test

Page 1

แนะนำกำรเขียนภำษำจำวำ

โดย วิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา ดุษฎี ประเสริฐธิตพิ งษ์

1-1


1. ทาความรู้ จักภาษา Java จาวาเป็ น Programming Language พัฒนาขึน้ ที่ Sun Microsystems เมื่อปี ค.ศ. 1991 โดย Jame Gosling เป็ นหัวหน้ าทีม พัฒนาเป้าหมายการพัฒนาโปรแกรม “พัฒนาภาษาและระบบปฏิบัตกิ ารที่เป็ นอิสระจากแพลทฟอร์ ม (Platform-independent Language and Platform-Independent Operating System) เพือ่ ใช้ ในอุปกรณ์ ไฟฟ้า เช่ น เครื่องปิ้ งขนมปัง เตาไมโครเวฟ เป็ นต้ น” มีชื่อเรียกในยุคแรกว่ า OAK 1-2


1. ทาความรู้ จักภาษา Java (ต่ อ) ค.ศ. 1993 World Wide Web เริ่มแพร่ หลายทีมพัฒนาพบว่ าจาวา เป็ นภาษาทีม่ ีสถาปัตยกรรมทีเ่ หมาะสมกับการทางานบน Internet เนื่องจาก -> Small : Faster to download off a page -> Secure : Prevent hacker’s programs that wreak havoc on browser user’s system. -> Portable : It can run on Windows, Macintosh, and other platform without modification. ประกาศตัวครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1995 1-3


1. ทาความรู้ จักภาษา Java (ต่ อ) ภาษาคอมพิวเตอร์ สมัยก่อน -> แปล Source Code เป็ นภาษาเครื่อง -> เมื่อมีการเปลีย่ น Chip จะต้ อง Compile โปรแกรมใหม่ -> ทาให้ ความน่ าเชื่อถือของโปรแกรมลดลง ภาษาจาวา -> แปล Source Code เป็ นภาษาเครื่องที่ไม่ ขนึ้ กับ Platform -> คาสั่ งนั้นจะถูกแปลอีกครั้งในช่ วง Run-time โดย Java Virtual Machine (JVM) ทางานในลักษณะ Interpret -> เป็ นภาษาทีเ่ หมาะกับงานอินเตอร์ เน็ตและงานโปรแกรม ทั่วไป 1-4


แผนภาพแสดงการใช้ งานคอมไพเลอร์ อนื่ ๆ Source Code

Compiler (Pentium)

Binary File (Pentium)

Compiler (PowerPC)

Binary File (PowerPC)

Compiler (SPARC)

Binary File (SPARC)

1-5


แผนภาพแสดงการใช้ งานจาวา

Java Code

.java

Java Bytecode (PlatformJava Compiler Independent) (Pentium)

Java Interpreter (Pentium)

.class Java Compiler (PowerPC) Java Compiler (SPARC)

Java Interpreter (PowerPC) Java Interpreter (SPARC) 1-6


2. ทาความรู้ จักกับ Class คือการประกาศภาพรวมของกลุ่มวัตถุ (Object) ที่ มีคุณลักษณะ (Attribute) ทีเ่ หมือนกัน มีพฤติกรรมที่ เหมือนกัน ในการประกาศ Class สิ่ งทีต่ ้ องทาการประกาศ ประกอบด้ วย Data(ข้ อมูล) และ พฤติกรรม (Behavior) หรือ การกระทา (Operation) สาหรับ Class นั้น

1-7


ตัวอย่ างที่ 1

Class ของรถ สิ่ งที่เราต้ องประกาศภาพรวม ได้ แก่

Data

- ยีห่ ้ อ - รุ่น

- สี

Behavior - เดินหน้ า - ถอยหลัง - หยุด

- เลขทะเบียน

1-8


3. ทาความรู้ จักกับ Object (วัตถุ)

คือ สิ่ งที่เป็ นตัวแทนของ Class มีคุณลักษณะทีบ่ ่ ง บอกถึงความเป็ นตัวเอง และสามารถแสดงพฤติกรรมได้

1-9


ตัวอย่ าง

แสดงตัวอย่ างของ Object จาก Class ของรถ ตัวอย่ าง ทีผ่ ่ านมา

รถยนต์ ยหี่ ้ อ MIZUBISHI รุ่ น Lancer สี แดง ทะเบียน กท.7864

1-10


4. รู ปแบบของโปรแกรมในภาษา Java การโปรแกรมในภาษาจาวาทาได้ ใน 2 ลักษณะ 1. Application เป็ นโปรแกรมทัว่ ไปที่เขียนขึน้ ด้ วยภาษาจาวา สามารถทางาน ได้ ด้วยตัวเองโดยไม่ ต้องอาศัย Browser 2. Applet เป็ นจาวาโปรแกรมทีฝ่ ังตัวอยู่ในภาษาอืน่ ๆ การใช้ งาน Applet จะขึน้ อยู่กบั ความสามารถของ Java Browser 1-11


5. รู ปแบบของโปรแกรมภาษา Java แบบ Application คาอธิบายโปรแกรม (Comment) Import Statements class { public static void main (String args[ ] ) { }

}

ชื่อ Class Method Body

1-12


6. การ Edit-Compile-Run โปรแกรมภาษา Java แบบ Application javac FirstPrg.java FirstPrg.java

FirstPrg.class

java FirstPrg

1-13


7. โปรแกรมแรกสาหรับการรู้ จักการเขียน Java แบบ Application import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-14


ผลการ Run โปรแกรม

1-15


8. Comment /* This is a comment on one line */ /* comment number 1 */ /* สองอันนีเ้ ป็ น ส่ วนหนึ่งของ /* /* comment 2 /* comment number 2 */ 1-16


8. Comment (ต่ อ) // ใช้ สาหรับการเขียน Comment ในหนึ่งบรรทัด /** และ */ ใช้ ใน JavaDoc เพือ่ ให้ สร้ าง เอกสารประกอบโปรแกรมอัตโนมัติ

1-17


ตัวอย่ าง

แสดงตัวอย่ างของ Header Comment

/********************************************* ****** Program : TextEditor (Lab1.java) Author : Wijak Srisujjalertwaja Written : October 19, 2000 Course : 204217, 2nd Semester 2000. Assignment No. 1 Compile : javac Lab1.java Run : java Lab1 Description : This program is perform ………….

1-18


9. Import Statement เมื่อต้ องการเรียกใช้ งาน Class ต่ างๆ ทีถ่ ูกประกาศ ไว้ แล้ ว (Predefined Classes) โดยในภาษา Java จะจัดเก็บ Class ที่ทาการประกาศไว้ แล้ วรวมกันเรียกว่ า Packages

1-19


9. Import Statement (ต่ อ) import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-20


10. การประกาศ Class (Class import javabook.*; Declaration) class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-21


10. การประกาศ Class (ต่ อ) ชื่อของคลาส

class MyFirstApplication Class Body { }

-> Data Members -> Method

1-22


11. การประกาศเมธอด (Method Declaration) import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-23


11. การประกาศเมธอด (ต่ อ) Modifier

Return Type

Method Name

public static void main(String args[ ]) {

}

Parameter 1-24


12. ลักษณะการใช้ งาน Object ในโปรแกรม ลักษณะการใช้ งาน Object ในโปรแกรม สามารถ แบ่ งออกเป็ น 3 ลักษณะ 1. การประกาศออปเจกต์ (Object Declaration) 2. การสร้ างออปเจกต์ (Object Creation) 3. การส่ งแมสแสจ (Message Sending) 1-25


12.1 การประกาศออปเจกต์ (Object Declaration) import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-26


12.1 การประกาศออปเจกต์ (ต่ อ) ชื่อของคลาส

ชื่อของออป เจกต์

MainWindow mainWindow;

1-27


12.2 การสร้ างออปเจกต์ (Object Creation) import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-28


12.2 การสร้ างออปเจกต์ (ต่ อ) ชื่อของออปเจกต์

ชื่อของคลาส

Argument

mainWindow = new MainWindow ( ); คาสั่ งสาหรับการสร้ างออปเจกต์ 1-29


ข้ อแตกต่ างระหว่ างการประกาศออปเจกต์ กับ การสร้ างออปเจกต์ Account account; account = new Account ( );

account Account

1-30


ข้ อแตกต่ างระหว่ างการประกาศออปเจกต์ กับ การสร้ างออปเจกต์ (ต่ อ) Account account; account = new Account ( ); account account = new Account ( ); Account

Account

1-31


ข้ อแตกต่ างระหว่ างการประกาศออปเจกต์ กับ การสร้ างออปเจกต์ (ต่ อ) Account account; account = new Account ( ); account account = new Account ( ); Account

Account

Deallocate 1-32


ข้ อแตกต่ างระหว่ างการประกาศออปเจกต์ กับ การสร้ างออปเจกต์ (ต่ อ) Account account; account = new Account ( ); account account = new Account ( ); Account

1-33


11.3 การส่ งแมสแสจ (Message Sending) import javabook.*; class MyFirstApplication { public static void main(String args[ ]) { MainWindow mainWindow; mainWindow = new MainWindow( ); mainWindow.show( ); } }

1-34


11.3 การส่ งแมสเสจ (ต่ อ) ชื่อของออปเจกต์

ชื่อเมธอด

Argument

mainWindow . show ( );

1-35


12. รู ปแบบของโปรแกรมภาษา Java แบบ Applet คาอธิบายโปรแกรม (Comment)

import java.applet.* ; import java.awt.*; public class {

}

Import Statements extends Applet

ชื่อ Applet

Data Member Method Member

1-36


12. การ Edit-Compile-Run โปรแกรมภาษา Java แบบ Applet Java Bytecode Java Code

.java

Java Compiler (Pentium)

.class

Webpage

+

.html

appletviewer

Java Compiler (SPARC)

1-37


12.1 แผนภาพแสดงการ Edit-Compile-Run แบบ Applet javac MyApplet.java MyApplet.java

+

MyApplet.class MyApplet.html

appletviewer MyApplet.html 1-38


13. โปรแกรมแรกสาหรับการรู้ จักการเขียน Java แบบ Applet import java.applet.*; import java.awt.*; public class MyFirstApplet extends Applet { public void paint(Graphics graphic) { graphic.drawString(“I Love Java”,70,70); graphic.drawRect(50,50,100,30); } }

1-39


14. การเขียน HTML file เพือ่ เรียกใช้ งาน Applet <HTML> <BODY> <APPLET CODE = “MyFirstApplet.class” WIDTH = 300 HEIGHT = 190> </APPLET> </BODY> </HTML> 1-40


ผลการ Run โปรแกรม

1-41


1-42


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.