กฟผ. สร้างฝันปันสุข

Page 1



1


กฟผ. ได้ด�ำเนินโครงการเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่าง ต่อเนือ่ ง ด้วยความมุง่ มัน ่ ในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ควบคูไ่ ปกับ การสร้างความเติบโตทางธุรกิจด้านพลังงานไฟฟ้าอย่างมัน ่ คง โดยได้ ด�ำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ทั้งในกระบวนการหลัก (CSR in Process) และนอกกระบวนการผลิต (CSR after Process) สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชนบริเวณรอบโรงไฟฟ้าและตามแนว สายส่งไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. อย่างสม�่ำเสมอ พร้อม ๆ กับการ สนับสนุนและส่งเสริมบุคลากรของ กฟผ. ให้มจี ต ิ อาสาเข้าร่วมกิจกรรม สาธารณประโยชน์ ร่วมสร้างสังคมและสิง่ แวดล้อมให้อยูด ่ ี มีความสุข อย่างยั่งยืน

2


สารบัญ ค�ำน�ำ CSR in Process ใส่ใจสิ่งแวดล้อม การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า หรือ DSM อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม CSR after Process โครงการด้านสังคม โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โครงการแว่นแก้ว โรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ จ.ชุมพร โครงการเขื่อนสิรินธรโมเดล โครงการห้องเรียนสีเขียว ส่งเสริมพนักงานจิตอาสา กฟผ. โครงการ กฟผ. เพาะเมล็ดพันธุ์จิตอาสาพัฒนาสังคม (ค่ายเศรษฐกิจพอเพียง กฟผ.) โครงการช่วยเหลือด้านสาธารณภัยต่าง ๆ โครงการด้านสิ่งแวดล้อม โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการปลูกป่า กฟผ. โครงการ Move World Together เพื่อพลังงานและสิ่งแวดล้อม โครงการบ้านปลาปะการังเทียมด้วยลูกถ้วยไฟฟ้า โครงการปะการังเทียมผสมเถ้าลอยลิกไนต์ โครงการคนรักษ์ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ โครงการสร้างฝาย การสนับสนุนด้านกีฬา เพราะเราใส่ใจมากกว่าการผลิตไฟฟ้า บทสรุป

หน้า 2 4 6 7 11 14 16 16 18 19 20 22 24 25 26 28 28 29 32 34 35 36 37 38 40 44


CSR

in Process

เริ่มต้นจากองค์กรสู่ภายนอก

4


การด�ำเนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการ ท�ำงานหลัก

กฟผ. ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมมาโดยตลอด ในกระบวนการท�ำงาน ตั้งแต่การวางแผน การพัฒนา กระบวนการผลิตไปจนถึงการส่ง พลังงานไฟฟ้า เพือ่ ตอบสนองการใช้ไฟฟ้า ของประเทศ และประชาชนอย่างเพียงพอ ด้วยตระหนักถึงสังคมและชุมชนเป็นส�ำคัญ โดยให้ประชาชนมีสว่ นร่วม ตัง้ แต่ขน ั้ ตอนแรก ของการด�ำเนินงานก่อสร้างโรงไฟฟ้า จนกระทั่งหลังก่อสร้างแล้วเสร็จ ทั้งยังได้ เตรียมแผนป้องกันบรรเทาผลกระทบทีอ่ าจ เกิดขึ้นจากการด�ำเนินงานในด้านต่าง ๆ เพือ่ ให้เป็นทีเ่ ชือ่ มัน ่ และไว้วางใจของสังคม เช่น การจัดการป้องกัน หรือก�ำจัดมลพิษ ในกระบวนการผลิต เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบ ต่อชุมชน การลด CO2 ในกระบวนการผลิต ไฟฟ้า เป็นต้น

5


ใส่ใจสิ่งแวดล้อม กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญอย่างต่อเนื่องกับการบริหารจัดการด้าน สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด�ำเนินงานภายใต้วัฒนธรรมสีเขียว โดยการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ ในการผลิตไฟฟ้า พร้อมทั้งปฏิบัติตามกฎหมายของภาครัฐและกฎหมาย สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยเน้นการประเมินผลกระทบทาง สังคม (Social Impact Assessment : SIA) และการประเมินผลกระทบทาง สุขภาพ (Health Impact Assessment : HIA) รวมถึงการน�ำระบบการจัดการ สิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล (ISO 14001) และระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 18001) มาใช้ ตัง้ แต่เริม ่ ระยะก่อสร้างโรงไฟฟ้า จนถึงระยะด�ำเนินการผลิตพลังงานไฟฟ้า ทัง้ นี้ เพือ่ ลด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสร้างความรูค ้ วามเข้าใจทีถ ่ ก ู ต้อง อันน�ำไปสูก ่ าร สร้างการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง

6


การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า หรือ DSM

กฟผ. ด� ำ เนิ น โครงการ การจั ด การด้ า น การใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management : DSM) โดยส่งเสริมด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยมาตรการและแนวทางต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการน�ำเข้าเชื้อเพลิง ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) อีกทัง้ ช่วย รักษาเสถียรภาพในภาพรวมของก�ำลังการผลิตในช่วง ที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ด้วยการด�ำเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 3 อ. ได้แก่ อ.อุปกรณ์ อ.อาคาร และ อ.อุปนิสัย เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าทั้งภาค ทีอ่ ยูอ่ าศัย ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม โดยด�ำเนินการ ไปพร้อมกับการเสริมสร้างทัศนคติ จิตส�ำนึก ด้านการ ประหยัดพลังงาน

7


กลยุทธ์ 3 อ. อ. อุปกรณ์ ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 สัญลักษณ์ของความประหยัด กฟผ. ด�ำเนินโครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 โดยการรณรงค์ ให้ผู้ผลิต/น�ำเข้า และจัดจ�ำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า ด�ำเนินการผลิตและน�ำเข้า อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดไฟและมีประสิทธิภาพสูง โดยใช้ฉลากประหยัด ไฟฟ้าเบอร์ 5 เป็นสัญลักษณ์ของความประหยัดไฟฟ้า ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ ที่ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพด้านการประหยัดไฟฟ้า ติดฉลากประหยัด ไฟฟ้าเบอร์ 5 ไปแล้ว 30 ผลิตภัณฑ์ หรือกว่า 357 ล้านฉลาก *(ข้อมูลเดือน ก.ย. 61) ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ได้เข้ามาอยู่ในชีวิตประจ�ำวันของคนไทย ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภค ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งป็นผลจากความตั้งใจ ของ กฟผ. ที่มุ่งมั่นพัฒนาประสิทธิภาพเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ประหยัดไฟ เพื่อให้ผู้ บริโภค ได้รับคุณประโยชน์จากการใช้เท่าเดิมแต่จ่ายค่าไฟลดลง

8


อ. อาคาร อาคารประหยัดพลังงาน มุ่งสนับสนุน ผลักดัน ให้เกิดการใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมถึงบ้านที่อยู่อาศัย ซึ่งมีการใช้ ไฟฟ้าปริมาณมาก โดยมุ่งให้เกิดการตระหนัก และลงทุนในการปรับเปลี่ยน อาคารเก่าให้มป ี ระสิทธิภาพ ในการใช้พลังงาน ผลักดัน ให้ มี ก ารออกแบบและ ใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ใ นการ ก่อสร้างประสิทธิภาพสูง ส�ำหรับอาคารใหม่ เพื่อให้ ผูใ้ ช้งานอาคารได้รบั ประโยชน์ จากการใช้พลังงานทีล่ ดลง ในอาคาร

9


อ. อุปนิสัย สร้างจิตส�ำนึกประหยัดไฟ แนวทางอนุรักษ์พลังงาน อย่างยั่งยืน เสริมสร้างทัศนคติ ด้านการประหยัดพลังงาน ให้เราเป็นทั้งผู้ใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพและเป็น ผูผ ้ ลิตพลังงานด้วย นับเป็น แนวทางส�ำคัญทีส ่ ด ุ ทีจ่ ะก่อให้ เกิดการประหยัดไฟฟ้าอย่าง ยั่งยืน

ผลการลดการใช้ไฟฟ้าสะสมตัง้ แต่ เริม ่ ด�ำเนินโครงการเมือ่ ปี 2536 จนถึงปี 2561 (ข้อมูลเดือน ก.ย. 61) สามารถลด ปริมาณก�ำลังไฟฟ้าได้ 4,662.8 เมกะวัตต์ ลดพลังงานไฟฟ้าได้ 27,666.1 ล้านกิโล วัตต์-ชัว่ โมง และลดปริมาณการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการผลิต กระแสไฟฟ้าได้ จ�ำนวน 15.7 ล้านตัน

10


อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กฟผ. มุง่ มัน ่ ด�ำเนินกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย การลดก๊าซเรือนกระจกของ กฟผ. ตามแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสม ของประเทศ (NAMAs) ในปี 2563 เท่ากับ 4 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ (MtCO2) โดยปี 2560 กฟผ. ได้ประเมินผลและรายงานการลดก๊าซเรือนกระจก ในระดับมาตรการ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 จากมาตรการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทน มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า มาตรการผลิตไฟฟ้า จากโรงไฟฟ้าเทคโนโลยีสะอาด และมาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลาก อุปกรณ์เบอร์ 5 คิดเป็นปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกได้ทั้งสิ้น 3,959,171 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ (tCO2)

11


นอกจากนั้น กฟผ. ได้ด�ำเนินการลดก๊าซเรือนกระจกระดับโครงการ ทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ โดยในระดับสากลได้ด�ำเนินการผ่าน โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ซึ่งในปี 2560 กฟผ. ได้รับการรับรองปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกจาก คณะกรรมการบริหารโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM Executive Board: CDM EB) จ�ำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที่ 10 - 11 โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ท้ายเขือ่ นแม่กลอง และโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำท้ายเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

12


ส�ำหรับโครงการลดก๊าซเรือน กระจกในระดั บ ประเทศ กฟผ. ได้ ด�ำเนินการผ่านโครงการลดก๊าซเรือน กระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER) โดยในปี 2560 กฟผ. ได้รบ ั การรับรอง ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกจาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) จากโครงการลดก๊าซ เรือนกระจกโดยการปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่างภายในสถานีไฟฟ้า แรงสูง กฟผ.

13


CSR

after Process

พร้อมดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม 14


การดูแลสังคมในภาพรวม กฟผ. ยังคงมุ่งมั่นที่จะส่งเสริม กิจกรรมสร้างประโยชน์แก่สังคม ชุมชนและ สิง่ แวดล้อมในด้านต่าง ๆ ทีอ่ ยูน ่ อกเหนือจาก การด�ำเนินงานตามปกติ อย่างใส่ใจด้วยใจจริง เสมอมา เช่ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต การช่ ว ยแก้ ปัญหาสังคม เป็นอาสาสมัคร ช่วยบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ การอนุรักษ์ และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

15


โครงการด้านสังคม

โครงการชีววิถีเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน

เป็นโครงการที่ กฟผ. ด�ำเนินการต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2542 จนถึงปัจจุบน ั โดยได้นอ้ มน�ำแนวพระราชด�ำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มาปฏิบต ั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการส่งเสริมให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ มีความเป็นอยู่อย่างพอประมาณ ลดการใช้สารเคมี ตามวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นหัวใจในการพัฒนา อย่างยัง่ ยืน มุ่งเน้นถ่ายทอดความรู้เกีย ่ วกับการใช้จุลินทรีย์ทม ี่ ีประสิทธิภาพ (Effective Microorganisms: EM) แทนสารเคมีในการด�ำเนินงาน 4 กิจกรรม ได้แก่ การเกษตร การเลี้ยงสัตว์น�้ำ การปศุสัตว์ และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นชุมชนบริเวณใกล้เคียงสายส่งไฟฟ้าแรงสูง 16


รอบเขือ่ น และโรงไฟฟ้า เปิดโอกาสให้ประชาชนทัว่ ไปได้เรียนรูแ้ นวคิดทาง “ชีววิถ”ี ด้วยการพาลงมือท�ำ ให้ได้เรียนรู้ ทดลอง และปฏิบต ั จิ ริงจนเกิดความเชีย่ วชาญ สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้เกิดการเกื้อกูล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพึง่ พา กันในชุมชน โดยในปี 2561 มีชุมชนที่ได้รับแนวความรู้ชีววิถีไม่น้อยกว่า 400 แห่งทั่วประเทศ และมีชุมชนต้นแบบชีววิถี กฟผ. มากกว่า 50 ชุมชน ที่ได้น�ำ แนวทางนี้ไปปฏิบัติใช้และเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างยัง่ ยืน

17


โครงการแว่นแก้ว การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้จด ั ท�ำ “โครงการแว่นแก้ว” เพือ่ เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส ที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 48 พรรษา (4รอบ) ในปี 2546

เนือ่ งด้วยปัญหาเกีย่ วกับความบกพร่องทางสายตา สามารถเกิดขึน ้ ได้ กับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย และทุกฐานะในสังคม กฟผ. ได้คำ� นึงถึงความส�ำคัญ ของมาตรฐานชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน จึงได้ด�ำเนินการออกหน่วย วัดสายตาและมอบแว่นตาให้แก่ผู้มีปัญหาทางสายตาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยไม่คิดมูลค่า ด้วยเหตุผลทีต ่ ้องการให้มีคุณภาพชีวิตทีด ่ ีขึ้น ปัจจุบนั โครงการแว่นแก้ว ได้ดำ� เนินภารกิจอย่างต่อเนือ่ ง สามารถช่วยเหลือ ผู้มีปัญหาทางสายตาและได้รับการแก้ไขปัญหาไปแล้วกว่า 260,000 คน และ กฟผ. ยังมีเป้าหมายทีจ่ ะช่วยเหลือผูท ้ ไี่ ด้รบ ั ผลกระทบจากการด�ำเนินงานและ ผูท ้ ม ี่ ค ี วามบกพร่องทางสายตาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวต ิ และสามารถอยูร่ ว่ ม กับชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน 18


โรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ จ.ชุมพร เป็นโครงการต้นแบบที่ใช้ หลักการ 3 ด้าน คือ กระบวนการ มีส่วนร่วม ความเสมอภาค และ ความเป็นเจ้าของ ให้ชุมชนพึ่งพา ตนเองได้ตามแนวทางการพัฒนา อย่างยั่งยืน เป็นความภาคภูมิใจ ของ กฟผ. ในการด�ำเนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม ทีม ่ งุ่ เน้น “การให้อย่างมีคุณค่า รับอย่างมี ศักดิศ ์ รี” มีสว่ นร่วมในการสร้างพลัง ชุมชนและสนับสนุนเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้าขนาดเล็กจากงานวิจย ั กฟผ. ขนาด 100 กิโลวัตต์ และงบประมาณ การติ ด ตั้ ง สมทบร่ ว มกั บ ชุ ม ชน จนสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ ได้เอง ตั้งแต่ปี 2555 และสามารถ คว้ารางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม รางวัล Energy Awards ทั้งระดับประเทศ และระดับอาเซียน 3 รางวัลซ้อน ในปี 2556

19


โครงการเขือ่ นสิรินธรโมเดล ริเริม่ ขึน้ ในปี 2559 เป็นการน้อมน�ำแนวทาง ของ “ดอยตุงโมเดล” คือ “ศาสตร์พระราชา” และ “ต�ำราแม่ฟ้าหลวง” มาปรับใช้เพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และสังคม โดยรอบพื้นทีเ่ ขื่อนสิรินธรของ กฟผ. จังหวัด อุบลราชธานี โดยหลักการส�ำคัญคือ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” สูก ่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มุง่ เน้นการ พัฒนาอาชีพสร้างรายได้ สร้างความเข้มแข็งให้ ชุมชนสามารถอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเองอย่างมีความสุข และต่อยอดเป็นโครงการต้นแบบการพัฒนา ชุมชนรอบหน่วยงาน กฟผ. ทัว่ ประเทศ ในการ ดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมต่อไป

20


โครงการเขือ่ นสิรินธรโมเดลมีหัวใจส�ำคัญในการด�ำเนินงาน 6 ด้านคือ 1. ชุมชนต้องมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. ต้องมีตลาดรองรับผลผลิตของชุมชน 3. ท�ำในสิง่ ทีเ่ ป็นความต้องการของชุมชน 4. สร้างรายได้ให้กับชุมชนโดยที่ไม่ใช่ เป็นการให้เปล่า และหากชาวบ้านมีกำ� ไร เหลือ จะน�ำไปจัดตัง้ กองทุนเพือ่ พัฒนา ต่อยอดต่อไป 5. สร้างศูนย์การเรียนรู้ โดยท�ำต้นแบบ ให้ชาวบ้านได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้และ ให้ชาวบ้านลงมือปฏิบัติเอง 6. สร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ในจังหวัดอุบลราชธานีเพือ่ สร้าง นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์พฒ ั นาอาชีพ ของชุมชน กฟผ. จะผลักดันเขื่อนสิรินธรให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวไปพร้อมกับการ พัฒนาชุมชนรอบเขือ่ นให้เป็นหมูบ ่ า้ นท่องเทีย ่ ว เปิดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ชม ุ ชน อาทิ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ผักออร์แกนิค ปลาแก้ว ปลาส้ม ให้กับผู้มาเยือน ควบคู่การท�ำการตลาดออนไลน์เพื่อสร้างรายได้ แล้วแบ่งผลก�ำไรมาจัดตั้ง กองทุนพัฒนาชุมชนให้ทุกคนพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน 21


โครงการห้องเรียนสีเขียว

โครงการห้องเรียนสีเขียว จัดตั้งขึ้นในปี 2541 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชน มีอป ุ นิสย ั ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า และรักษา สิง่ แวดล้อมโดยการเรียนรู้ จากการลงมือปฏิบต ั ด ิ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการเรียน การสอน ในห้องเรียน สีเขียวและกิจกรรมนอกห้องเรียนด้วยความสนุกสนาน เพื่อให้เกิดทัศนคติใน การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพและน�ำไปปฏิบัติจนเป็นปกตินิสัย ปัจจุบันมี ห้องเรียนสีเขียวในโรงเรียนทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทั่วประเทศ จ�ำนวน 414 โรงเรียน และมีการพัฒนาจากห้องเรียนสีเขียวไปสู่การเป็น “โรงเรียนสีเขียว” ซึ่งหมายถึงโรงเรียนต้นแบบด้านการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีส่วนร่วมทั้งโรงเรียนและเป็น ระบบ โดยเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมา ปั จ จุ บั น มี โ รงเรี ย นที่ ผ่ า นการประเมิ น ยกระดั บ เป็ น โรงเรี ย นสี เ ขี ย ว จ� ำ นวน 177 โรงเรี ย น 22


ตั้ ง แต่ ป ี 2557 กฟผ. ริ เ ริ่ ม พั ฒ นาไปสู ่ ก ารเป็ น “โรงเรียนคาร์บอนต�่ำ” เพือ่ กระตุน ้ และสร้างแรงจูงใจให้โรงเรียนในโครงการฯ มีความตืน ่ ตัวในการจัด กิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างเป็นระบบ และเป็นรูปธรรม จนพัฒนาสู่ “ชุมชน ประหยัดพลังงานเบอร์ 5” เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชน ในพื้นที่ ในด้านการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและปลอดภัย อีกทั้ง ร่วมกันวางแผนและช่วยกันประหยัดพลังงาน ให้ทก ุ ฝ่ายได้เข้ามามีสว่ นร่วมใน การพัฒนาชุมชนของตนเองไปสูก ่ ารเป็นชุมชนสีเขียวและชุมชนคาร์บอนต�ำ่ ได้ อย่างยั่งยืน ชุมชนประหยัดพลังงานเบอร์ 5 แห่งแรกของประเทศไทย เกิดขึ้น ณ ชุมชนปวงสนุก ต.บ้านกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ มีประชาชนในชุมชน จ�ำนวน 33 ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ โดยอนาคตมีแผนด�ำเนินการจัดตั้ง ชุมชนประหยัดพลังงานเบอร์ 5 ในภูมิภาคอื่น ๆ ต่อไป

23


ส่งเสริมพนักงานจิตอาสา กฟผ. สนับสนุนและส่งเสริมพนักงานจิตอาสา กฟผ. เพือ่ ร่วมกันท�ำประโยชน์ ให้แก่สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ผ่านโครงการ คน กฟผ. ขอท�ำดี หรือการเป็นเครือข่ายผ่านทาง Social Network Fanpage “จิตอาสา กฟผ.” ในการท�ำประโยชน์ร่วมกันต่อไป

24


โครงการ กฟผ. เพาะเมล็ดพันธุจ์ ต ิ อาสาพัฒนาสังคม (ค่ายเศรษฐกิจพอเพียง กฟผ.) ด้วยตระหนักถึงความส�ำคัญของการสร้าง คนรุ่นใหม่ที่นับเป็นความหวังของประเทศชาติ กฟผ. ได้ส่งเสริมสนับสนุนเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้มีจิตสาธารณะ มีความคิดสร้างสรรค์ โดยได้ น้อมน�ำศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

มาพัฒนาเยาวชนและชุมชนโดยรอบพื้นที่ กฟผ. เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การพึง่ พาตนเอง มีการด�ำเนินชีวต ิ อยูอ่ ย่างพอประมาณ มีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีด ่ แี ละ มีรายได้อย่างพอเพียง ควบคูก่ บ ั การพัฒนาและดูแลสิง่ แวดล้อมในชุมชน โดยผ่าน กิจกรรม ค่ายเศรษฐกิจพอเพียง กฟผ. ภายใต้ “โครงการ กฟผ. เพาะเมล็ดพันธุ์ จิตอาสาพัฒนาสังคม” ซึง่ ส่งเสริมให้เยาวชนมีจต ิ อาสา น�ำความคิดสร้างสรรค์ คิดค้นนวัตกรรมมาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับชุมชนให้เกิดการพัฒนา อย่างยัง่ ยืนและลดความเหลือ่ มล�ำ้ ของรายได้ และมีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีด ่ ต ี ามเป้าหมาย ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างเครือข่ายและกระบวนการการมีสว่ นร่วมระหว่าง กฟผ. ในพื้นที่กับเครือข่ายเยาวชนและเครือข่ายชุมชนโดยรอบพื้นที่ กฟผ. 25


โครงการช่วยเหลือด้านสาธารณภัยต่าง ๆ โครงการช่วยเหลือด้านสาธารณภัยต่าง ๆ โดยจัดทีมกูช้ พ ี ออกช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยน�้ำท่วม มอบถุงยังชีพ ตั้งโรงครัวประกอบอาหารและแจกจ่าย อาหาร รวมทั้งช่วยเหลือผู้ประสบภัยหนาว

26


นอกจากนี้ กฟผ. ยังมีนก ั ประดาน�ำ้ ทีน ่ อกจากมีหน้าทีห ่ ลักในการดูแล อุปกรณ์ของ กฟผ. ที่อยู่ใต้น�้ำทั้งของโรงไฟฟ้าและเขื่อนให้มีความสมบูรณ์ พร้อมตลอดเวลาแล้ว นักประดาน�้ำ กฟผ. ยังมีการปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือ สังคม โดยการร้องขอจากทั้งภายในและภายนอก กฟผ. อาทิ งานค้นหา จากอุบัติเหตุทางน�้ำ หรือเมื่อมีงานเทศกาลหรืองานส�ำคัญในพื้นที่ กฟผ. ที่ต้องเกี่ยวข้องกับทางน�้ำ นักประดาน�้ำจะไปประจ�ำบริเวณนั้น ๆ เพื่อคอย ดูแลความปลอดภัย

27


โครงการด้านสิง่ แวดล้อม โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

กฟผ. ได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้ร่วมสนองพระราชด�ำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตัง้ แต่ปี 2548 ภายใต้วส ิ ย ั ทัศน์ “อนุรก ั ษ์ พันธุกรรมพืชป่ารอบเขือ่ นโรงไฟฟ้าอย่างเห็นคุณและรูค ้ า่ ” โดยในปี 2561 น�ำ พื้นที่ป่ารอบเขื่อนและโรงไฟฟ้าต่าง ๆ จ�ำนวน 16 แห่งทั่วประเทศ รวมเนื้อที่ 22,242 ไร่ เข้าร่วมสนองพระราชด�ำริฯ เพื่อด�ำเนินงานใน 3 ฐานทรัพยากร ได้แก่ ฐานทรัพยากรกายภาพ ฐานทรัพยากรชีวภาพ ฐานทรัพยากรวัฒนธรรม และภูมิปัญญา กิจกรรมสนับสนุน 5 กิจกรรม ประกอบด้วยกิจกรรมปกปัก ทรัพยากร กิจกรรมปลูกรักษาทรัพยากร กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร กิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรก ั ษ์ทรัพยากร และ กิจกรรมพิเศษสนับสนุน การอนุรักษ์ทรัพยากร 28


โครงการปลูกป่า กฟผ. ตัง้ แต่ปี 2537 เป็นต้นมา จนถึงปี 2560 กฟผ. ได้ดำ� เนินการปลูกป่า ครอบคลุมพื้นที่กว่า 49 จังหวัด เนื้อที่ปลูกรวมกว่า 4.6 แสนไร่ ในหลาย โครงการ อาทิ

โครงการปลูกป่า กฟผ. เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จ�ำนวน 26,500 ไร่ 29


โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินน ี าถ ในรัชกาล ที่ 9 เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ จ�ำนวน 20,000 ไร่

โครงการปลูกป่า กฟผ. ปกป่า ป้องน�ำ้ ตามรอยพ่อ จ�ำนวน 9,000 ไร่

30


ประเภทป่าที่ กฟผ. ปลูกนัน ้ มีทงั้ ป่าต้นน�ำ้ (ป่าบก) ป่าชายเลน ป่าพรุ ป่าชุมชน และป่าในพืน ้ ทีโ่ ครงการพระราชด�ำริตา่ ง ๆ โดยร่วมมือกับหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง การด�ำเนินงานของโครงการปลูกป่า กฟผ. ยึดหลักการมีส่วนร่วม ของชุมชน ด้วยการจ้างแรงงานท้องถิน ่ หรือราษฎรในพื้นทีใ่ ห้เป็นผู้ปลูก และ บ�ำรุงรักษาป่าที่ปลูกนั้นให้อยู่รอดเป็นป่าที่สมบูรณ์ สร้างจิตส�ำนึกให้ชุมชน เกิดความรัก ความหวงแหนป่าไม้ที่ปลูกในบ้านเกิดของตนเอง ความอุดม สมบูรณ์ของป่าที่ปลูกและการฟื้นคืนของระบบนิเวศป่าไม้ จะสร้างประโยชน์ กลับคืนให้กับชุมชมรอบพื้นทีป ่ ลูกป่าทั้งทางตรงและทางอ้อม ในปี 2561 กฟผ. มีเป้าหมายปลูกป่าชายเลนในพื้นทีภ ่ าคใต้ เพือ่ ฟื้นฟู ระบบนิเวศทรัพยากรป่าชายเลนให้มค ี วามอุดมสมบูรณ์ เพิม ่ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ เป็นแหล่งอาหารของชุมชน ทั้งนี้ ทุกโครงการปลูกป่าของ กฟผ. จะมีการปลูก 1 ปี และบ�ำรุงรักษา ป่าที่ปลูกอย่างต่อเนือ่ ง เป็นเวลา 2 ปี และหลังจากนั้น กฟผ. จะส่งมอบให้ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ดูแลต่อไป 31


โครงการ Move World Together เพื่อพลังงานและสิง่ แวดล้อม เป็นกระบวนการพัฒนาศักยภาพเยาวชนรูปแบบใหม่ ให้เยาวชน “เรียนรู้ เพื่อให้เกิดการเปลีย ่ นแปลง (Transformative Learning)” ในตัวเยาวชนเอง มุง่ เน้นสร้างเยาวชนพันธุใ์ หม่ให้มศ ี ก ั ยภาพทางด้านความคิด รูเ้ ท่าทันปัญหา และสถานการณ์โลก คิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ด้วยเหตุและผล มีวิจารณญาณ เป็นพลเมืองที่มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อ ชาติบ้านเมือง เข้าใจแก่นความรู้ด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม และมีความสามารถในการท�ำงานเป็นทีม

32


โครงการ Move World Together เพื่อพลังงานและสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายหลักในการสร้างคน เพือ่ ให้คนสร้างสังคมทีม ่ ค ี วามสุขอย่างยัง่ ยืน กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ ของเยาวชนในโครงการ จะได้รับการทดสอบจาก การสร้างโครงงานเพือ่ แก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อมใกล้ตวั ภายใน ชุมชนและสังคมในวงกว้าง ด้วยการคิดค้นวิธีการใหม่ ๆ อย่างสร้างสรรค์ ไม่ลอกเลียนแบบ โดยได้รับค�ำแนะน�ำจากผู้เชีย ่ วชาญจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ ของประเทศ เพือ่ น�ำไปปรับปรุงและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เยาวชนโครงการ Move World Together สามารถคว้ารางวัลจากเวที การประกวดระดับชาติและนานาชาติ ตั้งแต่ปี 2557-2561 รวมกว่า 60 รางวัล

33


โครงการปะการังเทียมจากลูกถ้วยไฟฟ้า

โครงการบ้านปลาปะการังเทียมด้วยลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า เป็นโครงการที่ กฟผ. จัดต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2556 เพือ่ สนองพระราชเสาวนียส ์ มเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 เรื่องการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและสิ่งแวดล้อม โดย กฟผ. ได้น�ำลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าที่ ถูกปลดออกจากระบบส่งของ กฟผ. มาดัดแปลงสร้างเป็นปะการังเทียม ให้เป็นแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของปลา สัตว์ทะเล ช่วยฟืน ้ ฟูระบบนิเวศบริเวณชายฝัง่ ทะเลให้มค ี วามอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งเพาะพันธุป ์ ลาสร้างรายได้ให้กบ ั ชุมชน และประมงพื้นบ้าน 34


โครงการปะการังเทียมจากเถ้าลอยลิกไนต์ โครงการปะการังเทียม ผสมเถ้าลอยลิกไนต์ เป็นนวัตกรรม ส�ำหรับแก้ปญ ั หาการกัดเซาะชายฝัง่ ทะเล ที่ต้องมีการเยียวยาอย่าง เร่งด่วนเนือ่ งจากมีผลกระทบต่อ ประชาชนทีอ่ าศัยอยูบ ่ ริเวณพืน ้ ที่ ชายฝั่ง และทางด้านเศรษฐกิจ หลายด้าน กฟผ. ได้สนับสนุน ทุนวิจัย เรื่อง “การศึกษาและ ทดลองประยุกต์ใช้ปะการังเทียม ผสมเถ้าลอยลิกไนต์เพือ่ ป้องกัน การกัดเซาะชายฝัง่ ณ อุทยานสิง่ แวดล้อมนานาชาติสริ น ิ ธร” ให้กบ ั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โดยการน�ำเถ้าลอยลิกไนต์ (Lignite Fly Ash) จากโรงไฟฟ้า แม่เมาะทีเ่ หลือจากกระบวนการ ผลิตกระแสไฟฟ้าจากถ่านหิน ลิกไนต์ เป็นส่วนผสมการท�ำ ปะการังเทียม ผลการศึกษา วิจยั พบว่าการใช้เถ้าลอยเป็น ส่วนผสมของปะการังเทียม ไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน ทะเล สามารถป้องกันการ กัดเซาะชายฝั่งทะเล เป็นผล ส�ำเร็จ รวมถึงยังช่วยฟื้นฟู ทรัพยากรชายฝัง่ ทะเลทีก่ ำ� ลัง เสื่อมโทรมให้คืนความอุดม สมบูรณ์ได้อีกด้วย

35


โครงการคนรักษ์ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ เพือ่ ส่งเสริมคนลุม ่ น�ำ้ ให้ชว่ ยกันดูแลรักษาและฟืน ้ ฟูแหล่งทรัพยากรน�ำ้ ตัง้ แต่ตน ้ ก�ำเนิดมาตามเส้นทางจนถึงปลายทาง ให้สามารถใช้ประโยชน์รว่ มกัน อีกยาวนาน

36


โครงการสร้างฝาย

เพือ่ สร้างฝายชะลอน�ำ้ ในพืน ้ ทีเ่ ขือ่ นต่าง ๆ กว่า 10,000 ฝาย เพือ่ รักษา ความชุ่มชื้นของป่าต้นน�้ำ 37


โครงการสนับสนุนด้านกีฬา

38


การสนับสนุนด้านกีฬา กฟผ. สนับสนุนกีฬาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างโอกาส ให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองและสร้างความภาคภูมใิ จให้แก่คนไทย จนได้รบ ั เหรียญรางวัลชนะเลิศในมหกรรมกีฬาส�ำคัญระดับโลกและ ภูมิภาค ทั้งโอลิมปิคและเอเชี่ยนเกมส์ เช่น โครงการ พัฒนานักกีฬายกน�้ำหนักไทยสู่สากล การแข่งขัน เรือยาวสากลชิงแชมป์โลก กีฬาเปตอง

39


เพราะเราใส่ใจมากกว่าการผลิตไฟฟ้า กฟผ. ได้น�ำแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ตามมาตรฐาน ISO 26000 มาก�ำกับดูแลตามมาตรฐานสากล 7 เรือ่ ง คือ

ธรรมาภิบาล

การปฏิบัติงาน ด้านแรงงาน

การปฏิบัติ ที่เป็นธรรม

40


สิทธิมนุษยชน

ประเด็นด้าน ผู้บริโภค การมีส่วนร่วม ของชุมชนและการ พัฒนาชุมชน

การดูแล สิ่งแวดล้อม 41


ซึ่งเป็นเครือ่ งการันตีการได้รับรางวัลแห่งความภาคภูมิใจหลายรางวัล อาทิ

รางวัลเหมืองแร่สีเขียว ประจ�ำปี 2560 (Green Mining Awards 2017)

รางวัล Thailand Coal Awards 2017

รางวัล ASEAN Coal Awards 2017

รางวัลโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมให้มีการ พัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่าง ยั่งยืน ประจ�ำปี 2560 (CSR-DIW Award 2017) 42


รางวัล Thailand Energy Award 2017 (รางวัลดีเด่นด้านผู้ ส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและพลังงาน ทดแทน ประเภทสมาคม องค์กร หน่วยงานภาครัฐ)

รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจ�ำปี 2560 (รางวัลด้านการบริหาร จัดการองค์กรดีเด่น)

รางวัลองค์กรโปร่งใส ครั้งที่ 7 (NACC Integrity Awards)

รางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ประจ�ำ ปี 2560

รางวัลโครงการส่งเสริมผู้ประกอบการเหมืองแร่ อุตสาหกรรมพื้นฐานสากลเพื่อความรับผิดชอบต่อ สังคม (CSR-DPIM) ประจ�ำปี 2560 43


กฟผ. ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม โดยบูรณาการทัง้ ด้านแนวคิด การน�ำไป ปฏิบต ั ิ และการติดตามผล เพือ่ ปรับปรุงพัฒนาการด�ำเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สมดังค�ำขวัญทีว่ ่า

“กฟผ. ผลิตไฟฟ้าเพือ่ ความสุขของคนไทย”

44




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.