบความสามารถทางการเรี ย นของผู เ รี ย นได จ ากการใช แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน 2. ความสามารถทางทักษะปฏิบัติ ผูสอนควรจะตองทําการประเมินกันกอนที่จะ สอนทักษะปฏิบัติใหมใหแกผูเรียน เพื่อสํารวจทักษะปฏิบัติของผูเรียนกอนการเรียนการสอนจะเริ่ม ขึ้นวา มีเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอผูเรียนควรไดรับทักษะปฏิบัติพื้นฐานที่จําเปนเพิ่มเติม


122 กอน การประเมินทักษะปฏิบัติของผูเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติพื้นฐานประเมิน ความสามารถทางดานทักษะปฏิบัติของผูเรียน หรือการใหผูเรียนปฏิบัติตามงานที่มอบหมายแลว ทําการประเมินทักษะปฏิบัติดวยการใชแบบวัดทักษะปฏิบัติของผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนจะตองดําเนินการออกแบบเนื้อหาบทเรียน ดังนี้ 1. เนื้อหาบทเรียนในสวนทฤษฎี จะตองออกแบบใหเนื้อหามีการผสมผสาน มัลติมีเดีย โดยใหมีภาพเคลื่อนไหวและการจําลองสถานการณ (Simulation) รวมทั้งการใชไฮเปอร มีเดีย (Hypermedia), ไฮเปอรลิงค (Hyperlink) และไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ในการนําเสนอ เนื้อหา เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจในเนื้อหาทางทฤษฎีกอนที่จะไปเรียนฝกปฏิบัติ 2. เนื้อหาบทเรียนในสวนปฏิบัติ จะตองดําเนินการจัดทําเนื้อหาตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ 2.1 จัดเตรียมงานที่ใหผูเรียนฝกปฏิบัติ 2.2 วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 2.3 นําทักษะยอย ๆ มาจัดทําสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) เนื้อหาปฏิบัติในขั้นตอนการสาธิตการปฏิบัติจะตองแสดงทักษะการปฏิบัติงาน ดว ยวิธีการที่ปลอดภัย โดยเนนความปลอดภัยตอผู ปฏิบัติ ตอเครื่องมือและอุปกรณ และตอ ชิ้นงาน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไดดังนี้ คือ 1. กําหนดกิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1 การปฏิสัมพันธบนเครือขายอินเทอรเน็ตในการฝกปฏิบัติประจําสัปดาห ตลอดระยะเวลาการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอร เน็ต ดว ยการใชเครื่องมือบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ไดแก กระดานสนทนา (Web Board), หองสนทนาสด (Chat Room), อีเมล (e-mail), การถายโอนขอมูลระหวางเครื่อง (File Transfer Protocol), การอัพโหลด (Upload), การดาวนโหลด (Download), การคนหาขอมูลบนเครือขาย (Search), การเชื่อมโยงภายใน (Internal Links) และ การเชื่อมโยงภายนอก (External Links) เปนตน 1.2 การสงงานและแบบฝกหัดบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2. กําหนดกิจกรรมในการเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 2.1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.1.1 แจงจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหผูเรียนไดทราบ


123 2.1.2 การตรวจสอบทักษะพื้นฐานวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติเพียงพอตอ การเรียนทักษะปฏิบัติใหมหรือไม หรือเปนการตรวจสอบวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติในสิ่งที่เรียนแลว หรือไม โดยการใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 2.2 ขั้นดําเนินการสอน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.2.1 ทํ า แบบทดสอบก อ นเรี ย น เพื่ อ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ทางดานทฤษฎีและทฤษฎีเชิงปฏิบัติ 2.2.2 ศึกษาเนื้อหาบทเรียน 2.2.3 ทําแบบฝกหัด เพื่อทบทวนความรูและความเขาใจในเนื้อหา บทเรียน 2.2.4 ทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทางดานทฤษฎีและทฤษฎีเชิงปฏิบัติ 2.2.5 การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงตามขั้นตอนการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ 2.2.6 การสนทนาสด (Chat) ระหวางผูสอนกับผูเรียน เพื่อผูสอนจะได ชวยเหลือ, แนะนํา หรือใหขอมูลเกี่ยวกับผลของทักษะปฏิบัติ ในระหวางการเรียนบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 2.2.7 ผูสอนตั้งคําถามไวในกระดานสนทนา (Web Board) เพื่อ ทดสอบความรูความเขาใจของผูเรียน และผูสอนตอบคําถามในกระดานสนทนาจากคําถามหรือขอ สงสัยที่ผูเรียนตั้งไว 2.2.8 ผู เ รี ย นนํ า ชิ้ น งานมาให ผู ส อนตรวจสอบและให ค ะแนน เพื่ อ ประเมินผลการเรียน 2.3 ขั้นประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.3.1 การทดสอบผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรีย น เพื่ อ ความรูค วามเขาใจ เนื้อหาทางทฤษฎี 2.3.2 การทดสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียน เพื่อวัดทักษะปฏิบัติ 2.3.3 การทดสอบทั ก ษะปฏิบั ติ ข องผู เ รีย นหลั ง จากที่เ รีย นไปแลว 2 สัปดาห เพื่อวัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ในการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนโดยใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ควรประกอบดวย 1. ฮารดแวร (Hardware) และซอฟตแวร (Software) ไดแก เครื่องคอมพิวเตอร ที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ต และมีโปรแกรมประเภทบราวเซอร เชน Internet Explorer เปนตน


124 2. บุคลากรดานคอมพิวเตอร (Peopleware) ไดแก ผูสอน นักเรียน และผูที่ ควบคุมดูแลระบบเครือขาย 3. การจัดเวลาในการเรียน (Timing) เปนการจัดตารางเวลาในการเรียนผาน เครือขายอินเทอรเน็ต มีการนัดหมายเวลากันแลวก็สามารถพูดคุย โตตอบกันไดแบบทันทีทันใด ทั้งระหวางผูสอนกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนดวยกัน 4. หองเรียนสําหรับฝกปฏิบัติ ควรมีความแตกตางจากหองเรียนปกติทั่วไป คือ หองเรียนสํ าหรั บ ฝกปฏิบั ติจะต องมี การจัดพื้นที่ใ ห เหมาะสมกั บ การเรียนปฏิ บัติ และโตะ เรียน สําหรับฝกปฏิบัติจะตองมีเนื้อที่กวางเพียงพอสําหรับจัดตั้งชุดคอมพิวเตอร พรอมทั้งเครื่องมือและ อุปกรณที่จะใชสําหรับการฝกนั้น ๆ 5. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการฝกปฏิบัติ ควรจัดเตรียมไวใหพรอมสําหรับ การฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โดยใหอยูในสภาพที่จะใชงาน ไดทันที และตองมีเพียงพอกับจํานวนผูเรียน หากมีไมเพียงพอก็อาจดําเนินการจัดแบงกลุมยอย ของผูเรียน 2. (Process)

กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

องคประกอบที่เปนกระบวนการในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน, การสรางแรงจูงใจ ในการเรียน, การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค และกิจกรรมเสริมทักษะ โดยแตละ องคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดบทบาทผูสอน บทบาทผูสอนในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนมีบทบาทเปนผูควบคุมการเรียนการสอน ใหดําเนินไปตามขั้นตอนการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ คอยใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติ ของผูเรียนเพื่อปรับแกทักษะปฏิบัติของผูเรียนใหถูกตอง รวมทั้งประเมินทักษะปฏิบัติจากชิ้นงาน ของผูเรียนทั้งทางดานกระบวนการ (Process) และดานผลงาน (Product) จากการฝกปฏิบัติในแต ละขั้นตอน นอกจากนี้ผูสอนยังมีบทบาทบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน, การตั้งคําถามหรือตอบคําถามในกระดานสนทนา, การสนทนาสดกับผูเรียน, การตรวจแบบฝกหัด เปนตน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การสรางแรงจูงใจในการเรียนใหเกิดขึ้นสามารถทําไดโดยการใหผูเรียนไดรูถึง เป า หมายของงานที่ จ ะฝ ก ปฏิ บั ติ การออกแบบบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตที่มีการนําเสนอเนื้อหาที่เปนภาพเคลื่อนไหวและสตรีมมิ่งวีดิโอ การเปดโอกาสให


125 ผูเรียนไดฝกปฏิบัติกับบทเรียนที่เปนลักษณะของการจําลองสถานการณ การเตรียมความพรอม ของชุดการฝกปฏิบัติที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติไปพรอมกับการเรียนเนื้อหาบทเรียนบนเครือขาย อินเทอรเน็ต การประเมินผลการเรียนที่ผูเรียนสามารถตรวจสอบดวยตนเอง รวมถึงใชกิจกรรม ตางๆ กระตุนใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกลุมอยางทั่วถึง ซึ่งจะทําใหการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนไปอยางมีคุณภาพ มีชีวิตชีวา และเกิดแรงจูงใจใน การเรียนไดในที่สุด การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค การดํ า เนิ น การเรี ย นการสอนด ว ยบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต มีขั้นตอนดังนี้ 1. ผูเรียนเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต 2. เขาสูเว็บไซตรายวิชา 3. ลงทะเบียนรายวิชา 4. ใสชื่อและรหัสผานเขาสูบทเรียน 5. อานคําแนะนําและคําชี้แจงในการเรียน 6. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 7. ทําแบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติเบื้องตนของผูเรียน 8. เขาสูกระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ให ผูเรียนเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตรวมกับการฝกปฏิบัติกับวัสดุ และอุปกรณจริง ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น เรียกวา โมเดล ซีเอเอ (CAA Model) ซึ่งประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) โดยมี รายละเอียดแตละขั้นตอนดังนี้ 8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้นความรูความเขาใจนี้เปนขั้นตอนที่จะบอกถึงทักษะและความรูท าง ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรจะใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 8.1.1 ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นที่จะ บอกถึงความรูทางทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ เชน ขอมูล เบื้องตนของเรื่องที่จะเรียน และวิธีการใชงานเครื่องมือและอุปกรณที่จะใชในการฝกปฏิบัติ 8.1.2 บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นการใหผูเรียนไดรับรูใน สิ่งที่จะทํา ซึ่งสิ่งที่จะตองใหผูเรียนไดรับรูนั้นจะประกอบไปดวยจุดประสงค กิจกรรม เครื่องมือและ อุปกรณ ลําดับขั้นตอนการทํางาน และขอควรระวังในการทํางาน เปนตน


126 8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบัตินี้เปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะเกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้น ปฏิบัติผูสอนควรจัดใหผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 8.2.1 สาธิ ตทักษะหรือการกระทํ าใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ ขั้นนี้เปนขั้นใหผูเรียนไดเห็นทักษะหรือการกระทําที่ตองการใหผูเรียนทําไดในภาพรวม เพื่อทําให ผูเรียนไดเขาใจในภาพรวมของงานที่จะตองทํา การสาธิตใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบโดยการ ใชสตรีมมิ่งวีดิโอหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งผูเรียนสามารถดูซ้ําไดตามความตองการ ทักษะหรือการ กระทําที่สาธิตใหผูเรียนดูนั้น จะตองเปนการกระทําในลักษณะที่เปนธรรมชาติ ไมชาหรือเร็วเกิน ปกติ 8.2.2 สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา ขั้นนี้เปนขั้นใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ โดยใชสตรีมมิ่งวีดิโอหรือ ภาพเคลื่อนไหวบนเครือขายอินเทอรเน็ตสาธิตทักษะยอยทีละทักษะ แลวใหผูเรียนสังเกตการ กระทําแลวฝกปฏิบัติตามกับวัสดุและอุปกรณจริงทีละทักษะยอย เมื่อผูเรียนปฏิบัติทักษะยอยแตละ ทักษะเสร็จแลวสามารถนํามาตรวจสอบกับชิ้นงานตนแบบที่มีไวใหไดดวยตนเอง 8.2.3 ให ผู เ รี ย นปฏิ บั ติ ทั ก ษะโดยไม มี ก ารสาธิ ต หากติ ด ขั ด จุ ด ใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได ขั้นนี้เปนขั้นที่ใหผูเรียนไดทําการฝกปฏิบัติเองโดย ไมตองดูการสาธิต ผูสอนตองคอยใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน โดยการตรวจสอบ ทัก ษะปฏิ บั ติ ร ะหว า งเรี ย นขณะผู เ รี ย นปฏิ บั ติ อ ย า งใกล ชิ ด ด ว ยการสั ง เกตการปฏิ บั ติ ง านและ ตรวจสอบชิ้นงานที่ฝก ซึ่งผูสอนจะตองตรวจสอบทุกขั้นตอนการปฏิบัติและชิ้นงานที่เสร็จแลว ถา หากผูเรียนเกิดติดขัดจุดใดผูสอนจะใหการตรวจ-ปรับ แกไข จนกระทั่งทําไดถูกตอง รวมทั้งผูสอน ตองใหหลักการสังเกตและเกณฑการตัดสินคุณภาพของการทํางานอยางมีเหตุผล เพื่อผูเรียนจะได สรางขอมูลปอนกลับใหกับตนเอง ซึ่งผูเรียนจะไดใชประโยชนจากสิ่งนี้ไปตลอดในการทํางาน และ สามารถเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทํางานของตนเองใหมากขึ้น ในขั้นตอนนี้ผูสอนจะสามารถ ตรวจสอบทั กษะปฏิ บั ติ และใหข อมู ลปอนกลับผูเ รียนที่ เ รียนบนเครือขายอิ นเทอร เ น็ต ไดโดยใช เครื่องมือสื่อสารที่มีอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน เว็บแคม (Webcam), การสนทนาสด (Chat), กระดานสนทนา (Web Board) และอีเมล (e-mail) เปนตน ถาผูเรียนอยูในหองเรียนฝกปฏิบัติที่มี ผูสอนคอยควบคุมดูแลอยูดวย จะทําใหการฝกปฏิบัติในขั้นนี้มีประสิทธิภาพสูงสุด 8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้ น ชํ า นาญนี้ เ ป น ขั้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ทั ก ษะนั้ น รวดเร็ ว และถู ก ต อ ง ตลอดจน โอกาสจะกระทําผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 8.3.1 ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําได เอง (Mechanism) ขั้นตอนนี้เปนการใหผูเรียนไดกระทําจนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง


127 โดยการใหผูเรียนฝกปฏิบัติซ้ํา ๆ ตามการเรียนรูแบบโครงงาน (Project-based Learning) ดวยการ ทําชิ้นงานใหม ซึ่งอาจเปนชิ้นงานแบบเดิมหรือชิ้นงานที่มีลักษณะงานในลักษณะเดียวกัน เพื่อ ผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติตามขั้นตอนที่ไดฝกไปแลว และการฝกซ้ํา ๆ จะทําใหผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ และความคงทนของทักษะปฏิบัติ 8.3.2 เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว ขั้นนี้เปน ขั้นที่ผูเรียนมีโอกาสไดฝกฝนมากขึ้นจนกระทั่งกระทําไดถูกตองสมบูรณแบบอยางรวดเร็ว ถูกตอง และคลองแคลว โดยการใหผูเรียนไดฝกฝนในสถานการณหลาย ๆ แบบ เชน การฝกปฏิบัติจากการ การฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติบนเครือขายอินเทอรเน็ตแบบจําลอง ทําชิ้นงานใหม, สถานการณ หรือโปรแกรมการจําลองสถานการณ และการฝกปฏิบัติกับชุดฝกที่เปนวัสดุและ อุปกรณจริง เปนตน 9. ทําแบบทดสอบหลังเรียน 10. สอบปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติ 11. สอบปฏิบัติหลังจากเรียนไปแลว 2 สัปดาห เพื่อวัดความคงทนของทักษะ ปฏิบัติ กิจกรรมเสริมทักษะ ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถที่จะจัดกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดมากที่สุด ซึ่งสามารถกําหนด กิจกรรมเสริมทักษะไดโดยการใหผูเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่จําลอง สถานการณการฝกทักษะปฏิบัติตาง ๆ และการใชโปรแกรมการจําลองสถานการณ (Simulation) เกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการฝกปฏิบัติ และการใหผูเรียนศึกษาคนควาดวยตนเองเพื่อใหเกิดการเรียนรู ดวยตนเอง และสนับสนุนใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูไดอยางเต็มที่ โดยการเชื่อมโยง ไปยังแหลงขอมูลตาง ๆ บนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การทดลองเสมือนจริง หองสมุดเสมือน ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสและสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส และเว็บไซตที่เกี่ยวของ 3. การควบคุม (Control) องคประกอบที่เปนการควบคุมในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของ ผูเรียน และการตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ผูสอนควรใชระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management System: LMS) บนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนเครื่องมือในการตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ในดาน ตาง ๆ ดังนี้


128 1. การตรวจสอบขอมูลของผูเรียนและการใหขอมูลปอนกลับ เปนการติดตามดู การเรียนของผูเรียนทุกระยะ เชน บันทึกขอมูลผูเรียน บันทึกการเขาเรียน บันทึกการทํากิจกรรม บันทึกการฝกปฏิบัติในขั้นตอนตาง ๆ และคะแนนทดสอบของผูเรียน เปนตน ทั้งนี้เพื่อผูสอนจะได ทราบขอมูลในการเรียนของผูเรียน และสามารถใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียนเพื่อการ ประเมินตนเองตอไป 2. การควบคุมการฝกปฏิบัติของผูเรียน เปนการกําหนดบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหดําเนินไปตามขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซี เอเอ (CAA Model) โดยผูสอนสามารถกําหนดเนื้อหาใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติไปทีละขั้นตอน จนครบ ทุกขั้น ทั้งนี้เพื่อไมใหผูเรียนทําการฝกปฏิบัติขามขั้นตอน 3. การกําหนดชวงเวลาการทดสอบ ใชในการควบคุมผูเรียนเพื่อใหผูเรียนเขามา ศึกษาบทเรียนไดครบและตรงตามเวลาที่กําหนดไวไดอีกวิธีหนึ่ง โดยผูสอนสามารถกําหนดไดวาจะ เปดใหนักเรียนทําแบบทดสอบชุดใดในชวงใด และเปนระยะเวลานานเทาใด ทั้งนี้เพื่อควบคุมให การเรียนการสอนและการประเมินผลดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน การตรวจสอบทั ก ษะปฏิ บั ติ ข องผู เ รี ย นในขณะที่ กํ า ลั ง เรี ย น (Formative Evaluation) เพื่อที่จะไดรูวาผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติตามที่ตองการเพียงใด หากพบวายังไมเกิด ทักษะปฏิบัติหรือทักษะปฏิบัติยังไมถูกตอง ผูสอนตองคอยตรวจ-ปรับ แกไข จนเกิดทักษะปฏิบัติ ที่ถูกตอง รวมทั้งคอยชมเชย เสริมกําลังใจ เมื่อผูเรียนทําไดสําเร็จ หากผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ ตามที่ตองการแลว ก็ใหไปฝกปฏิบัติในทักษะปฏิบัติอื่น ๆ ตอไป โดยคอยตรวจสอบขณะปฏิบัติอยู เสมอ โดยมีวิธีการควบคุมและตรวจสอบทักษะปฏิบัติดังนี้ คือ 1. การตรวจสอบความรูความเขาใจเนื้อหาบทเรียน โดยใหผูเรียนทําแบบฝกหัด ระหวางการเรียนเนื้อหาบทเรียนและทําแบบทดสอบหลังเรียนหลังจากเรียนเนื้อหาบทเรียนจบในแต ละหัวขอ เพื่อเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนจะสูการเรียนฝกปฏิบัติ ผูเรียน ควรจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดจึงผานไปสูเนื้อหาตอไปได 2. การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทางดานกระบวนการ (Process) และ ทางดานผลงาน (Product) จากชิ้นงานที่ใหนักเรียนฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ผูสอนควรใหนักเรียนทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) ของแตละคน เพื่อผูสอนจะใช ในการตรวจสอบและประเมินงานในทุกขั้นตอนของการฝกปฏิบัติ และผูเรียนเองก็สามารถใชในการ ประเมินผลการพัฒนาทักษะปฏิบัติของตนเองได


129 4. ผลผลิต (Output) องค ป ระกอบที่ เ ป น ผลผลิ ต ในรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การประเมินผลการเรียนการสอน โดยมี รายละเอียดดังนี้ การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนการสอนทางดานทักษะปฏิบัตินั้น จะทําการประเมินผล การเรียนการสอน ดังนี้ 1. การประเมิ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ รียน เป นการประเมินความรู ความเขาใจในเนื้อหาบทเรียนหลังจากศึกษาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เรียบรอยแลว โดยใชแบบทดสอบหลังเรียนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนใหครอบคลุม จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 2. การประเมินทักษะปฏิบัติ จะประเมินหลังจากที่ผูเรียนไดศึกษากับบทเรียน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว โดยผูสอนจะตองจัดใหผูเรียนไดมีการ ปฏิบัติทําชิ้นงานจริงแลวทําการวัดทักษะปฏิบัติ โดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ ซึ่งมีผูประเมินอยาง นอย 2 คน โดยแบบวัดทักษะปฏิบัติจะทําการประเมินผล 2 ดาน คือ 2.1 การประเมินผลดานกระบวนการ (Process) เปนการตรวจสอบขั้นตอน การทํางาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ความสะอาดในการปฏิบัติงาน และเวลาในการ ปฏิบัติงาน 2.2 การประเมินผลดานผลงาน (Product) เปนการตรวจสอบคุณภาพของ ผลงาน 3. การประเมินความคงทนของทักษะปฏิบัติ จะประเมินหลังจากที่ผูเรียนได ศึกษากับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรียบรอยไปแลว 2 สัปดาห โดย ผูสอนจะตองจัดใหผูเรียนไดมีการปฏิบัติทําชิ้นงานจริงแลวทําการวัดทักษะปฏิบัติ 4. การประเมิ น ความคิ ด เห็ น ของผู เ รี ย น เป น การประเมิ น ความคิ ด เห็ น ของ ผูเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) องคประกอบที่เปนขอมูลปอนกลับในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยมี รายละเอียดดังนี้


130 ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง เปนการนําขอมูลจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ความคิดเห็นของผูเรียน ผล การเรียนการสอน และผลจากการปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ มาวิเคราะหหาขอบกพรอง เพื่อปรับปรุง แกไขรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหสมบูรณยิ่งขึ้น 1.5 นํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไป ใหผูเชี่ยวชาญประเมินอีกครั้ง ผลการประเมินรูปแบบมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.41 อยูในระดับเหมาะสม มาก (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) หลังจากนั้น ผูวิจัยนํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตที่สรางและพัฒนาขึ้น เปนรูปแบบสําหรับไปพัฒนาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน เพื่อใชในการศึกษาประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของรูปแบบตอไป 2. แบบประเมิ น รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ผูวิจัยไดสรางแบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา โดยมีขั้นตอนการสรางดังนี้ 2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด วิธีการสรางแบบประเมิน 2.2 กําหนดวัตถุประสงคเฉพาะของการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ทั้งดานแนวคิดและหลักการมี ความสอดคล อ งสั ม พั น ธ กั น กั บ เป า หมาย องค ป ระกอบของรู ป แบบมี ค วามครอบคลุ ม ตาม องคประกอบหลักของรูปแบบการสอนทั่วไป องคประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสมกับการเรียน การสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และความเหมาะสมขององคประกอบหลักของรูปแบบ ไดแก ปจจัยนําเขา กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต การควบคุม ผลผลิต และขอมูลปอนกลับ ความเหมาะสมขององคประกอบยอยของรูปแบบ รวมถึงการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 2.3 สรางแบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ซึ่งแบงออกเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 ชื่อของแบบประเมิน สวนที่ 2 คําชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงคและวิธีตอบแบบประเมิน สวนที่ 3 สวนของเนื้อหาสาระของแบบประเมิน ซึ่งแบงออกเปน 2 ตอน คือ


131 ตอนที่ 1 เปนคําถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเปนคําถามในรูปแบบของมาตราสวน ประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับ ตอนที่ 2 เปนขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเปนคําถามแบบปลายเปด 2.4 นําแบบประเมินที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของเครื่องมือและ ปรับปรุงแกไข ดังนี้ 2.4.1 การหาคุณภาพเครื่องมือระหวางสราง โดยใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดผล หรือการวิจัย จํานวน 3 ทาน เปนผูตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ไดแก ความสอดคลองของ ขอคําถามกับประเด็นยอย ประเด็นหลัก และวัตถุประสงคของเครื่องมือ และตรวจสอบความเปน ปรนัย ไดแก ความชัดเจนของภาษา การใชภาษาไมคลุมเครือ ไมซับซอน เปนตน และนํามา ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ 2.4.2 การหาคุณภาพเครื่องมือ เปนการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดผลหรือการวิจัย (รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ภาคผนวก ก) ประเมินใหคะแนนคําถามแตละขอโดยพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา ดังนี้ ใหคะแนน +1 สําหรับขอที่แนใจวาสอดคลอง ใหคะแนน 0 สําหรับขอที่ไมแนใจ ใหคะแนน -1 สําหรับขอที่แนใจวาไมสอดคลอง นําคะแนนความคิดเห็นมาหาคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา โดยใชสูตร (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. 2527: 69) IOC =

∑R N

= ดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา ∑ R = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ N = จํานวนผูเชี่ยวชาญ สําหรับเกณฑที่ใชในการพิจารณาคือ ขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ขึ้น ไป เปนขอคําถามที่ใชได สวนขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ลงมา เปนขอคําถามที่ตอง ปรับปรุงหรือตัดออก ไดแบบประเมินจํานวน 23 ขอ (รายละเอียดดังภาคผนวก ข.) มีคาดัชนีความ สอดคลอง (IOC) ของขอคําถาม อยูระหวาง 0.67-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.96 (รายละเอียดดัง ภาคผนวก ช.) 2.5 นํ า แบบประเมิ น รูป แบบการเรีย นการสอนฝ กปฏิ บั ติ ท างเทคนิค บนเครือ ขา ย อิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษา ที่ ไ ด ผ า นการตรวจสอบคุ ณ ภาพเรี ย บร อ ยแล ว ให IOC


132 ผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน และผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน รวม 10 ทาน ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา (รายละเอียดดัง ภาคผนวก ช.) 2.6 การวิ เ คราะห ข อ มู ล ในแบบประเมิ น ในส ว นที่ เ ป น คํ า ถามแบบมาตราส ว น ประมาณคา 5 ระดับ จะดําเนินการวิเคราะห ดังนี้ 2.6.1 นํ า ข อ มู ล จากการประเมิ น มาแจกแจงความถี่ ตามความคิ ด เห็ น ของ ผูเชี่ยวชาญในแตละขอคําถาม คือ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเหมาะสมระดับมาก มี ความเหมาะสมระดับปานกลาง มีความเหมาะสมระดับนอย มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด แจกแจงคาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญในแตละขอคําถาม คือ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีคา 5 มีความเหมาะสมระดับมาก มีคา 4 มีความเหมาะสมระดับปานกลาง มีคา 3 มีความเหมาะสมระดับนอย มีคา 2 มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด มีคา 1 2.6.2 หาคาเฉลี่ย ( X ) และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) ของความคิดเห็น ในแตละขอความ พิจารณาคาของความคิดเห็นโดยเทียบกับเกณฑการแปลความหมายของคาเฉลี่ย ในแตละขอคําถาม ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด 2.7 ถาคํานวณคาเฉลี่ยไดตั้งแต 3.51 คะแนนขึ้นไปถือวาใชได ขอใดที่มีคะแนนต่ํา กวานี้จะพิจารณาเปนรายขอตามเหตุผลของผูเชี่ยวชาญแตละทานเพื่อนํามาปรับปรุงรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตตอไปและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเกิน 1 ถือวารูปแบบมีความเหมาะสม (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 2.8 การวิ เ คราะห ข อ มู ล ในแบบประเมิ น ในส ว นที่ เ ป น คํ า ถามปลายเป ด ซึ่ ง เป น ขอเสนอแนะจะดําเนินการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) โดยรวบรวมขอเสนอแนะที่ สอดคลองกันเพื่อเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุงตอไป


133 3. บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ผูวิจัยสรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น ตามรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต มีขั้นตอนในการสราง ดังนี้ 3.1 วิเคราะหโครงสร างหลักสูต ร คําอธิบายรายวิชาของวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) และกําหนดเนื้อหาที่นํามาจัดทําบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนเนื้อสวนที่เปนภาคปฏิบัติในรายวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เบื้องตน ประกอบไปดวย 2 หนวยการเรียน ดังนี้ 3.1.1 การบัดกรีและการทําแผนวงจรพิมพ 1) การบัดกรี 2) การทําแผนวงจรพิมพ 3.1.2 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 1) การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 2) โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร (หัวขอนี้ไมอยูในคําอธิบายรายวิชา แตเพิ่ม เขามาเพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจในการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสดีขึ้น) 3.2 กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมและเนื้อหาที่จะใชในการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยมีขั้นตอนการ กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมและเนื้อหาดังนี้ 3.2.1 กําหนดหัวเรื่องและทักษะที่จะสอน 3.2.2 หาลําดับขั้นตอนในการทํางานตามลําดับกอน–หลัง 3.2.3 จําแนกขั้นตอนการทํางานออกเปนทักษะและความรู 3.2.4 รวบรวมทั ก ษะและความรู ใ หม เ ขี ย นเป น จุ ด ประสงค เ ชิ ง พฤติ ก รรม (รายละเอียดแสดงในภาคผนวก ฉ.) 3.3 ออกแบบบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยมีขั้นตอนในการออกแบบดังนี้ 3.3.1 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 3.3.1.1 เนื้อหาบทเรียนในสวนทฤษฎี ทําการออกแบบใหเนื้อหามีการ ผสมผสานมัลติมีเดีย โดยใหมีภาพเคลื่อนไหวและการจําลองสถานการณ (Simulation) รวมทั้งการ ใชไฮเปอรมีเดีย (Hypermedia), ไฮเปอรลิงค (Hyperlink) และไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ในการ นําเสนอเนื้อหา เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจในเนื้อหาทางทฤษฎีกอนที่จะไปเรียนฝกปฏิบัติ 3.3.1.2 เนื้อหาบทเรียนในสวนปฏิบัติ จะตองดําเนินการจัดทําเนื้อหาตาม ขั้นตอนดังตอไปนี้


134 1) จัดเตรียมงานที่ใหผูเรียนฝกปฏิบัติ 2) วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 3) นําทักษะยอย ๆ มาจัดทําสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) ใน ขั้นตอนการสาธิตการปฏิบัติไดแสดงทักษะการปฏิบัติงานดวยวิธีการที่ปลอดภัย โดยเนนความ ปลอดภัยตอผูปฏิบัติ ตอเครื่องมือและอุปกรณ และตอชิ้นงาน 3.3.2 การออกแบบบทเรี ย นฝ ก ปฏิบั ติ ท างเทคนิค บนเครื อ ขา ยอิ น เทอรเ น็ ต ประกอบดวย 3.3.2.1 การออกแบบการจัด วางหน า จอ ได แ ก องค ป ระกอบ ตั ว อั ก ษร การใชสี ภาพกราฟก วีดิทัศน เสียง ปุมและสัญรูป การจัดวางองคประกอบ ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟกและสวนประกอบอื่น ๆ ตามหลักการออกแบบ 3.3.2.2 ระบบการนําทางภายในบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ไดแก ความสะดวกและงายในการใช และการเชื่อมโยงที่ถูกตอง ทําใหผูเรียนไมหลง ทางภายในบทเรียน 3.3.2.3 การแสดงผล ไดแก การแสดงผลภาษาไทย-อังกฤษ ผานเบราเซอร ไดอยางถูกตอง 3.3.3 การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน 3.3.3.1 กิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1) การปฏิสัมพันธบนเครือขายอินเทอรเน็ต ในการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ใชเครื่องมือบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดแก กระดาน สนทนา (Web Board), หองสนทนาสด (Chat Room), อีเมล (e-mail), การถายโอนขอมูลระหวาง เครื่อง (File Transfer Protocol), การอัพโหลด (Upload), การดาวนโหลด (Download), การคนหา ขอมูลบนเครือขาย (Search), การเชื่อมโยงภายใน (Internal Links) และการเชื่อมโยงภายนอก (External Links) เปนตน 2) การสงงานและแบบฝกหัดบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.3.3.2 กิจกรรมในการเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ประกอบดวยขั้นตาง ๆ ดังนี้ 1) ขั้นนําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 1.1) แจงจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหผูเรียนไดทราบ 1.2) การตรวจสอบทักษะพื้นฐานวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติเพียงพอ ตอการเรียนทักษะปฏิบัติใหมหรือไม หรือเปนการตรวจสอบวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติในสิ่งที่เรียน แลวหรือไม โดยการใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 2) ขั้นดําเนินการสอน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.1) ทํ า แบบทดสอบก อ นเรี ย น เพื่ อ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ทางดานทฤษฎีและทฤษฎีเชิงปฏิบัติ


135 2.2) ศึกษาเนื้อหาบทเรียน 2.3) ทําแบบฝกหัด เพื่อทบทวนความรูและความเขาใจในเนื้อหา บทเรียน 2.4) ทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทางดานทฤษฎีและทฤษฎีเชิงปฏิบัติ 2.5) การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงตามขั้นตอนการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ 2.6) การสนทนาสด (Chat) ระหวางผูสอนกับผูเรียน เพื่อผูสอนจะ ไดชวยเหลือ, แนะนํา หรือใหขอมูลเกี่ยวกับผลของทักษะปฏิบัติ ในระหวางการเรียนบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 2.7) ผูสอนตั้งคําถามไวในกระดานสนทนา (Web Board) เพื่อ ทดสอบความรูความเขาใจของผูเรียน และผูสอนตอบคําถามในกระดานสนทนาจากคําถามหรือขอ สงสัยที่ผูเรียนตั้งไว 2.8) ผูเรียนนําชิ้นงานมาใหผูสอนตรวจสอบและใหคะแนน เพื่อ ประเมินผลการเรียน 3) ขั้นประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 3.1) การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อความรูความเขาใจ เนื้อหาทางทฤษฎี 3.2) การทดสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียน เพื่อวัดทักษะปฏิบัติ 3.3) การทดสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนหลังจากที่เรียนไปแลว 2 สัปดาห เพื่อวัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ 3.4 การสรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ประกอบดวย 3.4.1 เขียนผังงาน (Flowchart) ตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต แสดงดังภาพประกอบ 14


วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ออกจากบทเรียน

เมนูหลัก เลือกเนื้อหาที่จะเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน ขั้นความรูความเขาใจ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ขั้นความรูความเขาใจ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ประเมินผลสัมฤทธิ์

เนื้อหาบทเรียน เรื่อง การบัดกรี แบบฝกหัด

ไมผาน

ผานเกณฑ 80% ผาน

แบบฝกหัด

สอบปฏิบัติหลังเรียน

เนื้อหาบทเรียน เรื่อง ไมผาน

การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส ผานเกณฑ 80%

ประเมินทักษะปฏิบัติ

ผานเกณฑ 80% ผาน

แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินทักษะปฏิบัติ

ประเมินทักษะปฏิบัติ

การฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน CAA Model สอบปฏิบัติหลังเรียน

การฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน CAA Model

ขั้นชํานาญ

ประเมินทักษะปฏิบัติ

ศึกษาครบทุก บทเรียน

เนื้อหาบทเรียน เรื่อง

แบบฝกหัด

ขั้นปฏิบัติ

แบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นชํานาญ

ไมผาน

แบบฝกหัด

ผาน

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร

ขั้นปฏิบัติ

ประเมินทักษะปฏิบัติ

การฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน CAA Model

ประเมินผลสัมฤทธิ์

ประเมินผลสัมฤทธิ์

เนื้อหาบทเรียน เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ

ขั้นปฏิบัติ

แบบทดสอบหลังเรียน

ขั้นความรูความเขาใจ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

สอบปฏิบัติหลังเรียน

การฝกปฏิบัติประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกสกับชุดฝก

ขั้นชํานาญ

สอบปฏิบัติหลังเรียน ประเมินทักษะปฏิบัติ

ไมครบ

ครบ

สอบปฏิบัติหลังเรียน

สอบปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห

136

ภาพประกอบ 14 แผนภูมิลําดับการนําเสนอบทเรียน (Course Flowchart)


137 3.4.2 สรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ตามผังงาน (Flowchart) โดยใชโปรแกรมตาง ๆ ไดแก 1) โปรแกรม Macromedia Dreamweaver สรางเว็บเพจ (Webpage) เนื้อหาบทเรียน 2) โปรแกรม Macromedia Flash สรางภาพเคลื่อนไหว และภาพจําลอง สถานการณ 3) โปรแกรม Macromedia Authorware สรางบทเรียนจําลองสถานการณ 4) โปรแกรม Adobe Photoshop ตกแตงภาพกราฟก 5) โปรแกรม Sony Vegas ตัดตอภาพวีดิทัศน 6) โปรแกรม Sound Forge อัดและตัดตอเสียง 3.4.3 นําบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางเสร็จแลว ไปเชื่อมโยงเขากับระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management System: LMS) ไดแก Moodle เพื่อใชเปนเครื่องมือในการตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน และมีโมดูล (Module) เพื่อ ชวยอํานวยความสะดวกในการเรียนการสอน เชน แบบทดสอบ กระดานสนทนา (Web Board) และ หองสนทนาสด (Chat Room) เปนตน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้


138

บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต Web-based Technical Practice Instruction สวนผูสอน y บริหารผูเรียน y บริหารบทเรียน y ใหคําปรึกษา y ใหขอมูลปอนกลับ y ประเมินทักษะปฏิบัติ

สวนบทเรียน y เนื้อหาบทเรียน y การเรียนการสอนฝก ปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซี เอเอ (CAA Model) y แบบฝกหัด y แบบทดสอบ y สตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) y การทดลองเสมือนจริง y โปรแกรมจําลอง สถานการณ สวนสนับสนุนและการ ติดตอสื่อสาร y กระดานสนทนา (Web Board) y หองสนทนาสด(Chat Room) y แหลงขอมูล

สวนผูเรียน y บริหารการเรียน y ศึกษาเนื้อหาบทเรียน y ทําแบบฝกหัด y ทําแบบทดสอบ y ฝกปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ทําชิ้นงาน y ทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) y ตรวจสอบผลการเรียน

ระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต สวนผูดูแลระบบ y บริหารจัดการระบบรวมถึง ฐานขอมูลระบบทั้งหมด y ตรวจสอบระบบ

สวนฐานขอมูลการเรียน y ขอมูลผูเรียน y รายงานผลการเรียน y รายงานผลการฝกปฏิบัติ y บันทึกการใชงานบทเรียน

ภาพประกอบ 15 สวนประกอบของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


139 3.5 สร า งคู มื อ การเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับผูเรียนและผูสอน 3.6 นําบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่สรางขึ้น ไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 10 ทาน ทําการประเมิน ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน ประเมินทางดาน เนื้อหา ซึ่งผูเชี่ยวชาญมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทางดานเนื้อหา มีคาเฉลี่ยโดยรวมเทากับ 4.49 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียด ผลการประเมิ น แสดงในภาคผนวก ช.) และมี ข อ เสนอแนะของผู เ ชี่ ย วชาญด า นไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกส สรุปไดดังนี้ - ควรเนนเรื่องความปลอดภัยทั้งตอตัวคน และตอชิ้นงาน - ควรมีแผนที่ของ Web แนะนําวิธีการเขาเรียน - ควรเพิ่ม Clip Video ใหมากขึ้น - ตัวหนังสือคอนขางเล็ก - รายละเอียดที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหามีมากเกินไป ทําใหดูแลวลายตา และ ความสนใจในเนื้อหาของผูเรียนจะลดลง (ควรมีเฉพาะหนาแรก) และผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน (ดังรายชื่อในภาคผนวก ก.) ทําการประเมินทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ ซึ่งผูเชี่ยวชาญมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทเรี ยนฝ กปฏิ บัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเ น็ตทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ มีคาเฉลี่ย โดยรวมเทากับ 4.39 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดผลการประเมินแสดงในภาคผนวก ช.) และมีขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา สรุปไดดังนี้ - ตัวอักษรยังขาดความสม่ําเสมอในแตละหนา - บทเรียนออกแบบไดดีมีสาระและนาสนใจ แตยังขาดเรื่องความสม่ําเสมอของ ขนาดและแบบของตัวอักษร - บทเรียนที่เปน Simulation ทําไดดีมาก ผูเรียนจะไดประโยชนมากจากการ ทดลอง 3.7 ทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่สรางตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยทดลองกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช .1) แผนกอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 32 คน โดยแบงการทดลอง เปน 3 ครั้ง ดังนี้


140 3.7.1 การทดลองครั้งที่ 1 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบ ความเขาใจของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอนทักษะ ปฏิบัติ ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงเพิ่มเติมตามที่ไดสังเกตและสัมภาษณนักเรียน ในเรื่องตางๆ ดังนี้ - แกไขใหขนาดหนาจอของสตรีมมิ่งวีดิโอที่สาธิตทักษะปฏิบัติใหสามารถขยาย เต็มจอภาพได - ปรับขนาดของตัวอักษรใหมีขนาดใหญมากขึ้น - เปลี่ยนภาพประกอบสีขาวดําใหเปนภาพสี - ปรับเนื้อหาบทเรียนทางทฤษฎีใหมีกระชับและเขาใจงายขึ้น - ปรับเปลี่ยนปุมลิงคดูวีดิโอจากตัวอักษรใหเปนปุมรูปภาพที่สื่อความหมายได ชัดเจน 3.7.2 การทดลองครั้งที่ 2 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 9 คน เพื่อหาแนวโนม ของประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ในการทดลองเพื่อหา ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตจะทําการวัดและประเมินผล ทั้งทางดานทฤษฎีและการฝกปฏิบัติ โดยใหนักเรียนเรียนทั้ง 2 หนวยการเรียน คือ หนวยการเรียน ที่ 1 มี 2 เรื่อง คือ การบัดกรี และการทําแผนวงจรพิมพ และหนวยการเรียนที่ 2 มี 2 เรื่อง คือ การ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และโปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร (Circuitmaker) แลวทําแบบทดสอบ หลังเรียนและฝกปฏิบัติทําชิ้นงานในแตละเรื่อง โดยนักเรียนตองทําแบบทดสอบหลังเรียนและฝก ปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทุกเรื่อง เพื่อหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และเมื่อ ศึกษาครบทุกหนวยการเรียนแลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและสอบปฏิบัติเพื่อวัดทักษะ ปฏิบัติหลังเรียนทั้งบทเรียน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) และตรวจสอบหาขอบกพรองใน ดานตาง ๆ จากนั้นนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป ในการวิจัยในครั้งนี้จะกําหนด เกณฑไว 85/85 โดยเนื้อหาที่เปนทักษะปฏิบัติจะสามารถใชเกณฑการวัดประสิทธิภาพตามเกณฑ มาตรฐาน 75/75 (ชัยยงค พรหมวงศ; และคนอื่นๆ. 2520) ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต พบวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพ 84.14/83.59 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) ซึ่ง ยังต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว 85/85 ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงเพิ่มเติมตามที่ไดสังเกตและสัมภาษณ นักเรียน ในเรื่องตางๆ ดังนี้ - แกไขคําแนะนําการเรียนใหละเอียดมากขึ้น - เพิ่มเติมภาพวีดิโอสอนทักษะปฏิบัติใหละเอียดและชัดเจนมากขึ้น - เพิ่มบทเรียนการจําลองสถานการณ (Simulation) การประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส - เพิ่มภาพเคลื่อนไหวในการอธิบายการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ - ปรับปรุงขั้นตอนการฝกปฏิบัติใหเรียงลําดับตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model)


141 3.7.3 การทดลองครั้งที่ 3 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 20 คน เพื่อหา ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่สรางขึ้น ในการทดลองผูวิจัยไดชี้แจงกระบวนการและวิธีการเรียนกับ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทั้ง 2 หนวยการเรียน โดยนักเรียนตองทํา แบบทดสอบหลังเรียนและฝกปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทุกเรื่อง เพื่อหาประสิทธิภาพ ของกระบวนการ (E1) และเมื่อศึกษาครบทุกหนวยการเรียนแลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และสอบปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) ดังนี้ ขั้นในการทดสอบระหวางเรียน (E1) ในขั้นนี้ใหนักเรียนศึกษาบทเรียนในแตละเรื่องทั้ง 2 หนวยการเรียน คือ หนวยการ เรียนที่ 1 มี 2 เรื่อง คือ การบัดกรี และการทําแผนวงจรพิมพ และหนวยการเรียนที่ 2 มี 2 เรื่อง คือ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และโปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร ในแตละเรื่องประกอบดวยสวน ของภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยการเรียนภาคทฤษฎีนักเรียนจะตองศึกษาเนื้อหาบทเรียนใหจบ กอน แลวทําแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจ เสร็จแลวจึงทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ รวม 10 คะแนน สวนในการเรียนภาคปฏิบัตินักเรียนจะเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ตามขั้ น ตอนการเรี ย นการสอนเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะปฏิ บั ติ ที่ พั ฒ นาขึ้ น เรียกวา โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ซึ่งประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ซึ่งในการฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ไดดําเนินการเรียนการ สอนและเก็บคะแนนดังนี้ 1) เรื่องการบัดกรี ไดดําเนินการเรียนการสอนเพื่อวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนา ดังนี้ 1.1) ขั้นความรูความเขาใจ เปนขั้นตอนที่ใหผูเรียนไดเขาใจเนื้อหาทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับการฝกปฏิบัติ 1.2) ขั้นปฏิบัติ เปนขั้นตอนการฝกปฏิบัติตามบทเรียนกับวัสดุและอุปกรณจริง โดยนักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม 24 คะแนน 1.3) ขั้ น ชํ า นาญ เป น ขั้ น ตอนการฝ ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให เ กิ ด ความชํ า นาญ โดย นักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม 16 คะแนน แลวทําการทดสอบภาคปฏิบัติ เพื่อวัดความชํานาญในเรื่องความรวดเร็ว ความถูกตอง และความคลองแคลว จํานวน 6 คะแนน ผลรวมคะแนนจากเรื่อง การบัดกรี ทําการเก็บคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน 10 คะแนน และทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 46 คะแนน รวมทั้งหมด 56 คะแนน


142 2) เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ ไดดําเนินการเรียนการสอนเพื่อวัดทักษะปฏิบัติ ระหวางเรียน ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนา ดังนี้ 2.1) ขั้นความรูความเขาใจ เปนขั้นตอนที่ใหผูเรียนไดเขาใจเนื้อหาทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับการฝกปฏิบัติ 2.2) ขั้นปฏิบัติ เปนขั้นตอนการฝกปฏิบัติตามบทเรียนกับวัสดุและอุปกรณจริง โดยนักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม34 คะแนน 2.3) ขั้ น ชํ า นาญ เป น ขั้ น ตอนการฝ ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให เ กิ ด ความชํ า นาญ โดย นักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม 20 คะแนน แลวทําการทดสอบภาคปฏิบัติ เพื่อวัดความชํานาญในเรื่องความรวดเร็ว ความถูกตอง และความคลองแคลว จํานวน 6 คะแนน ผลรวมคะแนนจากเรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ ทําการเก็บคะแนนจากแบบทดสอบ หลังเรียน 10 คะแนน และทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 60 คะแนน รวมทั้งหมด 70 คะแนน 3) เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส ไดดําเนินการเรียนการสอนเพื่อวัดทักษะ ปฏิบัติระหวางเรียน ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนา ดังนี้ 3.1) ขั้นความรูความเขาใจ เปนขั้นตอนที่ใหผูเรียนไดเขาใจเนื้อหาทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับการฝกปฏิบัติ 3.2) ขั้นปฏิบัติ เปนขั้นตอนการฝกปฏิบัติตามบทเรียนกับวัสดุและอุปกรณจริง โดยนักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม44 คะแนน 3.3) ขั้ น ชํ า นาญ เป น ขั้ น ตอนการฝ ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให เ กิ ด ความชํ า นาญ โดย นักเรียนจะตองปฏิบัติใบงาน แลวใชแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนเก็บคะแนนตามใบงาน รวม 24 คะแนน แลวทําการทดสอบภาคปฏิบัติ เพื่อวัดความชํานาญในเรื่องความรวดเร็ว ความถูกตอง และความคลองแคลว จํานวน 6 คะแนน ผลรวมคะแนนจากเรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส ทําการเก็บคะแนนจาก แบบทดสอบหลังเรียน 10 คะแนน และทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 74 คะแนน รวมทั้งหมด 84 คะแนน 4) เรื่อง โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร เปนเนื้อหาที่มุงเนนใหผูเรียนไดเกิดความเขาใจ ในการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสไดดียิ่งขึ้น โดยใหผูเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนพรอมกับการใช โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอรสรางวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ และทดสอบวงจรใน ลักษณะจําลองสถานการณ (Simulation) เพื่อดูผลของเอาทพุต (Output) ที่ไดจากวงจรเปรียบเทียบ กับวงจรที่สรางจากการประกอบขึ้นจากแผนวงจรพิมพที่สรางขึ้นเอง รวมทั้งการทดสอบอาการเสีย ต า ง ๆ ของวงจรแหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ ที่ ส ร า งขึ้ น เช น อาการที่ เ กิ ด จากไดโอด (Diode) ขาดหรือลัดวงจร และการเปลี่ยนคาตัวเก็บประจุ (Capacitor) ใหมากขึ้นหรือนอยลง


143 หลังจากนั้นใหนักเรียนทดลองตอประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่บนชุดฝก แลว ทําการวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 10 คะแนน คะแนนการทดสอบระหวางเรียนทั้งหมดเทากับ 220 คะแนน ผลการวิเคราะหหา ประสิทธิภาพระหวางเรียนของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เทากับ 88.44 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) ขั้นในการทดสอบหลังเรียน (E2) เมื่ อ นัก เรี ย นศึ ก ษาเนื้ อ หาบทเรี ย นในแต ล ะเรื่ อ งครบทุ ก เรื่ อ งแล ว ให นัก เรีย นทํ า แบบทดสอบหลังเรียนจํานวน 30 ขอ รวม 30 คะแนน และทําการทดสอบทักษะปฏิบัติหลังเรียน โดยใหนักเรียนสอบภาคปฏิบัติ เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจายไฟฟากระแสตรง ชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ รวม 100 คะแนน คะแนนการทดสอบหลังเรียนทั้งหมดเทากับ 130 คะแนน ผลการวิเคราะหหา ประสิทธิภาพหลังเรียนของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เทากับ 85.88 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) สรุปผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต พบวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพ 88.44/85.88 ผลการทดลองถือไดวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้ เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 85/85 3.8 นํ า บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ไปทํ า การศึ ก ษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความ คิดเห็นที่มีตอรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตกับนักเรียนที่ เปนกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน ตอไป 4. แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ผูวิจัยไดสรางแบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยมีขั้นตอนการสรางดังนี้ 4.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด วิธีการสรางแบบประเมินบทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4.2 กําหนดวัตถุประสงคเฉพาะของการประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต เพื่ อ การรวบรวมความคิ ด เห็ น ของผู เ ชี่ ย วชาญทางด า นไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกส และผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา เกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


144 4.3 สรางแบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน แบงออกเปน 2 ชุด คือ แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ทางด า นเนื้ อ หาสํ า หรั บ ผู เ ชี่ ย วชาญทางด า นไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกส และแบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทางดาน เทคนิคการผลิตสื่อสําหรับผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งแตละชุด แบงออกเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 ชื่อของแบบประเมิน สวนที่ 2 คําชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงคและวิธีตอบแบบประเมิน สวนที่ 3 สวนของเนื้อหาสาระของแบบประเมิน ซึ่งแบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เปนคําถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งเปนคําถามในรูปแบบของมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) 5 ระดับ ตอนที่ 2 เปนขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งสรางเปนคําถามปลายเปด 4.4 นําแบบประเมินที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของเครื่องมือและ ปรับปรุงแกไข ดังนี้ 4.4.1 การหาคุณภาพเครื่องมือระหวางสราง โดยใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดผล หรือการวิจัย จํานวน 3 ทาน เปนผูตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ไดแก ความสอดคลองของ ขอคําถามกับประเด็นยอย ประเด็นหลัก และวัตถุประสงคของเครื่องมือ และตรวจสอบความเปน ปรนัย ไดแก ความชัดเจนของภาษา การใชภาษาไมคลุมเครือ ไมซับซอน เปนตน และนํามา ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ 4.4.2 การหาคุณภาพเครื่องมือ เปนการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยใหผูเชี่ยวชาญดานการวัดผลหรือการวิจัย จํานวน 3 ทาน (รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ภาคผนวก ก) ประเมินใหคะแนนคําถามแตละขอโดยพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกับ เนื้อหา ดังนี้ ใหคะแนน +1 สําหรับขอที่แนใจวาสอดคลอง ใหคะแนน 0 สําหรับขอที่ไมแนใจ ใหคะแนน -1 สําหรับขอที่แนใจวาไมสอดคลอง นําคะแนนความคิดเห็นมาหาคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา โดยใชสูตร (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. 2527: 69) IOC =

∑R N


145 = ดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา ∑ R = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ N = จํานวนผูเชี่ยวชาญ สําหรับเกณฑที่ใชในการพิจารณาคือ ขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ขึ้น ไป เปนขอคําถามที่ใชได สวนขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ลงมา เปนขอคําถามที่ตอง ปรับปรุงหรือตัดออก ไดแบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ทางดานเนื้อหา จํานวน 16 ขอ (รายละเอียดดังภาคผนวก ข.) มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของ ขอคําถาม อยูระหวาง 0.67-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.98 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) และแบบ ประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ จํานวน 16 ขอ (รายละเอียดดังภาคผนวก ข.) มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของขอคําถาม เฉลี่ยรวม เทากับ 1.00 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 4.5 นําแบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่ไดผานการตรวจสอบคุณภาพเรียบรอยแลว ใหผูเชี่ยวชาญ ทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน และผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา จํ า นวน 5 ท า น ตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.6 การวิ เ คราะห ข อ มู ล ในแบบประเมิ น ในส ว นที่ เ ป น คํ า ถามแบบมาตราส ว น ประมาณคา 5 ระดับ จะดําเนินการวิเคราะห ดังนี้ 4.6.1 นํ า ข อ มู ล จากการประเมิ น มาแจกแจงความถี่ ตามความคิ ด เห็ น ของ ผูเชี่ยวชาญในแตละขอคําถาม คือ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเหมาะสมระดับมาก มี ความเหมาะสมระดับปานกลาง มีความเหมาะสมระดับนอย มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด แจกแจงคาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญในแตละขอคําถาม คือ มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีคา 5 มีความเหมาะสมระดับมาก มีคา 4 มีความเหมาะสมระดับปานกลาง มีคา 3 มีความเหมาะสมระดับนอย มีคา 2 มีคา 1 มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด 4.6.2 หาคาเฉลี่ย ( X ) และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) ของความคิดเห็น ในแตละขอความ พิจารณาคาของความคิดเห็นโดยเทียบกับเกณฑการแปลความหมายของคาเฉลี่ย ในแตละขอคําถาม ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับปานกลาง IOC


146 คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมระดับนอยที่สุด 4.7 บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน จะใชเกณฑของความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ อยูในระดับมีความเหมาะสม ระดับมากขึ้นไป และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานไมเกิน 1 จึงถือวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้นตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนั้นมีความเหมาะสม (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 4.8 การวิ เ คราะห ข อ มู ล ในแบบประเมิ น ในส ว นที่ เ ป น คํ า ถามปลายเป ด ซึ่ ง เป น ขอเสนอแนะจะดําเนินการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) โดยรวบรวมขอเสนอแนะที่ สอดคลองกันเพื่อเปนขอมูลสําหรับการปรับปรุงตอไป 5. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน วิจัยไดสรางแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานซึ่งครอบคลุมเนื้อหา เรื่อง การบัดกรี การ ทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชเปนแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน กอนเรียนของนักเรียน โดยนําผลของคะแนนมาคัดเลือกนักเรียนที่จะใชเปนกลุมตัวอยาง ซึ่งผูวิจัย มีขั้นตอนในการสรางและหาคุณภาพดังนี้ 5.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด และวิธีสรางแบบทดสอบ 5.2 กําหนดวัตถุประสงคที่ตองการออกเปนแบบทดสอบ 5.3 กําหนดขอสอบในแบบทดสอบใหครอบคลุมวัตถุประสงค 5.4 กําหนดลักษณะของแบบทดสอบ ซึ่งในการวิจัยนี้ผูวิจัยไดกําหนดแบบทดสอบ เปนชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก ครอบคลุมจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของเนื้อหาที่ตองการวัดทักษะ พื้นฐาน 5.5 สรางแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ (Multiple Choice) ตามเนื้อหา เรื่อง การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 5.6 นําแบบทดสอบวัดทั กษะพื้นฐานที่ผูวิจัยสรางขึ้ น ไปใหผูเ ชี่ยวชาญทางดาน เนื้อหา ตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหา และประเมินความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ผลการพิจารณามีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) อยูระหวาง 0.60-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.94 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 5.7 นํ า แบบทดสอบไปทดสอบกั บ นั ก เรี ย นที่ เ คยเรี ย นวิ ช า งานไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน มาแลวจํานวน 20 คน เพื่อคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และ คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คัดเลือกขอสอบที่ผานเกณฑจํานวน 10 ขอ (รายละเอียดดั ง ภาคผนวก ง.) มีคาความยากงาย (p) อยูในชวง 0.35-0.80 คาอํานาจจําแนก (r) อยูในชวง 0.200.80 และคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเทากับ 0.81 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.)


147 6. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผูวิจัยไดสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งครอบคลุมเนื้อหา เรื่อง การ บัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอน เรียนและหลังเรียน ซึ่งผูวิจัยมีขั้นตอนในการสรางและหาคุณภาพดังนี้ 6.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด และวิธีสรางแบบทดสอบ 6.2 กําหนดวัตถุประสงคที่ตองการออกเปนแบบทดสอบ 6.3 กําหนดขอสอบในแบบทดสอบใหครอบคลุมวัตถุประสงค 6.4 กําหนดลักษณะของแบบทดสอบ ซึ่งในการวิจัยนี้ผูวิจัยไดกําหนดแบบทดสอบ เปนชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก ครอบคลุมจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของเนื้อหาที่ตองการวัดทักษะ พื้นฐาน 6.5 สรางแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ (Multiple Choice) ตามเนื้อหา เรื่อง การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 6.6 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้น ไปใหผูเชี่ยวชาญ ทางดานเนื้อหา ตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหา และประเมินความสอดคลอง (IOC) ระหวาง ขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ผลการพิจารณามีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) อยูระหวาง 0.60-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.97 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 6.7 นํ า แบบทดสอบไปทดสอบกั บ นั ก เรี ย นที่ เ คยเรี ย นวิ ช า งานไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน มาแลวจํานวน 20 คน เพื่อคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และ คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ คัดเลือกขอสอบที่ผานเกณฑจํานวน 30 ขอ (รายละเอียดดัง ภาคผนวก ง.) มีคาความยากงาย (p) อยูในชวง 0.45-0.80 คาอํานาจจําแนก (r) อยูในชวง 0.200.50 และคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเทากับ 0.83 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 7. แบบวัดทักษะปฏิบัติ ผูวิจัยสรางแบบวัดทักษะปฏิบัติในการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ใหสอดคลองกับเนื้อหาภาคปฏิบัติ ในวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) เพื่อวัดทักษะปฏิบัติหลังจากนักเรียนเรียนจบทุกหนวยการเรียนแลว โดยใหผูเรียน ไดปฏิบัติทําชิ้นงานจริงแลวทําการวัดทักษะปฏิบัติ โดยวัดในระดับการทําไดเอง (Mechanism) มี ขั้นตอนในการสรางและหาคุณภาพดังนี้ 7.1 ศึกษาเอกสาร ตําราเกี่ยวกับหลักการสรางแบบวัดทักษะปฏิบัติ 7.2 สรางแบบวัดทักษะปฏิบัติ ครอบคลุมทั้งดานกระบวนการ (Process) และดาน ผลงาน (Product) โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ขอปฏิบัติ และการวิเคราะหงาน ให สอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม (รายละเอียดดังภาคผนวก ฉ.)


148 7.3 นํ า แบบวั ด ทั ก ษะปฏิ บั ติ ที่ ส ร า งขึ้ น ไปให ผู เ ชี่ ย วชาญทางด า นเนื้ อ หาทํ า การ ประเมินความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ซึ่งเปนความเที่ยงตรงเชิงเหตุและผล (Logical Validity) ที่จะตรวจสอบใน 3 ดาน คือ ความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับจุดประสงค เชิงพฤติกรรม ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และความสอดคลองของ เกณฑการประเมินกับขอปฏิบัติ 7.4 นําคาการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญมาหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency: IOC) ซึ่งความเที่ยงตรงนี้จะตองมีคามากกวาหรือเทากับ 0.5 จึงจะถือวาสอดคลอง กัน ผลการพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้อหาทั้ง 3 ดาน พบวา ความสอดคลองของการวิเคราะห งานกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม มีคาอยูระหวาง 0.80-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.97 ความสอดคลอง ของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม มีคาอยูระหวาง 0.80-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.97 และ ความสอดคลองของเกณฑการประเมินกับขอปฏิบัติ มีคาอยูระหวาง 0.80-1.00 เฉลี่ยรวมเทากับ 0.84 (รายละเอียดดังภาคผนวก ฉ.) 7.5 นําแบบวัดทักษะปฏิบัติที่สรางขึ้นไปทดลองกับนักเรียนที่เคยผานการเรียนวิชา งานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น จํ า นวน 10 คน โดยให นั ก เรี ย นทํ า การประกอบวงจร แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ แลวใหผูสอนจํานวน 2 ทาน ทําการประเมินทักษะปฏิบัติ เพื่อหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบัติ ดังนี้ 7.5.1 ความเชื่อมั่นที่มีผูใหคะแนนมากกวา 1 คน โดยวิเคราะหหาคา สัมประสิทธิ์การสรุปอางอิง (Generalizability Coefficient: ρ2) ของครอนบาค (Cronbach) ไดคา เทากับ 0.88 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 7.5.2 ความเชื่อมั่นของผูประเมิน 2 คน โดยวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ไดคาเทากับ 0.94 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) ความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบัติควรจะมีคาตั้งแต 0.7 ขึ้นไป จึงจะเปนแบบ ประเมินที่เชื่อมั่นได 7.6 แบบวัดทักษะปฏิบัติที่ผานการประเมินคุณภาพแลว (รายละเอียดดังภาคผนวก ง.) ไปประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต 7.7 ทําการวิเคราะหทักษะปฏิบัติ โดยการหาคาเฉลี่ย ( X ) แลวนํามาเทียบกับ เกณฑการประเมินผลทักษะปฏิบัติ ดังตาราง 5


149 ตาราง 5 แสดงเกณฑการประเมินผลทักษะปฏิบัติ คะแนนรอยละ 90 ขึ้นไป 75 - 89 60 - 74 30 - 59 ต่ํากวา 30

ผลการประเมิน ผลการประเมินขั้นดีมาก ผลการประเมินขั้นดี ผลการประเมินขั้นใชได ผลการประเมินขั้นออน ผลการประเมินขั้นไมผาน

คาระดับคะแนน 4 3 2 1 0

ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนกับรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต อยูในระดับดีขึ้นไป 8. แบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ผูวิจัยไดสรางแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน เพื่อเปนแบบวัดทักษะปฏิบัติตาม ขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น โดยวัดทักษะปฏิบัติจากชิ้นงานที่ นักเรียนทําในแตละขั้นตอนยอยในขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ซึ่งมีขั้นตอน ในการสรางดังนี้ 8.1 ศึกษาเอกสาร ตําราเกี่ยวกับหลักการสรางแบบวัดทักษะปฏิบัติ 8.2 สรางแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะปฏิบัติในเนื้อหาบทเรียนแตละเรื่องดังนี้ 8.2.1 เรื่อง การบัดกรี มีแบบวัดทักษะปฏิบัติ จํานวน 5 ฉบับ 8.2.2 เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ มีแบบวัดทักษะปฏิบัติ จํานวน 5 ฉบับ 8.2.3 เรื่อง การประกอบอิเล็กทรอนิกส มีแบบวัดทักษะปฏิบัติ จํานวน 5 ฉบับ 8.2.4 เรื่อง โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร มีแบบวัดทักษะปฏิบัติ จํานวน 1 ฉบับ ในแตละฉบับมีระดับคะแนน 3 ระดับ คือ 2, 1 และ 0 โดยในแตละระดับ มี เกณฑในการใหคะแนนอยางละเอียด 8.3 นําแบบวั ดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนไปปรึกษากับประธานผูควบคุ มปริญญา นิพนธ ผูเ ชี่ยวชาญทางดานเนื้อหาและผูเชี่ ยวชาญทางดานการวัดและประเมินผล แลวนํ ามา ปรับปรุงแกไข 8.4 แบบวัดทักษะปฏิบัติที่ปรับปรุงแกไขแลว (รายละเอียดดังภาคผนวก ง.) สามารถ นําไปประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียนตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติใน รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


150 9. แบบประเมินความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดสรางแบบประเมินความคิดเห็นซึ่งเปนแบบสอบถามวัดความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อทราบถึงขอมูลบางประการของผูเรียน และความรูสึกของผูเรียนตอการเรียนตามรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดดําเนินการสรางแบบประเมิน ความคิดเห็น มีลําดับขั้นตอนตามรายละเอียดดังนี้ 9.1 ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบการสรางแบบประเมิน ความคิดเห็น 9.2 กําหนดหัวขอหลักที่จะสอบถาม เพื่อใหครอบคลุมรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดจัดแบงออกเปน 7 หัวขอ คือ 1) ดานความ นาสนใจ แปลกใหม 2) ดานการเรียนรูดวยตนเอง 3) ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 4) ดานการ ติดตอสื่อสาร 5) ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 6) ดานการฝกปฏิบัติ 7) ดานความชอบ 9.3 กําหนดรายละเอียดของแบบประเมินความคิดเห็น โดยใชหัวขอหลักทั้ง 7 หัวขอ เปนแนวทางแลวนํามาแจกแจงรายละเอียดภายในหัวขอหลักใหครอบคลุมคําถามทั้งหมดที่ตองการ ทราบความคิดเห็นจากผูเรียน 9.4 นําแบบประเมินที่สรางขึ้นไปปรึกษากับประธานผูควบคุมปริญญานิพนธ เพื่อ แกไขปรับปรุงตามความคําแนะนํา 9.5 เมื่อปรับปรุงแกไขเรียบรอยแลว นําแบบประเมินที่สรางขึ้นไปให ผูเชี่ยวชาญ ดานการวัดผลหรือการวิจัย (รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ภาคผนวก ก) ประเมินใหคะแนนคําถามแตละขอ โดยพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา ดังนี้ ใหคะแนน +1 สําหรับขอที่แนใจวาสอดคลอง ใหคะแนน 0 สําหรับขอที่ไมแนใจ ใหคะแนน -1 สําหรับขอที่แนใจวาไมสอดคลอง นําคะแนนความคิดเห็นมาหาคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหาโดย ใชสูตร (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. 2527: 69) IOC = IOC

∑R N

∑R N

= ดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับเนื้อหา = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ = จํานวนผูเชี่ยวชาญ


151 สําหรับเกณฑที่ใชในการพิจารณาคือ ขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ขึ้นไป เปนขอคําถามที่ใชได สวนขอคําถามที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 ลงมา เปนขอคําถามที่ตองปรับปรุง หรือตัดออก ไดแบบประเมินจํานวน 20 ขอ (รายละเอียดดังภาคผนวก ง.) มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของขอคําถาม เฉลี่ยรวมเทากับ 1.00 (รายละเอียดดังภาคผนวก ช.) 9.6 นํ า แบบประเมิ น ความคิ ด เห็ น ที่ ส ร า งขึ้ น ไปทดลองกั บ กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ห า ประสิทธิภาพของบทเรียน จํานวน 20 คน เพื่อหาคาความเชื่อมั่นโดยใชสัมประสิทธิ์แอลฟา (ลวน; และอังคณา สายยศ. 2538) ไดคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.84 ซึ่งแบบประเมินความคิดเห็นที่ดี สามารถนําไปใชไดจะตองมีคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความคิดเห็นตั้งแต 0.80 ขึ้นไป 9.7 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เบื้องตน มีลักษณะเปนมาตรสวนประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีลิเกิรต (Likert) (ลวน; และอังคณา สายยศ. 2538) เห็นดวยอยางยิ่ง เทากับ 5 เห็นดวย เทากับ 4 เฉย ๆ เทากับ 3 ไมเห็นดวย เทากับ 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง เทากับ 1 เมื่อไดคะแนนจากการสอบถามความคิดเห็นแลว ทําการวิเคราะหคาเฉลี่ยของ ความคิดเห็น โดยใชเกณฑคาเฉลี่ยของคะแนนจากแบบประเมินความคิดเห็นดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง เหมาะสมระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง เหมาะสมระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง เหมาะสมระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง เหมาะสมระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง เหมาะสมระดับนอยที่สุด 9.8 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา จะใชเกณฑของความคิดเห็นของนักเรียน อยูในระดับเหมาะสมมากขึ้นไป

3. การดําเนินการวิจัย 3.1 แบบแผนการทดลอง การดําเนินการทดลองใชรูปแบบการวิจัยแบบกลุมทดลองที่ไดจากการสุมมีการวัดกอน เรียน-หลังเรียน (Randomized One Group Pretest-Posttest Design) โดยมีแบบแผนการทดลอง ดังนี้


152 ตาราง 6 แบบแผนการทดลองแบบกลุมทดลองที่ไดจากการสุมมีการวัดกอนเรียน-หลังเรียน กลุมตัวอยาง สอบกอนการเรียน สิ่งทดลอง สอบหลังจากการเรียน สอบหลังจากการเรียน 2 สัปดาห R E T1 X T2,T3,T4 T5 เมื่อ

R แทน การกําหนดกลุมตัวอยางแบบสุม (Random Assignment) E แทน กลุมตัวอยางในกลุมทดลอง (Experimental Group) เปนกลุมที่เรียน กับ รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย น อาชีวศึกษา X แทน การจัดกระทํา (Treatment) เปนรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา T1 แทน เปนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน T2 แทน เปนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน T3 แทน เปนการทดสอบวัดทักษะปฏิบัติหลังการเรียน T4 แทน เปนการทดสอบวัดความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต T5 แทน เปนการทดสอบวัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ เมื่อเรียนผานไป แลว 2 สัปดาห 3.2 การดําเนินการทดลอง การวิจัยในครั้งนี้ไดดําเนินการทดลองดังนี้ ขั้น การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บัติ ท างเทคนิ ค บนเครื อข า ย อินเทอรเน็ต มีขั้นตอนดังนี้ 3.2.1 สรางรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต แลวนํารูปแบบที่รางเสร็จไปใหผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน และ ทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน รวม 10 ทาน ทําการประเมินรูปแบบ หลังจาก นั้นนํารูปแบบมาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ แลวนํารูปแบบไปใหผูเชี่ยวชาญ ประเมินอีกครั้ง โดยมีผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญอยูในระดับเหมาะสมมาก 3.2.2 สรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตตามรูปแบบที่ พัฒนาขึ้น แลวนําใหผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน ทําการประเมิน ทางดานเนื้อหา และผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน ทําการประเมิน ทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ โดยมีผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญอยูในระดับเหมาะสมมาก แลว


153 นํ า ไปศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้น ขั้นการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต มีขั้นตอนดังนี้ 3.2.3 นําบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ไดสรางขึ้นตาม รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้นไปทดสอบหา ประสิทธิภาพใหไดตามเกณฑ 85/85 โดยทดลองกับกลุมตัวอยางคือนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่เรียนวิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน จํานวน 32 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางอยางงายจากผูลงทะเบียน เรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โดยผานการ เรียนทั้งระบบจนเสร็จสิ้นกระบวนการ ซึ่งทําการทดลองระหวางเดือนสิงหาคม-เดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 ในการทดลองหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ สรางขึ้น แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ 3.2.3.1 ครั้งที่ 1 ทําการทดลองกับผูเรียนจํานวน 3 คน ทําการทดลองระหวาง วันที่ 2-5 สิงหาคม พ.ศ.2550 เพื่อตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน ดานความเขาใจของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมา ปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป 3.2.3.2 ครั้งที่ 2 ทําการทดลองกับผูเรียนจํานวน 9 คน ทําการทดลองระหวาง วันที่ 13-19 สิงหาคม พ.ศ.2550 ทําการทดลองเหมือนภาคสนามทุกอยาง เพื่อตรวจสอบความ ผิดพลาดตาง ๆ เชน การสื่อความหมาย ความคมชัดของภาพและเสียง การทํางานของโปรแกรม ขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ และเวลาที่ใช ในการทดลองเพื่อที่จะไดนําขอมูลเหลานี้ ไปแกไข บทเรียนกอนที่จะนําไปใชงานจริง 3.2.3.3 ครั้งที่ 3 ทําการทดลองกับผูเรียนจํานวน 20 คน ทําการทดลองระหวาง วันที่ 23 สิงหาคม – 8 ตุลาคม พ.ศ.2550 เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้น โดยในการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นจะทําการวัดผลบทเรียนของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้นทางดานทฤษฎีและการฝกปฏิบัติ ในวิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ซึ่งประกอบดวยเนื้อหาเรื่องการบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ การ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และโปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและแบบวัดทักษะปฏิบัติที่ผูวิจัยสรางขึ้น หลังจากที่นักเรียนเรียนจบในแตละเนื้อหา แลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากนั้นฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติแลววัดทักษะปฏิบัติดวยแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนใน


154 แตละเนื้อหา เพื่อนําผลมาหาประสิทธิภาพ (E1) และเมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาทั้งหมดเสร็จ เรียบรอยแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและสอบปฏิบัติทําชิ้นงานแลววัดทักษะปฏิบัติ เพื่อนําผลมาหาประสิทธิภาพ (E2) ดังนี้ ขั้นในการทดสอบระหวางเรียน (E1) ดําเนินการใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาในแตละหนวย ซึ่งจะประกอบดวยเนื้อหายอย ภายในหนวย ในระหวางศึกษาเนื้อหาบทเรียนใหนักเรียนทําแบบฝกหัดซึ่งเปนแบบฝกหัดแบบเติม คํา เมื่อเรียนจบในแตละเนื้อหาบทเรียนทางทฤษฎีเสร็จแลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังการ เรียน จากนั้นใหนักเรียนเขาสูการเรียนฝกปฏิบัติโดยจะตองเรียนตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น ครบทุกขั้นตอน ในระหวางฝกปฏิบัติแตละ ขั้นตอนจะมีการประเมินทักษะปฏิบัติระหวางเรียนโดยผูสอน จากนั้นเก็บรวบรวมคะแนนที่ไดจาก การทดสอบเพื่อนํามาหาประสิทธิภาพของบทเรียน ไดคาการทดสอบประสิทธิภาพระหวางเรียน เทากับ 88.44 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) ในระหวางการเรียนผูวิจัยจะสังเกต พฤติกรรมตาง ๆ ของผูเรียนที่มีตอบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อนํา ขอบกพรองมาปรับปรุงแกไข ขั้นในการทดสอบหลังเรียน (E2) เมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนและฝกปฏิบัติตามกระบวนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังการเรียนซึ่งเปนแบบทดสอบ ทั้ง บทเรีย น รวมทั้ งสอบวัดทั กษะปฏิบัติหลังเรี ยน โดยให นักเรียนสอบภาคปฏิบัติ เรื่ อง การ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ จากนั้นเก็บรวบรวมคะแนนที่ไดจากการ ทดสอบเพื่อนํามาหาประสิทธิภาพของบทเรียน ไดคาการทดสอบประสิทธิภาพหลังเรียนเทากับ 85.88 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) ขั้นการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต มีขั้นตอนดังนี้ 3.2.4 เมื่ อ ได รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตที่มีคุณภาพ (จากผูเชี่ยวชาญ) และมีประสิทธิภาพ (จากผูเรียน) แลวจากขั้นตอนของ การพัฒนาและศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต นํารูปแบบนี้ไปทดลองเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษา ความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความคิดเห็น กับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปที่ 1 (ปวช.1) แผนกอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่เรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน จํานวน 20 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางอยางงายจากผูลงทะเบียนเรียน วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 นํามาเรียนกับ


155 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยผานการเรียนทั้งระบบจนเสร็จสิ้น กระบวนการ ซึ่งทําการทดลองระหวางวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2550 – 26 กุมภาพันธ พ.ศ.2551 3.2.5 การเรี ย นกั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิบั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นกอนการเรียน แบงออกเปน 2 สวนดวยกันคือ 1.1) การลงทะเบียนสมัครเปนสมาชิกของระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management System: LMS) โดยกรอกรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ตนเองได ที่ เ ว็ บ ไซต http://www.chontech.ac.th/~abhichat/wbi ซึ่งผูวิจัยไดจัดสรางขึ้นเพื่อดําเนินการวิจัย 1.2) กอนการเรียนกับบทเรียนจะทําการปฐมนิเทศเพื่อแนะนํารูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ประกอบดวย แนะนําวิธีการเรียน เนื้อหาบทเรียน ขั้นตอนการเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิธีปฏิสัมพันธและ การประเมินผล จากนั้นทําการทดสอบกอนเรียนเพื่อวัดความรูและทักษะปฏิบัติพื้นฐานของผูเรียน โดยใชแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติพื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ (รายละเอียดดังภาคผนวก ง.) เมื่อทดสอบเรียบรอยแลวจึงใหผูเรียนเริ่มเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้น 2) ขั้นการเรียน ในการทดลองศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับศึกษาทักษะ ปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนที่สรางตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้น มีรายละเอียดในการทดลองดังนี้ 2.1) ใหผูเรียนเขาสูระบบ (Login) ของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตที่เว็บไซต http://www.chontech.ac.th/~abhichat/wbi เพื่อเขาสูกระบวนการ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เมื่อผูเรียนเขาสูระบบแลวก็เขาสู รายวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ซึ่งประกอบไปดวย คําแนะนําในการเรียน เนื้อหา บทเรียน จุดประสงคการเรียนรู เอกสารประกอบการเรียนการสอน และเครื่องมือปฏิสัมพันธ เปน ตน 2.2) ใหผูเรียนทําการศึกษาเนื้อหาที่กําหนดไวใหดวยตนเอง ประกอบดวย ดวยเนื้อหา 4 เรื่องดวยกัน คือ 1. การบัดกรี 2. การทําแผนวงจรพิมพ 3. การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 4. โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร ในแต ล ะเรื่ อ งจะใช เ วลาเรี ย นเรื่ อ งละ 1 สั ป ดาห ๆ ละ 4 ชั่ ว โมง โดย กําหนดใหนักเรียนใชเวลาศึกษาเนื้อหาบทเรียนทางทฤษฎีพรอมทําแบบฝกหัดใหแลวเสร็จภายใน


156 50 นาที (นักเรียนสามารถศึกษามากอนได) หลังจากนั้นผูสอนจะกําหนดใหแบบทดสอบหลังเรียน สามารถเขาไปทําได โดยใชเวลาในการทําแบบทดสอบ 10 นาที หลังจากนั้นผูเรียนจะเขาสูกระบวนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ ประกอบดวย 1) ขั้นความรูความเขาใจ 2) ขั้นปฏิบัติ 3) ขั้นชํานาญ ใชเวลาในการ สอนขั้นความรูความเขาใจจนถึงขั้นปฏิบัติ 3 ชั่วโมง โดยขั้นชํานาญใหนักเรียนไปศึกษาตอนอก เวลาเรียนแลวนํามาสงตามกําหนดเวลานัดหมาย รายละเอียดในการเรียนการสอนและการประเมิน ทักษะปฏิบัติระหวางเรียนมีดังนี้ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้นความรูความเขาใจนี้เปนขั้นตอนที่จะบอกถึงทักษะและความรูท าง ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ประกอบดวย 2 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 1.1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นที่จะ บอกถึงความรูทางทฤษฎีที่เกี่ยวของ เชน ขอมูลเบื้องตนของเรื่องที่จะเรียน และวิธีการใชงาน เครื่องมือและอุปกรณที่จะใชในการฝกปฏิบัติ 1.2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นการใหผูเรียนไดรับรู ในสิ่งที่จะทํา ซึ่งสิ่งที่จะตองใหผูเรียนไดรับรูนั้นจะประกอบไปดวยจุดประสงค กิจกรรม เครื่องมือ และอุปกรณ ลําดับขั้นตอนการทํางาน และขอควรระวังในการทํางาน เปนตน ในขั้นความรูความเขาใจนี้เปนขั้นที่ผูเรียนศึกษาเนื้อหาทางดานทฤษฎี โดยนักเรียนจะตองทดสอบความรูความเขาใจในเนื้อหาทางทฤษฎีกอนจะเขาสูการเรียนขั้นปฏิบัติ ซึ่งในการทดลองนี้กําหนดใหผูเรียนตองไดคะแนนทดสอบหลังเรียนภาคทฤษฎีไมต่ํากวา 80% จึง สามารถเขาไปศึกษาขั้นปฏิบัติได 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบัตินี้เปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะเกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ประกอบดวย 3 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 2.1) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ ขั้นนี้เปนขั้นใหผูเรียนไดเห็นทักษะหรือการกระทําที่ตองการใหผูเรียนทําไดในภาพรวม เพื่อทําให ผูเรียนไดเขาใจในภาพรวมของงานที่จะตองทํา 2.2) สาธิตทักษะยอ และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา ขั้นนี้เปนขั้นใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ โดยใชสตรีมมิ่งวีดิโอหรือ ภาพเคลื่อนไหวบนเครือขายอินเทอรเน็ตสาธิตทักษะยอยทีละทักษะ แลวใหผูเรียนสังเกตการ กระทําแลวฝกปฏิบัติตามกับวัสดุและอุปกรณจริงทีละทักษะยอย เมื่อผูเรียนปฏิบัติทักษะยอยแตละ ทักษะเสร็จแลวสามารถนํามาตรวจสอบกับชิ้นงานตนแบบที่มีไวใหไดดวยตนเอง แลวนําชิ้นงานมา สงใหผูสอนประเมินทักษะปฏิบัติ เปนการเก็บคะแนนทักษะปฏิบัติระหวางเรียนตามใบงานที่ 1


157 2.3) ให ผู เ รี ย นปฏิ บั ติ ทั ก ษะโดยไม มี ก ารสาธิ ต หากติ ด ขั ดจุ ด ใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได ขั้นนี้เปนขั้นที่ใหผูเรียนไดทําการฝกปฏิบัติเองโดย ไมตองดูการสาธิต ผูสอนตองคอยใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน โดยการตรวจสอบ ทั ก ษะปฏิ บั ติ ร ะหว า งเรี ย นขณะผู เ รี ย นปฏิ บั ติ อ ย า งใกล ชิ ด ด ว ยการสั ง เกตการปฏิ บั ติ ง านและ ตรวจสอบชิ้นงานที่ฝก ซึ่งผูสอนจะตองตรวจสอบทุกขั้นตอนการปฏิบัติและชิ้นงานที่เสร็จแลว เมื่อ นักเรียนปฏิบัติเสร็จแลวนําชิ้นงานมาสงใหผูสอนประเมินทักษะปฏิบัติ เปนการเก็บคะแนนทักษะ ปฏิบัติระหวางเรียนตามใบงานที่ 2 ในขั้นปฏิบัตินี้เปนขั้นที่ผูเรียนจะตองมีผูสอนควบคุมดูแลอยางใกลชิด ใน การวิจัยในครั้งนี้จึงใหผูเรียนฝกปฏิบัติในหองเรียนที่จัดไวสําหรับการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตโดยเฉพาะ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้ น ชํ า นาญนี้ เ ป น ขั้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ทั ก ษะนั้ น รวดเร็ ว และถู ก ต อ ง ตลอดจน โอกาสจะกระทําผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น ประกอบดวย 2 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 3.1) ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทํา ไดเอง (Mechanism) ขั้นตอนนี้เปนการใหผูเรียนไดกระทําจนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําได เอง โดยการใหผูเรียนฝกปฏิบัติซ้ํา ๆ ตามการเรียนรูแบบโครงงาน (Project-based Learning) ดวยการทําชิ้นงานใหม เพื่อผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติตามขั้นตอนที่ไดฝกไปแลว เมื่อนักเรียนทํา ชิ้นงานเสร็จแลวนําชิ้นงานมาสงใหผูสอนประเมินทักษะปฏิบัติเปนการเก็บคะแนนทักษะปฏิบัติ ระหวางเรียนตามใบงานที่ 3 3.2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว ขั้นนี้ เป นขั้ นที่ ผูเ รี ยนมีโอกาสไดฝ กฝนมากขึ้นจนกระทั่งกระทําไดถูกตองสมบูรณแบบอย างรวดเร็ว ถูกตองและคลองแคลว โดยการใหผูเรียนไดฝกฝนในสถานการณหลาย ๆ แบบ เชน การฝกปฏิบัติ จากทําชิ้นงานใหม, การฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติบนเครือขายอินเทอรเน็ตแบบจําลอง สถานการณ หรือโปรแกรมการจําลองสถานการณ และการฝกปฏิบัติกับชุดฝกที่เปนวัสดุและ อุปกรณจริง เปนตน เมื่อนักเรียนทําชิ้นงานเสร็จแลวนําชิ้นงานมาสงใหผูสอนประเมินทักษะปฏิบัติ เปนการเก็บคะแนนทักษะปฏิบัติระหวางเรียนตามใบงานที่ 4 ในขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ผูเรียนสามารถไปฝกปฏิบัติดวยตนเอง แลวนํา ชิ้นงานมาสงตามกําหนด เมื่อฝกปฏิบัติครบทุกขั้นตอน ผูสอนทําการประเมินทักษะปฏิบัติอีกครั้ง โดย ใหสอบปฏิบัติทําชิ้นงานที่กําหนดให แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ซึ่งวัดในดานความรวดเร็ว ความ ถูกตอง และความคลองแคลวของผูเรียน


158 ในขณะที่ผูเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนดวยตนเอง ผูเรียนสามารถใชเครื่องมือ ติดตอสื่อสารบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่จัดเตรียมไวใหในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ - การตั้ ง กระทูป รึกษา ตั้งคํา ถาม และการติ ดต อสื่ อ สารกั บ ผูส อนหรื อ เพื่อนนักเรียนดวยกัน โดยใชกระดานสนทนา (Web Board) - การพูดคุยสนทนากับผูสอนหรือเพื่อนนักเรียนดวยกัน โดยใชหองสนทนา สด (Chat Room) - การคนหาขอมูลจากแหลงขอมูลที่เตรียมไวใหหรือแหลงขอมูลที่มีอยูบน เครือขายอินเทอรเน็ต จากนั้นทําการเก็บรวบรวมคะแนนทั้งหมดจากกระบวนการเรียนการสอนเพื่อ นํามาประเมินผลการเรียน ในการวิจัยในครั้งนี้นักเรียนจะรวบรวมคะแนนทักษะปฏิบัติลงในแฟม สะสมงาน (Portfolio) ของตนเอง 3) ขั้ น หลั ง การเรี ย น เมื่ อ ศึ ก ษาเนื้ อ หาเสร็ จ เรี ย บร อ ยทั้ ง บทเรี ย นแล ว ให ผูเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสอบวัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน โดยใหนักเรียนสอบภาคปฏิบัติ เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจายไฟฟากระแสตรง ชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ จากนั้นใหผูเรียนทําแบบประเมินความคิดเห็นที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต หลังจากนั้นอีก 2 สัปดาหทําการสอบวัดทักษะปฏิบัติ หลังเรียน โดยใหนักเรียนสอบภาคปฏิบัติเรื่องเดิมอีกครั้ง เพื่อศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัย มีการปฏิบัติดังนี้ 4.1 ในขั้นของการพัฒนารูปแบบ ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 10 ทาน และนํามาวิเคราะหหาความสอดคลองของความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ เพื่อใชในการ พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 4.2 ในขั้นของการหาคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัย ผูวิจัยดําเนินการดังนี้ 4.2.1 ทําการวิเคราะหหาความสอดคลองของขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม, คาความยากงาย, คาอํานาจจําแนก และความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อพัฒนาเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ที่ใชในการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4.2.2 ทําการวิเคราะหหาความสอดคลองของขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม, คาความยากงาย, คาอํานาจจําแนก และความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน


159 4.2.3 ทําการวิเคราะหหาความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับจุดประสงคเชิง พฤติกรรม, ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม, ความสอดคลองของเกณฑ การประเมินกับขอปฏิบัติ, คาความเชื่อมั่นที่มีผูใหคะแนนมากกวา 1 คน และคาความเชื่อมั่นของผู ประเมิน 2 คน ของแบบวัดทักษะปฏิบัติ 4.2.4 การประเมิ น คุ ณ ภาพของบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตโดยผูเชี่ยวชาญ 4.3 ในขั้นของการทดลอง ผูวิจัยจะเก็บรวบรวมขอมูลจากการทดลองครั้งที่ 1, 2 และ 3 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4.4 ในขั้นของการทดลองภาคสนาม ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง ดังนี้ 4.4.1 ผลจากการทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพื่อนํามาเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.4.2 ผลจากการใหผูเรียนสอบปฏิบัติทําชิ้นงานแลวใหคะแนนในแบบวัดทักษะ ปฏิบัติ เพื่อมาเปรียบเทียบกับเกณฑการประเมินผล 4.4.3 ผลจากการให ผู เ รี ย นสอบปฏิ บั ติ ทํ า ชิ้ น งานหลั ง จากเรี ย นผ า นไปแล ว 2 สัปดาหแลวใหคะแนนในแบบวัดทักษะปฏิบัติ เพื่อมาเปรียบเทียบคะแนนทักษะปฏิบัติเดิมที่ทําการ วัดหลังจากการทดลอง เพื่อศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ 4.4.4 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

5. การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล คาสถิติที่ใชในการวิเคราะหและประเมินผลการทดลองของการพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดวยวิธีการทาง สถิติดังนี้ 5.1 การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน ( SD ) 5.2 การประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) 5.3 การประเมิ น แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นและแบบทดสอบวั ด ทั ก ษะ พื้นฐาน โดยวิเคราะหหาคาตาง ๆ ดังนี้ 5.3.1 ดัชนีความสอดคลองของขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม โดยวิเคราะห หาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency: IOC)


160 5.3.2 คาความยากงาย (p) 5.3.3 คาอํานาจจําแนก (r) 5.3.4 คาความเชื่อมั่น (rtt) โดยใชสูตร KR 20 ของคูเดอร ริชารดสัน (Kuder Richardson) 5.4 การประเมินแบบวัดทักษะปฏิบัติ โดยวิเคราะหหาคาตาง ๆ ดังนี้ 5.4.1 ความเที่ ย งตรงเชิ ง เนื้ อ หา เป น ความเที่ ย งตรงเชิ ง เหตุ แ ละผล (Logical Validity) ใน 3 ดาน ดังนี้ 5.4.1.1 ความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 5.4.1.2 ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 5.4.1.3 ความสอดคลองของเกณฑการประเมินกับขอปฏิบัติ ซึ่งทั้ง 3 ดานนี้ ทําการวิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Consistency: IOC) 5.4.2 ความเชื่อมั่นที่มีผูใหคะแนนมากกวา 1 คน โดยวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์ การสรุปอางอิง (Generalizability Coefficient: ρ2) ของครอนบาค (Cronbach) 5.4.3 ความเชื่อมั่นของผูประเมิน 2 คน โดยวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ แบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) 5.5 การประเมินแบบประเมินความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยหาดัชนีความสอดคลองของขอคําถาม (IOC) และ หาคาความเชื่อมั่นดวยวิธีการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α - coefficient) ของครอนบาค (Cronbach. 1970) 5.6 การประเมินประสิท ธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ที่สรางขึ้นโดยใช E1 / E2 โดยใชสูตร คํานวณหาประสิทธิภาพดังนี้ (เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. 2528)

∑X E1 =

N × 100 A

∑F E2 =

N × 100 B

โดยที่ E1 หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ ไดจากการหาคาคะแนนเฉลี่ยจาก แบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน คิดเปนรอยละ 85 ขึ้นไป


161 E2 หมายถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของผลลั พ ธ ได จ ากการหาค า คะแนนเฉลี่ ย จาก แบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน คิดเปนรอยละ 85 ขึ้นไป ΣX หมายถึง คะแนนรวมของนักเรียนจากแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติ ระหวางเรียน ΣF หมายถึง คะแนนรวมของนักเรียนจากแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติ หลังเรียน N หมายถึง จํานวนนักเรียนทั้งหมด A หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน B หมายถึง คะแนนเต็มของแบบทดสอบและแบบวัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน 5.7 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น ด ว ยสู ต ร t-test dependent 5.8 การประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ดวยสูตรหาคาเฉลี่ย ( X ) 5.9 การประเมินความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น โดยการ เปรียบเทียบทักษะปฏิบัติหลังเรียนกับทักษะปฏิบัติหลังเรียนไปแลว 2 สัปดาห ดวยสูตรรอยละ 5.10 การประเมินระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดวยสูตรหา คาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD )


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการวิเคราะหขอมูลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยออกเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย 1. ผลการประเมินความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. ผลการประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ตอนที่ 2 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ตอนที่ 3 ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย 1. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. ผลการศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 3. ผลการศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจาก รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 4. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

ตอนที่ 1 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. ผลการประเมินความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา การประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา โดยนําแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ การเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ไปให ผู เ ชี่ ย วชาญทางด า น


163 เทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน และผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน รวม 10 ทาน (ดังรายชื่อในภาคผนวก ก.) ประเมินความเหมาะสม ซึ่งผลการประเมินแสดงใน ตาราง 7 ตาราง 7 คาความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

องคประกอบของรูปแบบ 1. แนวคิดและหลักการ มีความสอดคลองสัมพันธกันกับ เปาหมาย 2. องคประกอบของรูปแบบมีความครอบคลุมตาม องคประกอบหลักของรูปแบบการสอนทั่วไป 3. องคประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสมกับการเรียน การสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4. องคประกอบของรูปแบบ y ปจจัยนําเขา (Input) 4.1 กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 4.2 การวิเคราะหผูเรียน 4.3 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4.4 กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.5 การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการ เรียน y กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 4.6 กําหนดบทบาทผูสอน 4.7 การสรางแรงจูงใจในการเรียน 4.8 การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 4.8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ 4.8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 1) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมด ตั้งแตตนจนจบ

ระดับความคิดเห็น ของผูเชี่ยวชาญ

ระดับความเหมาะสม

X

SD

4.60

0.66

มากที่สุด

4.50

0.50

มาก

4.20

0.75

มาก

4.70 4.60 4.30 4.50

0.46 0.49 0.78 0.67

มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก

4.60

0.49

มากที่สุด

4.20 3.90

0.75 0.54

มาก มาก

4.60

0.49

มากที่สุด

4.60 4.40

0.49 0.66

มากที่สุด มาก

4.20

0.60

มาก


164 ตาราง 7 (ตอ)

องคประกอบของรูปแบบ 2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปที ละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา 3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หาก ติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได 4.8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 1) ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถ กระทําไดเอง (Mechanism) 2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความ คลองแคลว 4.9 กิจกรรมเสริมทักษะ การควบคุม (Control) 4.10 การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 4.11 การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ผลผลิต (Output) 4.12 ประเมินผลการเรียนการสอน ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 4.13 ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง คาเฉลี่ย

ระดับความคิดเห็น ของผูเชี่ยวชาญ

ระดับความเหมาะสม

X

SD

4.50

0.67

มาก

4.10

0.83

มาก

4.50

0.67

มาก

4.30 4.50

0.64 0.50

มาก มาก

4.70 4.50

0.46 0.67

มากที่สุด มาก

4.40

0.49

มาก

4.10 4.41

0.30 0.59

มาก มาก

จากตาราง 7 ผลการวิเคราะหขอมูล พบวา ผูเชี่ยวชาญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความ เหมาะสมขององค ป ระกอบของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษาโดยรวมมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.41 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดผลการประเมินแสดงในภาคผนวก ช.) 2. ผลการประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน หลั ง จากได รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีความเหมาะสมแลว ผูวิจัยไดสรางและพัฒนาบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น โดยนําไปไวบนเซิรฟเวอรของวิทยาลัยเทคนิคชลบุรี เพื่อใหนักเรียนไดเขาไปลงทะเบียนเรียนบน


165 เครือขายอินเทอรเน็ตไดที่ http://www.chontech.ac.th/~abhichat/wbi ซึ่งไดรับการประเมินจาก ผูเชี่ยวชาญดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 คน (ดังรายชื่อในภาคผนวก ก.) ทําการประเมิน ทางดานเนื้อหา ซึ่งผลการประเมินแสดงในตาราง 8 ตาราง 8 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเนื้อหาของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต หัวขอที่ประเมิน 1. เนื้อหาและการนําเสนอ 1.1 โครงสรางเนื้อหาชัดเจนมีความสัมพันธตอเนื่อง 1.2 เนื้อหาที่นําเสนอตรงและครอบคลุมจุดประสงค 1.3 ความถูกตองของเนื้อหา 1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับผูเรียน 1.5 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 1.6 ความสอดคลองของเนื้อหาในแตละหนวย 2. ภาพ ภาษาและตัวอักษร 2.1 ความเหมาะสมของรูปภาพกับคําบรรยาย 2.2 ความถูกตองของรูปภาพตามเนื้อหา 2.3 ความถูกตองของภาษาที่ใช 2.4 ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 3. เสียง และวีดิโอ 3.1 ความถูกตองของเสียงบรรยายในวีดิโอ 3.2 ความถูกตองของเนื้อหาในวีดิโอ 3.3 ความเหมาะสมของภาพกับเนื้อหาในวีดิโอ 4. แบบทดสอบ 4.1 ความชัดเจนของคําถาม 4.2 ความสอดคลองกับจุดประสงค 4.3 ความสอดคลองกับเนื้อหา คาเฉลี่ย

X

SD

ระดับความคิดเห็น

4.60 4.80 4.60 4.40 4.40 4.60

0.49 0.40 0.49 0.49 0.49 0.49

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด

4.20 4.40 4.60 4.20

0.75 0.49 0.49 0.40

มาก มาก มากที่สุด มาก

4.60 4.40 4.20

0.49 0.49 0.75

มากที่สุด มาก มาก

4.60 4.60 4.60 4.49

0.49 0.49 0.49 0.51

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก

จากตาราง 8 ผลการวิเคราะหขอมูล พบวาผูเชี่ยวชาญมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทางดานเนื้อหา มีคาเฉลี่ยโดยรวมเทากับ 4.49 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดผลการประเมินแสดงในภาคผนวก ช.) ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สรุปไดดังนี้ - ควรเนนเรื่องความปลอดภัยทั้งตอตัวคน และตอชิ้นงาน - ควรมีแผนที่ของ Web แนะนําวิธีการเขาเรียน


166 - ควรเพิ่ม Clip Video ใหมากขึ้น - ตัวหนังสือคอนขางเล็ก - รายละเอียดที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหามีมากเกินไป ทําใหดูแลวลายตา และความสนใจ ในเนื้อหาของผูเรียนจะลดลง (ควรมีเฉพาะหนาแรก) และไดรับการประเมินจากผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 คน (ดังรายชื่อ ในภาคผนวก ก.) ทําการประเมินทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ ซึ่งผลการประเมินแสดงในตาราง 9 ตาราง 9 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเทคโนโลยีการศึกษาของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต หัวขอที่ประเมิน 1. การจัดรูปแบบของบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เครือขายอินเทอรเน็ต 1.1 ดึงดูดความสนใจ 1.2 การใชสีประกอบ 1.3 การออกแบบหนาจอ 1.4 การจัดวางเนื้อหาบทเรียน 1.5 การจัดวางเมนูตาง ๆ 2. ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 2.1 ความเหมาะสมของสีตัวอักษร 2.2 ความเหมาะสมของแบบตัวอักษร 2.3 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 3. ความเหมาะสมของภาพ วีดิโอและเสียง 3.1 ความเหมาะสมของภาพในดานสื่อความหมาย 3.2 ความเหมาะสมของขนาดภาพ 3.3 ความเหมาะสมของวีดิโอประกอบเนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของเสียงบรรยายในวีดิโอ 4. การนําทางและการเชื่อมโยง 4.1 การนําทางภายในบทเรียน 4.2 การเชื่อมโยงภายในบทเรียน 5. การปฏิสัมพันธ 5.1 การปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน 5.2 การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน คาเฉลี่ย

X

SD

ระดับความคิดเห็น

4.40 4.40 4.40 4.40 4.60

0.49 0.49 0.49 0.49 0.49

มาก มาก มาก มาก มากที่สุด

4.40 4.40 4.80

0.80 0.80 0.40

มาก มาก มากที่สุด

4.40 4.20 4.00 4.00

0.49 0.75 0.00 0.00

มาก มาก มาก มาก

4.80 4.60

0.40 0.49

มากที่สุด มากที่สุด

4.40 4.00 4.39

0.49 0.00 0.44

มาก มาก มาก


167 จากตาราง 9 ผลการวิเคราะหขอมูล พบวาผูเชี่ยวชาญมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ บทเรี ยนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเ น็ตทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ มีคาเฉลี่ย โดยรวมเทากับ 4.39 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดผลการประเมินแสดงในภาคผนวก ช.) ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา สรุปไดดังนี้ - ตัวอักษรยังขาดความสม่ําเสมอในแตละหนา - บทเรียนออกแบบไดดีมีสาระและนาสนใจ แตยังขาดเรื่องความสม่ําเสมอของขนาด และแบบของตัวอักษร - บทเรียนที่เปน Simulation ทําไดดีมาก ผูเรียนจะไดประโยชนมากจากการทดลอง

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ในการศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ไดทดลองกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 32 คน โดย แบงการทดลองเปน 3 ครั้ง ดังนี้ 1. การทดลองครั้งที่ 1 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ ของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ ผูวิจัย ไดทําการปรับปรุงเพิ่มเติมตามที่ไดสังเกตและสัมภาษณนักเรียน ในเรื่องตางๆ ดังนี้ - แกไขใหขนาดหนาจอของสตรีมมิ่งวีดิโอที่สาธิตทักษะปฏิบัติใหสามารถขยาย เต็มจอภาพได - ปรับขนาดของตัวอักษรใหมีขนาดใหญมากขึ้น - เปลี่ยนภาพประกอบสีขาวดําใหเปนภาพสี - ปรับเนื้อหาบทเรียนทางทฤษฎีใหมีกระชับและเขาใจงายขึ้น - ปรับเปลี่ยนปุมลิงคดูวีดิโอจากตัวอักษรใหเปนปุมรูปภาพที่สื่อความหมายได ชัดเจน 2. การทดลองครั้งที่ 2 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 9 คน เพื่อหาแนวโนมของ ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ในการทดลองใหนักเรียน เรียนทั้ง 2 หนวยการเรียน คือ หนวยการเรียนที่ 1 มี 2 เรื่อง คือ การบัดกรี และการทํา แผนวงจรพิมพ และหนวยการเรียนที่ 2 มี 2 เรื่อง คือ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และ โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร (Circuitmaker) แลวทําแบบทดสอบหลังเรียนและฝกปฏิบัติทําชิ้นงาน ในแตละเรื่อง โดยนักเรียนตองทําแบบทดสอบหลังเรียนและฝกปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติระหวาง เรียนทุกเรื่อง เพื่อหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และเมื่อศึกษาครบทุกหนวยการเรียนแลว


168 ให นั ก เรี ย นทํ า แบบทดสอบหลั ง เรี ย นและสอบปฏิ บั ติ เ พื่ อ วั ด ทั ก ษะปฏิ บั ติ ห ลั ง เรี ย น เพื่ อ หา ประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) และตรวจสอบหาขอบกพรองในดานตาง ๆ จากนั้นนํามาปรับปรุง แกไข เพื่อใชทดลองในขั้นตอไป โดยผลการวิเคราะหดังตาราง 10 ตาราง 10 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน จากการทดลองครั้งที่ 2 รายการ คะแนนจากแบบทดสอบและแบบ วัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (E1) คะแนนจากแบบทดสอบและแบบ วัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน (E2)

จํานวนผูเรียน

คะแนนเต็ม

คะแนนรวม

ประสิทธิภาพ

9

220

1666

84.14

978

83.59

9 130 คาประสิทธิภาพ = 84.14/83.59

จากตาราง 10 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน พบวาบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพ 84.14/83.59 (รายละเอียดของขอมูลอยูใน ภาคผนวก ช.) ซึ่งยังต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว 85/85 ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงเพิ่มเติมตามที่ได สังเกตและสัมภาษณนักเรียน ในเรื่องตางๆ ดังนี้ - แกไขคําแนะนําการเรียนใหละเอียดมากขึ้น - เพิ่มเติมภาพวีดิโอสอนทักษะปฏิบัติใหละเอียดและชัดเจนมากขึ้น - เพิ่ม บทเรี ย นการจํ า ลองสถานการณ (Simulation) การประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส - เพิ่มภาพเคลื่อนไหวในการอธิบายการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ - ปรับปรุงขั้นตอนการฝกปฏิบัติใหเรียงลําดับตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 3. การทดลองครั้งที่ 3 ทดลองกับนักเรียนจํานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่ สรางขึ้น ในการทดลองผูวิจัยไดชี้แจงกระบวนการและวิธีการเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตทั้ง 2 หนวยการเรียน โดยนักเรียนตองทําแบบทดสอบหลังเรียนและฝก ปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทุกเรื่อง เพื่อหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และเมือ่ ศึกษาครบทุกหนวยการเรียนแลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนและสอบปฏิบัติเพื่อวัดทักษะ ปฏิบัติหลังเรียน เพื่อหาประสิทธิภาพของผลลัพธ (E2) ไดผลการวิเคราะหดังตาราง 11


169 ตาราง 11 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน จากการทดลองครั้งที่ 3 รายการ คะแนนจากแบบทดสอบและแบบ วัดทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (E1) คะแนนจากแบบทดสอบและแบบ วัดทักษะปฏิบัติหลังเรียน (E2)

จํานวนผูเรียน

คะแนนเต็ม

คะแนนรวม

ประสิทธิภาพ

20

220

3891.5

88.44

2233.0

85.88

20 130 คาประสิทธิภาพ = 88.44/85.88

จากตาราง 11 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน พบวาบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพ 88.44/85.88 (รายละเอียดของขอมูลอยูใน ภาคผนวก ช.) ผลการทดลองถือไดวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้ เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว 85/85 จากตาราง 11 แสดงใหเห็นวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.44/85.88 อยูในเกณฑที่กําหนด 85/85 สอดคลองกับความมุงหมายที่ กํา หนดไว ดั ง นั้ น บทเรี ย นฝ ก ปฏิบั ติท างเทคนิ ค บนเครือ ขา ยอิ น เทอรเ น็ ต วิช างานไฟฟา และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่สรางขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด จึงไดนําบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตไปทําการศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความคิดเห็นที่มีตอรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตกับนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน ตอไป

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. ผลการศึ ก ษาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษาที่ เ รี ย นจาก รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา ในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตนี้ ไดทดลองกับกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน โดยใหนักเรียนทํา แบบทดสอบกอนเรียนและดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามลําดับขั้นตอน และเมื่อเสร็จสิ้นการ เรียนในทุกบทเรียนใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน และเปรียบเทียบคะแนนที่ได


170 จากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชสูตร t-test dependent ไดผล การวิเคราะหดังตาราง 12 ตาราง 12 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์กอนการเรียนและหลังการเรียน ของนักเรียนที่ เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน คะแนน

N

X

คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรียน

20 20

12.80 25.45

SD

D

2.46 12.65 2.21 **p<.01

SD

t

p

2.18

25.91**

.000

จากตาราง 12 แสดงวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น (รายละเอี ย ดของข อ มู ล อยู ใ น ภาคผนวก ช.) มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังเรียนมีคาเฉลี่ย ของผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 2. ผลการศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ในการศึ ก ษาทั ก ษะปฏิ บั ติ ข องนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นจากบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต ไดทดลองกับกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน โดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติกับวัสดุ และอุปกรณจริงตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) และเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนในทุกบทเรียนใหนักเรียนสอบ ภาคปฏิบัติ เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ ไดผลดังตาราง 13 ตาราง 13 คาเฉลี่ยของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน นักเรียน กลุมตัวอยาง

จํานวน(N) 20

เฉลีย่ ( X ) 88.48


171 จากตาราง 13 จะเห็นไดวาคะแนนทักษะปฏิบัติของนักเรียนกลุมตัวอยางที่เรียนจาก บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน มี คาเฉลี่ยเทากับ 88.48 (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) ซึ่งเทียบกับเกณฑประเมินแลว ทักษะปฏิบัติอยูในระดับดี ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 3. ผลการศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจาก รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา ในการศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดทดลองกับกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน หลังจากเรียนผานไป แลว 2 สัปดาห โดยใหนักเรียนสอบภาคปฏิบัติ เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจาย ไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัด ทักษะปฏิบัติ นําคะแนนที่ไดมาเปรียบเทียบกับคะแนนทักษะปฏิบัติในครั้งกอน โดยหาคารอยละ ไดผลการวิเคราะหดังตาราง 14 ตาราง 14 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของทักษะปฏิบัติหลังเรียนและทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห ของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน นักเรียน คะแนนทักษะปฏิบัติหลังเรียน คะแนนทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห

จํานวน(N)

เฉลี่ย ( X )

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD )

20 88.48 20 87.98 ความคงทนของทักษะปฏิบตั ิ = 87.98/88.48 = 99.43%

3.30 2.85

จากตาราง 14 ผลการวิเคราะหหาความคงทนของทักษะปฏิบัติจากคะแนนเฉลี่ย ( X ) ของทักษะปฏิบัติหลังเรียนและหลังเรียน 2 สัปดาห (รายละเอียดของขอมูลอยูในภาคผนวก ช.) พบวาความคงทนของทักษะปฏิบัติเทากับรอยละ 99.43 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 4. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบ การเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สํ า หรั บ นั ก เรี ย น อาชีวศึกษา ในการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดนําแบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนให


172 นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน ทําการประเมินหลังจากที่ไดศึกษาบทเรียนจบแลว ไดผล การวิเคราะหดังตาราง 15 ตาราง 15 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการ เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต รายการ 1. ดานความนาสนใจ แปลกใหม 2. ดานการเรียนรูดวยตนเอง 3. ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 4. ดานการติดตอสื่อสาร 5. ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 6. ดานการฝกปฏิบัติ 7. ดานความชอบ คาเฉลี่ยรวม

X

SD

4.57 4.34 4.50 4.35 4.48 4.43 4.53 4.45

0.59 0.58 0.60 0.74 0.64 0.60 0.60 0.61

แปลผล มากที่สุด มาก มากที่สุด มาก มาก มาก มากที่สุด มาก

จากตาราง 15 แสดงวานักเรียนมีความคิดเห็นที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการ สอนฝก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอรเ น็ ต วิช างานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก สเ บื้อ งต น โดยรวมในระดั บ เหมาะสมมาก โดยมี ค า เฉลี่ ย รวมเท า กั บ 4.45 และมี ค วามคิ ด เห็ น ในระดั บ เหมาะสมมากที่สุ ดในด านความนาสนใจ แปลกใหม ด านไมจํากัดสถานที่และเวลา และดาน ความชอบ นอกจากนี้นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเหมาะสมมากในดานการฝกปฏิบัติ โดยมี คาเฉลี่ยเทากับ 4.43


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ผูวิจัยไดสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ตามลําดับหัวขอ ดังตอไปนี้ 1. ความมุงหมายของการวิจัย 2. การดําเนินการวิจัย 3. การวิเคราะหขอมูล 4. สรุปผลการวิจัย 5. อภิปรายผลการวิจัย 6. ขอเสนอแนะ

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 3. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดังนี้ 3.1 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.2 ศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.3 ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3.4 ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


174

การดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการวิจัย เปนนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิ ชาอิ เ ล็กทรอนิกส วิทยาลั ยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบีย นเรียน วิชางานไฟฟา และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 จํานวน 80 คน และ ใน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 40 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) กลุมตัวอยางสําหรับศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เลือกมาจากนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2550 โดยการสุมตัวอยางอยาง งาย (Simple Random Sampling) ดวยวิธีการจับฉลาก โดยใชกลุมการเรียนเปนหนวยการสุมจาก ประชากรทั้งหมด 4 กลุม ไดกลุมตัวอยางจํานวน 2 กลุมการเรียนๆ ละ 20 คน รวม 40 คน แลว นํากลุมตัวอยางที่ไดมาทดสอบความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะ พื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายอีกครั้งดวยวิธีการจับฉลาก จากกลุมตัวอยางที่มีคะแนนทักษะปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางจํานวน 32 คน 2) กลุมตัวอยางสําหรับศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิ คบนเครื อขายอินเทอร เน็ต เลื อกมาจากนักเรียนระดับประกาศนียบัต รวิ ชาชีพชั้นปที่ 1 (ปวช.1) แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน (2100-1003) ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 โดยการนํานักเรียนมา ทดสอบความรูพื้นฐานทางดานทักษะปฏิบัติโดยใชแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติ แลวทําการสุมตัวอยางอยางงายดวยวิธีการจับฉลาก จากนักเรียนที่มีคะแนนทักษะ ปฏิบัติต่ํากวา 60% ไดกลุมตัวอยางที่จะใชในการทดลองกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เพื่อใชในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษาความคิดเห็นตอ การเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จํานวน 20 คน 2. วิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีการวิจัยเชิงพัฒนา แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต


175 1.1 การสรางรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ผู วิ จั ย ได ดํ า เนิ น การศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล จากเอกสาร หนั ง สื อ วารสาร และ ผลงานวิจัย ซึ่งสืบคนจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อเปนแนวทางในการหารูปแบบ โดยผูวิจัยได ประมวลองคประกอบตาง ๆ ของระบบการเรียนการสอนของนักการศึกษาตางประเทศจํานวน 12 ทาน (ระบบการเรียนการสอน 7 ระบบ) ลงในตารางวิเคราะหองคประกอบของระบบการเรียนการ สอน (รายละเอี ย ดในภาคผนวก จ.) นํ า องค ป ระกอบต า ง ๆ ของแต ล ะระบบมาวิ เ คราะห แ ละ สังเคราะหเ พื่อกําหนดเป นองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบั ติทางเทคนิค บน เครือขายอินเทอรเน็ต และผูวิจัยไดประมวลขั้นตอนตาง ๆ ของการสอนทักษะปฏิบัติของนักการ ศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศจํานวน 17 ทาน (ขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ 15 รูปแบบ) ลงในตารางวิเคราะหขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติ (รายละเอียดในภาคผนวก จ.) นําขั้นตอนตาง ๆ ของขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติมาวิเคราะหและสังเคราะหเพื่อกําหนดเปนขั้นตอนการสอนทักษะ ปฏิบัติ จากนั้นทําการรางรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต แลวนํารูปแบบที่รางเสร็จไปใหผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษาจํานวน 5 ทานและทางดาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจํานวน 5 ทาน รวม 10 ทาน ทําการประเมินรูปแบบ ผลการประเมิน รูปแบบมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.27 อยูในระดับเหมาะสมมาก หลังจากนั้นนํารูปแบบมาปรับปรุง แก ไขตามคํ าแนะนําของผูเ ชี่ยวชาญ แลว นํารู ปแบบไปใหผูเ ชี่ยวชาญประเมินอีกครั้ ง ผลการ ประเมินรูปแบบมีคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.41 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา มีองคประกอบและความสัมพันธกันดังภาพประกอบ 16


176

การควบคุม (Control) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของ ผูเรียน การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

ปจจัยนําเขา (Input) กําหนดเปาหมายในการเรียน การสอน การวิเคราะหผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการ สอน การเตรียมความพรอมดาน สภาพแวดลอมทางการเรียน

กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) y ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) y ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) กิจกรรมเสริมทักษะ

ผลผลิต (Output) ประเมินผลการเรียนการสอน y ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน y ทักษะปฏิบัติ y ความคงทนของทักษะ ปฏิบัติ y ความคิดเห็นของ นักเรียน

ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง y ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ y ความคิดเห็นของผูเรียน y ผลการเรียนการสอน y ผลจากการปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ

ภาพประกอบ 16 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


177

C

ขั้นความรูความเขาใจ ( ognitive Phase)

การเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคตามขั้นตอนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model)

ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีภาพเคลื่อนไหว สตรีมมิ่งวีดิโอ และการจําลองสถานการณ

บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต

A

การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ขั้นปฏิบัติ ( ssociative Phase) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมด ตั้งแตตนจนจบ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) สอนแบบสาธิต

สาธิตทักษะยอยและใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวน อยางชาๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มี สตรีมมิ่งวีดิโอสอนแบบสาธิตรวมกับการฝกปฏิบตั ิกับวัสดุและอุปกรณจริง

ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัด จุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงโดยมีผูสอนคอย ควบคุมและใหขอมูลปอนกลับ

A

ขั้นชํานาญ ( utonomous Phase) ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่ สามารถกระทําไดเอง (Mechanism)

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงดวยการเรียนรู แบบโครงงาน (Project-based Learning)

เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว

การเรียนกับบทเรียนแบบจําลองสถานการณ (Simulation) และฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง การประเมินทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

รวบรวมคะแนนและผลงานลงแฟมสะสมงาน (Portfolio)

ภาพประกอบ 17 ขั้นตอนการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model)


178 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต Web-based Technical Practice Instruction สวนผูสอน y บริหารผูเรียน y บริหารบทเรียน y ใหคําปรึกษา y ใหขอมูลปอนกลับ y ประเมินทักษะปฏิบัติ

สวนบทเรียน y เนื้อหาบทเรียน y การเรียนการสอนฝก ปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซี เอเอ (CAA Model) y แบบฝกหัด y แบบทดสอบ y สตรีมมิ่งวีดิโอ (Streamming Video) y การทดลองเสมือนจริง y โปรแกรมจําลอง สถานการณ สวนสนับสนุนและการ ติดตอสื่อสาร y กระดานสนทนา (Web Board) y หองสนทนาสด(Chat Room) y แหลงขอมูล

สวนผูเรียน y บริหารการเรียน y ศึกษาเนื้อหาบทเรียน y ทําแบบฝกหัด y ทําแบบทดสอบ y ฝกปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ทําชิ้นงาน y ทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) y ตรวจสอบผลการเรียน

ระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต สวนผูดูแลระบบ y บริหารจัดการระบบรวมถึง ฐานขอมูลระบบทั้งหมด y ตรวจสอบระบบ

สวนฐานขอมูลการเรียน y ขอมูลผูเรียน y รายงานผลการเรียน y รายงานผลการฝกปฏิบัติ y บันทึกการใชงานบทเรียน

ภาพประกอบ 18 สวนประกอบของบทเรียนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


179 จากภาพประกอบ 16 องคประกอบหลักของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดแก ปจจัยนําเขา กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต การควบคุม ผลผลิต และขอมูลปอนกลับ มีองคประกอบและ ความสัมพันธกันดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) มีองคประกอบยอย 5 องคประกอบ คือ 1.1 กํ า หนดเป า หมายในการเรี ย นการสอน ในการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ มี จุดมุงหมาย 3 ดาน คือ ดานความรู (Cognitive) ดานเจตคติ (Affective) และดานทักษะปฏิบัติ (Psychomotor) การเขียนจุดประสงคสําหรับการสอนทักษะปฏิบัติ ควรเขียนเปนจุดประสงคเชิง พฤติกรรม ที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติและผูสอนสามารถวัดหรือสังเกตได โดยมีลําดับขั้นตอนในการ เขียนจุดประสงคเชิงพฤติกรรมดังนี้ 1) กําหนดหัวเรื่องและทักษะที่จะสอน 2) หาลําดับขั้นตอนในการทํางาน 3) จําแนกขั้นตอนการทํางานออกเปนทักษะและความรู 4) รวบรวมทักษะและความรูใหมเขียนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1.2 การวิ เ คราะห ผู เ รี ย น ในการวิ เ คราะห ผู เ รี ย นนั้ น จะช ว ยในการกํ า หนด จุดประสงคการสอน ชวยในการกําหนดเนื้อหา ชวยในการแบงกลุมผูเรียน และชวยใหผูสอนรูวา ในระหวางการเรียนการสอนสมควรจะไดชวยเหลือกลุมใดหรือคนใดเปนพิเศษ เพื่อจะทําใหเรียนรู ไดทันผูอื่น ดังนั้นผูสอนควรจะตองทราบพื้นฐานผูเรียนในดานความสามารถทางสติปญญา และ ความสามารถทางทักษะปฏิบัติ 1.3 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน ในการออกแบบเนื้อหาบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนจะตองดําเนินการออกแบบเนื้อหาบทเรียนในสวนทฤษฎี ใหเนื้อหามีการผสมผสานมัลติมีเดีย มีภาพเคลื่อนไหวและการจําลองสถานการณ (Simulation) รวมทั้งการใชไฮเปอรมีเดีย (Hypermedia), ไฮเปอรลิงค (Hyperlink) และไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ในการนําเสนอเนื้อหา และเนื้อหาบทเรียนในสวนปฏิบัติ จะตองดําเนินการจัดทํา เนื้อหาตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) จัดเตรียมงานที่ใหผูเรียนฝกปฏิบัติ 2) วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 3) นําทักษะยอย ๆ มาจัดทําสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) เนื้อหาปฏิบัติในขั้นตอนการสาธิตการปฏิบัติจะตองแสดงทักษะการปฏิบัติงาน ดว ยวิธีการที่ปลอดภัย โดยเนนความปลอดภัยตอผู ปฏิบัติ ตอเครื่องมือและอุปกรณ และตอ ชิ้นงาน 1.4 กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนออกเปน 2 สวน คือ


180 1) กิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดแก การปฏิสัมพันธบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ดวยการใชเครื่องมือบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดแก กระดานสนทนา (Web Board), หองสนทนาสด (Chat Room), อีเมล (e-mail) เปนตน และการสงงานและแบบฝกหัดบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 2) กํ า หนดกิ จ กรรมในการเรี ย นกั บ บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินการสอน และ ขั้นประเมินผล 1.5 การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ในการจัด สภาพแวดลอมทางการเรียนโดยใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ควรมี การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับ ฮารดแวร (Hardware) และซอฟตแวร (Software) บุคลากรดาน คอมพิวเตอร (Peopleware) การจัดเวลาในการเรียน (Timing) หองเรียนสําหรับฝกปฏิบัติ และ เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการฝกปฏิบัติ 2. กระบวนการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต (Process) มีองคประกอบยอย 4 องคประกอบ คือ 2.1 กําหนดบทบาทผูสอน ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนมีบทบาทเปนผูควบคุมการเรียนการสอน ใหดําเนินไป ตามขั้ นตอนการเรี ยนการสอนเพื่ อพัฒนาทักษะปฏิ บัติ คอยใหคําปรึกษา แนะนํ า ช วยเหลือ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนเพื่อปรับแกทักษะปฏิบัติของผูเรียนใหถูกตอง นอกจากนี้ผูสอน ยังมีบทบาทบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน, การตั้ง คําถามหรือตอบคําถามในกระดานสนทนา, การสนทนาสดกับผูเรียน, การตรวจแบบฝกหัด เปนตน 2.2 การสรางแรงจูงใจในการเรียน สามารถทําไดโดยการใหผูเรียนไดรูถึง เป า หมายของงานที่ จ ะฝ ก ปฏิ บั ติ การออกแบบบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตที่มีการนําเสนอเนื้อหาที่เปนภาพเคลื่อนไหวและสตรีมมิ่งวีดิโอ การเปดโอกาสให ผูเรียนไดฝกปฏิบัติกับบทเรียนที่เปนลักษณะของการจําลองสถานการณ เปนตน 2.3 การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค โดยใหผูเรียนเรียนกับ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตรวมกับการฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง ตามขั้นตอนการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น เรียกวา โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ซึ่งประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 2.3.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้นความรู ค วามเข า ใจนี้ เปนขั้นตอนที่จะบอกถึงทักษะและความรูทางทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรจะใหขอมูลแกผูเรียน ในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ


181 2.3.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบัตินี้เปนการกระทําการ เพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะเกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือ พฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้นปฏิบัติผูสอนควรจัดใหผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 1) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ใน ลักษณะเลียนแบบการกระทํา 3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอน ควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได 2.3.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ปฏิบัติ ทักษะนั้นรวดเร็วและถูกตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทําผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการ เพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 1) ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว 2.4 กิจกรรมเสริมทักษะ ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถกําหนดกิจกรรมเสริมทักษะไดโดยการใหผูเรียนฝกปฏิบัติกับ บทเรี ย นบนเครือข ายอินเทอรเ น็ ต ที่ จําลองสถานการณ การฝ กทัก ษะปฏิ บัติตาง ๆ และการใช โปรแกรมการจําลองสถานการณ (Simulation) เกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการฝกปฏิบัติ เปนตน 3. การควบคุม (Control) มีองคประกอบยอย 2 องคประกอบ คือ 3.1 การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ผูสอนควรใชระบบบริหาร การเรียนรู (Learning Management System: LMS) บนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนเครื่องมือในการ ตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ไดแก การตรวจสอบขอมูลของผูเรียนและการใหขอมูล ปอนกลับ การควบคุมการฝกปฏิบัติของผูเรียน และการกําหนดชวงเวลาการทดสอบ 3.2 การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน เปนการตรวจสอบทักษะปฏิบัติ ของผูเรียนในขณะที่กําลังเรียน (Formative Evaluation) เพื่อที่จะไดรูวาผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติ ตามที่ตองการเพียงใด โดยทําการตรวจสอบความรูความเขาใจเนื้อหาบทเรียน และการตรวจสอบ ทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทางดานกระบวนการ (Process) และทางดานผลงาน (Product) โดย ผูสอนควรใหนักเรียนทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) ของแตละคน เพื่อใชในการตรวจสอบและ ประเมินงานในทุกขั้นตอนของการฝกปฏิบัติ และผูเรียนเองก็สามารถใชในการประเมินผลการ พัฒนาทักษะปฏิบัติของตนเองได 4. ผลผลิต (Output) มีองคประกอบยอย 1 องคประกอบ คือ การประเมินผลการ เรียนการสอน โดยทําการประเมินผลการเรียนการสอนของผูเรียน ไดแก 4.1 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน


182 4.2 การประเมินทักษะปฏิบัติ โดยแบบวัดทักษะปฏิบัติจะทําการประเมินผล 2 ดาน คือ ดานกระบวนการ (Process) และดานผลงาน (Product) 4.3 การประเมินความคงทนของทักษะปฏิบัติ 4.4 การประเมินความคิดเห็นของผูเรียน 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) มีองคประกอบยอย 1 องคประกอบ คือ ข อ มู ล ปอนกลับเพื่อปรับปรุง เปนการนําขอมูลจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ความคิดเห็นของผูเรียน ผลการเรี ยนการสอน และผลจากการปฏิบัติใ นขั้ นตอนต างๆ มาวิ เคราะหหาขอบกพรอง เพื่อ ปรับปรุงแกไขรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหสมบูรณ ยิ่งขึ้น 1.2 การสรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ในการสรางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยทําการ วิเคราะหโครงสรางหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา แลวกําหนดเนื้อหาที่จะสรางบทเรียนเปนสวนของ ภาคปฏิบัติของรายวิชาและกําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของเนื้อหาแตละเรื่อง ทําการสราง แผนภู มิค วามสั มพัน ธ ข องหัว เรื่ อ งและแผนภู มิโ ครงสรา งขา ยเนื้อ หา ในส ว นที่เ กี่ ยวกับ เนื้อ หา ทั้งหมดนําไปใหผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหาจํานวน 5 ทาน ตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหา แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แบบวัดทักษะปฏิบัติระหวาง เรียนและแบบวัดทักษะปฏิบัติ (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) แลวทําการสรางบทเรียนบทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตตามรูปแบบที่ไดพัฒนาขึ้น และจัดทําคูมือการใชงาน บทเรียนฝกปฏิบั ติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต แลวใหผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส จํานวน 5 ทาน ทําการประเมินทางดานเนื้อหา ผลการประเมินบทเรียนมีระดับ ความคิดเห็นเทากับ 4.49 อยูในระดับเหมาะสมมาก (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) และผูเชี่ยวชาญ ทางดานเทคโนโลยีการศึกษา จํานวน 5 ทาน ทําการประเมินทางดานเทคนิคการผลิตสื่อ ผลการ ประเมิ น บทเรี ย นมี ร ะดั บ ความคิ ด เห็ น เท า กั บ 4.39 อยู ใ นระดั บ เหมาะสมมาก (รายละเอี ย ดใน ภาคผนวก ช.) จากนั้นนําบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตและคูมือการฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้นนี้ไปทดลองหาประสิทธิภาพกับกลุมตัวอยาง ตอไป ขั้นที่ 2 การทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา นํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่ไดสราง ขึ้นไปทดสอบหาประสิทธิภาพใหไดตามเกณฑ 85/85 โดยทดลองกับกลุมตัวอยาง ซึ่งแบงเปน 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน ดาน


183 ความเขาใจของเนื้อหาบทเรียน การสื่อความหมาย วิธีการนําเสนอ และขั้นตอนการสอนทักษะ ปฏิบัติ โดยการสังเกต สัมภาษณ แลวนําขอมูลที่ไดมาปรับปรุงแกไข ครั้งที่ 2 ทําการทดลองกับ นักเรียนจํานวน 9 คน ซึ่งทดลองเหมือนภาคสนามทุกอยาง เพื่อหาแนวโนมของประสิทธิภาพของ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตและตรวจสอบหาขอบกพรองในดานตาง ๆ จากนั้นนํามาปรับปรุงแกไข ในขั้นนี้ไดประสิทธิภาพ(E1/E2) เทากับ 84.14/83.59 (รายละเอียดใน ภาคผนวก ช.) ครั้งที่ 3 ทําการทดลองกับนักเรียนจํานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ที่ สรางขึ้น โดยในการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้นจะทําการวัดผลบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ซึ่งประกอบดวยเนื้อหาเรื่อง การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และโปรแกรมเซอรกิตเมกเกอร โดยใชแบบทดสอบและแบบวัด ทักษะปฏิบัติที่ผูวิจัยสรางขึ้น หลังจากที่นักเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนภาคทฤษฎีในแตละหนวย ยอ ยจบแล ว ให นัก เรี ย นทํ า แบบทดสอบหลั งเรี ย นในแตล ะหน ว ยย อย และในระหว า งการเรี ย น ภาคปฏิบัตินักเรียนฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติผูสอนจะตรวจ ผลงานของนั ก เรี ย นในแต ล ะขั้ น ตอนโดยใช แ บบวั ด ทั ก ษะปฏิ บั ติ นํ า คะแนนมารวมกั น เพื่ อ หา และเมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนจบทุกหนวยแลว ใหนักเรียนทํา ประสิทธิภาพ (E1) แบบทดสอบหลังเรียนและทําการทดสอบภาคปฏิบัติโดยใหนักเรียนทําชิ้นงานแลวประเมินผลโดยใช แบบวัดทักษะปฏิบัติ นําคะแนนมารวมกันเพื่อหาประสิทธิภาพ (E2) ในขั้นนี้ไดประสิทธิภาพ(E1/E2) เทากับ 88.44/85.88 (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) ขั้นที่ 3 การทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทดลอง เมื่อไดรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มี คุณภาพและมีประสิทธิภาพแลว นํารูปแบบนี้ไปทดลองสอนกับกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน เพื่อ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ศึกษาทักษะปฏิบัติ ศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติ และศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบ โดยใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ดําเนินการทดลองตามรูปแบบ ทําแบบทดสอบหลังเรียนและสอบถามความคิดเห็นเพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน แลวทําการ สอบภาคปฏิบัติเพื่อศึกษาทักษะปฏิบัติ และหลังจากนั้น 2 สัปดาหสอบภาคปฏิบัติอีกครั้งเพื่อศึกษา ความคงทนของทักษะปฏิบัติ ผลการทดลองพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่จาก บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน กอนเรียนและหลังเรียน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) โดยหลังเรียนมีคาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และคะแนนทักษะปฏิบัติของนักเรียนมี


184 คาเฉลี่ยเทากับ 88.48 ซึ่งเทียบกับเกณฑประเมินแลว ทักษะปฏิบัติอยูในระดับดี (รายละเอียดใน ภาคผนวก ช.) รวมทั้งทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต หลังเรียนและหลังเรียน 2 สัปดาห มีความความคงทนของทักษะปฏิบัติ เทากับรอยละ 99.43 (รายละเอียดในภาคผนวก ช.) และจากการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน พบวา นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเหมาะสมมาก โดยมีคาเฉลี่ยรวม เทากับ 4.45 (รายละเอียดในภาคผนวก ช.)

การวิเคราะหขอมูล การวิจัยในครั้งนี้ไดวิเคราะหขอมูล ดังนี้ 1. การประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) 2. การประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD ) 3. การประเมิน ประสิท ธิภ าพของรูป แบบการเรี ย นการสอนฝก ปฏิ บั ติท างเทคนิค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ที่สรางขึ้นโดยใชสูตร E1 / E2 4. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น ด ว ยสู ต ร t-test dependent 5. การประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนดวยสูตรหาคาเฉลี่ย ( X ) 6. การประเมินความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น โดยการ เปรียบเทียบทักษะปฏิบัติหลังเรียนกับทักษะปฏิบัติหลังเรียนไปแลว 2 สัปดาห ดวยสูตรรอยละ 7. การประเมินระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิ บัติท างเทคนิ คบนเครื อขายอิ นเทอรเน็ต สํ าหรับ นั ก เรียนอาชีว ศึ ก ษา ด ว ยสูตรหา คาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( SD )

สรุปผลการวิจัย ผลจากการวิจัย สรุปไดดังนี้ 1. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


185 1.1 รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต ที่ พัฒนาขึ้น ประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) โดยมี 13 องคประกอบยอย คือ 1) กําหนด เปาหมายในการเรียนการสอน 2) การวิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิค การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model)ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 8.1) ขั้นความรูความ เขาใจ (Cognitive Phase) 8.2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 8.3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 11) การ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับ เพื่อปรับปรุง ผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญอยูในระดับเหมาะสมมาก 1.2 บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต วิ ช างานไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ที่สรางตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดานเทคนิคการผลิตสื่ออยูในเกณฑ เหมาะสมระดับมาก 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตเทากับ 88.44/85.88 ซึ่งเปนไปตามเกณฑ 3. ประสิ ท ธิ ผ ลของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต มีดังนี้ 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สูงกวากอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.2 ทั กษะปฏิ บั ติ ข องนัก เรี ย นที่ เ รีย นจากรู ป แบบการเรีย นการสอนฝ ก ปฏิบัติ ท าง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มีคะแนนเฉลี่ยของทักษะปฏิบัติเทากับ 88.48 อยูในระดับดี 3.3 ความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต หลังการเรียนผานไปแลว 2 สัปดาห เทากับรอยละ 99.43 3.4 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มีคาความคิดเห็นเฉลี่ยรวมเทากับ 4.45 อยูในระดับเหมาะสม มาก


186

อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาดวยการศึกษาขอมูลพื้นฐาน จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหและสังเคราะหพรอมทั้งประเมินผล จากผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษาและดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ทําใหไดรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีการนําเสนอความรูควบคูไปกับ การพัฒนาทักษะปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแกขอบกพรองในกระบวนการเรียนการสอนบน เครือขายอินเทอรเน็ตที่มีการฝกทักษะปฏิบัติทางเทคนิครวมอยูดวย เพื่อทําใหผูเรียนเกิดการรูได อยางเปนระบบและเหมาะสมกับความรูความสามารถของผูเรียน และเปนไปตามจุดมุงหมายที่ กําหนดไว นอกจากนี้ทําใหผูสอนมีทักษะและและวิธีการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับการเรียน การสอนในปจจุบัน ซึ่งจากการวิจัยดังกลาวสามารถแบงหัวขอการอภิปรายผลการวิจัยไดดังนี้ 1. การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้น ผูวิจัยใชแนวคิดของวิธีการเชิงระบบ (Systems Approach) ซึ่งประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) เปนพื้นฐานในการออกแบบการเรียนการสอน ใชขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนของคิปเลอร (Kibler. 1974: 44–53), เกอรลาชและอีลี (Gerlach; & Ely. 1971), เนิรค และเยนตรี (Knirk; & Gentry. 1971), ดิคและคาเรย (Dick; & Carey. 1985), เคมพ (Kemp. 1985: 1-10), ซีลสและกลาสโกว (Seels; & Glasgow. 1990) และ คลอสเมียรและริปเปล (Klausmeier; & Ripple. 1971: 11) มาเปนแนวทางในการกําหนดขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยกระบวนการวิเคราะหและสังเคราะหองคประกอบ ของรูปแบบการเรียนการสอน ซึ่งประกอบไปดวยองคประกอบยอย 13 องคประกอบ คือ 1) กําหนด เปาหมายในการเรียนการสอน 2) การวิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนด กิจกรรมการเรียนการสอน 5) การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนด บทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 11) การ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับ เพื่อปรับปรุง รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีความ สอดคลองกับเสกสรร สายสีสด (2545) ซึ่งทําการวิจัย การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการสอน โดยใชอินเทอรเน็ต สําหรับสถาบันราชภัฏ ไดขั้นตอนรูปแบบระบบ จํานวน 11 ขั้นตอน และ


187 สอดคลองกับนฤมล ศิระวงษ (2548) ซึ่งทําการวิจัย การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลนวิชาการ เขียนหนังสือเพื่อการพิมพในระดับอุดมศึกษา ไดขั้นตอนรูปแบบ จํานวน 12 ขั้นตอน แตสิ่งที่ รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตแตกตางไปจากรูปแบบการ เรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตอื่น ๆ ก็คือรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนที่เปนการฝก ปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ เพราะรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตใชกระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ ที่ผูวิจัยไดวิเคราะหและสังเคราะหจากรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ของนักการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศจํานวน 15 รูปแบบ ไดขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติที่พัฒนาขึ้น เรียกวา โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้น ชํานาญ (Autonomous Phase) เปนไปตามแนวคิดของฟททส (Fitts. 1964) ที่กลาววาการพัฒนา ทักษะการกระทําที่ชํานาญจะเกิดขึ้นภายใตขั้นตอนการพัฒนาทักษะไว 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรู ความเขาใจ 2) ขั้นปฏิบัติ และ 3) ขั้นชํานาญ และสอดคลองกับมาลินี จุฑะรพ (2537: 133) ที่ กลาววาการสอนเพื่อใหเกิดทักษะควรดําเนินการใหครบ 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นใหความรู 2) ขั้นใหลง มือปฏิบัติ และ 3) ขั้นใหทดสอบความถูกตองรวดเร็ว จากการประเมินของผูเชี่ยวชาญทางดาน เทคโนโลยีการศึกษาและทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสพบวารูปแบบมีความเหมาะสมในระดับ เหมาะสมมาก 2. การศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา การพัฒนาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตตามรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต แลวนําไปทดสอบหาประสิทธิภาพของ บทเรียน พบวาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ เทากับ 88.44/85.88 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่กําหนด 85/85 สอดคลองกับผลการวิจัยของสุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร (2548) ที่ไดสรางชุดบทเรียนรูปแบบหองเรียนเสมือนจริงแบบจําลองสถานการณ รวมกับการฝกปฏิบัติ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 90/90 ในการพัฒนาบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ไดประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดไวเปนผลมาจากผูวิจัยไดทํา การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตอยางมีระบบ โดยในการสอนเนื้อหาภาคทฤษฎีไดใชภาพเคลื่อนไหว สตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) บทเรียน แบบจําลองสถานการณ (Simulation) และการทดลองเสมือนจริง (Virtual Laboratory) มาชวยทําให ผูเรียนเกิดความเขาใจในเนื้อหาบทเรียนไดดียิ่งขึ้น สามารถทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผูเรียนสูงขึ้น และในสวนของเนื้อหาภาคปฏิบัติไดใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย


188 อิ น เทอร เ น็ ต ร ว มกั บ การฝ ก ปฏิ บั ติ กั บ วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ จ ริ ง ดํ า เนิ น การเรี ย นการสอนตาม กระบวนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติโมเดลซีเอเอ (CAA Model) จึงทําใหผูเรียนเกิด การพัฒนาทักษะปฏิบัติจนถึงระดับทําไดเอง (Mechanism) 3. การศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 3.1 ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียนจากรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการศึกษาวิจัยรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจาก บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน กอนเรียนและหลังเรียน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังเรียนมี คาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สอดคลองกับนฤมล ศิระวงษ (2548) ที่ทําการศึกษา เปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาที่เ รียนจากบทเรียน ออนไลน พบวามีผลการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ แสดงใหเห็นวารูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นสงผลตอผูเรียนทํา ใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อันเปนผลสืบเนื่องมาจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตไดออกแบบมาสําหรับใหผูเรียนไดเรียนตามความแตกตางระหวางบุคคล เปด โอกาสใหผูเรียนเปนผูดําเนินกิจกรรมการเรียนดวยตนเองไดอยางเปนอิสระ ผูเรียนสามารถเรียนได ตามความสามารถ สามารถทบทวนการเรี ย นได ต ลอดเวลา และผูเ รีย นสามารถเลื อกเนื้ อ หา กอนหลังไดตามความตองการ (รุจโรจน แกวอุไร. 2543: 142) รวมทั้งเปนการเรียนการสอนที่ อาศัยโปรแกรมไฮเปอรมีเดียและการใชประโยชนจากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอรเน็ต สรางใหเกิดการเรียนรูอยางมีความหมาย โดยสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูในทุกทาง (Khan. 1997) ทําใหผูเรียนไดรับประสบการณหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปนการอานจากเนื้อหาที่เปน ขอความปกติ ผูเรียนยังสามารถรับชมภาพและเสียงจากวีดิทัศนและสไลดโชวที่เขารหัสในระบบ สายธาร (Streaming) ซึ่งจะทยอยสงขอมูลภาพและเสียงมาเปนสวน ๆ ทําใหผูเรียนสามารถรับชม ไดเลยไมตองรอเปนเวลานาน เพราะภาพไมวาจะเปนภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพจากวีดิทัศน และภาพจากสไลดโชวชวยกระตุนความสนใจและทําใหนักเรียนเขาใจไดดี (Cruickshang; Deborah; & Metcalt. 1995: 253) ผูเรียนสามารถควบคุมการอานเนื้อหาที่เปนขอความดวยตนเอง ควบคุม การเคลื่อนไหวของสไลดโชว และสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของภาพวีดิทัศนไดทันทีที่ตองการ ดูภาพยอนกลับ ซึ่งสภาวะเชนนี้จะชวยเพิ่มการเรียนรูทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น


189 (Duhrkopt. 1990: 295-296) นอกจากนี้เนื้อหาบทเรียนที่เปนทดลองเสมือนจริง เมื่อผูเรียนทําการ ทดลอง ผูเรียนสามารถควบคุมการทดลองได และสามารถเปลี่ยนตัวแปรตาง ๆ ได ทําใหผูเรียนเกิด ความเขาใจในเนื้อหาบทเรียนมากยิ่งขึ้น 3.2 การศึก ษาทั ก ษะปฏิ บัติ ข องนั กเรี ย นอาชี ว ศึ กษาที่ เ รี ย นจากรู ป แบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใหนักเรียนฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงตาม ขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ที่พัฒนาขึ้น ซึ่ง ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) และเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนในทุก บทเรี ย นให นั ก เรี ย นสอบภาคปฏิ บั ติ เรื่ อ ง การประกอบวงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะ ปฏิบัติ ผลการวิจัยพบวาคะแนนทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน มีคาเฉลี่ยเทากับ 88.48 ซึ่ง เทียบกับเกณฑประเมินแลว ทักษะปฏิบัติอยูในระดับดี ซึ่งสอดคลองกับทิพรัตน สิทธิวงศ (2549: 194) ที่เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ดานความรูและทักษะปฏิบัติในการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ผานเครือขายอินเทอรเน็ต พบวาผูเขารับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการผานเครือขายอินเทอรเน็ตมี ผลสัมฤทธิ์ในดานความรูและทักษะปฏิบัติสูงกวาผูเขารับการฝกอบรมที่ฝกอบรมกับผูสอนแบบ บรรยายประกอบการสาธิต แสดงใหเห็ นวารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีกระบวนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ สงผลทํา ให ผูเ รี ย นการพั ฒ นาของทั ก ษะปฏิบั ติ สู ง ขึ้ น จนถึ ง ระดั บ ทํ า ไดเ อง (Mechanism) อั น เป น ผลสื บ เนื่องมาจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีการใชขั้นตอนการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ มีขั้นตอนที่สามารถสรางทักษะปฏิบัติ ไดดังนี้ 1) ขั้นความรูความเขาใจ เปนขั้นที่ประกอบดวยขั้นตอนยอย คือ 1.1) ใหขอมูล เบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ และ 1.2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ ในขั้นนี้จะบอกถึงทักษะ และความรู ท างทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การฝ ก ปฏิ บั ติ ซึ่ ง การเชื่ อ มโยงความรู ท างทฤษฎี อ ย า ง เหมาะสมกับงานปฏิบัติเปนวิธีการชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจการทํางานและประสบความสําเร็จ ในการฝกปฏิบัติ (นวลจิตต เชาวกีรติพงศ.2534: 291) 2) ขั้นปฏิบัติ เปนขั้นที่ประกอบดวยขั้นตอนยอย คือ 2.1) สาธิตทักษะหรือการ กระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2.2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละ สวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา และ 2.3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได ในขั้นนี้ใหผูเรียนไดเห็นทักษะ หรือการกระทําที่ตองการใหผูเรียนทําไดในภาพรวม โดยการสาธิตใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจน


190 จบ ทําใหผูเรียนเกิดความเขาใจถึงขั้นตอนการปฏิบัติทั้งหมด จากนั้นผูเรียนไดเรียนดวยวิธีการ สอนแบบสาธิตจากสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) แลวฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงใน ลักษณะเลียนแบบ ทําใหผูเรียนไดเรียนไดตามความสามารถทางการปฏิบัติของตนเอง ในระหวาง ฝกปฏิบัติสามารถดูขั้นตอนซ้ํา ๆ จนสามารถทําตามได หลังจากนั้นผูเรียนไดมีโอกาสฝกปฏิบัติเอง โดยไมมีการสาธิต มีการใหขอมูลปอนกลับจากผูสอนอยางใกลชิด ดังที่ปราสาท อิศรปรีดา (2523: 172) ไดกลาววา การที่ผูเรียนรูผลการปฏิบัติยอมเกิดแรงจูงใจ เกิดความพอใจที่จะกระทําซ้ํา ๆ เมื่อเห็นผลงานที่กาวหนายิ่งขึ้น 3) ขั้นชํานาญ เปนขั้นที่ประกอบดวยขั้นตอนยอย คือ 3.1) ใหผูเรียนฝกทักษะ ซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) และ 3.2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความ ถูกตอง และความคลองแคลว ในขั้นนี้เปนการใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติซ้ํา ๆ โดยใหผูเรียนทําชิ้นงาน ใหมโดยใชการเรียนรูแบบโครงงาน (Project-based Learning) ซึ่งสอดคลองกับนวลจิตต เชาวกีรติ พงศ (2534: 290) ที่กลาววา ความสามารถในการเรียนรูทักษะปฏิบัติของผูเรียนจะเกิดขึ้นได เมื่อ ผูเรียนไดฝกฝนทักษะนั้น ๆ อยางเพียงพอ และจะมีพัฒนาการถึงขั้นสามารถแสดงทักษะปฏิบัตินั้น ไดโดยอัตโนมัติ ดังนั้นครูจึงควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดฝกฝนการทํางานเพิ่มเติม รวมทั้งความ ชํานาญ และความคิดสรางสรรคเกิดได เมื่อใหผูเรียนลงมือทํางานหลายชิ้นอยางตอเนื่อง ซึ่ง เปนไปตามกฎของธอรนไดค (เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. 2528: 13) ที่กลาวไววา กิจกรรมการเรียนถา ไดมีการฝกปฏิบัติหรือกระทําเรื่อย ๆ จะเกิดทักษะหรือมีความชํานาญ สอดคลองกับ ส.วาสนา ประวาลพฤกษ (2537: 5) ที่กลาววา ความชํานาญเกิดขึ้นไดตองฝกปฏิบัติบอย ๆ และทํามาก ๆ ก็ จะเกิดความชํานาญเกิดทักษะขึ้น และซิงเกอร (Singer. 1982) ไดกลาววา ทักษะปฏิบัติของผูเรียน จะเกิดขึ้นไดเมื่อผูเรียนไดฝกฝนทักษะนั้นอยางเพียงพอ และจะมีพัฒนาการถึงขั้นสามารถแสดง ทักษะปฏิบัตินั้นไดโดยอัตโนมัติ การเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูเรียน สามารถวิเคราะหความตองการในการเรียนรูของตนเอง ตั้งเปาหมายการเรียนรู แสวงหาความรู ผูสนับสนุนและแหลงความรู รวมทั้งผูเรียนประเมินผลการเรียนดวยตนเอง (Dixon. 1992: 2) และ ผูเรียนสามารถกําหนดชวงเวลาในการฝกตามความตองการของตนเอง ซึ่งปราสาท อิศรปรีดา (2523: 174) ไดกลาววา การฝกปฏิบัติที่กําหนดชวงเวลาฝกและพักใหเหมาะสมจะชวยสนับสนุน การเรียนรูและขจัดความผิดพลาดที่จะเกิดจากการเรียนทักษะ สอดคลองกับอาภรณ ใจเที่ยง (2546: 66-70) กลาววา การเรียนทักษะตองฝกใหเหมาะสมกับเวลา ตองมีการเวนชวงเวลา ถา ฝกหัดแบบตอเนื่องอาจเมื่อยลาหรือทําใหเกิดความเบื่อหนายได นอกจากนี้การใชแบบประเมินผล งานปฏิบัติเปนแนวทางในการตรวจผลงานหรือชิ้นงาน การชี้แจงถึงจุดที่จะประเมินใหผูเรียนรู เพื่อ เปนแนวทางใหผูเรียนไดรูจักประเมินตนเอง และการใหผูเรียนไดอยูดวยในขณะที่ครูตรวจผลงาน นั้นดวยเพื่อรับคําแนะนําเพิ่มเติมในเรื่องของขอบกพรองของการทํางาน จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเรียนรูของผูเรียน (นวลจิตต เชาวกีรติพงศ.2534: 293) อีกประเด็นที่นาสนใจก็คือการทํา แฟมสะสมงาน (Portfolio) มาเก็บรวบรวมคะแนนจากการทําแบบฝกหัด แบบทดสอบ และแบบ


191 ประเมินทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ทําใหผูเรียนมีความสนใจตอการฝกปฏิบัติมากขึ้น แสดงใหเห็น วากระบวนการแฟมสะสมงานชวยกระตุนผูเรียนใหมีความกระตือรือรนตอการฝกทักษะปฏิบัติเพื่อ นําผลงานมาเก็บสะสมไวในแฟมสะสมงาน สอดคลองกับผลการวิจัยของชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2540) ที่ทําการพัฒนาแฟมสะสมงานในการประเมินผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ สาม พบวากระบวนการของแฟมสะสมงาน ชวยทําใหนักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษทั้ง 4 ทักษะ และสรางแรงจูงใจในการเรียนใหแกผูเรียนมาก 3.3 การศึกษาความคงทนของทักษะปฏิบัติของนักเรียนอาชีวศึกษาที่เรียน จากรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการศึกษาความคงทนทักษะปฏิบัติของนักเรียนที่เรียนจากรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตหลังเรียน 2 สัปดาห โดยใหนักเรียนสอบ ภาคปฏิบัติ เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต แลวใหผูประเมิน 2 ทาน ประเมินทักษะปฏิบัติโดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ นําคะแนนที่ไดมา เปรียบเทียบกับคะแนนทักษะปฏิบัติในครั้งกอน พบวาความคงทนของทักษะปฏิบัติเทากับรอยละ 99.43 ซึ่งแสดงใหเห็นวารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ ผูวิจัยพัฒนาขึ้นสงผลทําใหผูเรียนเกิดความคงทนของทักษะปฏิบัติ อันเปนผลสืบเนื่องมาจากทักษะ ปฏิบัติเปนลักษณะที่เปนผลผลิตจากการเรียนรูรูปแบบหนึ่ง ลวนเปนพฤติกรรมที่ตองแสดงออกของ กลามเนื้อในดานของความถูกตอง ความคลองแคลว ความเชี่ยวชาญและชํานาญการ ซึ่งเมื่อไดรับ การฝกฝนที่ดีแลว กลามเนื้อจะจดจําทักษะนั้นไวไดนาน การจดจําทักษะจะอยูไดนานหรือคงทน กวาการจดจําความรูทางสมอง (สุชาติ ศิริสุขไพบูลย. 2527: 82-83) ซึ่งสอดคลองกับกมลรัตน หลาสุวงษ (2541: 254) ที่กลาววาถาผูเรียนฝกฝนทบทวนในสิ่งที่เรียนอยูเสมอ ก็จะทําใหสามารถ จดจําสิ่งนั้นไดเปนเวลานาน รวมทั้งการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนสรางความรูใหมโดยผูเรียนเอง (Constructivism) ที่ทําใหผูเรียนมีความคงทนในการเรียนรู (พิมพันธ เดชะคุปต. 2544: 10) 3.4 การศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นอาชี ว ศึ ก ษาที่ มี ต อ การเรี ย นตาม รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการศึ ก ษาวิ จั ย การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดทําการศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จากการเรียนกับบทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครื อขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเ ล็กทรอนิกสเบื้องต น พบวา ผูเรียนมีความคิดเห็นตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้นในระดับเหมาะสมมาก โดยมีความคิดเห็นตอรูปแบบดานความนาสนใจ แปลกใหม ด า นไม จํ า กั ด สถานที่ แ ละเวลา และด า นความชอบ ในระดั บ เหมาะสมมากที่ สุ ด นอกจากนี้นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเหมาะสมมากตอรูปแบบดานการฝกปฏิบัติที่บทเรียนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวยใหเขาใจขั้นตอนการฝกปฏิบัติไดดียิ่งขึ้นและมีความ


192 เหมาะสมกับการเรียนฝกปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองกับรุจโรจน แกวอุไร (2543) พบวานักศึกษาใน มหาวิ ทยาลัย เห็นว าอินเทอร เ น็ ต ช ว ยใหเ รียนไดส ะดวกและรวดเร็ ว กว าการเรียนการสอนปกติ สอดคลองกับนฤมล ศิระวงษ (2548) ที่สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอบทเรียนออนไลน และ วิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพ พบวานักศึกษามีความคิดเห็นตอการเรียนในระดับดี สอดคลองกับทิพยเกสร บุญอําไพ (2540) พบวา การเรียนโดยผานอินเทอรเน็ตทําใหสราง บรรยากาศการเรี ย นรู อ ย า งอิ ส ระ ไม มี ข อ จํ า กั ด เรื่ อ งเวลา สามารถเรี ย นได ทุ ก เวลา และ ประหยั ด เวลาในการเดิ น ทางมาเข า เรี ย น เหมาะสมกั บ สภาพสั ง คมและเศรษฐกิ จ ป จ จุ บั น นอกจากนี้ยังพบวา นักศึกษามีความเราใจ ไมเบื่อหนายในการเรียน ไมตองกังวลกับการนั่งอยูตอ หนาเพื่อนหรืออาจารยผูสอน และยังสามารถใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสในการถามปญหาอาจารย ได ซึ่งถือเปนการสรางสภาพแวดลอมแบบผูเรียนเปนศูนยกลางไดอีก นอกจากนั้นการเรียนการ สอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สนับสนุนใหผูเรียนที่มีศักยภาพเรียนรูดวยตนเองตามความพรอม สามารถควบคุมการเรียนดวยตนเอง เรียนรูเมื่อตองการ ไมถูกจํากัดเวลา สถานที่ สามารถเรียน เนื้ อ หาได ต ามต อ งการ และเรี ย นตามเวลาที่ เ หมาะสมตามความสะดวกของผู เ รี ย น (Spiro; Feltorich; & Jaobson. 1991: 30) จึงทําใหผูเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอการเรียนตามรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้น

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1.1 ครู ผูสอนจะตองมีการเตรียมพรอมในหลายดาน กลาวคือ ดานตัวผูเรียน จะตองมี ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตเปนอยางดี และหากผูเรียนขาด ความรู ความเขาใจดังกลาว รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่สรางขึ้นมานี้จะไมสามารถสนับสนุนหรือไมสง เสริมการเรียนรูของผูเรียนได แตอาจจะเปนอุปสรรค สําหรับการเรียนรู สวนตัวผูสอนเอง ก็ควรตองมีการเตรียมการมาเปนอยางดี ทั้งยังตองเปนผูที่มี เวลา มีความอดทนในการเขามาติดตาม ดูแลการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต และควรตองเปนผูที่มีความรู ความเขาใจในระบบอินเทอรเน็ต รวมทั้งระบบรูปแบบ การเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตในทุกขั้นตอน เพื่อจะไดเปนที่ ปรึกษา ใหความสะดวก ชวยใหการเรียนราบรื่นไดเปนอยางดี 1.2 การเตรียมความพรอมของผูเรียน เปนองคประกอบหนึ่งที่มีความสําคัญมาก กลาวคือรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นนี้ เหมาะสําหรับผูเรียนที่มีความพรอมในการเรียน การสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต กลาวคือผูเรียนจําเปนตองมีพื้นฐานความรูเกี่ยวกับการใชงาน คอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเบื้องตน และจะตองมีทัศนคติที่ดีตอการเรียนผานระบบเครือขายและ รักการเรียนรูดวยตนเอง หากวาผูเรียนไมมีพื้นฐานความรูในดานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต


193 ผูสอนจําเปนตองใหความรูและฝกทักษะดังกลาวใหแกผูเรียนใหดี กอนจะมาใชรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้น 1.3 ในการจั ดการเรี ยนการสอนฝกปฏิ บัติท างเทคนิ ค บนเครือข ายอิ น เทอรเ น็ต นี้ สถานศึกษาควรจะตองมีความพรอมของระบบเครือขายอินเทอรเน็ตที่ดี มีคอมพิวเตอรรองรับความ ตองการในการใชงานเพื่อการเรียนการสอนตามรูปแบบที่สรางขึ้น ครู ผูสอน จึงตองคํานึงถึงระบบ เครือขายคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตในสถานศึกษาดวยวา มีความพรอมในการรองรับการเรียน การสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตไดมากนอยเพียงใด 1.4 การนํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไปใชในการเรียนการสอนในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะทําใหการ เรียนการสอนภาคปฏิบั ติ มีอัต ราความเสียหายของอุปกรณแ ละวั สดุฝ ก ลดลง และช ว ยป องกัน อันตรายที่จะเกิดกับผูฝกปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 2.1 การวิจัยและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ทําการศึกษาเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะปฏิบัติ และความคงทนของทักษะ ปฏิบัติ ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อถายโยง ทักษะปฏิบัติ ที่มุงหวังใหผูเรียนสามารถนําความรู และทักษะปฏิบัติจากสถานการณเดิมที่พบใน กระบวนการเรียนรูไปใชในสถานการณที่แตกตางกัน 2.2 ควรมีการศึกษาและวิจัยการนํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตไปใชสอนในรายวิชาอื่น ๆ เชน เครื่องกลไฟฟา อิเล็กทรอนิกสกําลัง และ ดิจิตอลเทคนิค เปนตน 2.3 ควรมีการศึกษาและวิจัยการนํารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติบนเครือขาย อิน เทอร เ น็ ต ไปใช ส อนผูเ รี ย นทางด า นอาชี ว ศึ ก ษาให ค รอบคลุมทั้ ง 5 สาขาอาชีพ ไดแ ก อุตสาหกรรม คหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม และศิลปกรรม เพื่อทําใหมีบทเรียนฝกปฏิบัติ บนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ผูเรียนทางดานอาชีวศึกษาสามารถเรียนรูเนื้อหาบทเรียนทั้งทางดาน ทฤษฎีและปฏิบัติไดดวยตนเอง


บรรณานุกรม


195

บรรณานุกรม กมล โพธิเย็น. (2547). รูปแบบการพัฒนาความคิดอยางเปนระบบเพื่อสรางเสริมความสามารถดาน ทักษะการเขียนภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใชแนวคิดทฤษฎีไตรอารขิก และวิธีการแบบสแกฟโฟลด. วิทยานิพนธ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. กมลรัตน หลาสุวงษ. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพศรีราชา. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). เอกสารชุดเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรูที่ผเู รียน สําคัญที่สุด การสรางองคความรูดวยตนเอง. ศูนยพัฒนาหลักสูตร. กฤษมันต วัฒนาณรงค. (2536). เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนือ. ------------ -. (2539). อาชีวศึกษา ปรัชญา หลักการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลาพระนครเหนือ. กิดานันท มลิทอง. (2539). อธิบายศัพทคอมพิวเตอรอินเทอรเน็ตมัลติมีเดีย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ------------ -. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพอรุณการพิมพ. โกวิท ประวาลพฤกษ; และสมศักดิ์ สินธุระเวชญ. (2523). การประเมินในชั้นเรียน. กรงเทพฯ: วัฒนาพานิช. จิราภา เต็งไตรรัตน; และคนอื่นๆ. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ใจทิพย ณ สงขลา.(2547). การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บในระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชม ภูมิภาค. (2516). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. ชัยพร วิชชาวุธ. (2540). ความจํามนุษย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนพิมพ. ชัยยงค พรหมวงศ; และคนอื่น ๆ. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช. (2540). การพัฒนาแฟมสะสมงานในการประเมินผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่สาม. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (การทดสอบและวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ชัยอนันต สมุทวณิช. (2540). วิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศในศตวรรษที่ 21: สูความเสมอภาค ทางความแคลวคลองทางดานเทคโนโลยี. เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องอิทธิพลและ ทิศทางมัลติมเี ดียกับสังคมไทย 15 ธันวาคม 2540. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม.


196 ชัยอนันต สมุทวณิช. (2541). จาก [อินสตัคชั่นนิสซึ่ม] Instructionism สู [คอนสตัคชั่นนิสซึ่ม] Constructionism. กรุงเทพฯ: วชิราวุธวิทยาลัย. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2540, กรกฎาคม - ธันวาคม). อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา. ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. 5(2): 9–18. ------------ -. (2540,พฤศจิกายน – 2541,กุมภาพันธ). อินเทอรเน็ต: เครือขายเพื่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร. 26(1): 55-56. ถวิล ธาราโภชน; และศรัณย ดําริสุข. (2545). พฤติกรรมมนุษยกับการพัฒนาตน. พิมพครั้งที่ 3. กรงุเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. ทิพยเกสร บุญอําไพ. (2539). การพัฒนาระบบการสอนเสริมทางไกลผาอินเทอรเน็ต ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. วิทยานิพนธ ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. ทิพรัตน สิทธิวงศ. (2549). การศึกษารูปแบบการฝกอบรมเชิงปฏิบตั ิการผานเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ทิศนา แขมมณี; และคนอื่นๆ. (2545). กระบวนการเรียนรู ความหมาย แนวทางการพัฒนาและ ปญหาของใจ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). ทิศนา แขมมณี. (2542, พฤษภาคม). การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง: โมเดล ซิปปา (CIPPA Model). วารสารวิชาการ. 2(5): 3-30. ------------ -. (2547). ศาสตรการสอนองคความรูเพือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท ี่มีประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ. ------------ -. (2544). 14 วิธีสอน สําหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: เท็กซ แอนด เจอรนัล พับลิเคชั่น. ธวัช วงษสุวรรณ. (2535). เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ธัญวดี มงคลพันธ. (2544). การพัฒนารายการเทปวีดทิ ัศนฝกอบรมครูประถมศึกษา เรื่องรูปแบบ การเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (เทคโนโลยี การศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. (2542). การบริหารอาชีวและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. นฤมล ศิระวงษ. (2548). การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลนวิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพใน ระดับอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. นวลจิตต เชาวกีรติพงศ. (2534). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เนนทักษะปฏิบตั ิ สําหรับครูวิชาชีพ. วิทยานิพนธ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.


197 บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2527).การทดสอบแบบอิงเกณฑ: แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ. (2519). เทคโนโลยีอาชีวศึกษาชางอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. บุญธง วสุริย. (2546). การพัฒนารูปแบบการสอนเพือ่ การถายโยงทักษะปฏิบัตสิ ําหรับอาชีว อุตสาหกรรม. ศศ.ด. (อาชีวศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร. บุญเรือง เนียมหอม. (2540). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ตใน ระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. บุญสืบ พันธุดี. (2537). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาชีววิทยา ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย. ปริญญานิพนธ กศ.ด.(เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. (2544,มกราคม - เมษายน). [อี-เลิรนนิ่ง] e-learning: การเรียนรูในสังคมแหง การเรียนรู. วารสารศึกษาศาสตรปริทัศน. 16(1): 7-15. ประชิต อินทะกนก. (2541). การเปรียบเทียบการเรียนการสอนดวยอินเทอรเน็ต ที่บอกกับไมบอก เสนทางการสืบคนที่มตี อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี รูปแบบการเรียนตางกัน. วิทยานิพนธ ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. ประสงค พรจินดารักษ. (2530). การวัดและประเมินผลชางอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. ปรัชญนันท นิลสุข. (2542, มกราคม - มีนาคม). เว็บชวยสอนเชิงวิศวกรรม. พัฒนาเทคนิคศึกษา. 11(29): 19-23. ปราสาท อิศรปรีดา. (2523). จิตวิทยาการเรียนรูกับการสอน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ กราฟคอารต. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2543). การจัดและบริหารอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิมพดี. ------------ -. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิมพดี. เปรื่อง กุมท. (2541, มกราคม-มิถุนายน). เทคโนโลยีการเรียนการสอนในยุคสารสนเทศ. ศึกษาศาสตร มอ. วิทยาเขตปตตานี. 12(1): 18-20 ไผท สิทธิสุนทร. (2542, พฤศจิกายน). [คอนสตัคชัน่ นิสซึ่ม] Constructionism ความรูเปนสิ่งที่สราง ได. สานปฏิรปู . 2(20): 17-20. พยุงศักดิ์ จันทรสุรินทร.(2544). เอกสารประกอบคําบรรยายในการประชุมสัมมนา ผูบริหาร สถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549, จาก http://www.geocities.com/dove_svr/dove_rein.htm


198 พรทิพย โลหเ ลขา. (2537). การรับสงจดหมายทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic mail: E-mail). กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ. พิสิฐ เมธาภัทร. (2533). ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: คณะครุ ศาสตรอตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. พรรณี ช เจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ตนออ แกรมมี่ จํากัด. พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ. (2531, เมษายน - พฤษภาคม). การวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา. รวม บทความที่เกีย่ วกับการวิจยั ทางการศึกษา เลม 2. 11(4): 21-25. พวงเพ็ญ อินทรประวัติ. (2532). รูปแบบการสอน. สงขลา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิมพันธ เดชะคุปต. (2544). การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ: แนวคิด วิธี และเทคนิค การสอน 1. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอรกรุป แมเนจเมนท. ไพฑูรย สินลารัตน. (2522). หลักและวิธกี ารสอนระดับอุดมศึกษา. ภาควิชาอุดมศึกษา คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ------------ -. (2543). รายงานการวิจัยเอกสาร เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรูในระดับ บัณฑิตศึกษา. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ. ไพโรจน ตีรณธนากูล. (2542). การสอนชางอุตสาหกรรม: วิธีสอนทักษะปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ: โรง พิมพพิมพดี. มาลินี จุฑะรพ. (2537). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒนการพิมพ. รวีวตั ร สิริภบู าล. (2543). การพัฒนาแบบจําลองระบบฝกอบรมครูเชิงทักษะปฏิบัต.ิ ปริญญา นิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. รัชนี ศรีไพรวรรณ.(2525). หนังสือสงเสริมการอานระดับประถมศึกษาเรื่องรวมเรือ่ งชื่นใจ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. รุจโรจน แกวอุไร. (2543). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผานเครือขายใยแมงมุม. ปริญญา นิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ลวน สายยศ; และอังคณา สายยศ.(2538).เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษา.พิมพครั้งที่ 4: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ------------ -. (2539).เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก. ละเอียด รักษเผา. (2528). รูปแบบการสอนเปนกลุมที่ใหผลการเรียนใกลเคียงกับผลการสอนแบบครู หนึ่งคนตอนักเรียนหนึ่งคน. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถายเอกสาร. วารินทร รัศมีพรหม. (2532). การออกแบบสาร: หลักการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ภาควิชา เทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.


199 วารินทร รัศมีพรหม. (2542). การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชา เทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิชุดา รัตนเพียร. (2542, มีนาคม-เมษายน). การเรียนการสอนผานเว็บ: ทางเลือกใหมของ เทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสารครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 27(3): 29-33. ------------ -. (2548). การเรียนการสอนบนเว็บขั้นนํา. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. วิรัช กุทุมมาศ. (2528). เอกสารวิจัยสวนบุคคลในลักษณะสังคมวิทยา เรื่องรูปแบบของความ รวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาอาชีวอุตสาหกรรม. มปท. ส. วาสนา ประวาลพฤกษ. (2527, พฤษภาคม-สิงหาคม). การสอบการปฏิบตั ิ. วารสารวัดผล การศึกษา. 6(1): 1-11. ------------ -. (2537, กันยายน - ธันวาคม). การวัดผลจากการปฏิบัติจริง. วารสารวัดผลการศึกษา. 16(47): 36–42. สงัด อุทรานันท. (2532). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมิตรสยาม. สมคิด อิสระวัฒน. (2541). รายงานการวิจัยเรื่องลักษณะการอบรมเลี้ยงดูของคนไทยในชนบทซึง่ มี ผลตอการเรียนรูดวยตนเอง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร คณะสังคมศาสตร และ มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. ------------ -. (2541, กรกฏาคม-ตุลาคม). การเรียนรูดวยตนเอง: กลวิธีสูการศึกษาเพื่อความสมดุล. วารสารครุศาสตร. 27 (1): 35–38. สมพร สุขะ. (2545). การพัฒนารูปแบบของเว็บเพจเพื่อการเรียนรูดวยตนเองผานเครือขาย อินเตอรเน็ต. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). แนวทางการจัดการเรียนรูดวยรูปแบบ [อีเลิรนนิ่ง] e-Learning. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549, จาก http://www.radompon.com/e_learningway.pdf สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2543). (ราง) พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2543 เสนอตอคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. ------------ -. (2541ก). รายงานการวิจยั เรื่อง ประสิทธิภาพของ การอาชีวศึกษา: การจัดฝก ภาคปฏิบตั ิใหนักศึกษามีความสามารถในการทํางานสอด คลองกับความตองการของ ตลาดแรงงาน. ม.ป.ท. ------------ -. (2541ข). รายงานการวิจยั เรื่อง ประสิทธิภาพของการอาชีวศึกษา: สื่อการสอน อุปกรณ และโรงฝกงานกับความสามารถทางวิชาชีพของนักศึกษาชางอุตสาหกรรม. ม.ป.ท. ------------ -. (2541ค). รายงานการวิจยั เรื่อง ประสิทธิภาพของการอาชีวศึกษา: ความตองการ กําลังคนดานอาชีวศึกษา. ม.ป.ท.


200 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2541ง). รายงานการวิจัย เรื่อง ประสิทธิภาพของการ อาชีวศึกษา: ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงคในการทํางานของผูสําเร็จ การศึกษาหลักสูตรอาชีวศึกษา. ม.ป.ท. ------------ -. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ------------ -. (2545). แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2545-2559). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแหงชาติ. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549 , จาก http://www.onec.go.th/publication/s_fullplan/fullplan.pdf ------------ -. (2544). รายงานการวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยโทรสนเทศ (Virtual University) ของประเทศไทย. กรุงเทพ: บริษทั พริกหวาน กราฟค จํากัด. ------------ -. (2547). รายงานการวิจัยเรื่องการฝกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพ. กรุงเทพฯ: สํานัก คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549 , จาก http://www.onec.go.th/Act/etc/s95001.pdf สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2542). นโยบายการปฏิรูปอาชีวศึกษา. เอกสาร ประกอบการประชุมการปฏิรูปอาชีวศึกษา กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. ------------ -. (2546). วิสัยทัศนการอาชีวศึกษา. สืบคนเมื่อ 22 กุมภาพันธ 2549 , จาก http://www.vec.go.th. ------------ -. (2546). หลักการ ทฤษฎี และนโยบาย การปฏิรูปอาชีวศึกษา. เอกสารประกอบการ ประชุมการปฏิรูปอาชีวศึกษา กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2543). โครงการงานพัฒนารูป แบบจําลองกําลังแรงงาน การมีงานทํา และการวางงาน. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. ------------ -. (2549). สรุปสาระสําคัญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549, จาก http://www.nesdb.go.th/plan10/data/สรุปสาระสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10.pdf สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ.(2549). แนวปฏิบตั ิในการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2549, จาก http://bsq.vec.go.th/e-books/standard.pdf สุชา จันทรเอม. (2544). จิตวิทยาทัว่ ไป. พิมพครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. สุชาติ ศิริสขุ ไพบูลย. (2526). การสอนทักษะปฏิบตั ิ (Workshop Teaching). คณะครุศาสตร อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.


201 สุชาติ ศิริสขุ ไพบูลย. (2527). เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลาพระนครเหนือ. สุนทร สุนันทชัย. (2540, กรกฏาคม-กันยายน). รากฐานและวิธีการของนิมิตนิยม (Constructivism). วารสารโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กระทรวงศึกษาธิการ. 4: 2531 สุนันท ศลโกสุม. (2532, พฤษภาคม - สิงหาคม). การวัดผลภาคปฏิบัติ. วารสารวัดผลการศึกษา. 11(31): 65-76. สุรศักดิ์ สงวนพงษ. (2548). ยุทธศาสตรพัฒนาการเรียนรูไอ ซี ที ตองสอนเด็กคิดนอกกรอบ. สืบคน เมื่อ 21 กุมภาพันธ 2549, จาก http://pr.ku.ac.th/pr-news/interest/2548/271.htm สุปรียา ศิริพฒ ั นกุลขจร. (2548). การพัฒนารูปแบบหองเรียนเสมือนจริงแบบจําลองสถานการณ รวมกับการฝกปฏิบตั ิ เรื่อง การผลิตรายการโทรทัศน. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยี การศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. สุรางค โควตระกูล. (2544). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวิทย ปูท อง. (2541). การนําเสนอการสอนอินเทอรเน็ตสําหรับผูเ รียนระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ คม. (โสตทัศนศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร. สุวิมล วองวาณิช. (2547). การวัดทักษะการปฏิบตั ิ (Performance Testing): จุลสารการทดสอบ อันดับที่ 4. กรุงเทพฯ: ศูนยตําราและเอกสารวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. เสกสรร สายสีสด. (2545). การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนการสอนโดยใชอินเทอรเน็ต สําหรับ สถาบันราชภัฏ. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. เสาวณีย สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนือ. อาภรณ ใจเที่ยง. (2540). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. อธิปตย คลี่สนุ ทร. (2540, ธันวาคม-มกราคม). อินเทอรเน็ต(แปล). ขาวสารสารสนเทศ. 2(34): 112. ------------ -. (2541). [อินเทอรเน็ต] Internet & [สคูลเน็ต] Schoolnet กับการเสริมคุณภาพการศึกษา ไทย. สืบคนเมื่อ 9 ตุลาคม 2546, จาก http://www.moe.go.th/main2/article/article5.htm อุดม จํารัสพันธุ. (2541). เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาการสอนเด็กวัยเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. Adam, J.A. (1998). Human Memory. New York: McGraw-Hill. Anderson, J. (1995). Learning and Memory: An Integrated Approach. New York: John and Sons.


202 Atkinson, R.C; & Shiffrin, R.M. (1968). Human Memory: A Proposed System and Its Control Processes. in Spence, K.W.; Spence,J.T. (Eds) The Psychology of Learning and Motivator: Advances in Research and Theory. Vol. 2. New York: Academic Press. Banathy, B.H. (1968). Instructional System. Belmont, California: Fearow Publishers. Bloom, B. S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, Handbook I: The Cognitive Domain. New York: David McKay Co Inc. Borg, Walter R; & Merigith, D. Gall. (1979). Educational Research: An Introduction. 5th ed., New York: Longman, Inc. Borg, Walter R. (1981). Applying Educational Research: A Practice Guide for Teachers. New York: Longman Inc. Brockett, Ralph G; & Hiemstra, Roger. (1991). Self-direction in Adult Learning. New York: Routlege. Buzzell, Mry; & Olge, Roman. (1988). Preparing for Contracting Learning. Developing Student Autonomy in Learning. P.135-144 New York: Nichols Publishing Company. Candy, Philip C. (1991). Self-directed for Lifelong Learning. San Francisco: Jossey- Bass Publisher. Cruickshang, Donal R; Deborah I; & Metcalf, K. (1995). The Act of Teaching. New York: McGraw-Hill,Inc. Davies, I.K. (1971). The Management of Learning. London: McGraw-Hill. De Cecco, J.P. (1974). The Psychology of Learning and Instruction: Educational Psychology. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall. Deighton, L.C. (1971). The Encyclopedia of Education. Volume 6: The Macmillan Company & The Free Press. Dick, Walter; & Lou Carley. (1985). The Systematic Design of Instruction. 2nd ed. New York: Scott Foreman. Dixon, W.B. (1992). An Exploration Study of Self-directed Learning Ruddiness and Pedagogical Expectation about Learning among Adult Image Learners in Michigan. Doctoral Dissertation, Michigan State University, 1992. Dissertation Abstracts International. 55/07 (1995): 1789. Duhrkopt, Richar. (1990, May). Computer Center: Reality & Randomness. The American Biology Teacher. 52(5): 295-296. Eric, Carlton W.H; & David H. Curl. (1972). Fundamental of Teaching with Audio Visual Technology. New York: McGraw-Hill Book Company.


203 Ebbinghaus, Hermann. (1850-1909). Memory: A Contribution to Experimental Psychology. New York: Teachers College, Columbia University Press. Espich, Jerome E; & Bill Williams. (1967). Developing Programmed Instructional Materials. New York: Lear Siegler, Inc. Fitts, P.M. (1964). Perceptual-motor Skill Learning, in A. W. Melton (ed.), Categories of Human Learning. London: Academic Press. Gagne' , Robert M; Leslies J. Briggs;& Walter W. Wager. (1988). Principle of Instructional Design. 3rd ed., New York: Holt, Rinehart and Winston. Gagne', R.M. (1977). The Conditions of Learning and Theory of Instruction. New York: Holt. Rinehart and Winston. ------------ -. (1979). Principles of Instructional Design. New York: Holt. Rinehart and Winston. Gagne', R.M; & Brown, L. T. (1970). The Gagne' and Brown Experimental, in Educational Phychology: Learning and Teaching. Methuen. Gerlach, Ver S; & Donald P. Ely. (1971). Teaching and Media: A Systematic Approach. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice – Hall. Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill Book Co, Inc. Guglielmino, L.M; & Guglielmino, P.J. (1982). Learning Style Assessment (Self-scoring Form). Boca Raton, Flo: Guglielmino and Associates. Harrow, A. (1972). A Taxonomy of The Psychomotor Domain: A Guide for Developing Behavioral Objectives. New York: Longman Inc. Henderson, J.G. (1996). Reflective Teacher: The Study of Your Constructivist Practices. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall. Jay, Wile L. (2001). Internet Course. The University of Rochester. Retrieved November 29, 2002, from http://www.highschoolscience.com Jessup, G. (1991). Outcomes: NVQs and the Emerging Model of Education and Training. London: Falmer Press. Johnson, Kerry A;& Foa, Lin J. (1989). Instructional Design New Alternatives for Effective Education and Training. New York: Macmillan Publishing. Jonassen, D. (1994). Thinking Technology. Educational Technology. 34(4): 34-37. Joyce, B;& Weil, M. (1986). Model of Teaching. 3rd ed. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. Joyce, Bruce; & Masha Weil. (1972). Model of Teaching. New York: Prentice-Hall. Joyce, Bruce; Masha Weil; & Showers, Beverely. (1992). Model of Teaching. 4th ed. Boston: Allyn and Bacon.


204 Kameenui, Edward J; & Simmons, Deborah C. (1990). Designing Instructional Strategies. U.S.A.: Merrill Publishing. Kemp, Jerrold E. (1985). The Instructional Design Process. New York: Harper & Row. Khan, Badrul H. (1997). Web-based Instruction. New Jersey: Educational Technology Publications, Inc. Kibler, Robert J. (1974). Behavioral Objectives and Instructional Process. In Selected Reading for the Introduction to the Teaching Profession. Edited by Milton Muse. p. 44-53. Berkeley: McCutchan. Klausmeier, H.J; & Ripple, R.E. (1971). Learning and Human Abilities: Educational Psychology. 3rd ed., New York: Harper & Row, Publishers. Knirk, Frederick G; & Gentry, Castelle G. (1971). Applied Instructional Systems. Educational Technology. 11(6), 58-62. Knowles, M.S. (1975). Self-directed Learning: A Guide for Learners and Teachers. New York: Association Press. Lindvall, C.M; & Nitko, A.J. (1967). Measuring Pupil Achievement and Attitude. New York: Harcourt Brace Jovanvich. Mehrens, W; & Irvin J. Lehman. (1984). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. New York: Holt, Rinchart and Winston, Inc. Mezirow, J. (1981). A Critical Theory of Adult Learning and Education. Adult Education Quarterly. 32(1), 3-24. Nunnally, J.C.Jr. (1959). Test and Measurement. New York: McGrew-Hill. Padelford, H. (1984,December). Psychomotor Skill Acquisition in Technical Subjects. Presented at the American Vocational Association Convention. New Orleans. (Unpublished Manuscript). Prosser, C.A; & Allen, C.R. (1925). Vocational Education in a Democracy. New York: Century. Ralph, C. Wenrich; & William, J. Wenrich. (1974). Leadership in Administration of Vocation and Technical Education. Charles E. Merrill Publishing., Columbus, Ohio. Reigeluth, Charles M. (1991,September). Reflections on the Implications of Constructivism for Educational Technology. Educational Technology. 31(9): 7-11. Savery, J.R; & Duffy, T.M. (1995). Problem-based Learning: An Instructional Model and Its Constructivist Framework. Educational Technology. 35(5): 31-37. Sayler, J.Galen; William, M. Alexander; & Arthur J. Lewis. (1981). Curriculum Planning for Better Teaching and Learning. 4th ed., New York: Sanders International.


205 Seels, B; & Glasgow, Z. (1990). Exercises in Instructional Design. Ohio: Merrill Publishing Company. Semprevivo, Philop C. (1976). System Analysis. Definition, Process, and Design. Chicago: Science Research Association. Simpson, D. (1972). Teaching Physical Educations: A System Approach. Boston: Houghton Mufflin Co. Simpson, Dlizabet. (1974). The Illinois Teachers of Home Economics in Robert N. Singer and Walter Dick, Teaching Physical Education: A System Approach. Boston: Houghton Minfflin Co. Singer, R.N. (1982). The Learning of Motor Skills. New York: Macmillan Publishing Co., Inc. Skager, Rodney W. (1978). Lifelong Education and Evaluation Practice. Hamburg: UNESCO Institute for Education. Spiro, R.J. Coulson; R.L. Feltovich, P.J ; & Jaboson, M.j. (1991). Cognitive Flexibility Theory Constructivism and Hypertext: Random Assess Instruction for Advance Knowledge Equation in Structure Domains. Education Technology. 31(5): 25-33. Tuck, B.W. (1975). Measuring Educational Outcomes Fundamental of Testing. New York: Harcour Brace Javanovich,Inc. Tuckman, Bruce W. (1976). Measuring Education Outcome. New York: Harcour Brace Jonanovich,Inc. Tyan, Nay-ching Nancy; & Frank Min-chow, Hong. (1998). When Western Technology Meets Oriental Culture. Use of Computer-mediated Communication in a Higher Education Classroom. Retrieved November 29, 2002, from http://ericir.syr.edu/ Vygotsky, L.S. (1986). Thought and Language. Massachusetts: MIT Press. Walker, Grayson H. (2002). Concept Mapping and Curriculum Design. Retrieved July 2,2004, form http://www.utc.edu/Teaching-Resource-Center/concepts.html Watson, A. (1980). Learning Psychomotor Skills in TAFE (or the Psychology of Psychomotor Skills). Educational Psychology for TAFE Teachers. Funding Provided by the Australian Commonwealth under the Advanced Education Council Program. (Unpublished Manuscript). Woodruff, A.D. (1961). Basic Concept of Teaching. Chandler Publishing Company. Zhao, Yong. (1998). Design for Adoption: The Development of an Integrated Web-based Education Environment. Journal of Research on Computing in Education.17 (3): 113-132.


ภาคผนวก


207

ภาคผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญ


208 รายนามผู เ ชี่ ย วชาญด า นการประเมิ น รู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท าง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. รองศาสตราจารย ดร.ณรงค สมพงษ อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2. รองศาสตราจารย ดร.ฉลอง ทับศรี หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 3. ผู ช ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย ด ร . ว สั น ต อ ติ ศั พ ท ค ณ บ ดี ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และอาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ อภิบาลศรี ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการ และ อาจารย ป ระจํ า สาขาเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษา คณะครุ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา 5. ผูชวยศาสตราจารย (พิเศษ) ดร.ปรัชญนันท นิลสุข อาจารยประจําภาควิชาครุ ศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนคร เหนือ 6. รองศาสตราจารย ดร.สุรสิทธิ์ ราตรี อาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 7. รองศาสตราจารย ดร.มานพ แจมกระจาง อาจารยประจําภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพรรณ ธงชัย รองผูอํานวยการฝายพลังงาน ศูนย นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส และอาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 9. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรีชา สาคะรังค อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 10. ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.สั น ติ หวั ง นิ พ พานโต อาจารย ป ระจํ า ภาควิ ช า วิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รายนามผู เ ชี่ ย วชาญด า นประเมิ น บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต ดานเทคโนโลยีการศึกษา 1. รองศาสตราจารย ดร.ณรงค สมพงษ อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2. รองศาสตราจารย ดร.ฉลอง ทับศรี หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา


209 3. ผู ช ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย ด ร . ว สั น ต อ ติ ศั พ ท ค ณ บ ดี ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และอาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ อภิบาลศรี ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการ และ อาจารย ป ระจํ า สาขาเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษา คณะครุ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสีมา 5. ผูชวยศาสตราจารย (พิเศษ) ดร.ปรัชญนันท นิลสุข อาจารยประจําภาควิชาครุ ศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนคร เหนือ รายนามผู เ ชี่ ย วชาญด า นประเมิ น บทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต ดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 1. รองศาสตราจารย ดร.สุรสิทธิ์ ราตรี อาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง . 2. รองศาสตราจารย ดร.มานพ แจมกระจาง อาจารยประจําภาควิชาอุตสาหกรรม ศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพรรณ ธงชัย รองผูอํานวยการฝายพลังงาน ศูนย 3. นวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส และอาจารยประจําภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 4. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรีชา สาคะรังค อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย 5. ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.สั น ติ หวั ง นิ พ พานโต อาจารย ป ระจํ า ภาควิ ช า วิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รายนามผูเชี่ยวชาญดานการวัดและประเมินผล 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมบูรณ ตันยะ อาจารยประจําสาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุนันท ศลโกสุม ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒ 3. ดร.สุวพร เซ็มเฮ็ง อาจารยประจําภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


210

ภาคผนวก ข แบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


211

แบบประเมิน รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา คําชี้แจง 1. แบบประเมินชุดนี้ มีวัตถุประสงคในการสอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทางดาน เทคโนโลยีการศึกษา และผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เกี่ยวกับรูปแบบการเรียน การสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ในดานความ ครอบคลุม ความสอดคลองตามองคประกอบหลักของรูปแบบการเรียนการสอน และความเหมาะสม ของขั้นตอน ตลอดจนขอเสนอแนะเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้น 2. แบบประเมินนี้แบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ 3. คาระดับความคิดเห็นในแบบประเมินนี้มี 5 ระดับ มีความหมายดังนี้ คาระดับ 5 หมายถึง มากที่สุด คาระดับ 4 หมายถึง มาก คาระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง คาระดับ 2 หมายถึง นอย คาระดับ 1 หมายถึง นอยที่สุด


212

การควบคุม (Control) การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของ ผูเรียน การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

ปจจัยนําเขา (Input) กําหนดเปาหมายในการเรียน การสอน การวิเคราะหผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการ สอน การเตรียมความพรอมดาน สภาพแวดลอมทางการเรียน

กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) y ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) y ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) กิจกรรมเสริมทักษะ

ผลผลิต (Output) ประเมินผลการเรียนการสอน y ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน y ทักษะปฏิบัติ y ความคงทนของทักษะ ปฏิบัติ y ความคิดเห็นของ นักเรียน

ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง y ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ y ความคิดเห็นของผูเรียน y ผลการเรียนการสอน y ผลจากการปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ

รูปที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชีวศึกษา


213

C

ขั้นความรูความเขาใจ ( ognitive Phase)

การเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคตามขั้นตอนการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โมเดลซีเอเอ (CAA Model)

ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีภาพเคลื่อนไหว สตรีมมิ่งวีดิโอ และการจําลองสถานการณ

บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต

A

การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ขั้นปฏิบัติ ( ssociative Phase) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมด ตั้งแตตนจนจบ

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่มีสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) สอนแบบสาธิต

สาธิตทักษะยอยและใหผูเรียนปฏิบัตติ ามไปทีละสวน อยางชาๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา

การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มี สตรีมมิ่งวีดิโอสอนแบบสาธิตรวมกับการฝกปฏิบตั ิกับวัสดุและอุปกรณจริง

ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัด จุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทํา

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงโดยมีผูสอนคอย ควบคุมและใหขอมูลปอนกลับ

A

ขั้นชํานาญ ( utonomous Phase) ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่ สามารถกระทําไดเอง (Mechanism)

การฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริงดวยการเรียนรู แบบโครงงาน (Project-based Learning)

เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว

การเรียนกับบทเรียนแบบจําลองสถานการณ (Simulation) และฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง การประเมินทักษะปฏิบัติระหวางเรียน

รวบรวมคะแนนและผลงานลงแฟมสะสมงาน

รูปที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบตั ิ ตามขั้นตอนโมเดลซีเอเอ (CAA Model)


214

บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต Web-based Technical Practice Instruction สวนผูสอน y บริหารผูเรียน y บริหารบทเรียน y ใหคําปรึกษา y ใหขอมูลปอนกลับ y ประเมินทักษะปฏิบัติ

สวนบทเรียน y เนื้อหาบทเรียน y การเรียนการสอนฝก ปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซี เอเอ (CAA Model) y แบบฝกหัด y แบบทดสอบ y สตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) y การทดลองเสมือนจริง y โปรแกรมจําลอง สถานการณ สวนสนับสนุนและการ ติดตอสื่อสาร y กระดานสนทนา (Web Board) y หองสนทนาสด(Chat Room) y แหลงขอมูล

สวนผูเรียน y บริหารการเรียน y ศึกษาเนื้อหาบทเรียน y ทําแบบฝกหัด y ทําแบบทดสอบ y ฝกปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ทําชิ้นงาน y ทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) y ตรวจสอบผลการเรียน

ระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต สวนผูดูแลระบบ y บริหารจัดการระบบรวมถึง ฐานขอมูลระบบทั้งหมด y ตรวจสอบระบบ

สวนฐานขอมูลการเรียน y ขอมูลผูเรียน y รายงานผลการเรียน y รายงานผลการฝกปฏิบัติ y บันทึกการใชงานบทเรียน

รูปที่ 3 สวนประกอบของบทเรียนฝกปฏิบัตทิ างเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


215 รูป แบบการเรียนการสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครื อขา ยอิ นเทอรเน็ต สํ า หรั บ นักเรีย น อาชีวศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ เปาหมาย และหลักการของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เปนการนําแนวคิดและหลักการของการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตมาผสมผสานกับการฝกปฏิบัติทาง เทคนิคตามกระบวนการสอนทักษะปฏิบัติ โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะปฏิบัติ และ ความคงทนของทักษะปฏิบัติ องคประกอบของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาในครั้งนี้ ไดพัฒนาขึ้นตามแนวคิดวิธีระบบ (Systematic Approach) โดยรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก 1. ปจจัยนําเขา (Input) 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 3. การควบคุม (Control) 4. ผลผลิต (Output) 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) โดยมี 13 องคประกอบยอย คือ 1) กําหนดเปาหมายในการ เรียนการสอน 2) การวิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจในการ เรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การตรวจสอบและควบคุม การเรียนของผูเรียน 11) การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 12) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 13) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยมีรายละเอียดของแตละองคประกอบหลักดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) องคประกอบที่เปนปจจัยนําเขาในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน, การวิเคราะหผูเรียน, การ ออกแบบเนื้อหาบทเรียน, กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอม ทางการเรียน โดยแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การเรีย นการสอนฝ ก ปฏิ บัติ มีจุด มุงหมายสํา คัญ เพื่อ ใหผู เรีย นเรีย นรู ทัก ษะปฏิบั ติเพื่ อ ให สามารถทํางานได นอกจากนั้นยังตองการใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการทํางาน และมีเจต คติที่ดีตอการทํางานดวย ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจะตองจัดใหผูเรียน ไดรับความรู เจตคติ และทักษะ ปฏิบัติในการทํางานไปพรอม ๆ กัน แตจะเนนเปนพิเศษในเรื่องของทักษะปฏิบัติ สวนที่เปนความรู และเจตคติ จะบรรจุลงไปเพื่อเสริมในเรื่องของการทํางานใหไดผลดีที่สุดและระดับความลึกซึ้งของจุดประสงคการเรียนรูในแต ละดานจะมีมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับระดับมาตรฐานรายวิชาของวิชานั้น ๆ ระดับความลึกซึ้งของจุดประสงคการ เรียนรูแตละดานเปนดังนี้ 1. ดานความรู (Cognitive) มีจุดประสงคใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทํางาน การนําวิธกี ารที่เรียนรูไปใช การวิเคราะหงาน การสังเคราะหงานใหมขึ้นมา และความสามารถในการประเมินผล งานไดดวยตนเอง


216 2. ดานเจตคติ (Affective) มีจุดประสงคใหผูเรียนสามารถรับการเรียนรู มีการตอบสนอง อยางเห็นคุณคา สามารถจัดกลุมคานิยม และกําหนดคุณลักษณะของตัวเองในเรื่องของการทํางานในอาชีพของ ตน 3. ด า นทั ก ษะปฏิ บั ติ (Psychomotor) มี จุ ด ประสงค ใ ห ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ ความสามารถในการปฏิบัติงานในโรงฝกงาน หรือหองทดลองโดยผูเรียนจะตองสามารถแสดงพฤติกรรมการเรียน ในขั้นตอนตาง ๆ ตั้งแต ความสามารถในการรับรู การเตรียมพรอมในการทํางาน การปฏิบัติตามโดยอาศัยผูแนะ การปฏิบัติงานไดเอง และการปฏิบัติงานดวยความชํานาญ ในการเขียนจุดประสงคสําหรับการสอนทักษะปฏิบัติ ควรเขียนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ที่ผู เรียนสามารถปฏิบัติและผู สอนสามารถวัดหรือสังเกตได โดยมีลํา ดับขั้นตอนในการเขียนจุดประสงค เชิง พฤติกรรมดังนี้ 1. กําหนดหัวเรื่องและทักษะที่จะสอน 2. หาลําดับขั้นตอนในการทํางาน 3. จําแนกขั้นตอนการทํางานออกเปนทักษะและความรู 4. รวบรวมทักษะและความรูใหมเขียนเปนจุดประสงคเชิงพฤติกรรม การวิเคราะหผูเรียน ในการวิ เคราะหผู เรี ยนนั้นจะชวยในการกําหนดจุดประสงคการสอน ชวยในการกําหนด เนื้อหา ชวยในการแบงกลุมผูเรียน และชวยใหผูสอนรูวาในระหวางการเรียนการสอนสมควรจะไดชวยเหลือกลุม ใดหรือคนใดเปนพิเศษ เพื่อจะทําใหเรียนรูไดทันผูอื่น ดังนั้นผูสอนควรจะตองทราบพื้นฐานผูเรียนในดานตอไปนี้ 1. ความสามารถทางสติ ป ญ ญา ผู เ รี ย นแต ล ะคนจะมี ค วามสามารถทางสติ ป ญ ญาไม เหมือนกัน ผูสอนจะทราบความสามารถทางการเรียนของผูเรียนไดจากการใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนกอนเรียน 2. ความสามารถทางทักษะปฏิบัติ ผูสอนควรจะตองทําการประเมินกันกอนที่จะสอนทักษะ ปฏิบัติใหมใหแกผูเรียน เพื่อสํารวจทักษะปฏิบัติของผูเรียนกอนการเรียนการสอนจะเริ่มขึ้นวา มีเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอผูเรียนควรไดรับทักษะปฏิบัติพื้นฐานที่จําเปนเพิ่มเติมกอน การประเมินทักษะปฏิบัติของผูเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติพื้นฐานประเมินความสามารถทางดานทักษะปฏิบัติของผูเรียน หรือการให ผูเรียนปฏิบัติตามงานที่มอบหมายแลวทําการประเมินทักษะปฏิบัติดวยการใชแบบวัดทักษะปฏิบตั ิของผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนจะตอง ดําเนินการออกแบบเนื้อหาบทเรียน ดังนี้ 1. เนื้อหาบทเรียนในสวนทฤษฎี จะตองออกแบบใหเนื้อหามีการผสมผสานมัลติมีเดีย โดย ใหมีภาพเคลื่อนไหวและการจําลองสถานการณ (Simulation) รวมทั้งการใชไฮเปอรมีเดีย (Hypermedia), ไฮเปอร ลิงค (Hyperlink) และไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) ในการนําเสนอเนื้อหา เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจในเนื้อหาทาง ทฤษฎีกอนที่จะไปเรียนฝกปฏิบัติ 2. เนื้อหาบทเรียนในสวนปฏิบัติ จะตองดําเนินการจัดทําเนื้อหาตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 2.1 จัดเตรียมงานที่ใหผูเรียนฝกปฏิบัติ 2.2 วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 2.3 นําทักษะยอย ๆ มาจัดทําสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video)


217 เนื้อหาปฏิบัติในขั้นตอนการสาธิตการปฏิบัติจะตองแสดงทักษะการปฏิบัติงานดวยวิธีการที่ ปลอดภัย โดยเนนความปลอดภัยตอผูปฏิบัติ ตอเครื่องมือและอุปกรณ และตอชิ้นงาน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถ กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไดดังนี้ คือ 1. กําหนดกิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1 การปฏิ สั ม พัน ธ บ นเครือ ข า ยอิ น เทอร เ น็ต ในการฝก ปฏิ บัติ ป ระจํ า สั ป ดาหต ลอด ระยะเวลาการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต ดวยการใชเครื่องมือบนเครือขายอินเทอรเน็ต ไดแก กระดานสนทนา (Web Board), หองสนทนาสด (Chat Room), อีเมล (e-mail), การถายโอนขอมูลระหวางเครื่อง (File Transfer Protocol), การอัพโหลด (Upload), การดาวนโหลด (Download), การคนหาขอมูลบนเครือขาย (Search), การเชื่อมโยงภายใน (Internal Links) และการเชื่อมโยงภายนอก (External Links) เปนตน 1.2 การสงงานและแบบฝกหัดบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2. กําหนดกิจกรรมในการเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2.1 ขั้นนําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.1.1 แจงจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหผูเรียนไดทราบ 2.1.2 การตรวจสอบทักษะพื้นฐานวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติเพียงพอตอการเรียน ทักษะปฏิบัติใหมหรือไม หรือเปนการตรวจสอบวาผูเรียนมีทักษะปฏิบัติในสิ่งที่เรียนแลวหรือไม โดยการใช แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 2.2 ขั้นดําเนินการสอน ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.2.1 ทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางดานทฤษฎี และทฤษฎีเชิงปฏิบัติ 2.2.2 ศึกษาเนื้อหาบทเรียน 2.2.3 ทําแบบฝกหัด เพื่อทบทวนความรูและความเขาใจในเนื้อหาบทเรียน 2.2.4 ทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางดานทฤษฎี และทฤษฎีเชิงปฏิบัติ 2.2.5 การฝกปฏิบัติกับวัสดุอุปกรณจริงตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทักษะปฏิบัติ 2.2.6 การสนทนาสด (Chat) ระหวางผูสอนกั บผูเรียน เพื่อผู ส อนจะได ชวยเหลือ, แนะนํา หรือใหขอมูลเกี่ยวกับผลของทักษะปฏิบัติ ในระหวางการเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2.2.7 ผูสอนตั้งคําถามไวในกระดานสนทนา (Web Board) เพื่อทดสอบความรู ความเขาใจของผูเรียน และผูสอนตอบคําถามในกระดานสนทนาจากคําถามหรือขอสงสัยที่ผูเรียนตั้งไว 2.2.8 ผูเรียนนําชิ้นงานมาใหผูสอนตรวจสอบและใหคะแนน เพื่อประเมินผลการ เรียน 2.3 ขั้นประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมดังนี้ 2.3.1 การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อความรูความเขาใจเนื้อหาทาง ทฤษฎี 2.3.2 การทดสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียน เพื่อวัดทักษะปฏิบัติ


218 2.3.3 การทดสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนหลังจากที่เรียนไปแลว 2 สัปดาห เพื่อ วัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ในการจัด สภาพแวดลอ มทางการเรีย นโดยใชบทเรียนฝก ปฏิบัติท างเทคนิ ค บนเครือขา ย อินเทอรเน็ต ควรประกอบดวย 1. ฮารดแวร (Hardware) และซอฟตแวร (Software) ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถ เชื่อมตออินเทอรเน็ต และมีโปรแกรมประเภทบราวเซอร เชน Internet Explorer เปนตน 2. บุคลากรดานคอมพิวเตอร (Peopleware) ไดแก ผูสอน นักเรียน และผูที่ควบคุมดูแล ระบบเครือขาย 3. การจัดเวลาในการเรียน (Timing) เปนการจัดตารางเวลาในการเรียนผานเครือขาย อินเทอรเน็ต มีการนัดหมายเวลากันแลวก็สามารถพูดคุย โตตอบกันไดแบบทันทีทันใดทั้งระหวางผูสอนกับ นักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนดวยกัน 4. หองเรียนสําหรับฝกปฏิบัติ ควรมีความแตกตางจากหองเรียนปกติทั่วไป คือ หองเรียน สําหรับฝกปฏิบัติจะตองมีการจัดพื้นที่ใหเหมาะสมกับการเรียนปฏิบัติ และโตะเรียนสําหรับฝกปฏิบัติจะตองมีเนื้อ ที่กวางเพียงพอสําหรับจัดตั้งชุดคอมพิวเตอร พรอมทั้งเครื่องมือและอุปกรณที่จะใชสําหรับการฝกนั้น ๆ 5. เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการฝกปฏิบัติ ควรจัดเตรียมไวใหพรอมสําหรับการฝก ปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ โดยใหอยูในสภาพที่จะใชงานไดทันที และตองมี เพียงพอกับจํานวนผูเรียน หากมีไมเพียงพอก็อาจดําเนินการจัดแบงกลุมยอยของผูเรียน 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) องคประกอบที่เปนกระบวนการในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน, การสรางแรงจูงใจในการเรียน, การ ดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค และกิจกรรมเสริมทักษะ โดยแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดบทบาทผูสอน บทบาทผู ส อนในการเรี ย นการสอนด ว ยบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนมีบทบาทเปนผูควบคุมการเรียนการสอน ใหดําเนินไปตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ คอยใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนเพื่อปรับแกทักษะ ปฏิบัติของผูเรียนใหถูกตอง รวมทั้งประเมินทักษะปฏิบัติจากชิ้นงานของผูเรียนทั้งทางดานกระบวนการ (Process) และดานผลงาน (Product) จากการฝกปฏิบัติในแตละขั้นตอน นอกจากนี้ผูสอนยังมีบทบาทบน เครือขายอินเทอรเน็ต เชน การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน, การตั้งคําถามหรือตอบคําถามใน กระดานสนทนา, การสนทนาสดกับผูเรียน, การตรวจแบบฝกหัด เปนตน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การสรางแรงจูงใจในการเรียนใหเกิดขึ้นสามารถทําไดโดยการใหผูเรียนไดรูถึงเปาหมายของ งานที่จะฝกปฏิบัติ การออกแบบบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่มีการนําเสนอเนื้อหาที่ เปนภาพเคลื่อนไหวและสตรีมมิ่งวีดิโอ การเปดโอกาสใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติกับบทเรียนที่เปนลักษณะของการ จําลองสถานการณ การเตรียมความพรอมของชุดการฝกปฏิบัติที่ผูเรียนสามารถปฏิบัติไปพรอมกับการเรียน เนื้อหาบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ต การประเมินผลการเรียนที่ผูเรียนสามารถตรวจสอบดวยตนเอง รวมถึง ใชกิจกรรมตาง ๆ กระตุนใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธกลุมอยางทั่วถึง ซึ่งจะทําใหการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝก


219 ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปนไปอยางมีคุณภาพ มีชีวิตชีวา และเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดใน ที่สุด การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค การดําเนินการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มี ขั้นตอนดังนี้ 1. ผูเรียนเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต 2. เขาสูเว็บไซตรายวิชา 3. ลงทะเบียนรายวิชา 4. ใสชื่อและรหัสผานเขาสูบทเรียน 5. อานคําแนะนําและคําชี้แจงในการเรียน 6. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 7. ทําแบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติเบื้องตนของผูเรียน 8. เขาสูกระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่ใหผูเรียน เรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตรวมกับการฝกปฏิบัติกับวัสดุและอุปกรณจริง ตาม ขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒ นาทัก ษะปฏิบัติที่ พัฒ นาขึ้น เรียกวา โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ซึ่ง ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 2) ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) โดยมีรายละเอียดแตละขั้นตอนดังนี้ 8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้ น ความรู ค วามเข า ใจนี้ เ ป น ขั้ น ตอนที่ จ ะบอกถึ ง ทั ก ษะและความรู ท างทฤษฎี ที่ เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรจะใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 8.1.1 ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นที่จะบอกถึง ความรูทางทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ เชน ขอมูลเบื้องตนของเรื่องที่จะ เรียน และวิธีการใชงานเครื่องมือและอุปกรณท่จี ะใชในการฝกปฏิบัติ 8.1.2 บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ ขั้นนี้เปนขั้นการใหผูเรียนไดรับรูในสิ่งที่จะทํา ซึ่งสิ่งที่จะตองใหผูเรียนไดรับรูนั้นจะประกอบไปดวยจุดประสงค กิจกรรม เครื่องมือและอุปกรณ ลําดับขั้นตอน การทํางาน และขอควรระวังในการทํางาน เปนตน 8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบัตินี้เปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะ เกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้นปฏิบัติผูสอนควรจัดให ผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 8.2.1 สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ ขั้นนี้เปนขั้น ใหผูเรียนไดเห็นทักษะหรือการกระทําที่ตองการใหผูเรียนทําไดในภาพรวม เพื่อทําใหผูเรียนไดเขาใจในภาพรวม ของงานที่จะตองทํา การสาธิตใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบโดยการใชสตรีมมิ่งวีดิโอหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่ง ผูเรียนสามารถดูซ้ําไดตามความตองการ ทักษะหรือการกระทําที่สาธิตใหผูเรียนดูนั้น จะตองเปนการกระทําใน ลักษณะที่เปนธรรมชาติ ไมชาหรือเร็วเกินปกติ 8.2.2 สาธิ ต ทั ก ษะย อ ย และให ผู เ รี ย นปฏิ บั ติ ต ามไปที ล ะส ว นอย า งช า ๆ ใน ลักษณะเลียนแบบการกระทํา ขั้นนี้เปนขั้นใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ โดยใชสตรีมมิ่งวีดิโอหรือภาพเคลื่อนไหวบน


220 เครือขายอินเทอรเน็ตสาธิตทักษะยอยทีละทักษะ แลวใหผูเรียนสังเกตการกระทําแลวฝกปฏิบัติตามกับวัสดุและ อุปกรณจริงทีละทักษะยอย เมื่อผูเรียนปฏิบัติทักษะยอยแตละทักษะเสร็จแลวสามารถนํามาตรวจสอบกับชิ้นงาน ตนแบบที่มีไวใหไดดวยตนเอง 8.2.3 ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรให คําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได ขั้นนี้เปนขั้นที่ใหผูเรียนไดทําการฝกปฏิบัติเองโดยไมตองดูการสาธิต ผูสอน ตองคอยใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียน โดยการตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียนขณะผูเรียน ปฏิบัติอยางใกลชิด ดวยการสังเกตการปฏิบัติงานและตรวจสอบชิ้นงานที่ฝก ซึ่งผูสอนจะตองตรวจสอบทุก ขั้น ตอนการปฏิบั ติ แ ละชิ้ น งานที่ เ สร็ จ แล ว ถ า หากผู เ รี ย นเกิ ด ติ ดขั ด จุ ด ใดผู ส อนจะให ก ารตรวจ-ปรั บ แก ไ ข จนกระทั่งทําไดถูกตอง รวมทั้งผูสอนตองใหหลักการสังเกตและเกณฑการตัดสินคุณภาพของการทํางานอยางมี เหตุผล เพื่อผูเรียนจะไดสรางขอมูลปอนกลับใหกับตนเอง ซึ่งผูเรียนจะไดใชประโยชนจากสิ่งนี้ไปตลอดในการ ทํางาน และสามารถเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทํางานของตนเองใหมากขึ้น ในขั้นตอนนี้ผูสอนจะสามารถ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติและใหขอมูลปอนกลับผูเรียนที่เรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตไดโดยใชเครื่องมือสื่อสารที่มี อยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน เว็บแคม (Webcam), การสนทนาสด (Chat), กระดานสนทนา (Web Board) และอีเมล (e-mail) เปนตน ถาผูเรียนอยูในหองเรียนฝกปฏิบัติที่มีผูสอนคอยควบคุมดูแลอยูดวย จะทําใหการฝก ปฏิบัติในขั้นนี้มีประสิทธิภาพสูงสุด 8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ปฏิบัติทักษะนั้นรวดเร็วและถูกตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทํา ผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 8.3.1 ให ผู เ รี ย นฝ ก ทั ก ษะซ้ํ า ๆ จนกลายเป น กลไกที่ ส ามารถกระทํ า ได เ อง (Mechanism) ขั้นตอนนี้เปนการใหผูเรียนไดกระทําจนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง โดยการใหผูเรียน ฝกปฏิบัติซ้ํา ๆ ตามการเรียนรูแบบโครงงาน (Project-based Learning) ดวยการทําชิ้นงานใหม ซึ่งอาจเปน ชิ้นงานแบบเดิมหรือชิ้นงานที่มีลักษณะงานในลักษณะเดียวกัน เพื่อผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติตามขั้นตอนที่ไดฝกไป แลว และการฝกซ้ํา ๆ จะทําใหผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติและความคงทนของทักษะปฏิบัติ 8.3.2 เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว ขั้นนี้เปนขั้นที่ ผูเรียนมีโอกาสไดฝกฝนมากขึ้นจนกระทั่งกระทําไดถูกตองสมบูรณแบบอยางรวดเร็ว ถูกตองและคลองแคลว โดยการใหผูเรียนไดฝกฝนในสถานการณหลาย ๆ แบบ เชน การฝกปฏิบัติจากการทําชิ้นงานใหม, การฝกปฏิบัติ กับบทเรียนฝกปฏิบัติบนเครือขายอินเทอรเน็ตแบบจําลองสถานการณ หรือโปรแกรมการจําลองสถานการณ และ การฝกปฏิบัติกับชุดฝกที่เปนวัสดุและอุปกรณจริง เปนตน 9. ทําแบบทดสอบหลังเรียน 10. สอบปฏิบัติเพื่อวัดทักษะปฏิบัติ 11. สอบปฏิบัติหลังจากเรียนไปแลว 2 สัปดาห เพื่อวัดความคงทนของทักษะปฏิบัติ กิจกรรมเสริมทักษะ ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถที่จะ จัดกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดมากที่สุด ซึ่งสามารถกําหนดกิจกรรมเสริมทักษะไดโดยการ ใหผูเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่จําลองสถานการณการฝกทักษะปฏิบัติตาง ๆ และการ ใชโปรแกรมการจําลองสถานการณ (Simulation) เกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการฝกปฏิบัติ และการใหผูเรียนศึกษา คนควาดวยตนเองเพื่อใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอง และสนับสนุนใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูไดอยาง


221 เต็มที่ โดยการเชื่อมโยงไปยังแหลงขอมูลตาง ๆ บนเครือขายอินเทอรเน็ต เชน การทดลองเสมือนจริง หองสมุด เสมือน ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสและสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส และเว็บไซตที่เกี่ยวของ 3. การควบคุม (Control) องคประกอบที่เปนการควบคุมในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขา ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน และการ ตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ผูสอนควรใชระบบบริหารการเรียนรู (Learning Management System : LMS) บนเครือขาย อินเทอรเน็ต เปนเครื่องมือในการตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน ในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. การตรวจสอบขอมูลของผูเรียนและการใหขอมูลปอนกลับ เปนการติดตามดูการเรียน ของผูเรียนทุกระยะ เชน บันทึกขอมูลผูเรียน บันทึกการเขาเรียน บันทึกการทํากิจกรรม บันทึกการฝกปฏิบัติใน ขั้นตอนตาง ๆ และคะแนนทดสอบของผูเรียน เปนตน ทั้งนี้เพื่อผูสอนจะไดทราบขอมูลในการเรียนของผูเรียน และสามารถใหขอมูลปอนกลับ (Feedback) แกผูเรียนเพื่อการประเมินตนเองตอไป 2. การควบคุมการฝกปฏิบัติของผูเรียน เปนการกําหนดบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตใหดําเนินไปตามขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) โดย ผูสอนสามารถกําหนดเนื้อหาใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติไปทีละขั้นตอน จนครบทุกขั้น ทั้งนี้เพื่อไมใหผูเรียนทําการฝก ปฏิบัติขามขั้นตอน 3. การกําหนดชวงเวลาการทดสอบ ใชในการควบคุมผูเรียนเพื่อใหผูเรียนเขามาศึกษา บทเรียนไดครบและตรงตามเวลาที่กําหนดไวไดอีกวิธีหนึ่ง โดยผูสอนสามารถกําหนดไดวาจะเปดใหนักเรียนทํา แบบทดสอบชุ ด ใดในช ว งใด และเป น ระยะเวลานานเท า ใด ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ควบคุ ม ให ก ารเรี ย นการสอนและการ ประเมินผลดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน การตรวจสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนในขณะที่กําลังเรียน (Formative Evaluation) เพื่อที่จะ ไดรูวาผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติตามที่ตองการเพียงใด หากพบวายังไมเกิดทักษะปฏิบัติหรือทักษะปฏิบัติยังไม ถูกตอง ผูสอนตองคอยตรวจ-ปรับ แกไข จนเกิดทักษะปฏิบัติที่ถูกตอง รวมทั้งคอยชมเชย เสริมกําลังใจ เมื่อ ผูเรียนทําไดสําเร็จ หากผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติตามที่ตองการแลว ก็ใหไปฝกปฏิบัติในทักษะปฏิบัติอื่น ๆ ตอไป โดยคอยตรวจสอบขณะปฏิบัติอยูเสมอ โดยมีวิธีการควบคุมและตรวจสอบทักษะปฏิบัติดังนี้ คือ 1. การตรวจสอบความรูความเขาใจเนื้อหาบทเรียน โดยใหผูเรียนทําแบบฝกหัดระหวาง การเรียนเนื้อหาบทเรียนและทําแบบทดสอบหลังเรียนหลังจากเรียนเนื้อหาบทเรียนจบในแตละหัวขอ เพื่อเปนการ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนจะสูการเรียนฝกปฏิบัติ ผูเรียนควรจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม เกณฑที่กําหนดจึงผานไปสูเนื้อหาตอไปได 2. การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียนทางดานกระบวนการ (Process) และทางดาน ผลงาน (Product) จากชิ้นงานที่ใหนักเรียนฝกปฏิบัติตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติตาม ขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ผูสอนควรใหนักเรียนทําแฟมสะสมงาน (Portfolio) ของแตละคน เพื่อผูสอนจะใชในการ ตรวจสอบและประเมินงานในทุกขั้นตอนของการฝกปฏิบัติ และผูเรียนเองก็สามารถใชในการประเมินผลการ พัฒนาทักษะปฏิบัติของตนเองได


222 4. ผลผลิต (Output) องค ป ระกอบที่ เ ป น ผลผลิ ต ในรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การประเมินผลการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดดังนี้ การประเมินผลการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนการสอนทางดานทักษะปฏิบัตินั้น จะทําการประเมินผลการเรียนการ สอน ดังนี้ 1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน เปนการประเมินความรูความเขาใจใน เนื้อหาบทเรียนหลังจากศึกษาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขา ยอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว โดยใช แบบทดสอบหลังเรียนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนใหครอบคลุมจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 2. การประเมินทักษะปฏิบัติ จะประเมินหลังจากที่ผูเรียนไดศึกษากับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว โดยผูสอนจะตองจัดใหผูเรียนไดมีการปฏิบัติทําชิ้นงานจริงแลวทํา การวัดทักษะปฏิบัติ โดยใชแบบวัดทักษะปฏิบัติ ซึ่งมีผูประเมินอยางนอย 2 คน โดยแบบวัดทักษะปฏิบัติจะทํา การประเมินผล 2 ดาน คือ 2.1 การประเมินผลดานกระบวนการ (Process) เปนการตรวจสอบขั้นตอนการทํางาน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ความสะอาดในการปฏิบัติงาน และเวลาในการปฏิบัติงาน 2.2 การประเมินผลดานผลงาน (Product) เปนการตรวจสอบคุณภาพของผลงาน 3. การประเมิ น ความคงทนของทัก ษะปฏิ บัติ จะประเมิ น หลัง จากที่ ผู เรียนได ศึก ษากั บ บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตเรียบรอยไปแลว 2 สัปดาห โดยผูสอนจะตองจัดใหผูเรียน ไดมีการปฏิบัติทําชิ้นงานจริงแลวทําการวัดทักษะปฏิบัติ 4. การประเมินความคิดเห็นของผูเรียน เปนการประเมินความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการ เรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) องคประกอบที่เปนขอมูลปอนกลับในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง เปนการนําขอมูลจากความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ความคิดเห็นของผูเรียน ผลการเรียนการ สอน และผลจากการปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ มาวิเคราะหหาขอบกพรอง เพื่อปรับปรุงแกไขรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหสมบูรณยิ่งขึ้น


223 แบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ตอนที่ 1 ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต กรุณาทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงตามความคิดเห็นของทาน รายการประเมิน

ระดับความเหมาะสม

5 1. แนวคิดและหลักการ มีความสอดคลอง สัมพันธกันกับเปาหมาย 2. องคประกอบของรูปแบบมีความครอบคลุม ตามองคประกอบหลักของรูปแบบการสอนทั่วไป 3. องคประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสม กับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4. องคประกอบของรูปแบบ y ปจจัยนําเขา (Input) 4.1 กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 4.2 การวิเคราะหผูเรียน 4.3 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4.4 กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.5 การเตรียมความพรอมดาน สภาพแวดลอมทางการเรียน y กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 4.6 กําหนดบทบาทผูสอน 4.7 การสรางแรงจูงใจในการเรียน 4.8 การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model)

4

3

2

1

ขอแนะนําและขอคิดเห็น เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุง


224

รายการประเมิน

ระดับความเหมาะสม

5 4.8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะ ฝกทักษะ 2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ 4.8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 1) สาธิตทักษะหรือการกระทําให ผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียน ปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะ เลียนแบบการกระทํา 3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการ สาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะ และแกไขจนผูเรียนทําได 4.8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 1) ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไก ที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว 4.9 กิจกรรมเสริมทักษะ y การควบคุม (Control) 4.10 การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของ ผูเรียน 4.11 การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน y ผลผลิต (Output) 4.12 ประเมินผลการเรียนการสอน y ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 4.13 ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง

4

3

2

1

ขอแนะนําและขอคิดเห็น เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุง


225 ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ • ขอเสนอแนะในสวนขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. ดานปจจัยนําเขา (Input) ...................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. ด า นกระบวนการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต (Process) ...................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................


226 3. ดานการควบคุม (Control) ………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. 4. ดานผลผลิต (Output) ………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. 5. ดานขอมูลปอนกลับ (Feedback) ………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………….


227 • ขอเสนอแนะอื่น ๆ ………….………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………….………………………………………………………………………………………………… ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………................ ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………................ .....................................................................................................................................................

ลงชื่อ ........................................................... ผูประเมิน ( ………………………………………………..) วันที่ ............... เดือน ............................ พ.ศ. ............

ขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการวิจัย อภิชาติ อนุกูลเวช นิสิตปริญญาเอกสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


228

ภาคผนวก ค แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา สําหรับผูเชี่ยวชาญทางดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 2. แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษา สําหรับผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา


229

แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา คําชี้แจง 1. แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียน อาชี ว ศึ ก ษา มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการรวบรวมความคิ ด เห็ น ของผู เ ชี่ ย วชาญทางด า นไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกส และผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีการศึกษา เกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เพื่อนําขอเสนอแนะเปนแนวทางใน การปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้น 2. แบบประเมินนี้แบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 คําถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ 3. คาระดับความคิดเห็นในแบบประเมินนี้มี 5 ระดับ มีความหมายดังนี้ คาระดับ 5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด คาระดับ 4 หมายถึง เห็นดวยมาก คาระดับ 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง คาระดับ 2 หมายถึง เห็นดวยนอย คาระดับ 1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด


230

แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา (สําหรับผูเชี่ยวชาญดานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส)

ตอนที่ 1 อินเทอรเน็ต

ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย

กรุณาทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงตามความคิดเห็นของทาน ขอที่

หัวขอในการประเมิน 5

1

2

3

4

เนื้อหาและการนําเสนอ 1.1 โครงสรางเนื้อหาชัดเจนมีความสัมพันธตอเนื่อง 1.2 เนื้อหาที่นําเสนอตรงและครอบคลุมจุดประสงค 1.3 ความถูกตองของเนื้อหา 1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับผูเรียน 1.5 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 1.6 ความสอดคลองของเนื้อหาในแตละหนวย ภาพ ภาษาและตัวอักษร 2.1 ความเหมาะสมของรูปภาพกับคําบรรยาย 2.2 ความถูกตองของรูปภาพตามเนื้อหา 2.3 ความถูกตองของภาษาที่ใช 2.4 ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช เสียง และวีดิโอ 3.1 ความถูกตองของเสียงบรรยายในวีดิโอ 3.2 ความถูกตองของเนื้อหาในวีดิโอ 3.3 ความเหมาะสมของภาพกับเนื้อหาในวีดิโอ แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน 4.1 ความชัดเจนของคําถาม 4.2 ความสอดคลองกับจุดประสงค 4.3 ความสอดคลองกับเนื้อหา

คาระดับความคิดเห็น 4 3 2

1

……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……...


231 ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ..................................................... ผูประเมิน ( ……………………………………….. ) วันที่ .............. เดือน ............................. พ.ศ. ..............

ขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการวิจัย อภิชาติ อนุกูลเวช นิสิตปริญญาเอกสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


232

แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา (สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษา)

ตอนที่ 1 อินเทอรเน็ต

ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย

กรุณาทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองที่ตรงตามความคิดเห็นของทาน ขอที่

หัวขอในการประเมิน 5

1

2

3

4 5

การจัดรูปแบบของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเครือขาย อินเทอรเน็ต 1.1 ดึงดูดความสนใจ 1.2 การใชสีประกอบ 1.3 การออกแบบหนาจอ 1.4 การจัดวางเนื้อหาบทเรียน 1.5 การจัดวางเมนูตาง ๆ ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 2.1 ความเหมาะสมของสีตัวอักษร 2.2 ความเหมาะสมของแบบตัวอักษร 2.3 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร ความเหมาะสมของภาพ วีดิโอและเสียง 3.1 ความเหมาะสมของภาพในดานสื่อความหมาย 3.2 ความเหมาะสมของขนาดภาพ 3.3 ความเหมาะสมของวีดิโอประกอบเนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของเสียงบรรยายในวีดิโอ การนําทางและการเชื่อมโยง 4.1 การนําทางภายในบทเรียน 4.2 การเชื่อมโยงภายในบทเรียน การปฏิสัมพันธ 5.1 การปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน 5.2 การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน

……... ……... ……... ……... ……...

คาระดับความคิดเห็น 4 3 2 ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……...

1 ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……...

……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……... ……...


233 ตอนที่ 2 ขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ..................................................... ผูประเมิน ( ……………………………………….. ) วันที่ .............. เดือน ............................. พ.ศ. ..............

ขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการวิจัย อภิชาติ อนุกูลเวช นิสิตปริญญาเอกสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


234

ภาคผนวก ง 1. แบบวัดทักษะพื้นฐาน 2. แบบวัดทักษะปฏิบัตพิ ื้นฐานภาคปฏิบัติ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. ใบงาน 5. แบบวัดทักษะระหวางเรียน 6. แบบวัดทักษะปฏิบัติ 7. แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


235

แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน คําชี้แจง 1. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานนี้ ใชวัดความสามารถทางดานการบัดกรี, การทําแผนวงจรพิมพ และ การประกอบวงจร โดยจะใชผลการทดสอบจากแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานนี้ ประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียน กอนเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2. ขอสอบมีทั้งหมด 10 ขอ ใหนักเรียนเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. กอนทําการบัดกรี ควรจะตองเตรียมหัวแรงอยางไร ก. หากซื้อหัวแรงมาใหม ก็สามารถนําไปบัดกรีไดเลย ข. หากใชหัวแรงเปนครั้งแรกควรเสียบหัวแรงใหรอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง ค. หากซื้อหัวแรงมาใหม ใหใชตะไบละเอียด ตะไบปลายหัวแรง ง. หากใชหัวแรงเปนมาหลายครั้งแลว ใหนําหัวแรงไปขัดดวยสก็อตไบตกับผงซักฟอก 2. ขอใดเปนการบัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตองที่สุด ก. การใหความรอนที่ลายวงจรพิมพ แลวจายตะกั่วบัดกรีที่ขาอุปกรณ โดยหามสัมผัสลายวงจรพิมพ ข. นําตะกั่วไลที่ปลายหัวแรงโดยใหมีตะกั่วติดปลายหัวแรงใหมากพอที่จะบัดกรีอุปกรณกับวงจรพิมพ ค. ตองใหความรอนที่ลายวงจรพิมพและขาอุปกรณ แลวจายตะกั่วบัดกรีไปที่ชิ้นงานทั้งสอง ง. นําหัวแรงไปละลายตะกั่วแลวนํามาพอกที่ชิ้นงาน 3. ขอใดเปนการถอนบัดกรีที่ถูกตอง ก. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลายหมดไป ข. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวคอย ๆ คว่ําชิ้นงานใหตะกั่วหลุด ออกไป ค. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวใชที่ดูดตะกั่วดูดตะกั่วออกไป ง. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวใชไมปลายแหลมเขี่ยจนตะกั่วออก หมด 4. เมื่อปลายหัวแรงสกปรกควรปฏิบัติอยางไร ก. เช็ดดวยผาที่ไมมีสวนผสมของพลาสติก ข. เช็ดดวยสก็อตไบตและผงซักฟอก ค. สะบัดหัวแรงแรงๆ ง. ลางดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง 5. น้ํายาเคลือบแผนวงจรพิมพอยางงายเปนสวนผสมของอะไร ก. ยางสนกับทินเนอร ข. ยางสนกับเบนซิน ค. กาวกับทินเนอร ง. ยางสนกับน้ํา


236 6. อุปกรณในขอใดที่ใชในการเขียนลายวงจรบนแผนวงจรพิมพ ก. ปากกาเคมี ข. ดินสอปลายแหลม ค. ปากกาลูกลื่น ง. สีน้ํา 7. การนําแผนวงจรพิมพมากัด จะตองปฏิบัติอยางไร ก. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงคว่ําลง วางทิ้งไวในภาชนะที่ใสกรดประมาณ 1 ชั่วโมง ข. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงไวดานบน และเขยาภาชนะที่ใสกรดไปมาประมาณ 10-20 นาที ค. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงคว่ําลง และเขยาภาชนะที่ใสกรดไปมาประมาณ 10-20 นาที ง. วางแผนวงจรในลักษณะเอียงเล็กนอย โดยใหดานที่เปนทองแดงอยูดานลาง และเขยาภาชนะที่ใส กรดไปมาประมาณ 10 นาที 8. หลังจากกัดแผนวงจรพิมพเรียบรอยแลว ควรปฏิบัติอยางไร ก. ลางสีดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง ข. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง ค. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงผงซักฟอกและสก็อตไบต แลวเช็ดใหแหง ง. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงผงซักฟอก แลวเช็ดใหแหง 9. การเตรียมสารละลายที่จะใชกัดลายวงจร จะตองปฏิบัติอยางไร ก. ใชสารเคมี เฟอริค คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไมกวน ใหเขากัน ข. ใชสารเคมี เฟอริค คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1/2 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไม กวนใหเขากัน ค. ใชสารเคมี โซเดียม คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1/2 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไม กวนใหเขากัน ง. ใชสารเคมี โซเดียม คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไมกวน ใหเขากัน 10. การใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพ จะตองปฏิบัติอยางไร ก. ควรใสอุปกรณที่มีขนาดเตี้ยลงไปกอน ข. หามขูดขาอุปกรณ เพราะจะทําใหบัดกรีไมติด ค. เมื่อใสอุปกรณบนเรียบรอยแลวกอนบัดกรีใหตัดขาอุปกรณใหหมด ง. เมื่อใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพเรียบรอยแลวใหบิดขาอุปกรณใหเปนเกลียวเพื่อยึดขาอุปกรณติด อยูบนแผนวงจรพิมพ เฉลยแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน 1. ข 6. ก

2. ค 7. ข

3. ค 8. ค

4. ก 9. ค

5. ก 10. ก


237

แบบวัดทักษะปฏิบัติพื้นฐานภาคปฏิบัติ การบัดกรีขาอุปกรณบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงค คําชี้แจง ใหนักเรียนทําการบัดกรีชิ้นงานตามขั้นตอน เมื่อทําเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําชิ้นงานมาสงครูเพื่อตรวจ ใหคะแนน ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. เสียบเสนลวดแทนขาอุปกรณ ดังรูป

รูปที่ 1 ลักษณะของขาอุปกรณดานลายทองแดงบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงค

รูปที่ 2 ลักษณะของเสนลวดดานบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงค


238 2. ทําการบัดกรี ดวยขั้นตอนการบัดกรีที่ถูกตอง ใหไดดังรูป

รูปที่ 3 ลักษณะการบัดกรีขาอุปกรณบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงค 3. ตัดปลายขาอุปกรณออก ดังรูป

รูปที่ 4 ลักษณะขาอุปกรณบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงคที่ถูกตัดออกเรียบรอยแลว 4. ทําการบัดกรีใหครบทั้งแผน ดังรูป

รูปที่ 5 ลักษณะการบัดกรีขาอุปกรณบนแผนวงจรพิมพอเนกประสงคที่เสร็จแลว


239 รายการที่ตองประเมิน ความเรียบรอยของจุดบัดกรี

คะแนน

คะแนนที่ได

2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0

การใชตะกั่วเหมาะสม ความสวยงามของชิ้นงาน ความสมบูรณของชิ้นงาน รวมคะแนนที่ได

8

เกณฑการใหคะแนน จุดใหคะแนน ความเรียบรอยของจุดบัดกรี การใชตะกั่วเหมาะสม

ความสวยงามของชิ้นงาน

คะแนน 2 1 0 2 1

จุดบัดกรีเรียบรอย จุดบัดกรีไมเรียบรอย จํานวน 1 - 3 จุด จุดบัดกรีไมเรียบรอย จํานวนมากกวา 3 จุด การใชตะกั่วเหมาะสม ตะกั่วเปนกอนโตเกินไป หรือตะกั่วไมเต็ม จํานวน 1 - 3 จุด

0 2 1

2

ตะกั่วเปนกอนโตเกินไป หรือตะกั่วไมเต็ม จํานวนมากกวา 3 จุด ชิ้นงานมีความสวยงามมาก และตัดขาอุปกรณเรียบรอย ชิ้นงานมีความสวยงามปานกลาง หรือตัดขาอุปกรณไมเรียบรอย 1-3 จุด ชิ้นงานไมมีความสวยงาม หรือตัดขาอุปกรณไมเรียบรอยมากวา 3 จุดขึ้นไป ชิ้นงานมีความสมบูรณ มีการบัดกรีครบทุกรู ตามชิ้นงานตนแบบ

1 0

ชิ้นงานบัดกรีมาไมเหมือนตนแบบ ชิ้นงานบัดกรีมาไมเหมือนตนแบบ และบัดกรีไมครบทุกรู

0

ความสมบูรณของชิ้นงาน

เกณฑการใหคะแนน

ลงชื่ อ ......................................................ผู ป ระเมิ น (…………………………………………)


240

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คําชี้แจง 1. ขอสอบฉบับนี้ ครอบคลุมเนื้อหา 3 เรื่อง คือ การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบ วงจรอิเล็กทรอนิกส 2. ขอสอบมีทั้งหมด 30 ขอ ใหนักเรียนเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว เรื่อง การบัดกรี 1. การบัดกรีคืออะไร ก. การเชื่อมโลหะเขาดวยกันโดยใชวัสดุตัวกลางซึ่งเปนสวนผสมของทองแดงและตะกั่วเปนตัวเชื่อม ประสาน ข. การเชื่อ มโลหะเขา ดวยกัน โดยใชวัสดุตัว กลางซึ่งเปน สวนผสมของดี บุก และตะกั่ วเป น ตัวเชื่อ ม ประสาน ค. การเชื่อมโลหะเขาดวยกันโดยใชวัสดุตัวกลางซึ่งเปนสวนผสมของดีบุกและเงินเปนตัวเชื่อมประสาน ง. การเชื่อมโลหะเขา ดวยกันโดยใชวัสดุตัวกลางซึ่งเปน สวนผสมของนิเกิ ลและตะกั่วเปนตั วเชื่ อม ประสาน 2. หัวแรงบัดกรี มีกี่ชนิด ก. 2 ชนิด คือ หัวแรงปน และหัวแรงปากกา ข. 2 ชนิด คือ หัวแรงปน และหัวแรงแช ค. 3 ชนิด คือ หัวแรงปน หัวแรงปากกา และหัวแรงแช ง. 3 ชนิด คือ หัวแรงปน หัวแรงปากกา และหัวแรงแทง 3. หัวแรงชนิดใดที่ใหความรอนสูงเหมาะสําหรับงานบัดกรีอุปกรณขนาดใหญ ก. หัวแรงปน ข. หัวแรงปากกา ค. หัวแรงแทง ง. หัวแรงแช 4. หัวแรงชนิดใดที่ใหความรอนไมสูงมากนักเหมาะกับการบัดกรีอุปกรณบนแผนวงจรพิมพ ก. หัวแรงปน ข. หัวแรงปากกา ค. หัวแรงแทง ง. หัวแรงแช 5. หัวแรงชนิดใดจะตองเสียบปลั๊กใหรอนตลอดเวลาเพราะไมมีสวิตชปด-เปด ก. หัวแรงปน ข. หัวแรงปากกา ค. หัวแรงแทง ง. หัวแรงแช


241 6. กอนทําการบัดกรี ควรจะตองเตรียมหัวแรงอยางไร ก. หากซื้อหัวแรงมาใหม ก็สามารถนําไปบัดกรีไดเลย ข. หากใชหัวแรงเปนครั้งแรกควรเสียบหัวแรงใหรอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง ค. หากซื้อหัวแรงมาใหม ใหใชตะไบละเอียด ตะไบปลายหัวแรง ง. หากใชหัวแรงเปนมาหลายครั้งแลว ใหนําหัวแรงไปขัดดวยสก็อตไบตกับผงซักฟอก 7. ขอใดเปนการบัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตองที่สุด ก. การใหความรอนที่ลายวงจรพิมพ แลวจายตะกั่วบัดกรีที่ขาอุปกรณ โดยหามสัมผัสลายวงจรพิมพ ข. นําตะกั่วไลที่ปลายหัวแรงโดยใหมีตะกั่วติดปลายหัวแรงใหมากพอที่จะบัดกรีอุปกรณกับวงจรพิมพ ค. ตองใหความรอนที่ลายวงจรพิมพและขาอุปกรณ แลวจายตะกั่วบัดกรีไปที่ชิ้นงานทั้งสอง ง. นําหัวแรงไปละลายตะกั่วแลวนํามาพอกที่ชิ้นงาน 8. เมื่อปลายหัวแรงสกปรกควรปฏิบัติอยางไร ก. เช็ดดวยผาที่ไมมีสวนผสมของพลาสติก ข. เช็ดดวยสก็อตไบตและผงซักฟอก ค. สะบัดหัวแรงแรงๆ ง. ลางดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง 9. ขอใดไมควรปฏิบัติในการบัดกรี ก. นําหัวแรงไปละลายตะกั่วแลวนํามาพอกที่ชิ้นงาน ข. ทําความสะอาดปลายหัวแรงดวยผานุมกอนบัดกรี ค. หากใชหัวแรงครั้งแรกควรเสียบหัวแรงใหรอน แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง ง. ใหความรอนที่ชิ้นงาน แลวจายตะกั่วบัดกรี เมื่อตะกั่วหลอมละลายจึงคอยถอนตะกั่วออก จากนั้นจึง ถอนหัวแรงออก 10. ขอใดเปนการถอนบัดกรีที่ถูกตอง ก. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลายหมดไป ข. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวคอย ๆ คว่ําชิ้นงานและเคาะใหตะกั่ว หลุดออกไป ค. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวใชที่ดูดตะกั่วดูดตะกั่วออกไป ง. จายความรอนจากหัวแรงใหกับชิ้นงาน จนตะกั่วละลาย แลวใชไมปลายแหลมเขี่ยจนตะกั่วออก หมด เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ 11. แผนวงจรพิมพ แบงออกเปนกี่ประเภท ก. 2 ประเภท คือ แผนวงจรพิมพแบบอเนกประสงค และแผนวงจรพิมพเปลา ข. 2 ประเภท คือ แผนวงจรพิมพแบบหนาเดียว แผนวงจรพิมพแบบสองหนา ค. 3 ประเภท คือ แผนวงจรพิมพแบบไอซีบอรด แผนวงจรพิมพแบบโปรโตบอรด และแผนวงจรพิมพ แบบแพดบอรด ง. 3 ประเภท คือ แผนวงจรพิมพแบบหนาเดียว แผนวงจรพิมพแบบสองหนา และแผนวงจรพิมพ แบบหลายชั้น


242 12. แผนวงจรพิมพแบบอเนกประสงค แบงออกเปนกี่แบบ ก. 2 แบบ คือ แบบหนาเดียว แบบสองหนา ข. 2 แบบ คือ แบบหนึ่งชั้น แบบสองชั้น ค. 3 แบบ คือ แบบไอซีบอรด แบบโปรโตบอรด และแบบแพดบอรด ง. 4 แบบ คือ แบบหนาเดียว แบบสองหนา แบบ 2 หนา เชื่อมตอกัน และแบบหลายชั้น 13. แผนวงจรพิมพแบบใดที่เหมาะสมสําหรับวงจรที่ไมยุงยากซับซอนและสามารถกัดลายวงจรไดเอง ก. แบบหนาเดียว ข. แบบโปรโตบอรด ค. แบบแพดบอรด ง. แบบเพลททรูโฮล 14. แผนวงจรพิมพแบบใชเบกาไลตเปนฉนวน สวนใหญมักจะมีสีอะไร ก. สีแดง ข. สีน้ําตาล ค. สีเขียว ง. สีฟา 15. แผนวงจรพิมพแบบแพดบอรดมีลักษณะอยางไร ก. มีระยะหางระหวางรูเจาะเทากับระยะหางของขาไอซี ข. มีลักษณะของลายทองแดงเหมือนแผนโปรโตบอรด ค. ไมมีลายทองแดงเชื่อมตอกัน แตมีเพียงลายทองแดงเปนจุด ๆ เหมือนเปนหลักยึดอุปกรณ ง. มีการเชื่อมตอกันระหวางทองแดงทั้งสองดานผานทางรูที่ทําเปนพิเศษ 16. อุปกรณในขอใดที่ใชในการเขียนลายวงจรบนแผนวงจรพิมพ ก. ปากกาเคมี ข. ดินสอปลายแหลม ค. ปากกาลูกลื่น ง. สีน้ํา 17. น้ํายาเคลือบแผนวงจรพิมพอยางงายเปนสวนผสมของอะไร ก. ยางสนกับทินเนอร ข. ยางสนกับเบนซิน ค. กาวกับทินเนอร ง. ยางสนกับน้ํา 18. การนําแผนวงจรพิมพมากัด จะตองปฏิบัติอยางไร ก. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงคว่ําลง วางทิ้งไวในภาชนะที่ใสกรดประมาณ 1 ชั่วโมง ข. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงไวดานบน และเขยาภาชนะที่ใสกรดไปมาประมาณ 10-20 นาที


243 ค. นําแผนวงจรพิมพดานที่เปนทองแดงคว่ําลง และเขยาภาชนะที่ใสกรดไปมาประมาณ 10-20 นาที ง. วางแผนวงจรในลักษณะเอียงเล็กนอย โดยใหดานที่เปนทองแดงอยูดานลาง และเขยาภาชนะที่ใส กรดไปมาประมาณ 10 นาที 19. หลังจากกัดแผนวงจรพิมพเรียบรอยแลว ควรปฏิบัติอยางไร ก. ลางสีดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง ข. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงดวยน้ํา แลวเช็ดใหแหง ค. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงผงซักฟอกและสก็อตไบต แลวเช็ดใหแหง ง. ลางสีดวยทินเนอร แลวทําความสะอาดดานลายทองแดงผงซักฟอก แลวเช็ดใหแหง 20. การเตรียมสารละลายที่จะใชกัดลายวงจร จะตองปฏิบัติอยางไร ก. ใชสารเคมี เฟอริค คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไมกวน ใหเขากัน ข. ใชสารเคมี เฟอริค คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1/2 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไม กวนใหเขากัน ค. ใชสารเคมี โซเดียม คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1/2 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไม กวนใหเขากัน ง. ใชสารเคมี โซเดียม คลอไรท ละลายกับน้ําในอัตราสวน กรด 1 กิโลกรัมกับน้ํา 1 ลิตร แลวใชไมกวน ใหเขากัน เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส 21. อุปกรณประเภทใดที่ไมตองระวังการใสผิดขั้ว ก. ซีเนอรไดโอด ข. ไดโอด ค. ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลต ง. ตัวเก็บประจุชนิดไบโพลาร 22. การใสตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลตผิดขั้วจะเกิดผลอยางไร ก. วงจรทํางานปกติ เพราะตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลตไมมีขั้ว ข. ถาใสผิดขั้ววงจรจะไมทํางานเทานั้น ค. ตัวเก็บประจุระเบิด ง. วงจรทํางานปกติ แตตัวเก็บประจุอายุการใชงานจะสั้นลง 23. การใสตัวตานทานผิดขนาดจะเกิดผลอยางไร ก. ตัวตานทานจะระเบิด ข. วงจรทํางานปกติ ค. ตัวตานทานจะไหม ง. วงจรจะไมทํางานเลย


244 24. ตัวตานทานแบบใดตองระวังเรื่องตําแหนงขา ก. ตัวตานทานแบบฟลมโลหะ ข. ตัวตานทานแบบฟลมคารบอน ค. โพเทนชิโอมิเตอร ง. ตัวตานทานแบบไวรวาวด 25.ขอใดเปนการใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพเรียงตามลําดับจากกอนไปหลังไดถูกตองที่สุด ก. ตัวเก็บประจุ ซีเนอรไดโอด ตัวตานทาน และไดโอด ข. ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ ไดโอด และซีเนอรไดโอด ค. ไดโอด ตัวตานทาน ไดโอด ตัวเก็บประจุ และซีเนอรไดโอด ง. ไดโอด ซีเนอรไดโอด ตัวตานทาน และตัวเก็บประจุ 26. ขอใดไมใชวิธีการใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพที่ถูกตอง ก. ใชกระดาษทรายละเอียด ถูเบา ๆ ที่ขาอุปกรณ เพื่อเอาฝุนและไขออก ข. ใชมีดขูดเบา ๆ ที่ขาอุปกรณ เพื่อเอาฝุนและไขออก ค. ใหวัดขนาดของชวงขาอุปกรณกอน แลวใชคีมปากจิ้งจกดัดขาอุปกรณใหพอดีชวงขา ง. ควรใสอุปกรณที่มีขนาดสูงลงไปกอน 27. การใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพ จะตองปฏิบัติอยางไร ก. ควรใสอุปกรณที่มีขนาดเตี้ยลงไปกอน ข. หามขูดขาอุปกรณ เพราะจะทําใหบัดกรีไมติด ค. เมื่อใสอุปกรณบนเรียบรอยแลวกอนบัดกรีใหตัดขาอุปกรณใหหมด ง. เมื่อใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพเรียบรอยแลวใหบิดขาอุปกรณใหเปนเกลียวเพื่อยึดขาอุปกรณติด อยูบนแผนวงจรพิมพ 28. ขอใดเปนวิธีการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกตอง ก. การติดตั้งตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโตรไลตไมตองระวังการตอขั้วผิด ข. การประกอบตัวตานทานแบบฟลมโลหะตองกําหนดทิศทางใหถูกตอง ค. การบัดกรีอุปกรณลงแผนวงจรควรบัดกรีตัวสูงลงกอน ง. การใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพใหตัวอุปกรณอยูดานที่เปนฉนวน 29. ขอใดเปนวิธีการที่ผิดในการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส ก. ใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพเรียบรอยแลวใหตัดขาอุปกรณกอนทําการบัดกรี ข. ใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพแลวแลวงอขาเพื่อใหอุปกรณยึดอยูบนแผนวงจรพิมพ ค. ใชมีดขูดเบา ๆ ที่ขาอุปกรณ กอนใสอุปกรณลงบนแผนวงจรพิมพ ง. ใหวัดขนาดของชวงขาอุปกรณกอน แลวใชคีมปากจิ้งจกดัดขาอุปกรณใหพอดีชวงขา และใสอุปกรณ ลงไปในตําแหนงที่วัด


245 30. ขอใดเปนวิธีการบัดกรีอุปกรณเขากับแผนวงจรพิมพที่ถูกตอง ก. ใหความรอนกับขาอุปกรณตรงสวนที่จะบัดกรี แลวจายตะกั่วบัดกรีตรงบริเวณชิ้นงานเมื่อตะกั่ว ละลายไดที่ คอยถอนตะกั่วบัดกรีและหัวแรงออกจากชิ้นงาน ข. ใหความรอนกับแผนวงจรพิมพและขาอุปกรณตรงสวนที่จะบัดกรีพรอม ๆ กัน จายตะกั่วบัดกรีตรง บริเวณชิ้นงานเมื่อตะกั่วละลายไดที่ คอยถอนตะกั่วบัดกรีและหัวแรงออกจากชิ้นงาน ค. ใหความรอนกับขาอุปกรณตรงสวนที่จะบัดกรี นําหัวแรงไปจี้ตะกั่วใหติดปลายหัวแรงพอประมาณ แลวนํามาใสที่ขาอุปกรณที่ใหความรอนไวแลว ง. ใหความรอนกับแผนวงจรพิมพและขาอุปกรณตรงสวนที่จะบัดกรีพรอม ๆ กัน นําหัวแรงไปจี้ตะกั่ว ใหติดปลายหัวแรงพอประมาณ แลวนํามาใสที่ขาอุปกรณที่ใหความรอนไวแลว เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. ข 6. ข 11. ก 16. ก 21. ง 26. ง

2. ข 7. ค 12. ค 17. ก 22. ค 27. ก

3. ก 8. ก 13. ก 18. ข 23. ค 28. ง

4. ง 9. ก 14. ข 19. ค 24. ค 29. ก

5. ก 10. ค 15. ค 20. ข 25. ง 30. ข


246

ใบงานที่ 1 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรง (ฝกปฏิบัติตาม CAA Model ในขั้นปฏิบัติ ในสวนขั้นตอนยอย ใหนักเรียนเลียนแบบการกระทํา) จุดประสงค 1. เพื่อฝกการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสดวยแผนวงจรพิมพที่สรางดวยตนเอง 2. เพื่อใหสามารถประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสได 3. เพื่อสรางความภูมิใจและความสนใจในงานอิเล็กทรอนิกส กิจกรรม 1. ใหนักเรียนฝกประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยใชแผนวงจรพิมพที่ทําขึ้นเอง โดยใหนักเรียนฝก ปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตตามขั้นตอนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ ปฏิบัติ (CAA Model) ในขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ในสวนขั้นตอนยอย การสาธิตทักษะยอย และให นักเรียนปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา ซึ่งในบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต จะสาธิตและอธิบายขั้นตอนการทํางานผานสตรีมมิ่งวีดิโอ (Streaming Video) และนักเรียนจะปฏิบัติตามกับวัสดุและอุปกรณจริง 2. จัดหาอุปกรณที่ใชรวมกันดังนี้คือ เลื่อยฉลุ, กระดาษทราย, น้ํายากัดแผนวงจรพิมพ, น้ํายาเคลือบ แผนวงจรพิมพ, ยางสน,ทินเนอร, สก็อตไบต,ผงซักฟอก, คอน และตะปู, สวานเจาะแผนวงจรพิมพ และดอก สวาน เพื่อใหนักเรียนผลัดกันใช อุปกรณ 1. หัวแรงบัดกรี 2. ตะกั่วบัดกรี 3. แผนวงจรพิมพเปลา 4. กระดาษลอกลาย 5. กระดาษหรือแผนรองบัดกรี 6. ปากกาเคมี 7. มีดคัตเตอร ขั้นตอนการทํางาน จากรูปเปนวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่

1 1 1 1 1 1 1

ตัว มวน แผน แผน แผน ดาม ดาม


247 15

AC

D3 1N4001

D1 1N4001

D2 1N4001

D4 1N4001 C1

IS

R1

220 V 0

390 + 470/25

IZ ZD1 1N4742 12V

รูปที่ 1 วงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ อุปกรณในวงจรมีดังนี้ 1. หมอแปลงไฟฟาขนาด 50 mA 15-0-15V 2. D1-D4 เปนไดโอด เบอร 1N4001 3. C1 ตัวเก็บประจุ อิเล็กทรอไลต ขนาด 470 µF/25V 4. R1 ตัวตานทาน ขนาด 390 Ω 5. ZD1 ซีเนอรไดโอด เบอร 1N4742 6. คอนเนกเตอร 2 ชอง

1 4 1 1 1 2

ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว

คุณสมบัติของวงจร เปนแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต สามารถจายกระแสใหโหลด (IL) ไดไมเกิน 20 mA การทํางานของวงจร หมอแปลงจะทําหนาที่แปลงแรงดันไฟฟาจาก 220 V เปน 15-0-15V ไดโอด D1-D4 เปนวงจรเร็กติไฟ เออรเต็มคลื่นแบบบริดจ ทําหนาที่แปลงแรงดันไฟสลับใหเปนไฟตรง ตัวเก็บประจุC1 เปนวงจรฟลเตอร ทํา หนาที่ทําไฟตรงที่ไดจากวงจรเร็กติไฟเออรเต็มคลื่นแบบบริดจใหเรียบมากขึ้น ตัวตานทาน R1 ทําหนาที่ปองกัน กระแสไหลผานซีเนอรไดโอดเกินคาพิกัด และซีเนอรไดโอด ZD1 เปนวงจรเร็กกูเลเตอร ทําหนาที่รักษาระดับ แรงดันไฟฟาใหคงที่ไวที่ 12 V

รูปที่ 2 Schematic Circuit ของวงจร


248

รูปที่ 3 การวางอุปกรณบนแผนวงจรพิมพ

รูปที่ 4 ลายวงจรที่ออกแบบ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดแผนวงจรพิมพขนาด กวาง 6 ซ.ม. ยาว 8 ซ.ม. ดวยเลื่อยฉลุ หรือดวยมีดคัตเตอร แลวขัด ขอบดวยกระดาษทรายละเอียดเพื่อใหขอบเรียบ 2. ทําความสะอาดแผนวงจรพิมพดานที่เปนผิวทองแดง เพื่อลางคราบไข หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ ดวย ผงซักฟอกและสกอตไบต แลวเช็ดใหแหง หามใชมือสัมผัสผิวทองแดงหลังจากทําความสะอาดเสร็จ


249 3. คั ด ลอกลายลงบนแผ น วงจรพิ ม พ โดยวางแผ น วงจรพิ ม พ ใ ห ด า นที่ เ ป น ทองแดงอยู ด า นบน จากนั้นใชกระดาษลอกลายวางทับบนผิวทองแดงแลวนํากระดาษลายวงจรที่ออกแบบไวแลวมาวางทับลงไป แลว ใชสก็อตเทปปดที่ดานขางทั้ง 4 ดาน ทําการลอกลายโดยใชดินสอหรือปากกาปลายแหลมเขียนทับลงไปบน กระดาษตนแบบ เพื่อใหลายที่เขียนทับไปติดกับผิวทองแดงของแผน PCB เพื่อเปนแนวในการลงหมึกตอไป 4. ใชตะปูตอกในจุดที่ตองการเจาะรู 5. แกะสก็อตเทปปดที่ดานขางทั้ง 4 ดานออก นํากระดาษคารบอน และกระดาษตนแบบลายวงจร ออก แลวใชสีหรือปากกาเคมีเขียนตามแนวลายวงจรที่ลอกแบบไว โดยพยายามเทียบจากตนแบบไปดวยเพื่อ ปองกันความผิดพลาดจากนั้นรอใหหมึกแหงสนิทกอนนําไปกัดลายวงจร 6. เตรียมสารละลายที่จะใชกัดลายวงจร โดยใชกรดกัดแผนวงจรพิมพ(กรดกัดปรินซ)ละลายกับน้ําใน ปริมาณที่เหมาะสม (อัตราสวนที่นิยมใชกันคือ กรด ½ กิโลกรัม กับน้ํา 1 ลิตร) ใชไมหรือแทงพลาสติกกวน สวนผสมใหเขากัน 7. นําแผนวงจรพิมพที่วาดแบบลายวงจรเสร็จแลวมากัด โดยแชลงในกรดที่เตรียมไว ในทางปฏิบัติ จะวางดานที่เปนทองแดงไวดานบน และพยายามเขยาภาชนะที่ใสกรดไปมา ไมควรแชทิ้งไวเฉย ๆ ที่ทําดังนี้ เพื่อใหทองแดงที่ถูกกัดแลวหลนลงไปดานลางภาชนะไมหลนบนผิวทองแดงดานบน ซึ่งจะชวยใหกัดเสร็จเร็วขึ้น ในกรณีตองการแชทิ้งไว ควรวางแผนวงจรพิมพในลักษณะแนวดิ่ง หรือตะแคงเล็กนอย ไมควรวางนอน แตตอง ใชสวนผสมที่เขมขนมากกวาเดิม เวลาที่ใชในการกัดปกติจะอยูประมาณ 10-20 นาที ในขณะทําถาเปนไปไดควร สวมถุงมือยาง เพื่อไมใหกรดกัดถูกผิวหนัง 8. เมื่ อ กั ด เสร็ จ เรี ย บร อ ย ก็ ดํ า เนิ น การล า งสี อ อกด ว ยทิ น เนอร จากนั้ น ก็ ทํ า ความสะอาดด า น ลายทองแดงดวยผงซักฟอกและสกอตไบต แลวเช็ดใหแหง 9. จากนั้นนํามาเคลือบลายทองแดง ดวยน้ํายาเคลือบที่มีขาย หรือ อาจจะทําขึ้นเองโดยใชยางสน ผสมกับทินเนอรก็ได เพื่อเคลือบผิวทองแดงใหสะอาด และไมหมองไว 10. เจาะรูตามขนาดขาของอุปกรณ โดยใชสวาน ก็จะไดแผนวงจรพิมพตามตองการ 11. เสียบอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ตองการบัดกรีลงบนแผนวงจรพิมพ ตามตําแหนงดังรูป โดยมี วิธีการประกอบวงจร ดังนี้ 11.1 ขาอุปกรณ ใชกระดาษทรายละเอียด ๆ ถูเบา ๆ เอาฝุนและไขออก หรือถาตองการความ สะดวกก็อาจใชมีดขูดเบา ๆ ที่ขาอุปกรณแตอยาขูดแรงจนชั้นเคลือบดีบุกออกหมด จะทําใหเชื่อมติดยาก 11.2 โดยลงมือประกอบวงจรโดยใสอุปกรณที่มีขนาดเตี้ยลงไปกอน ในที่นี้จะใสอุปกรณ เรียงลําดับตามนี้ คือ ไดโอด ตัวตานทาน ซีเนอรไดโอด และตัวเก็บประจุ หลังจากนั้นจึงทําการใสตัวคอนเน็ก เตอร 11.3 ในการประกอบวงจร ใหวัดขนาดของชวงขาอุปกรณกอน แลวใชคีมจับปากยาว (คีมปาก จิ้ ง จก) ดั ด ขาอุ ป กรณ ใ ห พ อดี ช ว งขา ใส อุ ป กรณ ล งไปในตํ า แหน ง ที่ วั ด แล ว งอขาเพื่ อ ให อุ ป กรณ ยึ ด อยู บ น แผนวงจรพิมพได 12. ทําความสะอาดปลายหัวแรงดวยผานุม หรือฟองน้ําทนไฟ และในกรณีใชหัวแรงครั้งแรกควร เสียบหัวแรงทิ้งไวใหรอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง เพื่อใหการใชงานตอ ๆ ไป ตะกั่วจะไดติดปลายหัว แรง 13. นําหัวแรงที่ทําความสะอาดเรียบรอยและรอนไดที่แลว มาสัมผัสขาอุปกรณและลายวงจรพิมพที่ ตําแหนงจะบัดกรี ประมาณ 3-5 วินาที


250 14. นําตะกั่วบัดกรีมาสัมผัสขาอุปกรณและลายวงจรพิมพตําแหนงที่หัวแรงสัมผัสอยู จนตะกั่วหลอม ละลายเกาะติดขาอุปกรณและลายวงจรพิมพขนาดพอเหมาะ ใหรีบนําตะกั่วบัดกรีและหัวแรงขึ้นทันที 15. ใชคีมตัดขาอุปกรณสวนเกินที่เหลือออกใหหมด เพื่อไมใหเกะกะหรือลมไปแตะกับวงจรตําแหนง อื่น อาจทําใหวงจรเสียหายเมื่อนําไปใชงาน 16. ตรวจสอบจุดบัดกรีทุกตําแหนงที่ทําการบัดกรี จุดบัดกรีที่ดีตะกั่วบัดกรีตองเปนปุมกลมสวยงาม ผิวนอกเรียบ มันวาว ตะกั่วบัดกรีจะตองเกาะติดกับลายวงจรพิมพและขาอุปกรณอยางแนนสนิท 17. กรณีตองการถอนจุดบัดกรี ทําไดโดยใชหัวแรงรอนสัมผัสไปที่จุดบัดกรีที่จะถอน จนตะกั่วหลอม ละลาย ใชเครื่องดูดตะกั่ว (Solder Sucker) ดูดตะกั่วออก 18. หลังจากประกอบวงจรเรียบรอยแลว ใหนําเอาชุดหมอแปลงมาตอสายเขากับตัวคอนเน็กเตอร ทางดานอินพุต 19. ตรวจสอบการประกอบโดยละเอียดอีกครั้ง จากนั้นลองตอทดสอบใชงานจริง ขอควรระวังในการทํางาน 1. การระบายตองระบายใหทึบ ไมเชนนั้น ลายทองแดงที่กัดอาจไมสมบูรณ 2. หลังจากกัดเสร็จแลว ควรตรวจสอบลายทองแดงอีกครั้ง ระวังอยาใหมีเสนทองแดงที่ไมตองการ มิฉะนั้นวงจรอาจเสียหายได 3. การเจาะรูตองเลือกขนาดดอกสวานตามขนาดขาของอุปกรณ 4. การลงอุปกรณที่มีขั้วหรือหลายขา ตองระวังอยาใหพลาด มิฉะนั้นอุปกรณหรือวงจรอาจเสียหาย ได 5. ก อ นทดลองวงจรควรให อ าจารย ผู ส อนตรวจสอบให แ น ใ จอี ก ครั้ ง และควรกระทํ า ด ว ยความ ระมัดระวัง ขั้นตอนการทดสอบวงจร 1. การทดสอบใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง โดยใชมัลติมิเตอรวัดเอาทพุตของวงจรที่ คอนเน็กเตอรทางดานเอาทพุต จะวัดแรงดันได 12 โวลต 2. การทดสอบใชออสซิลโลสโคปวัดรูปรางของแรงดันไฟฟากระแสตรง โดยใชออสซิลโลสโคปวัด เอาทพุตของวงจรที่คอนเน็กเตอรทางดานเอาทพุต จะเห็นรูปรางสัญญาณเปนเสนตรงและมีขนาดแรงดัน 12 โวลต


251

แบบวัดทักษะปฏิบัติ การปฏิบัติงานตามใบงานที่ 1 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรง (ฝกปฏิบัติตาม CAA Model ในขั้นปฏิบัติ ในสวนขั้นตอนยอย ใหนักเรียนเลียนแบบการกระทํา)

ชื่อ-สกุล……………………...................ชาง...............................ชั้น..................เลขที่..................... คําชี้แจง 1. แบบวัดนี้ใชสําหรับผูสอนที่เปนผูตรวจใหคะแนนชิ้นงานของผูเรียนหลังจากปฏิบัติงานเสร็จแลว 2. กรุณาใหคะแนนโดยใชเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด และใหคะแนนในชองคะแนนที่ได

การใหคะแนนปฏิบัติ การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรง รายการที่ตองประเมิน ความเรียบรอยของจุดบัดกรีและการใชตะกั่วเหมาะสม ความสมบูรณและความสวยงามของลายวงจร ความถูกตองในการลงอุปกรณ ความเรียบรอยในการติดตั้งอุปกรณ ไมเบิกอุปกรณ ขณะประกอบวงจร ความถูกตองของแรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรง รวมคะแนนที่ได

คะแนน

คะแนนที่ได

2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0

12

เกณฑการใหคะแนน จุดใหคะแนน

คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

ความเรียบรอยของจุดบัดกรีและการ ใชตะกั่วเหมาะสม

2 1 0

จุดบัดกรีเรียบรอย และการใชตะกั่วเหมาะสม ตะกั่วเปนกอนโตเกินไป หรือตะกั่วไมเต็ม จํานวน 1 - 3 จุด ตะกั่วเปนกอนโตเกินไป หรือตะกั่วไมเต็ม จํานวนมากกวา 3 จุด


252 เกณฑการใหคะแนน (ตอ) จุดใหคะแนน

คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

ความสมบูรณและความสวยงามของ ลายวงจร

2 1

ลายวงจรสมบูรณและสวยงาม ลายวงจรสวยงามแตมีรอยขาดของลายวงจร 1 จุด หรือลายวงจร มีความสมบูรณ แตไมสวยงาม มีลายวงจรขาดมากกวา 1 จุด การลงอุปกรณถูกตองทุกตัว การลงอุปกรณผิด 1 ตัว การลงอุปกรณผิดมากกวา 1 ตัว การติดตั้ งอุ ปกรณเ รียบรอยและยึดติดกับแผนวงจรพิ มพอ ยา ง แนบชิด การติดตั้งอุปกรณเอียงหรือยึดติดกับแผนวงจรพิมพอยางไมแนบ ชิด จํานวน 1-3 ตัว การติดตั้งอุปกรณเอียงหรือยึดติดกับแผนวงจรพิมพอยางไมแนบ ชิด จํานวนมากกวา 3 ตัว ไมมีการเบิกอุปกรณเลย

ความถูกตองในการลงอุปกรณ

ความเรียบรอยในการติดตั้งอุปกรณ

0 2 1 0 2 1 0

ไมเบิกอุปกรณ ขณะประกอบวงจร

ความถูกตองของแรงเคลื่อนไฟฟา กระแสตรง

2 1 0 2 1 0

มีการเบิกอุปกรณ 1 ตัว มีการเบิกอุปกรณมากกวา 1 ตัว แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 12 โวลต ± 1 โวลต แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตไมไดอยูในชวง 12 โวลต ± 1 โวลต ประกอบวงจรเสร็ จ แต วงจรไม ทํางาน (แรงเคลื่อนไฟฟ า กระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 0 โวลต)

ลงชื่ อ ......................................................ผู ป ระเมิ น (…………………………………………)


253

แบบวัดทักษะปฏิบัติ การประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ คําชี้แจง 1. แบบวัดนี้ใชสําหรับผูสอนที่เปนผูตรวจใหคะแนนชิ้นงานของผูเรียนหลังจากปฏิบัติงานเสร็จแลว 2. กรุณาใหคะแนนโดยใชเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด และใหคะแนนในชองคะแนนที่ได

โจทย จงประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ ดังรูป

รูปที่ 1 แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ การใหคะแนนปฏิบัติ รายการที่ตองประเมิน

คะแนน 2 1 0 2 1 0 2 1 0

ความรวดเร็ว ความถูกตอง ความคลองแคลว รวมคะแนนที่ได

6

คะแนนที่ได


254 เกณฑการใหคะแนน จุดใหคะแนน ความรวดเร็ว

ความถูกตอง

คะแนน

เกณฑการใหคะแนน

2 1 0 2

ใชเวลาไมเกินกําหนด ใชเวลาเกินกําหนดไป 10 นาที ใชเวลาเกินกําหนดไปมากกวา 10 นาที แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 12 โวลต ± 1 โวลต แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตไมไดอยูในชวง 12 โวลต ± 1 โวลต แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 0 โวลต ปฏิบัติงานดวยความคลองแคลวมาก ปฏิบัติงานดวยความคลองแคลวปานกลาง ปฏิบัติงานดวยความคลองแคลวนอย

1

ความคลองแคลว

0 2 1 0

เริ่มเวลา..................................น. เสร็จเวลา....................................น. ใชเวลา.........................นาที

ลงชื่ อ ......................................................ผู ป ระเมิ น (…………………………………………)


255

แบบวัดทักษะปฏิบัติ การประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต ชื่อ-สกุล……………………...................ชาง...............................ชั้น..................เลขที่..................... คําชี้แจง 1. แบบวัดนี้ใชสําหรับผูสอนที่เปนผูสังเกตเทานั้น โดยทําการสังเกตการปฏิบัติของ ผูเรียนในขณะทดสอบปฏิบัติงาน 2. กรุณาใสเครื่องหมาย 9 ลงในชองการปฏิบัติที่ตรงกับการสังเกตของทาน โดยใช เกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด และใหคะแนนในชองคะแนนที่ได การใหคะแนนปฏิบัติ การประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต หัวขอขั้นตอนในการปฏิบัติงาน การทําแผนวงจรพิมพ 1. มีการขีดเสนตามขนาดตนแบบบนแผนวงจรพิมพเปลา 2. ตัดแผนวงจรพิมพเปลา ตามขนาดดวยเลื่อยฉลุ หรือมีดคัตเตอร 3. มีการขัดขอบแผนวงจรพิมพทั้ง 4 ดาน ดวยกระดาษทรายละเอียด 4. มีการทําความสะอาดแผนวงจรพิมพดานที่เปนผิวทองแดง ดวยผงซักฟอกและสกอต ไบต 5. มีการเช็ดแผนวงจรพิมพใหแหง ดวยผาสะอาด 6. ทําการลอกลายลงบนแผนวงจรพิมพ โดยวางแผนวงจรพิมพใหดานที่เปนทองแดงอยู ดานบน จากนั้น ใชกระดาษลอกลายวางทับบนผิวทองแดงแลวนํากระดาษลายวงจรที่ ออกแบบไวแลวมาวางทับลงไป 7. ใชสก็อตเทปปดที่ดานขางทั้ง 4 ดาน 8. ทําการลอกลายโดยใชดินสอหรือปากกาปลายแหลมเขียนทับลงไปบนกระดาษตนแบบ 9. ใชตะปูตอกในจุดที่ตองการเจาะรูครบทุกจุดและตรงตําแหนง 10. แกะสก็อตเทปปดที่ดานขางทั้ง 4 ดานออก นํากระดาษคารบอน และกระดาษตนแบบ ลายวงจรออก 11. ใชปากกาเคมีเขียนตามแนวลายวงจรที่ลอกแบบไว 12. เตรียมสารละลายที่จะใชกัดลายวงจร โดยใชกรดกัดแผนวงจรพิมพ(กรดกัดปรินซ) ละลายกับน้ําในปริมาณที่เหมาะสม (อัตราสวน คือ กรด ½ กิโลกรัม กับน้ํา 1 ลิตร) 13. มีการใชไมหรือแทงพลาสติกกวนสวนผสมใหเขากัน

การปฏิบัติงาน ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ


256 หัวขอขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 14. นําแผนวงจรพิม พที่วาดแบบลายวงจรเสร็จแลวมากัด โดยแชลงในกรดที่เตรียมไว แลววางดานที่เปนทองแดงไวดานบน 15. มีการเขยาภาชนะใสกรดไปมา ประมาณ 10-20 นาที 16. เมื่อกัดเสร็จเรียบรอย มีการลางสีบนลายทองแดงออกดวยทินเนอร 17. ทําความสะอาดดานลายทองแดงดวยผงซักฟอกและสกอตไบต 18. มีการเช็ดแผนวงจรพิมพใหแหง 19. ทําการเคลือบลายทองแดง ดวยน้ํายาเคลือบแผนวงจรพิมพ หรือยางสนผสมกับทิน เนอร 20. เจาะรูตามขนาดขาของอุปกรณ โดยใชสวานและดอกสวานขนาด 1 มิลลิเมตร การประกอบวงจร 21. กอนประกอบวงจร มีการใชกระดาษทรายละเอียดถูเบา ๆ ที่ขาอุปกรณหรือใชมีดขูด เบา ๆ ที่ขาอุปกรณ 22. มีการวัดขนาดของชวงขาอุปกรณกอนเสียบลงบนแผนวงจรพิมพ 23. มีการใชคีมจับปากยาว (คีมปากจิ้งจก) ดัดขาอุปกรณใหพอดีชวงขา 24. ใสอุปกรณลงไปในตําแหนงที่วัด มีการงอขาเพื่อใหอุปกรณยึดอยูบนแผนวงจรพิมพได 25. ทําการประกอบวงจรโดยใสอุปกรณที่มีขนาดเตี้ยลงไปกอน การบัดกรี 26. กอนบัดกรี มีการทําความสะอาดปลายหัวแรงดวยฟองน้ําทนไฟหรือผาที่ไมมีสวนผสม ของพลาสติก 27. มีการใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรง เพื่อตะกั่วจะไดติดปลายหัวแรง 28. นําหัวแรงที่ทําความสะอาดเรียบรอยและรอนไดที่แลว มาสัมผัสขาอุปกรณและลาย วงจรพิมพที่ตําแหนงจะบัดกรี ประมาณ 3-5 วินาที 29. นําตะกั่วบัดกรีมาสัมผัสขาอุปกรณและลายวงจรพิมพตําแหนงที่หัวแรงสัมผัสอยู จน ตะกั่วหลอมละลายเกาะติดขาอุปกรณและลายวงจรพิมพ แลวรีบนําตะกั่วบัดกรีและหัวแรง ขึ้นทันที 30. ใชคีมตัดขาอุปกรณสวนเกินที่เหลือออกหมด 31. กรณีถอนจุดบัดกรี ทําไดโดยใชหัวแรงรอนสัมผัสไปที่จุดบัดกรีที่จะถอน จนตะกั่ว หลอมละลาย ใชเครื่องดูดตะกั่ว ดูดตะกั่วออก (หากไมมีการถอนบัดกรี ใหถือวาปฏิบัติ) รวมขอที่ไดมีการปฏิบัติ/ไมมีการปฏิบัติ

การปฏิบัติงาน ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ


257 คะแนนการปฏิบัติ

คะแนนที่ได

คะแนนขั้นตอนการปฏิบัติงาน คะแนนความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน คะแนนการทําความสะอาด การใช การจัดเก็บ การบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ คะแนนเวลาในการปฏิบัติงาน คะแนนดานคุณภาพของวงจร คะแนนดานคุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร

เริ่มเวลา..................................น. เสร็จเวลา....................................น. ใชเวลา.........................นาที

ลงชื่อ......................................................ผูสังเกต (…………………………………………)


258 เกณฑการใหคะแนนขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่องที่ปฏิบัติ การประกอบวงจร แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ 12 โวลต

เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติงานเปนขั้นตอนตั้งแต 25-31 ขั้นตอน ปฏิบัติงานเปนขั้นตอนตั้งแต 18-24 ขั้นตอน ปฏิบัติงานเปนขั้นตอนนอยกวา 17 ขั้นตอน ไมมีการปฏิบัติงาน

คะแนน/คาที่วัดได คะแนน คาที่วัดได 31 10 30 6 29 1 28 0 27 26 25 24 23 22 21 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

คะแนนที่ได


259 เกณฑการใหคะแนนความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน จุดใหคะแนน 1. เครื่องมือไมเกิดความเสียหาย 2. อุปกรณไมเกิดความเสียหาย 3. ผูปฏิบัติไมเกิดอันตราย 4. ผูอื่นไมเกิดอันตราย 5. ปฏิบัติงานดวยความระมัดระวัง รวมคะแนนที่ไดปฏิบัติงาน

ใหไดคะแนน 1 1 1 1 1 5

คะแนนที่ได

หมายเหตุ ขอใดที่ไมมีการปฏิบัติคะแนนจะลดลงตามขอที่ไมมีการปฏิบัติจาก 5 คะแนนจนถึง 0 คะแนน เกณฑการใหคะแนนเวลาในการปฏิบัติงาน จุดใหคะแนน 1. ใชเวลาไมเกินกําหนดใหได 2. ใชเวลาเกินที่กําหนด 5 นาที 3. ใชเวลาเกินที่กําหนด 10 นาที 4. ใชเวลาเกินที่กําหนด 15 นาที 5. ใชเวลาเกินที่กําหนด 20 นาที 6. ใชเวลาเกินที่กําหนด 30 นาที รวมคะแนนเวลาที่ใชปฏิบัติงาน

ใหไดคะแนน 5 4 3 2 1 0 5

คะแนนที่ได

หมายเหตุ เวลาที่ใชเกินกําหนด ไมควรเกิน 30 นาที เกณฑการใหคะแนนการทําความสะอาด การใช การจัดเก็บ การบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ จุดใหคะแนน 1. การปฏิบัติงานใชเครื่องมือไดถูกตองและเหมาะสม 2. หลังปฏิบัติงานทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ 3. หลังปฏิบัติงานเก็บเครื่องมือเขาที่เรียบรอย 4. ใชสารหลอลื่นกับเครื่องมือหรืออุปกรณที่ตองการหลอลื่น 5. หลังปฏิบัติงานทําความสะอาดสถานที่บริเวณการปฏิบัติงาน รวมคะแนนที่ไดปฏิบัติงาน

ใหไดคะแนน 1 1 1 1 1 5

คะแนนที่ได

หมายเหตุ ขอใดที่ไมมีการปฏิบัติคะแนนจะลดลงตามขอที่ไมมีการปฏิบัติจาก 5 คะแนนจนถึง 0 คะแนน


260 เกณฑการใหคะแนนดานคุณภาพของวงจร จุดใหคะแนน แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 12 โวลต ± 1 โวลต แรงเคลื่อนไฟฟากระแสตรงทางดานเอาตพุตไมไดอยูในชวง 12 โวลต ± 1 โวลต ประกอบวงจรเสร็จ แตว งจรไมทํา งาน (แรงเคลื่อ นไฟฟ า กระแสตรงทางดานเอาตพุตเทากับ 0 โวลต) ประกอบวงจรไมเสร็จ รวมคะแนนที่ได

ใหไดคะแนน

คะแนนที่ได

10 6 1 0 10

เกณฑการใหคะแนนดานคุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร จุดใหคะแนน เกณฑการใหคะแนน ความเรี ย บร อ ยของจุ ด บั ด กรี จุดบัดกรีเรียบรอย และการใชตะกั่วเหมาะสม ตะกั่ ว เป น ก อ นโตเกิ น ไป หรื อ ตะกั่ ว ไม เ ต็ ม และการใชตะกั่วเหมาะสม

จํานวน 1 - 3 จุด ตะกั่ ว เป น ก อ นโตเกิ น ไป หรื อ ตะกั่ ว ไม เ ต็ ม จํานวนมากกวา 3 จุด ค ว า ม ส ม บู ร ณ แ ล ะ ค ว า ม ลายวงจรสมบูรณและสวยงาม ลายวงจรสวยงามแตมีรอยขาดของลายวงจร 1 สวยงามของลายวงจร จุด หรือลายวงจรมีความสมบูรณ แตไมสวยงาม มีลายวงจรขาดมากกวา 1 จุด ความถูกตองในการลงอุปกรณ การลงอุปกรณถูกตองทุกตัว การลงอุปกรณผิด 1 ตัว การลงอุปกรณผิดมากกวา 1 ตัว ความเรี ย บร อ ยในการติ ด ตั้ ง การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ เ รี ย บร อ ยและยึ ด ติ ด กั บ แผนวงจรพิมพอยางแนบชิด อุปกรณ ก า ร ติ ด ตั้ ง อุ ป ก ร ณ เ อี ย ง ห รื อ ยึ ด ติ ด กั บ แผนวงจรพิมพอยางไมแนบชิด จํานวน 1-3 ตัว ก า ร ติ ด ตั้ ง อุ ป ก ร ณ เ อี ย ง ห รื อ ยึ ด ติ ด กั บ แผนวงจรพิมพอยางไมแนบชิด จํานวนมากกวา 3 ตัว ไมมีการเปลี่ยนอุปกรณเลย ไมเปลี่ยนอุปกรณ มีการเปลี่ยนอุปกรณ 1 ตัว มีการเปลี่ยนอุปกรณมากกวา 1 ตัว

รวมคะแนนที่ได

ใหไดคะแนน 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1

0 2 1 0

10

คะแนนที่ได


261 ใบประเมินผลของแบบวัดทักษะปฏิบตั ิ การประกอบวงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 12 โวลต ชื่อ-สกุล……………………...................ชาง...............................ชั้น..................เลขที่..................... ลําดับที่

จุดการใหคะแนน/ตรวจ

1

ดานกระบวนการ (Process) 1.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.2 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.3 การใช ทําความสะอาด จัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ 1.4 เวลาในการปฏิบัติงาน คะแนนเต็ม ดานผลงาน (Product) 2.1 คุณภาพของวงจร 2.2 คุณภาพของการบัดกรี ลายวงจร และการประกอบวงจร คะแนนเต็ม รวมคะแนนเต็ม

2

เต็ม

คะแนน คะแนนที่ไดจริง nXo n o ได ตัวคูณ

10 5 5 5 50

3 2 1 1 รวม

50 100

2 3 รวม รวม

10 10

ผูควบคุมการปฏิบัติ 1……………………………………………………… 2………………………………………………………


262

แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอ การเรียนตาม รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา คําชี้แจง โปรดตอบคําถามโดยทําเครื่องหมาย 9 ลงในชองดานขวามือที่ตรงตามความรูสึกที่ แทจริงของตนเอง โดยมีคาระดับความคิดเห็นในแบบประเมินนี้มี 5 ระดับ มีความหมายดังนี้ คาระดับ 5 หมายถึง เห็นดวยอยางยิ่ง คาระดับ 4 หมายถึง เห็นดวย คาระดับ 3 หมายถึง เฉย ๆ คาระดับ 2 หมายถึง ไมเห็นดวย คาระดับ 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คําถาม 1. ดานความนาสนใจ แปลกใหม 1.1 การเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนดวย บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนาสนใจกวา การเรียนแบบเดิมที่ครูสอนโดยตรง 1.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหสนใจเรียนมากขึ้น 1.3 รูสึกชอบความแปลกใหมในการเรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต 2. ดานการเรียนรูดวยตนเอง 2.1 การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนั้นทําใหไดเรียนอยางเต็มที่ 2.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง 2.3 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น 2.4 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหทบทวนบทเรียนไดดวยตนเองตามความตองการ 2.5 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหไมรูสึกวาถูกควบคุม

5

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1


263

คําถาม 3. ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 3.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทําให เรียนจากทุกสถานที่ที่ตออินเทอรเน็ต 3.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทําให ไดเรียนทุกเวลาที่อยากเรียน 4. ดานการติดตอสื่อสาร 4.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหติดตอสื่อสารกับครูผูสอนและเพื่อนดวยกันเอง สะดวกยิ่งขึ้น 4.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี เครื่องมือในการติดตอสื่อสารหลายอยางทําใหมีความรูสึกวามีครู คอยชวยเหลือตลอดเวลา 5. ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 5.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหคนหาขอมูลไดสะดวกยิ่งขึ้น 5.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี แหลงขอมูลใหเรียนมากกวาการเรียนแบบเดิมที่ครูสอนโดยตรง 6. ดานการฝกปฏิบัติ 6.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหเขาใจขั้นตอนการฝกปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 6.2 การเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้นทําใหนักเรียนปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 6.3 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี ความเหมาะสมกับการเรียนฝกปฏิบัติ 7. ดานความชอบ 7.1 ตองการเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตในโอกาสตอไป 7.2 ตองการใหมีการใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตในวิชาอื่น ๆ บาง 7.3 ในภาพรวมชอบเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต

5

ระดับความคิดเห็น 4 3 2

1


264 ขอเสนอแนะอื่นๆ ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................

ผูทําการประเมิน .......................................................


265

ภาคผนวก จ ผลการวิเคราะหและสังเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 1. การวิเคราะหหารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. การวิเคราะหหาขั้นตอนการดําเนินการการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ ปฏิบัติ 3. โครงรางรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา


266 การวิ เ คราะห ห าองค ป ระกอบของรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บน เครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ระบบการเรียนการสอน ที่นํามาวิเคราะหมีทั้งหมด 7 ระบบ มีดังนี้ 1. คิปเลอร (Kibler) 2. เกอรลาชและอีลี (Gerlach and Ely) 3. เนิรคและเยนตรี (Knirk and Gentry) 4. ดิคและคาเรย (Dick and Carey) 5. เคมพ (Kemp) 6. ซีลสและกลาสโกว (Seels and Glasgow) 7. คลอสเมียรและริปเปล (Klausmeier and Ripple) ตาราง 16 องคประกอบของระบบการเรียนการสอน

การกําหนดจุดมุงหมาย การวิเคราะหสภาพแวดลอม การวิเคราะหผูเรียน การวิเคราะหผูสอน การประเมินผลกอนการเรียน การวิเคราะหการสอน การวิเคราะหเนื้อหา การออกแบบเนื้อหา การกําหนดเวลาเรียน การกําหนดสถานที่เรียน การวิเคราะหกิจกรรม การกําหนดวิธีการเรียนหรือกิจกรรมการเรียน การพัฒนาและเลือกทรัพยากรในการเรียนการสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมเสริมทักษะ การประเมินผลการเรียน การประเมินผลการสอน ขอมูลยอนกลับ กลไกควบคุม

9

9

9

9

9 9 9 9

9

9

ซี ล ส แ ล ะ กลาสโกว ค ล อ ส เ มี ย ร และริปเปล

เคมพ

เ ก อ ร ล า ช และอีลี เนิรคและ เยนตรี ดิคและคาเรย

องคประกอบของระบบ

คิปเลอร

ขั้นตอนของระบบการเรียนการสอน

9

9

9 9

9 9 9

9

9 9 9 9 9 9 9

9 9 9

9 9 9

9

9 9 9 9

9 9

9 9 9

9 9 9 9

9 9 9

9 9 9 9

9 9 9

9 9 9

9


267 ผูวิจัยนําองคประกอบของระบบที่มีความสําคัญของแตละระบบการเรียนการสอน โดย พิจารณาจากการเปนองคประกอบที่ใชในแตละระบบการเรียนการสอนเปนสวนใหญมาจัดเปน องคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การวิเคราะห ผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเตรียมความ พรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 2. กระบวนการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต (Process) ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค และกิจกรรมเสริมทักษะ 3. การควบคุม (Control) ไดแก การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 4. ผลผลิต (Output) ไดแก ประเมินผลการเรียนการสอน 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ไดแก ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง การวิเคราะหหาขั้นตอนการดําเนินการการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ ที่นํามาวิเคราะหมีทั้งหมด 15 รูปแบบ มีดังนี้ 1. ซิมพซัน (Simpson) 2. แฮรโรว (Harrow) 3. เดวีส (Davies) 4. ฟททส (Fitts) 5. ดี เชคโค (De Cecco) 6. วูดรัฟฟ (Woodruff) และ จอยสและวีล (Joyce and Weil) 7. สุชาติ ศิริสขุ ไพบูลย 8. บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ 9. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน 10. ชม ภูมิภาค 11. ไพโรจน ตีรณธนากุล 12. พวงเพ็ญ อินทรประวัติ 13. ประสาท อิศรปรีดา 14. พรรณี ช. เจนจิต 15. มาลินี จุฑะรพ


268

1. ขั้นความรู ความเขาใจ (Cognitive 9 Phase)

9 9

2. ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase)

9

9 9

9 9 9

9 9 9

9 9

9 9 9 9

9 9

9

9

9

9

9 9 9 9 9 9 9 9

9

9

9

9

9

9 9 9 9 9 9 9 9

9

9

9

9

9

9 9 9 9 9 9 9 9

9

9 9

9

มาลินี จุฑะรพ

พรรณี ช. เจนจิต

ประสาท อิศรปรีดา

พวงเพ็ญ อินทรประวัติ

ไพโรจน ตีรณธนากุล

ชม ภูมิภาค

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน

บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ

9

9

3. ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ป ฏิบัติทักษะนั้นรวดเร็ว และถู ก ตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทํา ผิ ดจะไม เกิ ด ขึ้ น ทั ก ษะที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น การเพิ่ ม พู น ความ ชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 3.1 ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไก ที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 9 3.2 เพิ่มพูนความเร็ว , ความถูกตอง และความ คลองแคลว

ดี เชคโค (De Cecco) วูดรฟฟ (Woodruff) และ จอยส และวีล (Joyce and Weil) สุชาติ ศิริสุขไพบูลย

9

ขั้นความรูความเขาใจนี้เปนขั้นตอนที่จะบอกถึง ทักษะและความรูทางทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งผูสอน ควรจะใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 1.1 ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝก ทักษะ 1.2 บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ ขั้ น ปฏิ บั ติ นี้ เ ป น การกระทํ า การเพื่ อ ให ไ ด พฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะเกิดขึ้นได เมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไม ถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้นปฏิบัติผูสอนควร จัดใหผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 2.1 วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน - หลัง 2.2 สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดู ทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2.3 สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตาม ไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการ 9 กระทํา 2.4 ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไข จนผูเรียนทําได

ฟททส (Fitts)

เดวีส (Davies)

แฮรโรว (Harrow)

ขั้นตอนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติ

ซิมพซัน (Simpson)

ตาราง 17 ขั้นตอนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติ

9

9

9

9

9


269 ผูวิจัยทําการเลือกขั้นตอนการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติที่สอดคลองกับการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมาจัดเปนขั้นตอนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อ พัฒนาทักษะปฏิบัติของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ดังนี้ 1. ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้ น ความรู ค วามเข า ใจนี้ เ ป น ขั้ น ตอนที่ จ ะบอกถึ ง ทั ก ษะและความรู ท างทฤษฎี ที่ เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรจะใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 1.1 ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 1.2 บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ 2. ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบั ตินี้เ ปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะ เกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้นปฏิบัติ ผูสอนควรจัดใหผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 2.1 วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 2.2 สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2.3 สาธิ ต ทัก ษะยอย และใหผูเ รี ยนปฏิบัติ ตามไปทีล ะสวนอย างชา ๆ ในลัก ษณะ เลียนแบบการกระทํา 2.4 ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะ และแกไขจนผูเรียนทําได 3. ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ปฏิบัติทักษะนั้นรวดเร็วและถูกตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทํา ผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 3.1 ใหผูเรียนฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 3.2 เพิ่มพูนความเร็ว , ความถูกตอง และความคลองแคลว


270 โครงรางรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

ปจจัยนําเขา (Input) กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การวิเคราะหผูเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียน กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอม ทางการเรียน

การควบคุม (Control) การตรวจสอบทักษะ ปฏิบัติระหวางเรียน

กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) กําหนดบทบาทผูสอน การสรางแรงจูงใจในการเรียน การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) y ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) y ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) y ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) กิจกรรมเสริมทักษะ ผลผลิต (Output) ประเมินผลการเรียนการสอน

รูปที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา

ขอมูลปอนกลับ (Feedback) ขอมูลปอนกลับเพื่อ ปรับปรุง


271

ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 1. ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 2. บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ

ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 1. วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 2. สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมด ตั้งแตตนจนจบ 3. สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตามไปทีละ สวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา 4. ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หาก ติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจน ผูเรียนทําได ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 1. ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถ กระทําไดเอง (Mechanism) 2. เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความ คลองแคลว

รูปที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินการการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model)


272 คําบรรยายประกอบรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา มีรายละเอียดดังนี้ เปาหมาย และหลักการของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา เปนการนําแนวคิดและหลักการของการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตมาผสมผสานกับการฝกปฏิบัติทาง เทคนิคตามกระบวนการสอนทักษะปฏิบัติ โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติทางเทคนิค และความคงทน ของทักษะปฏิบัติทางเทคนิค องคประกอบของรูปแบบ รูปแบบการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาในครั้งนี้ ไดพัฒนาขึ้นตามแนวคิดวิธีระบบ (Systematic Approach) โดยรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับ นักเรียนอาชีวศึกษาที่พัฒนาขึ้น มีองคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนจํานวน 12 องคประกอบ คือ 1) กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 2) การวิเคราะหผูเรียน 3) การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4) กําหนด กิจกรรมการเรียนการสอน 5) การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน 6) กําหนดบทบาทผูสอน 7) การสรางแรงจูงใจในการเรียน 8) การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค 9) กิจกรรมเสริมทักษะ 10) การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน 11) ประเมินผลการเรียนการสอน และ 12) ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยสามารถนําแตละองคประกอบนําเสนออยางเปนระบบดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) องคประกอบที่เปนปจจัยนําเขาในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน, การวิเคราะหผูเรียน, การ ออกแบบเนื้อหาบทเรียน, กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน และการเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอม ทางการเรียน โดยแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน การศึกษาทางดานอาชีวศึกษามีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อใหผูเรียนเรียนรูทักษะปฏิบัติเพื่อให สามารถทํางานได นอกจากนั้นยังตองการใหผูเรียนมีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการทํางาน และมีเจต คติที่ดีตอการทํางานดวย ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจะตองจัดใหผูเรียน ไดรับความรู เจตคติ และทักษะ ปฏิบัติในการทํางานไปพรอม ๆ กัน แตจะเนนเปนพิเศษในเรื่องของการฝกทักษะปฏิบัติ สวนที่เปนความรู และ เจตคติจะบรรจุลงไปเพื่อเสริมในเรื่องของการทํางานใหไดผลดีที่สุดและระดับความลึกซึ้งของจุดประสงคการเรียนรู ในแต ล ะด า นจะมี ม ากน อ ยเพี ย งใด ขึ้ น อยู กั บ ระดั บ มาตรฐานรายวิ ช าของวิ ช านั้ น ๆ ระดั บ ความลึ ก ซึ้ ง ของ จุดประสงคการเรียนรูแตละดานเปนดังนี้ 1. ดานความรู (Cognitive) มีจุดประสงคใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทํางาน การนําวิธีการที่เรียนรูไปใช การวิเคราะหงาน การสังเคราะหงานใหมขึ้นมา และความสามารถในการประเมินผล งานไดดวยตนเอง 2. ดานเจตคติ (Affective) มีจุดประสงคใหผูเรียนสามารถรับการเรียนรู มีการตอบสนอง อยางเห็นคุณคา สามารถจัดกลุมคานิยม และกําหนดคุณลักษณะของตัวเองในเรื่องของการทํางานในอาชีพของ ตน


273 3. ด า นทั ก ษะปฏิ บั ติ (Psychomotor) มี จุ ด ประสงค ใ ห ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู เ พื่ อ ความสามารถในการปฏิบัติงานในโรงฝกงาน หรือหองทดลองโดยผูเรียนจะตองสามารถแสดงพฤติกรรมการเรียน ในขั้นตอนตาง ๆ ตั้งแต ความสามารถในการรับรู การเตรียมพรอมในการทํางาน การปฏิบัติตามโดยอาศัยผูแนะ การปฏิบัติงานไดเอง และการปฏิบัติงานดวยความชํานาญ ในการกําหนดเปาหมายในการเรียนการสอนนั้น ผูสอนจะกําหนดเปาหมายหลัก (Goal) วัตถุประสงคยอยในการเรียนการสอน และนําเสนอเนื้อหาบทเรียน และกิจกรรมใหสอดคลองกับวัตถุประสงค เหลานั้น การกําหนดเปาหมายหลักไวและสามารถสอดแทรกเนื้อหาความรูพื้นฐานที่จําเปนหรือเสริมเรื่องหลักนั้น ๆ เพื่อเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถควบคุมและเลือกเรียนเนื้อหาตามที่ตนเองตองการ ซึ่งนอกจากผูเรียน จะไดบรรลุเปาหมายหลักที่ผูสอนตั้งไว ผูเรียนยังไดเรียนรูในสิ่งตาง ๆ เพิ่มเติมดวย การวิเคราะหผูเรียน ในการวิเคราะหผูเรียนในดานทักษะปฏิบัติ ควรจะตองทําการประเมินกันกอนที่จะสอนทักษะ ปฏิบัติใหมใหแกผูเรียน เพื่อสํารวจทักษะปฏิบัติของผูเรียนกอนการเรียนการสอนจะเริ่มขึ้นวา มีเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอผูเรียนควรไดรับทักษะปฏิบัติพื้นฐานที่จําเปนเพิ่มเติมกอน การประเมินทักษะปฏิบัติจะใชการวัด ทักษะปฏิบัติดวยการใหผูเรียนปฏิบัติตามงานที่มอบหมายหรือใชแบบวัดความสามารถในการปฏิบัติงานก็ได ซึ่ง การวิเคราะหผูเรียนมีความสําคัญมาก สําหรับการที่จะกําหนดวัตถุประสงคในการนําเสนอเนื้อหาใหไดเหมาะสม กับกลุมผูเรียน ดังนั้นผูสอนจะตองทราบพื้นฐานของผูเรียนวาเปนอยางไร เพื่อจะนําไปสูการคัดเลือกเนื้อหาที่ ตรงกับความตองการของผูเรียน ตลอดจนสามารถกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับความรู ความสามารถและความสนใจของผูเรียนดวย การออกแบบเนื้อหาบทเรียน การออกแบบเนื้อหาบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต นั้น มีความ แตกตางจากการออกแบบเนื้อหาบทเรียนทั่วไป คือเมื่อมีเนื้อหาบทเรียนแลวจะตองนํามาประยุกตใชกับประโยชน หรือลักษณะเดนของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่สามารถแกไขและเผยแพรไดอยาง รวดเร็ว สามารถเขาถึงไดอยางไมจํากัดทั้งดานเวลาและระยะเวลา ผูสอนจึงตองออกแบบเนื้อหาใหสอดคลองกับ กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติอยางรอบคอบ สรางความยืดหยุนใหกับ ผูเรียนในการเขาสูเนื้อหาตาง ๆ ไดอยางสะดวก เพื่อใหผูเรียนสามารถติดตามบทเรียนไดโดยงาย กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถ กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไดดังนี้ คือ 1. แจงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนในบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 2. กําหนดลักษณะกิจกรรมที่ใชในการเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต จากกิจกรรมตาง ๆ ดังนี้ 2.1 กิจกรรมการสนทนาแบบประสานเวลา (Synchronous) ดวยการสนทนาสด (Chat) 2.2 กิจกรรมการสนทนาแบบตางเวลา (Asynchronous) ดวยอีเมล (E-mail) 2.3 กิจกรรมอภิปรายหรือรวมแสดงความคิดเห็น ดวยกระดานสนทนา (Webboard) 2.4 การสืบคนและศึกษาเนื้อหาจากแหลงทรัพยากรอื่น ๆ เพิ่มเติม ที่ผูสอนเตรียมไว ใหทั้งในรูปแบบ URL ที่เกี่ยวของ, เอกสารอางอิงตาง ๆ และโปรแกรมที่เกี่ยวกับการฝกปฏิบัติทางเทคนิค


274 2.5 กิจกรรมแบบฝกหัดบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อทบทวนความรูและความเขาใจ กับบทเรียน 2.6 การจําลองสถานการณการฝกปฏิบัติบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อฝกและทบทวน ทักษะปฏิบัติกับบทเรียน การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการเรียน ในการจัด สภาพแวดลอ มทางการเรีย นโดยใชบทเรียนฝก ปฏิบัติท างเทคนิ ค บนเครือขา ย อินเทอรเน็ต ควรประกอบดวย 1. ฮารดแวร (Hardware) และซอฟตแวร (Software) ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถ เชื่อมตออินเทอรเน็ต และมีโปรแกรมประเภทบราวเซอร เชน Internet Explorer เปนตน 2. บุคลากรดานคอมพิวเตอร (Peopleware) ไดแก อาจารย นักเรียน และผูที่ควบคุมดูแล ระบบเครือขาย 3. การจัดเวลาในการเรียน (Timing) เปนการจัดตารางเวลาในการเรียนผานเครือขาย อินเทอรเน็ต มีการนัดหมายเวลากันแลวก็สามารถพูดคุย โตตอบกันไดแบบทันทีทันใดทั้งระหวางอาจารยกับ นักเรียน และนักเรียนกับนักเรียนดวยกัน 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) องคประกอบที่เปนกระบวนการในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก กําหนดบทบาทผูสอน, การสรางแรงจูงใจในการเรียน, การ ดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค และกิจกรรมเสริมทักษะ โดยแตละองคประกอบมีรายละเอียดดังนี้ กําหนดบทบาทผูสอน การกําหนดบทบาทผูสอนในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนั้น ผูสอนตองออกแบบใหเปนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ผูสอนจะตองกระตุนให เกิดกิจกรรมการเรียน ฝกฝนใหผูเรียนรูวิธีเรียน มีเหตุผล สามารถวิเคราะหและแสวงหาคําตอบไดดวยตนเอง ทั้งยังตอ งเปน เสมือนที่ป รึ ก ษา คอยใหคํา ปรึก ษาส งเสริม ใหผูเรีย นสรางทั ก ษะในการเรีย นรูดว ยตนเองและ ตรวจสอบตนเองได รวมทั้งผูสอนตองคอยดูแล แนะนําและปรับแกทักษะปฏิบัติของนักเรียน นอกจากนี้ผูสอน จําเปนตองทําการประเมินทักษะปฏิบัติของผูเรียนทางดานกระบวนการ (Process) และดานผลงาน (Product) โดย ผานทางเครือขายอินเทอรเน็ตหรือโดยวิธีการปกติ การสรางแรงจูงใจในการเรียน การสรางแรงจูงใจในการเรียนใหเกิดขึ้นสามารถทําไดโดยการออกแบบและใชเทคนิคตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาถึงเนื้อหาไดอยางรวดเร็ว มีลักษณะที่ทาทายตอความอยากรูอยากเห็นของผูเรียนและ งายตอการติดตามทั้งในแงของเนื้อหาและองคประกอบของบทเรียน รวมทั้งการที่ผูเรียนสามารถโตตอบกับ คอมพิวเตอร ผูสอน หรือผูเรียนคนอื่น ๆ ก็เปนสิ่งที่ชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนใหเกิดขึ้นได ซึ่งผูสอนควร ออกแบบบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต รวมถึงใชกิจกรรมตาง ๆ กระตุนใหผูเรียนมี ปฏิ สั ม พั น ธ ก ลุ ม อย า งทั่ ว ถึ ง ซึ่ ง จะทํ า ให ก ารเรี ย นการสอนด ว ยบทเรี ย นฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ตเปนไปอยางมีคุณภาพ มีชีวิตชีวา และเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดในที่สุด การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค การดําเนินการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต มี ขั้นตอนดังนี้


275 1. การเขาสูบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1 ผูเรียนเขาสูเครือขายอินเทอรเน็ต 1.2 เขาสูเว็บไซตรายวิชา 1.3 ลงทะเบียนรายวิชา 1.4 ใสรหัสผานเขาสูบทเรียน 1.5 อานคําแนะนําและคําชี้แจงในการเรียน 1.6 ทําแบบทดสอบวัดทักษะปฏิบัติเบื้องตนของผูเรียน 2. กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติทางเทคนิค ขั้น ตอนการเรี ย นการสอนเพื่อพั ฒ นาทั ก ษะปฏิบัติ ท างเทคนิค ที่ พัฒ นาขึ้น เรี ย กว า โมเดลซีเอเอ (CAA Model) ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase), 2) ขั้น ปฏิบัติ (Associative Phase) และ 3) ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) โดยมีรายละเอียดแตละขั้นตอนดังนี้ 2.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) ขั้ น ความรู ค วามเข า ใจนี้ เ ป น ขั้ น ตอนที่ จ ะบอกถึ ง ทั ก ษะและความรู ท างทฤษฎี ที่ เกี่ยวของ ซึ่งผูสอนควรจะใหขอมูลแกผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 2.1.1 ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 2.1.2 บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ 2.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) ขั้นปฏิบัตินี้เปนการกระทําการเพื่อใหไดพฤติกรรมในรูปแบบที่ถูกตอง ทักษะจะ เกิดขึ้นไดเมื่อลงมือปฏิบัติ ขอผิดพลาดหรือพฤติกรรมที่ไมถูกตองควรไดรับการแกไข ขั้นปฏิบัติผูสอนควรจัดให ผูเรียนในดานตาง ๆ ดังนี้ 2.2.1 วิเคราะหทักษะที่จะฝกเปนทักษะยอย ๆ ตามลําดับกอน–หลัง 2.2.2 สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2.2.3 สาธิ ต ทั ก ษะย อ ย และให ผู เ รี ย นปฏิ บั ติ ต ามไปที ล ะส ว นอย า งช า ๆ ใน ลักษณะเลียนแบบการกระทํา 2.2.4 ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรให คําชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได 2.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) ขั้นชํานาญนี้เปนขั้นที่ปฏิบัติทักษะนั้นรวดเร็วและถูกตอง ตลอดจนโอกาสจะกระทํา ผิดจะไมเกิดขึ้น ทักษะที่เกิดขึ้นเปนการเพิ่มพูนความชํานาญเปนอัตโนมัติมากขึ้น 2.3.1 ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 2.3.2 เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว กิจกรรมเสริมทักษะ ในการเรียนการสอนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สามารถที่จะ จัดกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดมากที่สุด ซึ่งสามารถกําหนดกิจกรรมเสริมทักษะไดโดยการ ใชโปรแกรมการจําลองสถานการณ (Simulation) เกี่ยวกับเรื่องที่จะทําการฝกปฏิบัติและการแนะนําใหผูเรียนศึกษา คนควาดวยตนเองเพื่อใหเกิดการเรียนรูดวยการคนพบ และสนับสนุนใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูได อยางเต็ ม ที่ โดยการโยงไปคน หาขอมูลในแหลงข อมูลตา ง ๆ ที่เกี่ ยวของ เชน หอ งสมุด เสมือน ฐานขอมู ล อิเล็กทรอนิกสและสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส และเว็บไซตที่เกี่ยวของ


276 3. การควบคุม (Control) องคประกอบที่เปนการควบคุมในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขา ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน การตรวจสอบทักษะปฏิบัติของผูเรียนในขณะที่กําลังเรียน (Formative Evaluation) เพื่อที่จะ ไดรูวาผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติตามที่ตองการเพียงใด โดยคอยตรวจสอบขณะปฏิบัติอยูเสมอดวยการถามและ ตรวจชิ้นงานที่ฝก หากพบวายังไมเกิดทักษะปฏิบัติหรือทักษะปฏิบัติยังไมถูกตอง จะตองใหผูเรียนทําการฝกซ้ํา ๆ ในทักษะปฏิบัติเดิมและผูสอนตองคอยตรวจ-ปรับ แกไข จนเกิดทักษะปฏิบัติที่ถูกตอง รวมทั้งคอยชมเชย เสริมกําลังใจ เมื่อผูเรียนทําไดสําเร็จ หากผูเรียนเกิดทักษะปฏิบัติตามที่ตองการแลว ก็ใหไปฝกปฏิบัติในทักษะ ปฏิบัติอื่น ๆ ตอ ไป 4. ผลผลิต (Output) องค ป ระกอบที่ เ ป น ผลผลิ ต ในรู ป แบบการเรี ย นการสอนฝ ก ปฏิ บั ติ ท างเทคนิ ค บนเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก การประเมินผลการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดดังนี้ การประเมินผลการเรียนการสอน การตรวจวัดผลและการประเมินผลความสําเร็จของผูเรียน ในการเรียนทักษะปฏิบัตินั้นอาจ กระทําได 2 ประการ คือ 1. การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน 2. การตรวจสอบคุณภาพผลงานหรือชิ้นงานสําเร็จ การตรวจสอบความสามารถทางทักษะภาคปฏิบัตินั้น อาจกระทําไดดวยการกําหนดงานให ผูเรียนไดปฏิบัติซึ่งบางครั้งอาจเรียกวา Performance Test ซึ่งตองการใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะนั้น แลว ผูสอนก็ทําการตรวจสอบและสังเกตพฤติกรรมในขณะปฏิบัติงาน และตรวจสอบคุณภาพของชิ้นงานสําเร็จที่ ผูเรียนไดกระทําขึ้น 1. การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบั ติ งาน การตรวจสอบความสามารถในการ ปฏิบัติงานนี้รวมถึงความสามารถทางกลามเนื้อ (Motor Skill) และทัศนคติที่ดีตอการทํางาน ซึ่งสามารถกระทําได ในระหวางการปฏิบัติงานของผูเรียน ดวยการสังเกตการทํางาน การสัมภาษณ หรือการอภิปรายกลุมของผูเรียน การตรวจสอบความสามารถในการปฏิบัติงาน อาจทําการวัดหรือตรวจสอบในดานตาง ๆ ดังนี้ - ทักษะทางดานความถูกตอง และความปลอดภัยในการใชเครื่องมือและอุปกรณ ซึ่ง รวมถึงการใชการบํารุงรักษา และการเก็บเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ - ความสามารถในดานการเตรียมงาน และลําดับขั้นตอนการทํางานตั้งแตตนจนกระทั่ง สําเร็จ - ระยะเวลาในการทํางานจนกระทั่งสําเร็จ - นิสัย ทัศนคติ และความขยันในการทํางาน ผลจากการสังเกตและตรวจสอบความสามารถในการทํางานของผูเรียนนั้น นอกจากจะให ผลดี ใ นด า นการเรี ย นของผู เ รี ย นแล ว ยั ง ใช เ ป น ข อ มู ล ในการให ค ะแนนการทํ า งานซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของการ ประเมินผลการเรียนของผูเรียนดวย เพราะการประเมินผลการเรียนดวยการพิจารณาเฉพาะผลงานหรือชิ้นงาน สําเร็จ แตเพียงอยางเดียวยอมไมถูกตองนัก


277 2. การตรวจสอบคุณภาพผลงานหรือชิ้นงานสํา เร็จ การตรวจสอบคุณภาพผลงานของ ผูเรียนนี้ กระทําไดหลังบทเรียนเมื่อผูเรียนปฏิบัติงานเสร็จและนําผลงานนั้นมาสง การตรวจสอบคุณภาพผลงาน นี้ เปนการประเมินคุณภาพของชิ้นงานที่สําเร็จรูปซึ่งวัดในรูปของความละเอียดประณีตของงาน ความถูกตอง และความเที่ยงตรงตอขนาดตามแบบงานทั้งในจุดที่มองเห็นไดและจุดที่มองไมเห็น ซึ่งอาจใชเครื่องมือชวยในการ ตรวจสอบดวย การตรวจสอบคุณภาพผลงานสําเร็จนี้ ควรคํานึงถึงความเที่ยงตรงในการตรวจเสมอ ดวย การตรวจคุณภาพโดยใชเครื่องมือตรวจสอบ เชน พิจารณาที่ขนาด (Objective Valuation) และแมในการตรวจ คุณภาพของผลงานในบางจุด เชน รูปทรงภายนอกของชิ้นงาน ความสวยงามของชิ้นงาน เปนตน อาจตองอาศัย การตรวจโดยใชความนึกคิดของผูตรวจ (Subjective Valuation) ซึ่งผูตรวจตองตรวจดวยใจที่เปนธรรม และอาจ ใชผูตรวจหลายคน ซึ่งตองใชแบบประเมินผลในการตรวจสอบผลงานนั้น 5. ขอมูลปอนกลับ (Feedback) องคประกอบที่เปนขอมูลปอนกลับในรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ไดแก ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง เปนการนําขอมูลจากองคประกอบตาง ๆ มาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษาใหเหมาะสม


278

ภาคผนวก ฉ ผลการวิเคราะหเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 2. ความสอดคลองของจุดประสงคเชิงพฤติกรรม การวิเคราะหงาน ขอปฏิบัติ และเกณฑการใหคะแนน


279 การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ตาราง 18 การกําหนดเนื้อหาและจุดประสงคเชิงพฤติกรรม ขอบขายเนื้อหา หัวขอเนื้อหา 1. การบัดกรี

หัวขอยอย

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

จุดประสงคเชิง พฤติกรรมยอย

ภาคทฤษฎี 1. หลักการเบื้องตน 2. หัวแรงบัดกรี 3. ตะกั่วบัดกรี 4. เทคนิคในการบัดกรี 5. การถอนบัดกรี

1. สามารถบอกความหมาย ของการบัดกรีได 2. สามารถบอกชนิ ด ของหั ว แรงที่ใชในงานบัดกรีได 3. สามารถบอกเทคนิคในการ บัดกรีชิ้นงานได 4. สามารถบอกวิธีในการถอน บัดกรีได 1. เพื่อฝกการบัดกรี ภาคปฏิบัติ 2. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ บั ด ก รี 1. งานบัดกรีตัวอักษร 2. งานบัดกรีรถจักรยาน ชิ้นงานได 3. งานบั ด กรี ข าอุ ป กรณ 3. เพื่อ ฝก ความรอบคอบและ ล ง ใ น แ ผ น ว ง จ ร พิ ม พ ความอดทนในการทํางาน 4. เพื่ อ สร า งความภู มิ ใ จใน อเนกประสงค ผลงานที่ทํา

งานบัดกรีตัวอักษร 1. เพื่ อ ให ส ามารถใช คี ม ตั ด และคีมปากยาวไดอยางถูกตอง 2. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ บั ด ก รี ชิ้นงานไดอยางถูกตอง งานบัดกรีรถจักรยาน 1. เพื่ อ ให ส ามารถใช คี ม ตั ด และคีมปากยาวไดอยางถูกตอง 2. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ บั ด ก รี ชิ้นงานไดอยางถูกตอง งานบั ด กรี ข าอุ ป กรณ ล งใน แผนวงจรพิมพอเนกประสงค 1. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ล งบนแผ น วงจรพิ ม พ อเนกประสงคไดอยางถูกตอง 2. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ บั ด ก รี ชิ้ น ง า น บ น แ ผ น ว ง จ ร พิ ม พ อเนกประสงคไดอยางถูกตอง


280 ตาราง 18 (ตอ) ขอบขายเนื้อหา หัวขอเนื้อหา

หัวขอยอย

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

จุดประสงคเชิง พฤติกรรมยอย

2. การทําแผนวงจร ภาคทฤษฎี พิมพ 1. แผนวงจรพิมพ 2. การทําแผนวงจรพิมพ

1. สามารถแยกประเภทของ แผนวงจรพิมพได 2. สามารถบอกลั ก ษณะของ แผ น วงจรพิ ม พ อ เนกประสงค แบบตาง ๆ ได 3. สามารถบอกลั ก ษณะของ อุ ป ก ร ณ ที่ ใ ช ใ น ก า ร ทํ า แผนวงจรพิมพได 4. สามารถบอกขั้นตอนในการ ทําแผนวงจรพิมพดวยตัวเองได 1. เ พื่ อ ฝ ก ก า ร ส ร า ง ภาคปฏิบัติ 1. การทําแผนวงจรพิมพ แผนวงจรพิมพดวยตัวเอง วงจรแหล ง จ า ยไฟฟ า 2. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ ส ร า ง แผนวงจรพิมพได กระแสตรงชนิดคงที่ 3. เพื่ อ สร า งความภู มิ ใ จใน ผลงานที่ทํา

การทํา แผนวงจรพิมพ วงจร แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ชนิดคงที่ 1. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ ตั ด แผนวงจรพิมพไดอยางถูกตอง 2. เพื่ อ ให ส ามารถทํ า ความ สะอาดแผนวงจรพิมพไดอ ยา ง ถูกตอง 3. เพื่อใหสามารถลอกลายลง บนแผ น วงจรพิ ม พ ไ ด อ ย า ง ถูกตอง 4. เพื่ อ ให ส ามารถเตรี ย ม สารละลายที่ใชกัดลายวงจรบน แผนวงจรพิมพไดอยางถูกตอง 5. เพื่ อ ให ส ามารถกั ด ลาย วงจรพิมพไดอยางถูกตอง 6. เพื่อใหสามารถเคลือบลาย วงจรพิมพไดอยางถูกตอง 7. เพื่ อ ให ส ามารถเจาะรู บ น แผนวงจรพิมพไดอยางถูกตอง


281 ตาราง 18 (ตอ) ขอบขายเนื้อหา หัวขอเนื้อหา

หัวขอยอย

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

จุดประสงคเชิง พฤติกรรมยอย

3. การประกอบ ภาคทฤษฎี วงจรอิเล็กทรอนิกส 1. สิ่ ง ที่ ค ว ร รู ใ น ก า ร ประกอบวงจร 2. เคล็ ด ลับ การประกอบ โครงงานอิเล็กทรอนิกส

1. สามารถบอกลั ก ษณะการ ลงอุปกรณบนแผนวงจรพิมพได 2. สามารถบอกวิธีการในการ ประกอบวงจรลงบน แผนวงจรพิมพได 3. สามารถบอกวิธีการบัดกรี อุปกรณเขากั บแผนวงจรพิม พ ได 1. เพื่อ ฝก การประกอบวงจร ภาคปฏิบัติ 1. ก า ร ป ร ะ ก อ บ ว ง จ ร อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ด ว ย แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า แ ผ น ว ง จ ร พิ ม พ ที่ ส ร า ง ด ว ย ตนเอง กระแสตรงชนิดคงที่ 2. เพื่ อ ให ส ามารถประกอบ วงจรอิเล็กทรอนิกสได 3. เพื่ อ สร า งความภู มิ ใ จและ ความสนใจในงานอิเล็กทรอนิกส

การประกอบวงจรแหลงจาย ไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ 1. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ ติ ด ตั้ ง ไดโอดบนแผนวงจรพิมพที่สราง ขึ้นไดอยางถูกตอง 2. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ซี เนอรไดโอดบนแผนวงจรพิมพที่ สรางขึ้นไดอยางถูกตอง 3. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ตั ว ต า นทานบนแผ น วงจรพิ ม พ ที่ สรางขึ้นไดอยางถูกตอง 4. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ตั ว เก็ บ ประจุ บ นแผ น วงจรพิ ม พ ที่ สรางขึ้นไดอยางถูกตอง 5. เพื่อใหสามารถติดตั้งคอน เน็ค เตอร (Connector) บน แผ น วงจรพิ ม พ ที่ ส ร า งขึ้ น ได อยางถูกตอง 6. เพื่อใหสามารถติดตั้งหมอ แปลงเขากับแผนวงจรไดอยาง ถูกตอง 7. เพื่ อ ให ส ามารถบั ด กรี ข า อุ ป กรณ บ นแผ น วงจรพิ ม พ ที่ สรางขึ้นไดอยางถูกตอง


282 ตาราง 18 (ตอ) ขอบขายเนื้อหา หัวขอเนื้อหา

หัวขอยอย

4. โปรแกรมเซอร ภาคทฤษฎี กิตเมคเกอร 1. แ น ะ นํ า ก า ร ใ ช โปรแกรมเซอร กิ ต เมค เกอร 2. การเข า สู โ ปรแกรม เซอรกิตเมคเกอร 3. การสร า งแหล ง จ า ย ไฟฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ 4. การจําลองสถานการณ (Simulation) การทํางาน ของวงจรแหลงจายไฟฟา กระแสตรงชนิดคงที่ ภาคปฏิบัติ 1. ก า ร ส ร า ง ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิดคงที่โดย ใชโปรแกรมเซอรกิตเมค เกอร 2. ทดสอบการจํ า ล อ ง ส ถ า น ก า ร ณ (Simulation) การทํางาน ของวงจรแหลงจายไฟฟา กระแสตรงชนิดคงที่ 3. ก า ร ป ร ะ ก อ บ ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ กั บ ชุดฝก

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

จุดประสงคเชิง พฤติกรรมยอย

1. สามารถบอกวิ ธี ก ารสร า ง วงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรง ชนิดคงที่โดยใชโปรแกรมเซอร กิตเมคเกอร 2. สามารถอธิบายการทํางาน ข อ ง ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิดคงที่ได 3. สามารถบอกลั ก ษณะของ อาการเสี ย ของวงจรแหล ง จ า ย ไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่ได

1. เ พื่ อ ฝ ก ก า ร ใ ช ง า น โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร 2. เพื่ อ ให ส ามารถสรา งวงจร แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิด คงที่ โ ดยใช โ ปรแกรมเซอร กิ ต เมคเกอรได 3. เพื่ อ ให ส ามารถประกอบ วงจรแหลงจายไฟฟากระแสตรง ชนิดคงที่กับชุดฝกได 4. เพื่ อ สร า งความภู มิ ใ จและ ความสนใจในโปรแกรม อิเล็กทรอนิกส

การสร า งวงจรแหล ง จ า ย ไฟฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ โดยใชโปรแกรมเซอรกิตเมค เกอร 1. เพื่อใหสามารถสรางวงจร แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิด คงที่ โ ดยใช โ ปรแกรมเซอร กิ ต เมคเกอรไดอยางถูกตอง ท ด ส อ บ ก า ร จํ า ล อ ง ส ถ า น ก า ร ณ ( Simulation) ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ว ง จ ร แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ชนิดคงที่ 1. เพื่อใหสามารถทดสอบการ การจํ า ลองสถานการณ การทํ า ให ไ ดโอดขาดและลั ด วงจรได อยางถูกตอง 2. เพื่อใหสามารถทดสอบการ การจํ า ลองสถานการณ การทํ า ใหตัวเก็บประจุลดคาและเพิ่มคา ไดอยางถูกตอง


283 ตาราง 18 (ตอ) ขอบขายเนื้อหา หัวขอเนื้อหา 4. โปรแกรมเซอร กิตเมคเกอร (ตอ)

หัวขอยอย

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

จุดประสงคเชิง พฤติกรรมยอย การประกอบวงจรแหลงจาย ไฟฟากระแสตรงชนิดคงที่กับ ชุดฝก 1. เ พื่ อ ใ ห ส า ม า ร ถ ติ ด ตั้ ง ไดโอดบนแผ น โปรโตบอร ด (Proto Board)ไดอยางถูกตอง 2. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ซี เ น อ ร ไ ด โ อ ด บ น บ น แ ผ น โปรโตบอรด (Proto Board)ได อยางถูกตอง 3. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ตั ว ต า น ท า น บ น บ น แ ผ น โปรโตบอรด (Proto Board)ได อยางถูกตอง 4. เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตั้ ง ตั ว เ ก็ บ ป ร ะ จุ บ น บ น แ ผ น โปรโตบอรด (Proto Board)ได อยางถูกตอง 5. เพื่ อ ใหสามารถติ ดตั้ง คอน เน็คเตอร (Connector) บนบน แ ผ น โ ป ร โ ต บ อ ร ด (Proto Board)ไดอยางถูกตอง 6. เพื่อ ใหสามารถติดตั้งหม อ แปลงเข า กั บ ชุ ด ฝ ก ได อ ย า ง ถูกตอง 7. เพื่ อ ให ส ามารถต อ วงจร แหลงจายไฟฟากระแสตรงชนิด คงที่กับชุดฝกไดอยางถูกตอง


284 ตาราง 19 ความสอดคลองของจุดประสงคเชิงพฤติกรรม การวิเคราะหงาน ขอปฏิบัติ และ เกณฑการใหคะแนน จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

การวิเคราะหงาน

ขอปฏิบตั ิ

เกณฑการใหคะแนน

งานการประกอบวงจร แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ชนิดคงที่ ขั้นกระบวนการ 1. สามารถประกอบวงจร 1. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ช นิ ด ค ง ที่ เ ป น ขั้ น ต อ น ไ ด ถูกตอง

ขั้นกระบวนการ 1. ปฏิบัติงานการประกอบ ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิ ด คงที่ ค รบ ทุกขั้นตอน

- 10 คะแนน เมื่อปฏิบัติงานเปน ขั้นตอนครบ 25-31 ขั้นตอน - 6 คะแนน เมื่อ ปฏิบัติ ง านเป น ขั้นตอนครบ 18-24 ขั้นตอน - 1 คะแนน เมื่อปฏิบัติงานขั้นตอน นอยกวา 17 ขั้นตอน - 0 คะแนน เมื่อไมปฏิบัติงาน

2. สามารถใช เ ครื่ อ งมื อ ได 2. ก า ร ใ ช ก า รเ ก็ บแล ะ 2. การใช การเก็ บ และ - 1 คะแนน เมื่อการปฏิบัติงานใช ถู ก ต อ งและมี ก ารทํ า ความ บํารุงรักษาเครื่องมือ บํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ก อ น เครือ่ งมือไดถูกตองและเหมาะสม สะอาดเครื่องมือกอนจัดเก็บ - 1 คะแนน เมื่อหลังปฏิบัติงานทํา และหลังปฏิบัติงาน ความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ - 1 คะแนน เมื่อหลังปฏิบัติงานเก็บ เครื่องมือเขาที่เรียบรอย - 1 คะแนน เมื่อใชสารหลอลื่นกับ เครื่องมือหรืออุปกรณที่ตองการหลอ ลื่น - 1 คะแนน เมื่อหลังปฏิบัติงานทํา ความสะอาดสถานที่ บ ริ เ วณการ ปฏิบัติงาน (ข อ ใดที่ ไ ม มี ก ารปฏิ บั ติ ค ะแนนจะ ลดลงตามขอที่ไมมีการปฏิบัติจาก 5 คะแนนจนถึง 0 คะแนน) 3. สามารถประกอบวงจร 3. ก า ร คํ า นึ ง ถึ ง ค ว า ม 3. ก า ร คํ า นึ ง ถึ ง ค ว า ม แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ปลอดภัยขณะทํางาน ปลอดภัยขณะทํางาน ชนิดคงที่ดวยความระมัดระวัง โดยไมเกิดอุบัติเหตุ

- 1 คะแนน เมื่อเครื่องมือไมเกิด ความเสียหาย - 1 คะแนน เมื่ออุปกรณไมเกิดความ เสียหาย - 1 คะแนน เมื่ อ ผู ปฏิ บัติไม เ กิ ด อันตราย - 1 คะแนน เมื่อผูอื่นไมเกิดอันตราย - 1 คะแนน เมื่อปฏิบัติงานดวยความ ระมัดระวัง (ข อ ใดที่ ไ ม มี ก ารปฏิ บั ติ ค ะแนนจะ ลดลงตามขอที่ไมมีการปฏิบัติจาก 5 คะแนนจนถึง 0 คะแนน)


285 ตาราง 19 (ตอ) จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

การวิเคราะหงาน

ขอปฏิบตั ิ

เกณฑการใหคะแนน

4. สามารถประกอบวงจร 4. ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม 4. การปฏิ บั ติ ง านด ว ยความ - 5 คะแนน เมื่อใชเวลาไมเกิน แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง กําหนดเวลา รวดเร็วตามกําหนดเวลา กําหนดใหได ชนิดคงที่ไดตามกําหนดเวลา - 4 คะแนน เมื่อใชเวลาเกินที่ กําหนด 5 นาที - 3 คะแนน เมื่อใชเวลาเกินที่ กําหนด 10 นาที - 2 คะแนน เมื่อใชเวลาเกินที่ กําหนด 15 นาที - 1 คะแนน เมื่อใชเวลาเกินที่ กําหนด 20 นาที - 0 คะแนน เมื่อใชเวลาเกินที่ กําหนด 30 นาที ขั้นผลงาน 5. สามารถประกอบวงจร 5. ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง กระแสตรงชนิ ด คงที่ มีแ รงดั น ชนิ ด คงที่ ไ ด แ รงดั น ทางด า น ทางดานเอาทพุตถูกตอง เอาทพุตถูกตอง

ขั้นผลงาน คะแนน เมื่ อ 5. ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า - 10 กระแสตรงชนิ ด คงที่ มีแ รงดั น แรงเคลื่ อ นไฟฟ า กระแสตรง ทางด า นเอาต พุ ต เท า กั บ 12 ทางดานเอาทพุตถูกตอง โวลต ± 1 โวลต -6 คะแนน เมื่ อ แรงเคลื่ อ นไฟฟ า กระแสตรง ทางด า นเอาต พุ ต ไม ไ ด อ ยู ในชวง 12 โวลต ± 1 โวลต - 1 คะแนน เมื่อประกอบวงจร เสร็ จ แต ว ง จรไม ทํ า ง าน (แรงเคลื่ อ นไฟฟ า กระแสตรง ทางด า นเอาต พุ ต เท า กั บ 0 โวลต) - 0 คะแนน เมื่อประกอบวงจร ไมเสร็จ

6. สามารถประกอบวงจร แหล ง จ า ยไฟฟ า กระแสตรง ชนิดคงที่ที่มีคุณภาพของการ บั ด กรี ลายวงจร และการ ประกอบวงจร

6. ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิดคงที่มีคุณภาพ ของการบัดกรี ลายวงจร และ การประกอบวงจร

6. ว ง จ ร แ ห ล ง จ า ย ไ ฟ ฟ า กระแสตรงชนิดคงที่มีคุณภาพ ของการบัดกรี ลายวงจร และ การประกอบวงจร

6.1 ความเรี ย บร อ ยของจุ ด - 2 คะแนน เมื่ อจุ ดบั ดกรี บั ด ก รี แ ล ะ ก า ร ใ ช ต ะ กั่ ว เรี ย บร อ ย และการใช ต ะกั่ ว เหมาะสม เหมาะสม


286 ตาราง 19 (ตอ) จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

การวิเคราะหงาน

ขอปฏิบตั ิ

เกณฑการใหคะแนน - 1 คะแนน เมื่อตะกั่วเปนกอน โตเกิ น ไป หรื อ ตะกั่ ว ไม เ ต็ ม จํานวน 1 - 3 จุด - 0 คะแนน เมื่อตะกั่วเปนกอน

6.2 ความสมบู รณ แ ละความ - 2 คะแนน เมื่อลายวงจร สวยงามของลายวงจร สมบูรณและสวยงาม - 1 คะแนน เมื่อลายวงจร สวยงามแตมีรอยขาดของลาย วงจร 1 จุด หรือลายวงจรมี ความสมบูรณ แตไมสวยงาม - 0 คะแนน เมื่อมีลายวงจร ขาดมากกวา 1 จุด 6.3 ความถู ก ต อ งในการลง - 2 คะแนน เมื่อการลงอุปกรณ อุปกรณ ถูกตองทุกตัว - 1 คะแนน เมื่อการลงอุปกรณ ผิด 1 ตัว - 0 คะแนน เมื่อการลงอุปกรณ ผิดมากกวา 1 ตัว 6.4 ความเรี ย บร อ ยในการ - 2 คะแนน เมื่อการติดตั้ง ติดตั้งอุปกรณ อุ ป กรณ เ รี ย บร อ ยและยึ ด ติ ด กั บ แผ น วงจรพิ ม พ อ ย า งแนบ ชิด - 1 คะแนน เมื่อการติดตั้ง อุ ป กรณ เ อี ย งหรื อ ยึ ด ติ ด กั บ แผ น วงจรพิ ม พ อ ย า งไม แ นบ ชิด จํานวน 1-3 ตัว - 0 คะแนน เมื่อการติดตั้ง อุ ป กรณ เ อี ย งหรื อ ยึ ด ติ ด กั บ แผ น วงจรพิ ม พ อ ย า งไม แ นบ ชิด จํานวนมากกวา 3 ตัว 6.5 ไมเปลี่ยนอุปกรณ

-2 คะแนน เมื่ อไม มีก าร เปลี่ยนอุปกรณเลย - 1 คะแนน เมื่อมีการเปลี่ยน อุปกรณ 1 ตัว - 0 คะแนน เมื่อมีการเปลี่ยน อุปกรณมากกวา 1 ตัว


287

ภาคผนวก ช การคํานวณคาสถิติ 1. แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินรูปแบบการเรียนการ สอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 2. แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินบทเรียนสอนฝก ปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3. แสดงคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) และความเชือ่ มั่นของแบบประเมิน ความคิดเห็นของผูเรียน 4. แสดงคาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิง พฤติกรรมของแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5. แสดงคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และความเชื่อมัน่ (rtt) ของ แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 6. แสดงคาดัชนีความสอดคลองของแบบวัดทักษะปฏิบัติ 7. แสดงคาความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบัติ 8. แสดงคาความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา 9. แสดงผลการประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต 10. แสดงคาการหาประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต 11. แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน 12. แสดงผลทักษะปฏิบัติของนักเรียน 13. แสดงผลการเปรียบเทียบทักษะปฏิบตั หิ ลังเรียนและทักษะปฏิบตั ิหลังเรียน 2 สัปดาห 14. แสดงผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียน


288 ตาราง 20 คาความสอดคลอง (IOC) ของแบบประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

รายการประเมิน

1. แนวคิดและหลักการ มีความสอดคลองสัมพันธกันกับ เปาหมาย 2. องคประกอบของรูปแบบมีความครอบคลุมตาม องคประกอบหลักของรูปแบบการสอนทั่วไป 3. องคประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสมกับการเรียน การสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4. องคประกอบของรูปแบบ y ปจจัยนําเขา (Input) 4.1 กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 4.2 การวิเคราะหผูเรียน 4.3 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4.4 กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.5 การเตรียมความพรอมดานสภาพแวดลอมทางการ เรียน y กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 4.6 กําหนดบทบาทผูสอน 4.7 การสรางแรงจูงใจในการเรียน 4.8 การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 4.8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะฝกทักษะ 2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ 4.8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 1) สาธิตทักษะหรือการกระทําใหผูเรียนดู ทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียนปฏิบัติตาม ไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะเลียนแบบการกระทํา

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1

1

0

2

0.67

เหมาะสม

1

1

0

2

0.67

เหมาะสม

1

1

0

2

0.67

เหมาะสม

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

3 3 3 3

1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1 1

1 1

1 1

3 3

1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม


289 ตาราง 20 (ตอ)

รายการประเมิน

4.8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) (ตอ) 3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมีการสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคําชี้แนะและแกไขจน ผูเรียนทําได 4.8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 1) ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปนกลไกที่สามารถ กระทําไดเอง (Mechanism) 2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความ คลองแคลว 4.9 กิจกรรมเสริมทักษะ การควบคุม (Control) 4.10 การตรวจสอบและควบคุมการเรียนของผูเรียน 4.11 การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวางเรียน ผลผลิต (Output) 4.12 ประเมินผลการเรียนการสอน ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 4.13 ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง เฉลี่ยรวม

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1 1

1 1

1 1

3 3

1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม

1 1

1 1

1 1

3 3

1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00 0.96

เหมาะสม เหมาะสม


290 ตาราง 21 คาความสอดคลอง (IOC) แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ดานเนื้อหา

รายการประเมิน

1. เนื้อหาและการนําเสนอ 1.1 โครงสรางเนื้อหาชัดเจนมีความสัมพันธตอเนื่อง 1.2 เนื้อหาที่นําเสนอตรงและครอบคลุมจุดประสงค 1.3 ความถูกตองของเนื้อหา 1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับผูเรียน 1.5 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 1.6 ความสอดคลองของเนื้อหาในแตละหนวย 2. ภาพ ภาษาและตัวอักษร 2.1 ความเหมาะสมของรูปภาพกับคําบรรยาย 2.2 ความถูกตองของรูปภาพตามเนื้อหา 2.3 ความถูกตองของภาษาที่ใช 2.4 ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 3. เสียง และวีดิโอ 3.1 ความถูกตองของเสียงบรรยายในวีดิโอ 3.2 ความถูกตองของเนื้อหาในวีดิโอ 3.3 ความเหมาะสมของภาพกับเนื้อหาในวีดิโอ 4. แบบทดสอบ 4.1 ความชัดเจนของคําถาม 4.2 ความสอดคลองกับจุดประสงค 4.3 ความสอดคลองกับเนื้อหา เฉลี่ยรวม

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1

3 3 3 3 3 3

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

3 3 3 3

1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1

1 1 1

1 1 1

3 3 3

1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1

1 1 0

1 1 1

3 3 2

1.00 1.00 0.67 0.98

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม


291 ตาราง 22 คาความสอดคลอง (IOC) แบบประเมินบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต ดานเทคนิคการผลิตสื่อ

รายการประเมิน

1. การจัดรูปแบบของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเครือขาย อินเทอรเน็ต 1.1 ดึงดูดความสนใจ 1.2 การใชสีประกอบ 1.3 การออกแบบหนาจอ 1.4 การจัดวางเนื้อหาบทเรียน 1.5 การจัดวางเมนูตาง ๆ 2. ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 2.1 ความเหมาะสมของสีตัวอักษร 2.2 ความเหมาะสมของแบบตัวอักษร 2.3 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 3. ความเหมาะสมของภาพ วีดิโอและเสียง 3.1 ความเหมาะสมของภาพในดานสื่อความหมาย 3.2 ความเหมาะสมของขนาดภาพ 3.3 ความเหมาะสมของวีดิโอประกอบเนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของเสียงบรรยายในวีดิโอ 4. การนําทางและการเชื่อมโยง 4.1 การนําทางภายในบทเรียน 4.2 การเชื่อมโยงภายในบทเรียน 5. การปฏิสัมพันธ 5.1 การปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน 5.2 การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน เฉลี่ยรวม

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

3 3 3 3 3

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1

1 1 1

1 1 1

3 3 3

1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

3 3 3 3

1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1

1 1

1 1

3 3

1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม

1 1

1 1

1 1

3 3

1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม


292 ตาราง 23 คาความสอดคลอง (IOC) และคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความคิดเห็น รายการประเมิน

1. ดานความนาสนใจ แปลกใหม 1.1 การเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนาสนใจกวาการเรียนแบบเดิมที่ครูสอน โดยตรง 1.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตชวยใหสนใจเรียนมากขึ้น 1.3 รูสึกชอบความแปลกใหมในการเรียนวิชางาน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนจากบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต 2. ดานการเรียนรูดวยตนเอง 2.1 การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้นทําใหไดเรียนอยางเต็มที่ 2.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตชวยใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง 2.3 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตทําใหมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น 2.4 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตชวยใหทบทวนบทเรียนไดดวยตนเองตาม ความตองการ 2.5 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตทําใหไมรูสึกวาถูกควบคุม 3. ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 3.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหเรียนจากทุกสถานที่ที่ตออินเทอรเน็ต 3.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหไดเรียนทุกเวลาที่อยากเรียน

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม


293 ตาราง 23 (ตอ) รายการประเมิน

4. ดานการติดตอสื่อสาร 4.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตทําใหติดตอสื่อสารกับครูผูสอนและ เพื่อนดวยกันเองสะดวกยิ่งขึ้น 4.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตมีเครื่องมือในการติดตอสื่อสารหลายอยางทํา ใหมีความรูสึกวามีครูคอยชวยเหลือตลอดเวลา 5. ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 5.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตทําใหคนหาขอมูลไดสะดวกยิ่งขึ้น 5.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตมีแหลงขอมูลใหเรียนมากกวาการเรียน แบบเดิมที่ครูสอนโดยตรง 6. ดานการฝกปฏิบัติ 6.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตชวยใหเขาใจขั้นตอนการฝกปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 6.2 การเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้นทําใหนักเรียนปฏิบัติ ไดดียิ่งขึ้น 6.3 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตมีความเหมาะสมกับการเรียนฝกปฏิบัติ 7. ดานความชอบ 7.1 ตองการเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตในโอกาสตอไป 7.2 ตองการใหมีการใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ตในวิชาอื่น ๆ บาง 7.3 ในภาพรวมชอบเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต เฉลี่ยรวม

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3

รวม

X

ความหมาย

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00

เหมาะสม

1

1

1

3

1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม

คาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการ เรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต คือ 0.84


294 ตาราง 24 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3 4 5

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ขอสอบ ขอที่

1. เพื่อทดสอบความสามารถของ นักเรียนทางดานการบัดกรี

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 -1 1 1 1 0 1 1

10.

1

1

1

1

2. เพื่อทดสอบความสามารถของ นักเรียนทางดานการทํา แผนวงจรพิมพ

3. เพื่อทดสอบความสามารถของ นักเรียนทางดานการประกอบ วงจร

เฉลี่ยรวม

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1 1 1 1 1

5 5 3 5 5 5 4 5 5

1.00 1.00 0.60 1.00 1.00 1.00 0.80 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1

5

1.00

เหมาะสม

0.94

เหมาะสม


295 ตาราง 25 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การบัดกรี

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

1. สามารถบอกความหมายของ การบัดกรีได 2. สามารถบอกชนิดของหัวแรงที่ ใชในงานบัดกรีได

3. สามารถบอกเทคนิคในการ บัดกรีชิ้นงานได

4. สามารถบอกวิธีในการถอน บัดกรีได

ขอสอบ ขอที่

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3 4 5

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 0

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

5 5 5 5 5 5 5 5 4

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.80

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

10. 1 เฉลี่ยรวม

1

1

1

1

5

1.00 0.98

เหมาะสม เหมาะสม


296 ตาราง 26 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การทําแผนวงจรพิมพ ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3 4 5

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ขอสอบ ขอที่

1. สามารถแยกประเภทของ แผนวงจรพิมพได 2. สามารถบอกลักษณะของ แผนวงจรพิมพอเนกประสงคแบบ ตาง ๆ ได 3. สามารถบอกลักษณะของ อุปกรณที่ใชในการทํา แผนวงจรพิมพได 4. บอกขั้นตอนในการทํา แผนวงจรพิมพดวยตัวเองได

11. 12. 13. 14. 15.

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

16. 17. 18. 19. 20. เฉลี่ยรวม

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1

5 5 5 5 5

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 1 1 1 1

5 5 5 5 5

1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม


297 ตาราง 27 คาความสอดคลอง (IOC) ระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรมของ แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

1. สามารถบอกลักษณะการลง อุปกรณบนแผนวงจรพิมพได

2. สามารถบอกวิธีการในการ ประกอบวงจรลงบน แผนวงจรพิมพได

3. สามารถบอกวิธีการบัดกรี อุปกรณเขากับแผนวงจรพิมพได

ขอสอบ ขอที่

ระดับความคิดเห็น ผูเชี่ยวชาญ คนที่ 1 2 3 4 5

รวม

X

ความหมาย

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 0 0 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

1 0 0 1 1 1 1 1 1

1 1 1 1 1 1 1 1 1

5 3 3 5 5 5 5 5 5

1.00 0.60 0.60 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

30. 1 เฉลี่ยรวม

1

1

1

1

5

1.00 0.92

เหมาะสม เหมาะสม

21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29.


298 ตาราง 28 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบทักษะพื้นฐาน จํานวน 10 ขอ ขอที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คาความยากงาย (p) 0.65 0.75 0.60 0.60 0.80 0.70 0.35 0.50 0.50 0.60

คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐาน คือ 0.81

คาอํานาจจําแนก (r) 0.50 0.30 0.60 0.60 0.20 0.20 0.50 0.60 0.60 0.80


299 ตาราง 29 คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบกอนเรียนและ หลังเรียน เรื่อง การบัดกรี การทําแผนวงจรพิมพ และการประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส จํานวน 30 ขอ ขอที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

คาความยากงาย (p) 0.70 0.80 0.70 0.50 0.70 0.80 0.45 0.70 0.65 0.70 0.75 0.80 0.70 0.60 0.70 0.75 0.65 0.50 0.65 0.45 0.75 0.40 0.70 0.50 0.45 0.70 0.70 0.50 0.70 0.50

คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน คือ 0.83

คาอํานาจจําแนก (r) 0.40 0.20 0.40 0.20 0.20 0.20 0.30 0.40 0.50 0.40 0.30 0.20 0.40 0.20 0.20 0.30 0.50 0.40 0.50 0.30 0.30 0.20 0.40 0.20 0.30 0.40 0.40 0.40 0.40 0.20


300 คาดัชนีความสอดคลองของแบบวัดทักษะปฏิบตั ทิ ั้ง 3 ดาน ตาราง 30 ความสอดคลองของการวิเคราะหงานกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

การวิเคราะหงาน ขั้นกระบวนการ 1 2 3 4 ขั้นผลงาน 5 6

จุดประสงค เชิงพฤติกรรม 1 2 3 4 5 6

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญ

รวม

เฉลี่ย

ความหมาย

1

2

3

4

5

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

5 5 5 5

1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

1 0

1 1

1 1

1 1

5 4

1.00 0.80 0.97

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

รวม

เฉลี่ย

ความหมาย

1 1 เฉลี่ยรวม

ตาราง 31 ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม

ขอปฏิบัติ ขั้นกระบวนการ 1 2 3 4 ขั้นผลงาน 5 6

จุดประสงค เชิงพฤติกรรม

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญ

1

2

3

4

5

1 2 3 4

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

5 5 5 5

1.00 1.00 1.00 1.00

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

5 6

1 1

1 0

1 1

1 1

1 1

5 4 29

1.00 0.80 0.97

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

รวมเฉลี่ย


301 ตาราง 32 ความสอดคลองของขอปฏิบัติกับเกณฑการใหคะแนน

ขอปฏิบัติ ขั้นกระบวนการ 1 2 3 4 ขั้นผลงาน 5 6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5

เกณฑการให คะแนน

คะแนนการพิจารณา ของผูเชี่ยวชาญ

รวม

เฉลี่ย

ความหมาย

1

2

3

4

5

1 2 3 4

1 1 1 1

1 0 0 0

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

5 4 4 4

1.00 0.80 0.80 0.80

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม

5

1

1

1

1

1

5

1.00

เหมาะสม

6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 รวมเฉลี่ย

1 1 1 1 1

0 0 0 0 0

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

1 1 1 1 1

4 4 4 4 4 42

0.80 0.80 0.80 0.80 0.80 0.84

เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม


302 ความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบตั ิ 1. คาความเชื่อมั่น (Reliability) ที่มีผูใหคะแนนมากกวา 1 คน ความเชื่อมั่นที่มีผูให คะแนนมากกวา 1 คน โดยวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์การสรุปอางอิง (Generalizability 2 Coefficient : ρ ) ของครอนบาค (Cronbach) 2. คาความเชื่อมั่นของผูประเมิน 2 คน โดยวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบ เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient : rxy) ตาราง 33 คาความเชื่อมั่นของแบบวัดทักษะปฏิบัติ แบบวั ด ทั ก ษะ ปฏิบัติ การประกอบ วงจรแหล ง จ า ย ไฟฟากระแสตรง ชนิดคงที่

กรรมการ N 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

คะแนนเต็ม

100

เฉลี่ยรวม

1

2

T

85 83 88 92 85 88 87 89 86 88

85 85 90 94 86 89 87 90 85 90

170 168 178 186 171 177 174 179 171 178

X

85.00 84.00 89.00 93.00 85.50 88.50 87.00 89.50 85.50 89.00 87.89

rxy

ρ2

0.94

0.88


303 ตาราง 34 คาความเหมาะสมขององคประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิค บนเครือขายอินเทอรเน็ต สําหรับนักเรียนอาชีวศึกษา ความถี่จําแนกตาม ระดับ

องคประกอบของรูปแบบ 1. แนวคิดและหลักการ มีความสอดคลอง สัมพันธกันกับเปาหมาย 2. องคประกอบของรูปแบบมีความครอบคลุม ตามองคประกอบหลักของรูปแบบการสอน ทั่วไป 3. องคประกอบของรูปแบบมีความเหมาะสม กับการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 4. องคประกอบของรูปแบบ y ปจจัยนําเขา (Input) 4.1 กําหนดเปาหมายในการเรียนการสอน 4.2 การวิเคราะหผูเรียน 4.3 การออกแบบเนื้อหาบทเรียน 4.4 กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.5 การเตรียมความพรอมดาน สภาพแวดลอมทางการเรียน y กระบวนการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Process) 4.6 กําหนดบทบาทผูสอน 4.7 การสรางแรงจูงใจในการเรียน 4.8 การดําเนินการเรียนการสอนฝกปฏิบัติ ทางเทคนิค ตามขั้นตอน โมเดลซีเอเอ (CAA Model) 4.8.1 ขั้นความรูความเขาใจ (Cognitive Phase) 1) ใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องที่จะ ฝกทักษะ 2) บอกขั้นตอนที่ตองฝกทักษะ

X

SD

ระดับความ เหมาะสม

5

4

3

2

1

7

2

1

-

-

4.60 0.66

มากที่สุด

5

5

-

-

-

4.50 0.50

มาก

4

4

2

-

-

4.20 0.75

มาก

7 6 5 6

3 4 3 3

2 1

-

-

4.70 4.60 4.30 4.50

0.46 0.49 0.78 0.67

มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก

6

4

-

-

-

4.60 0.49

มากที่สุด

4 1

4 7

2 2

-

-

4.20 0.75 3.90 0.54

มาก มาก

6

4

-

-

-

4.60 0.49

มากที่สุด

6 5

4 4

1

-

-

4.60 0.49 4.40 0.66

มากที่สุด มาก


304 ตาราง 34 (ตอ) ความถี่จําแนก ตามระดับ

องคประกอบของรูปแบบ 4.8.2 ขั้นปฏิบัติ (Associative Phase) 1) สาธิตทักษะหรือการกระทําให ผูเรียนดูทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2) สาธิตทักษะยอย และใหผูเรียน ปฏิบัติตามไปทีละสวนอยางชา ๆ ในลักษณะ เลียนแบบการกระทํา 3) ใหผูเรียนปฏิบัติทักษะโดยไมมี การสาธิต หากติดขัดจุดใด ผูสอนควรใหคํา ชี้แนะและแกไขจนผูเรียนทําได 4.8.3 ขั้นชํานาญ (Autonomous Phase) 1) ฝกทักษะซ้ํา ๆ จนกลายเปน กลไกที่สามารถกระทําไดเอง (Mechanism) 2) เพิ่มพูนความเร็ว, ความถูกตอง และความคลองแคลว 4.9 กิจกรรมเสริมทักษะ การควบคุม (Control) 4.10 การตรวจสอบและควบคุมการเรียน ของผูเรียน 4.11 การตรวจสอบทักษะปฏิบัติระหวาง เรียน ผลผลิต (Output) 4.12 ประเมินผลการเรียนการสอน ขอมูลปอนกลับ (Feedback) 4.13 ขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุง เฉลี่ยรวม

X

SD

ระดับความ เหมาะสม

5

4

3

2

1

3

6

1

-

-

4.20 0.60

มาก

6

3

1

-

-

4.50 0.67

มาก

3

6

-

1

-

4.10 0.83

มาก

6

3

1

-

-

4.50 0.67

มาก

4 5

5 5

1 -

-

-

4.30 0.64 4.50 0.50

มาก มาก

7

3

-

-

-

4.70 0.46

มากที่สุด

6

3

1

-

-

4.50 0.67

มาก

4

6

-

-

-

4.40 0.49

มาก

1 9 117 96 16

1

-

4.10 0.30 4.41 0.59

มาก มาก


305 ตาราง 35 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเนื้อหาของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต

หัวขอที่ประเมิน 1. เนื้อหาและการนําเสนอ 1.1 โครงสรางเนื้อหาชัดเจนมีความสัมพันธ ตอเนื่อง 1.2 เนื้อหาที่นําเสนอตรงและครอบคลุม จุดประสงค 1.3 ความถูกตองของเนื้อหา 1.4 เนื้อหามีความเหมาะสมกับระดับผูเรียน 1.5 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา 1.6 ความสอดคลองของเนื้อหาในแตละ หนวย 2. ภาพ ภาษาและตัวอักษร 2.1 ความเหมาะสมของรูปภาพกับคํา บรรยาย 2.2 ความถูกตองของรูปภาพตามเนื้อหา 2.3 ความถูกตองของภาษาที่ใช 2.4 ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 3. เสียง และวีดิโอ 3.1 ความถูกตองของเสียงบรรยายในวีดิโอ 3.2 ความถูกตองของเนื้อหาในวีดิโอ 3.3 ความเหมาะสมของภาพกับเนื้อหาใน วีดิโอ 4. แบบทดสอบ 4.1 ความชัดเจนของคําถาม 4.2 ความสอดคลองกับจุดประสงค 4.3 ความสอดคลองกับเนื้อหา

ความถี่จําแนกตาม ระดับ 5 4 3 2 1

X

SD

ระดับความคิดเห็น

3

2

-

-

-

4.60 0.49

มากที่สุด

4 3 2 2

1 2 3 3

-

-

-

4.80 4.60 4.40 4.40

0.40 0.49 0.49 0.49

มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก

3

2

-

-

-

4.60 0.49

มากที่สุด

2 2 3 1

2 3 2 4

1 -

-

-

4.20 4.40 4.60 4.20

0.75 0.49 0.49 0.40

มาก มาก มากที่สุด มาก

3 2

2 3

-

-

-

4.60 0.49 4.40 0.49

มากที่สุด มาก

2

2

1

-

-

4.20 0.75

มาก

3 2 3 2 3 2 41 37

2

-

-

4.60 4.60 4.60 4.49

0.49 0.49 0.49 0.51

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก


306 ตาราง 36 คาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นดานเทคโนโลยีการศึกษาของบทเรียนฝกปฏิบัติทาง เทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

หัวขอที่ประเมิน 1. การจัดรูปแบบของบทเรียนฝกปฏิบัติ ทางเครือขายอินเทอรเน็ต 1.1 ดึงดูดความสนใจ 1.2 การใชสีประกอบ 1.3 การออกแบบหนาจอ 1.4 การจัดวางเนื้อหาบทเรียน 1.5 การจัดวางเมนูตาง ๆ 2. ความเหมาะสมของตัวอักษรที่ใช 2.1 ความเหมาะสมของสีตัวอักษร 2.2 ความเหมาะสมของแบบตัวอักษร 2.3 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 3. ความเหมาะสมของภาพ วีดิโอและเสียง 3.1 ความเหมาะสมของภาพในดานสื่อ ความหมาย 3.2 ความเหมาะสมของขนาดภาพ 3.3 ความเหมาะสมของวีดิโอประกอบ เนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของเสียงบรรยายใน วีดิโอ 4. การนําทางและการเชื่อมโยง 4.1 การนําทางภายในบทเรียน 4.2 การเชื่อมโยงภายในบทเรียน 5. การปฏิสัมพันธ 5.1 การปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน 5.2 การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับ ผูเรียน

ความถี่จําแนก ตามระดับ 5 4 3 2 1

X

SD

ระดับความคิดเห็น

2 2 2 2 3

3 3 3 3 2

-

-

-

4.40 4.40 4.40 4.40 4.60

0.49 0.49 0.49 0.49 0.49

มาก มาก มาก มาก มากที่สุด

3 3 4

1 1 1

1 1 -

-

-

4.40 0.80 4.40 0.80 4.80 0.40

มาก มาก มากที่สุด

2 2

3 2

1

-

-

4.40 0.49 4.20 0.75

มาก มาก

-

5

-

-

-

4.00 0.00

มาก

-

5

-

-

-

4.00 0.00

มาก

4 3

1 2

-

-

-

4.80 0.40 4.60 0.49

มากที่สุด มากที่สุด

2

3

-

-

-

4.40 0.49

มาก

- 5 41 36

3

-

-

4.00 0.00 4.39 0.44

มาก มาก


ตาราง 37 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน กับกลุมตัวอยางจํานวน 9 คน เรื่องที่ 1 การบัดกรี คนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9

ทั ก ษะปฏิ บั ติ ร ะหว า ง เรียน (46 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

เรื่องที่ 2 การทําแผนวงจรพิมพ

ทดสอบ หลังเรียน (10คะแนน)

รวม

ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (60 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

เรื่องที่ 3 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส

ทดสอบ หลังเรียน (10 คะแนน)

รวม

ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (74 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

ทดสอบ หลังเรียน (10 คะแนน)

รวม

เรื่องที่ 4 เซอรกิตเมคเกอร ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (10 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

34

34

34.0

7

41.0

45

47

46.0

7

53.0

59

60

59.5

6

65.5

9

9

9

37

37

37.0

8

45.0

44

46

45.0

9

54.0

58

58

58.0

8

66.0

9

9

9

43

43

43.0

9

52.0

50

52

51.0

9

60.0

62

62

62.0

8

70.0

10

10

10

39

41

40.0

10

50.0

55

55

55.0

10

65.0

63

65

64.0

9

73.0

10

10

10

36

36

36.0

9

45.0

45

45

45.0

10

55.0

60

60

60.0

8

68.0

9

9

9

40

40

40.0

7

47.0

51

51

51.0

9

60.0

61

61

61.0

7

68.0

9

9

9

43

45

44.0

8

52.0

57

58

57.5

9

66.5

65

67

66.0

7

73.0

10

10

10

37

37

37.0

8

45.0

42

42

42.0

10

52.0

62

62

62.0

6

68.0

9

9

9

40

40

40.0

9

49.0

55

57

56.0

9

65.0

65

65

65.0

9

74.0

9

9

9

รวมทั้งหมด (220 คะแนน)

ทักษะปฏิบัติหลังเรียน (100 คะแนน)

เฉลี่ย

ทดสอบ หลังเรียน (30 คะแนน)

รวมทั้งหมด (130 คะแนน)

109.0 107.5 112.5 107.0 105.0 107.0 109.5 109.5 111.0

(E1)

กรรมการ คนที่ 1

กรรมการ คนที่ 2

168.5 174.0 192.0 198.0 177.0 184.0 201.5 174.0 197.0

85

87

86.0

23

82

83

82.5

25

84

85

84.5

28

82

82

82.0

25

81

83

82.0

23

82

82

82.0

25

81

82

81.5

28

81

82

81.5

28

84

84

84.0

27

(E2)

E1 = 84.14 E2 = 83.59

307


ตาราง 38 ประสิทธิภาพของบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน กับกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน เรื่องที่ 1 การบัดกรี คนที่

ทั ก ษ ะ ปฏิ บั ติ ระ ห ว า ง เรียน (46 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

เรื่องที่ 2 การทําแผนวงจรพิมพ

ทดสอบ หลังเรียน (10 คะแนน)

รวม

ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (60 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

เรื่องที่ 3 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส

ทดสอบ หลังเรียน (10 คะแนน)

รวม

ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (74 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

ทดสอบ หลังเรียน (10 คะแนน)

รวม

เรื่องที่ 4 เซอรกิตเมคเกอร ทักษะปฏิบัติระหวางเรียน (10 คะแนน) กรรมการ กรรมการ คนที่ 1 คนที่ 2

เฉลี่ย

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

42

42

42.0

9

51

56

57

56.5

10

66.5

67

67

67.0

9

76.0

10

10

10

39

39

39.0

7

46

50

49

49.5

9

58.5

64

63

63.5

8

71.5

9

9

9

43

43

43.0

10

53

56

56

56.0

9

65.0

71

71

71.0

9

80.0

10

10

10

42

42

42.0

9

51

55

55

55.0

10

65.0

69

68

68.5

9

77.5

10

10

10

42

42

42.0

9

51

51

52

51.5

10

61.5

68

69

68.5

8

76.5

9

9

9

40

40

40.0

7

47

51

51

51.0

9

60.0

64

65

64.5

9

73.5

9

9

9

41

41

41.0

10

51

50

50

50.0

9

59.0

65

65

65.0

9

74.0

10

10

10

42

42

42.0

10

52

52

52

52.0

10

62.0

72

72

72.0

10

82.0

10

10

10

41

41

41.0

7

48

48

48

48.0

8

56.0

60

62

61.0

8

69.0

9

9

9

39

39

39.0

8

47

50

50

50.0

9

59.0

73

73

73.0

8

81.0

9

9

9

19 20

40

40

40.0

9

49

52

52

52.0

9

61.0

62

62

62.0

8

70.0

9

9

9

42

44

43.0

10

53

55

57

56.0

10

66.0

70

70

70.0

9

79.0

10

10

10

38

38

38.0

9

47

45

50

50.0

8

58.0

68

67

67.0

8

75.0

9

9

9

40

40

40.0

7

47

54

56

55.0

9

64.0

72

72

72.0

8

80.0

10

10

10

41

41

41.0

10

51

52

52

52.0

9

61.0

65

67

66.0

7

73.0

9

9

9

44

44

44.0

8

52

55

55

55.0

10

65.0

65

67

66.0

6

72.0

9

9

9

40

40

40.0

7

47

51

51

51.0

8

59.0

61

61

61.0

7

68.0

9

9

9

41

40

40.5

9

48

50

49.0

9

58.0

65

64

64.0

7

71.0

10

10

10

39

39

39.0

8

49. 5 47

46

47

46.5

10

56.5

60

60

60.0

8

68.0

9

9

9

40

40

40.0

8

48

55

57

56.0

9

65.0

65

65

65.0

8

73.0

9

9

9

ทักษะปฏิบัติหลังเรียน (100 คะแนน)

เฉลี่ย

ทดสอบ หลังเรียน (30 คะแนน)

รวมทั้งหมด (130 คะแนน)

114.0 110.0 121.0 116.0 110.0 111.5 109.0 119.0 110.0 111.0 104.5 120.0 100.0 107.0 112.0 113.0 110.5 111.0

(E1)

กรรมการ คนที่ 1

กรรมการ คนที่ 2

203.5 185.0 208.0 203.5 198.0 189.5 194.0 206.0 182.0 196.0 189.0 208.0 189.0 201.0 194.0 198.0 183.0 188.5

86

86

86.0

28

86

86

86.0

24

92

94

93.0

28

90

92

91.0

25

85

87

86.0

24

86

87

86.5

25

81

81

81.0

28

89

89

89.0

30

85

85

85.0

25

86

86

86.0

25

81

82

81.5

23

89

91

90.0

30

79

79

79.0

21

82

82

82.0

25

84

84

84.0

28

84

84

84.0

29

83

84

83.5

27

82

82

82.0

28

180.5 195.0

85

85

85.0

28

84

85

84.5

26

(E2)

113.0 110.5

308

E1 = 88.44 E2 = 85.88

รวมทั้งหมด (220 คะแนน)


309 ตาราง 39 ผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียนของกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

คะแนนกอนเรียน (30 คะแนน) 12 16 11 15 16 14 10 9 12 13 15 14 9 12 15 16 12 13 8 14

คะแนนหลังเรียน (30 คะแนน) 23 27 24 27 30 26 25 24 27 26 27 22 21 25 26 24 28 27 23 27


310 ตาราง 40 ทักษะปฏิบัติของกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

คะแนนเต็ม

100

กรรมการ 1 90 91 94 88 91 93 84 90 85 81 90 91 90 85 90 87 83 85 89 86

เฉลี่ยรวม

2 90 91 94 91 91 94 85 90 85 84 92 90 89 87 91 88 83 85 89 87

เฉลี่ย ( X ) 90.00 91.00 94.00 89.50 91.00 93.50 84.50 90.00 85.00 82.50 91.00 90.50 89.50 86.00 90.50 87.50 83.00 85.00 89.00 86.50 88.48

ตาราง 41 เกณฑการประเมินผลทักษะปฏิบัติ คะแนนรอยละ 90 ขึ้นไป 75 - 89 60 - 74 30 - 59 ต่ํากวา 30

ผลการประเมิน ผลการประเมินขั้นดีมาก ผลการประเมินขั้นดี ผลการประเมินขั้นใชได ผลการประเมินขั้นออน ผลการประเมินขั้นไมผาน

คาระดับคะแนน 4 3 2 1 0

คะแนนทักษะปฏิบัติของนักเรียนกลุมตัวอยางที่เรียนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน มีคาเฉลี่ยเทากับ 88.48 ซึ่งเทียบกับเกณฑประเมินแลว ทักษะปฏิบัติอยูในระดับดี


311 ตาราง 42 ทักษะปฏิบัติหลังเรียนกับทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห คนที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

คะแนนทักษะปฏิบัติหลังเรียน (100 คะแนน) กรรมการ เฉลี่ย 1 2 90.00 90 90 91.00 91 91 94.00 94 94 89.50 91 88 91.00 91 91 93.50 94 93 84.50 85 84 90.00 90 90 85.00 85 85 82.50 84 81 91.00 92 90 90.50 90 91 89.50 89 90 86.00 87 85 90.50 91 90 87.50 88 87 83.00 83 83 85.00 85 85 89.00 89 89 86.50 87 86 88.48 เฉลี่ยรวม

คะแนนทักษะปฏิบัติหลังเรียน 2 สัปดาห (100 คะแนน) กรรมการ เฉลี่ย 1 2 89 89 89.00 90 90 90.00 93 92 92.50 89 89 89.00 91 91 91.00 91 91 91.00 86 82 84.00 92 91 91.50 86 86 86.00 84 82 83.00 89 87 88.00 91 89 90.00 88 88.00 88 83 84.00 85 89 89.00 89 86 87.50 89 84 84.50 85 85 85.00 85 89 90.50 92 85 86.00 87 87.98 เฉลี่ยรวม


312 ตาราง 43 คาระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอน ฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต รายการ 1. ดานความนาสนใจ แปลกใหม 1.1 การเรียนวิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนดวย บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตนาสนใจกวา การเรียนแบบเดิมที่ครูสอนโดยตรง 1.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหสนใจเรียนมากขึ้น 1.3 รูสึกชอบความแปลกใหมในการเรียนวิชางานไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสเบื้องตนจากบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต 2. ดานการเรียนรูดวยตนเอง 2.1 การเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตนั้นทําใหไดเรียนอยางเต็มที่ 2.2 บทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง 2.3 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น 2.4 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหทบทวนบทเรียนไดดวยตนเองตามความตองการ 2.5 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหไมรูสึกวาถูกควบคุม 3. ดานไมจํากัดสถานที่และเวลา 3.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทําให เรียนจากทุกสถานที่ที่ตออินเทอรเน็ต 3.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตทําให ไดเรียนทุกเวลาที่อยากเรียน 4. ดานการติดตอสื่อสาร 4.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหตดิ ตอสื่อสารกับครูผูสอนและเพื่อนดวยกันเอง สะดวกยิ่งขึ้น 4.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี เครื่องมือในการติดตอสื่อสารหลายอยางทําใหมีความรูสึกวามีครู คอยชวยเหลือตลอดเวลา

X

SD

แปลผล

4.40

0.75

มาก

4.50

0.61

มาก

4.80

0.41

มากที่สุด

4.30

0.57

มาก

4.25

0.55

มาก

4.40

0.82

มาก

4.30

0.47

มาก

4.45

0.51

มาก

4.40

0.60

มาก

4.60

0.60

มากที่สุด

4.35

0.67

มาก

4.35

0.81

มาก


313 ตาราง 43 (ตอ) รายการ 5. ดานการคนหาขอมูลและแหลงขอมูล 5.1 การเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตทําใหคนหาขอมูลไดสะดวกยิ่งขึ้น 5.2 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี แหลงขอมูลใหเรียนมากกวาการเรียนแบบเดิมที่ครูสอนโดยตรง 6. ดานการฝกปฏิบัติ 6.1 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตชวย ใหเขาใจขั้นตอนการฝกปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 6.2 การเรียนฝกปฏิบัติกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตนั้นทําใหนักเรียนปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 6.3 บทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ตมี ความเหมาะสมกับการเรียนฝกปฏิบัติ 7. ดานความชอบ 7.1 ตองการเรียนดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตในโอกาสตอไป 7.2 ตองการใหมีการใชบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ตในวิชาอื่น ๆ บาง 7.3 ในภาพรวมชอบเรียนกับบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบน เครือขายอินเทอรเน็ต รวมเฉลี่ย

X

SD

แปลผล

4.55

0.60

มากที่สุด

4.40

0.68

มาก

4.45

0.60

มาก

4.40

0.60

มาก

4.45

0.60

มาก

4.45

0.60

มาก

4.55

0.60

มากที่สุด

4.60 4.45

0.60 0.61

มากที่สุด มาก


314

ภาคผนวก ซ ภาพตัวอยางบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน


315

ภาพประกอบ 19 หนาแรกของบทเรียนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ภาพประกอบ 20 หนาสําหรับใหผูเรียน Log in และสมัครสมาชิก


316

ภาพประกอบ 21 หนาสําหรับใหผูเรียนกรอกรายละเอียดเพื่อสมัครสมาชิกใหม


317

ภาพประกอบ 22 รายการหลักสําหรับการเรียนการสอนฝกปฏิบตั ทิ างเทคนิค


318

ภาพประกอบ 23 เนื้อหาบทเรียน

ภาพประกอบ 24 เนื้อหาที่เปนภาพเคลือ่ นไหว


319

ภาพประกอบ 25 เนื้อหาที่เปนสตรีมมิ่งวีดิโอ(Streaming Video) สอนทักษะปฏิบัติ

ภาพประกอบ 26 โปรแกรมจําลองสถานการณการประกอบวงจร


320

ภาพประกอบ 27 โปรแกรมฝกอานคาความตานทาน

ภาพประกอบ 28 โปรแกรมฝกปฏิบตั ิการใชมัลติมิเตอร


321

ภาพประกอบ 29 การทดลองเสมือนจริง (Virtual Laboratory)

ภาพประกอบ 30 โปรแกรมเซอรกิตเมคเกอร (Circuitmaker)


322

ภาพประกอบ 31 การประกาศขาว

ภาพประกอบ 32 เครื่องมือการติดตอสือ่ สารกระดานสนทนา (Web Board)


323

ภาพประกอบ 33 เครื่องมือการติดตอสือ่ สาร หองสนทนาสด (Chat Room)

ภาพประกอบ 34 แบบฝกหัด


324

ภาพประกอบ 35 แบบทดสอบ

ภาพประกอบ 36 ผลการเรียน


325

ภาคผนวก ญ ภาพกิจกรรมการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ดวยบทเรียนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน


326

ภาพประกอบ 37 การเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ภาพประกอบ 38 การเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต


327

ภาพประกอบ 39 การเรียนการสอนฝกปฏิบตั ิทางเทคนิคบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ภาพประกอบ 40 ผลงานและแฟมสะสมงานของนักเรียน


ประวัติยอผูวิจัย


329

ประวัติยอผูวิจัย ชื่อ - ชื่อสกุล วันเดือนปเกิด สถานที่เกิด สถานที่อยูปจจุบัน ตําแหนงหนาที่การงานปจจุบัน สถานที่ทํางานปจจุบัน

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2532

พ.ศ. 2534

พ.ศ. 2536

พ.ศ. 2544

พ.ศ. 2551

นายอภิชาติ อนุกูลเวช 2 กรกฎาคม 2513 อ.บานบึง จ.ชลบุรี 16 หมู 3 ต.หนองอิรุณ อ.บานบึง จ.ชลบุรี 20220 ครู คศ.2 แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี 205 หมู 3 ต.หนองชาก อ.บานบึง จ.ชลบุรี 20170

สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาไฟฟากําลัง วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาไฟฟากําลัง วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี สําเร็จการศึกษาปริญญา อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีการวัดคุมทางอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สําเร็จการศึกษาปริญญา ครุศาสตรอตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สําเร็จการศึกษาปริญญา การศึกษาดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.