AD.V.

Page 1

MEGA CITY

MICRO NARRATIVE


MILLION STORY

MEGA CITY – MICRO NARRATIVE

2.

FACULTY OF ARCHITECTURE


กรุงเทพมหานคร: เรื่องราวพิเศษอันแสนธรรมดา ORDINARY DAY – EXTRAORDINARY EXPERIENCE ภาพรถไฟฟ า ที ่ ม ี ผ ู  ห นาแน น บริ เ วณริ ม ชานชะลาและ เบียดเสียดกันขึ้นไปเพื่อไดตำแหนงยืนที่ดีที่สุดในทุกเชา หรือภาพหางสรรพสินคาที่ผูคนมักจะไปเดินเลนจับจายใ ชสอยในทุกวันหยุดสุดสัปดาห กลายมาเปนภาพที่คุนตา หรือภาพจดภาพจำที่คนเรามีตอเมืองหลวง - กรุงเทพ มหานครไปเสียแลว หากเมื่อมองลึกลงไปภายใต สถานการณอันแสนธรรมดานี้ (EVERYDAYNESS) จะเห็ น ว า สถานการณ ห รื อ เรื ่ อ งราวที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ภายใต ความธรรมดาลวนแลวมาจาก “ความสัมพันธ” (RELATIONSHIP) ทั้งสิ้น เชน ความสัมพันธระหวาง คนกับคน คนกับสถานที่ หรือคนกับเมือง เปนตน ซึ่งหมายความวา ในสถานที่หนึ่งๆ ลวนแลวแตมี ความสั ม พั น ธ อ ั น ซั บ ซ อ นและซ อ นทั บ แอบซุ ก ซ อ นอยู  ทุกหนแหง บางเปนเรื่องราวที่เปดเผยใหเห็นและบาง ก็ยังคงรอคอยการเผยตัวตน เมื่อเปนดังนี้แลว ภายใต กายภาพอันหลากหลายกรุงเทพมหานครจึงมีเรื่องราว ของความรัก ความฝนและความทรงจำของผูคนถักทอ กันอยางแนบแนนเปนแน และกอเกิดเปนความทรงจำ รวมกันของผูคนที่มีตอเมือง หรือ “ความทรงจำแหงถิ่น” (COLLECTIVE MEMORY) ทำใหกรุงเทพมหานครเมือง ในฝนไดกลายมาเปน “ถิ่นที่ที่ฉันหลงรัก” (PLACE) ของหลากหลายชีวิต ที่อยากจะเขามากระโดดโลดเตน และเริงราบนผืนผาใบผืนใหญแหงนี้ และดวยคุณภาพ (SPATIAL QUALITY) ดังกลาวนี้เอง จึงทำใหกรุงเทพ มหานคร นั้นมีความหมาย มีคุณคา และมีจิตวิญาณ อันแสนพิเศษแตกตางจากพื้นที่อื่นใดในโลก

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

3.


MAN DWELLS IN LANGUAGE (HEIDEGER, 1935) – มนุษยนั้นดำรงอยูในภาษา เมื่อพินิจไปที่คำ คำพูด หรือบทความของผูคน สิ่งที่ไดรับนั้น อาจไมใชแคสาร ที่กำลังจะสื่อถึงทวาสิ่งที่ไดรับนั้นอาจคือความคิดหรือ วิธีคิดของคนหรือกลุมชนกลุมนั้น เฉกเชนเดียวกัน หากมองไปที่ นิทาน ตำนานปรัมปรา หรือเพลงกลอม เด็ก ก็ลวนแลวแตเปนภาพสะทอนขององคความรู จากบรรณพชนที ่ ม ี ก ารถ า ยทอดกั น ลงมารุ  น สู  ร ุ  น บางมีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาตามยุคสมัย สะทอนสาระ สำคัญแหงชีวิต อันเกิดจากความสัมพันธที่หลอมรวม กันอยางแยกไมออก เมื่อเปนดังนี้ ภายใตกายภาพ ของเมืองที่เราอาศัยจึงจำเปนตองมีเรื่องราวมากมายที่ ซุกซอนอยู ทวาบางเรื่องยังคงรอคอยการเผยใหเห็น เรื่องราวบางเรื่องเปนเรื่องเลาปาก-ปาก (ไมมีหลักฐาน เชิงการภาพ: IMPLICIT EVIDENCE) บางเรื่องมีบันทึก ใบลาน (มีหลักฐานเชิงการภาพ: EXPLICIT EVIDENCE) ดังกลาวนี้ลวนแตเปนหลักฐานชั้นตนขององคความรู อันทรงคุณคาของเมืองหรือประเทศที่ไมควรเลือนหาย ไป ในฐานะสถาปนิกจะแกไขเรื่องราวดังกลาวนี้ไดดวย วิธีการอยางไร จึงเปนคำถามที่ชวนใหขบคิดเปนประเด็น สำคัญ แนวคิดวิชา 997-311งานออกแบบสถาปตยกรรม 5 ในระดับชั้นป 3 คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง คือ การใหนักศึกษาไดตั้งคำถามกับเมือง (อะไรก็ไดใน ประเทศไทย ที่นักศึกษารูสึกหลงรัก – SITE-BASED APPROACH PROJECT) โดยเลือกประเด็นสำคัญ เหตุการณ หรือเรื่องเลาอันเลื่องชื่ออันเกิดจาก ความทรงจำแหงถิ่น และแปลเปลี่ยนเรื่องราวดัง กลาวนั้น ใหเกิดเปนงานออกแบบสถาปตยกรรม (ARCHITECTURE AS SPATIAL STORYTELLING) สถานที่บันทึกเรื่องราวความทรงจำแหงถิ่น 4.

FACULTY OF ARCHITECTURE


หากจะหาคำจำกั ด ความที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด ให ก ั บ สถานที ่ แหงนี้คง หนีไมพนคำวา “พิพิธภัณฑ – MUSEUM” พิพิธภัณฑ มาจากคำวา วิวิธ สมาสกับคำวา ภัณฑ หมายถึงของ ใชที่แตกตางกัน ราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมาย วาเปนสถานที่เก็บรวบรวมและ แสดง สิ่งตาง ๆ ที่มีความสำคัญดานวัฒนธรรมหรือดาน วิทยาศาสตรโดยมีความมุงหมายเพื่อใหเปนประโยชน ตอการศึกษา และกอใหเกิดความเพลิดเพลินใจ – MUSEUM มาจากคำวา MOUSA ในภาษากรีกซึ่ง หมายถึง “SEAT OF THE MOUSES” หรือพื้นที่นั่งแหง เทพธิดามิวสในกรีกปกรณัม ซึ่งหมายถึง ศิลปะและ วิทยาศาสตร เปนแรงบันดาลใจแหงกวี เมื่อแปลเปน ภาษาอังกฤษตาม OXFORD DICTIONARY ใหความหมายวา อาคาร สถานที่กับเก็บและจัดแสดง วัตถุสำคัญทางประวัติศาสตร วิทยาศาสตร ศิลปะ และสังคมเอาไว และตามความหมายของ ICOM (INTERNATIONAL COUNCIL OF MUSEUMS) ยังให ความหมายเพิ่มเติมอีกวา เพื่อใหประชาชนเขาไปชื่นชม และเพิ่มพูนความรูตามสาขาวิชานั้น ๆ อยางไรก็ดี คำจำกัดความดังกลาวนี้จะเพียงพอตอความตองการ ใหมหรือไม โดยเฉพาะในป 2020 เชนนี้ ที่มีสถานการณ อันหลากหลายที่เอื้อใหกระบวนทัศนและรูปแบบการใชส อยพื้นที่ปรับเปลี่ยนไปในทิศทางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน ประเด็นนี้จึงเปนคำถามปลายเปดที่ใหนักศึกษาในฐานะ สถาปนิกรุนเยาวไดแสดงไอเดียประชันความคิดกันได อยางเสรีเพื่อใหผลลัพทของพิพิธภัณฑแหงนี้ไดทำหนา ที่เปน ศิลปะสถาปตยกรรมในศตวรรษที่ 21 ไดอยาง สมบูรณ

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

5.


6.

FACULTY OF ARCHITECTURE


TIMELINE - SCHEDULE THU

SAT

03.12.20 LECTURE 01: OVERVIEW – ASSESSMENT – SCHEDULE SITE-BASED APPROACH PROJECT – MUSEUM DEFINITION – CASE STUDY 05.12.20 PINUP 01: STUDIO SELECTION งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษานำเสนอผลงานของตัวเอง: PORTFOLIO (เลือกผลงานที่ตรงกับตัวเองที่สุดและชอบที่สุดอยาง นอย 1 ผลงาน) FORMAT: VERTICAL PLATE PRESENTATION 60X120 CM. (แปะงานลงบน WHITE-FUTURE BOARD ONLY!!!) 02.ให น ั ก ศึ ก ษาออกแบบหน า ปกหน า -ปกหลั ง ผลงาน การออกแบบสถาปตยกรรม FORMAT: VERTICAL A3 (กระดาษหนามากกวา 100 แกรม) 03. ใหนักศึกษาออกแบบหนาปกหนา-ปกหลังผลงาน การออกแบบสถาปตยกรรม FORMAT: DVD

TUE

08.12.20 LECTURE 02: SITE SELECTION – SITE ANALYSIS – RESEARCH – STORYTELLING – AREA REQUIREMENT

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

7.


SAT

19.12.20 PINUP 02-JURY : AREA / SITE-BASED APPROACH PROJECT – MUSEUM DEFINITION – CASE STUDY – SITE SELECTION – SITE ANALYSIS – RESEARCH – STORYTELLING – AREA REQUIREMENT งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอการวิเคราะห FORMAT: VERTICAL A3 (กระดาษหนามากกวา 100 แกรม-อยางนอย 10 แผน) 02.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอการวิเคราะห FORMAT: POWER POINT PRESENTATION 03.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอการวิเคราะห FORMAT: DVD

SAT

8.

22.12.20 LECTURE 03 : CONCEPTUAL IDEA – TRANSFORMATION IDEA – EXPERIMENTAL IDEA – DIAGRAM – SCHEMATIC DESIGN – CONCEPTUAL MODEL

FACULTY OF ARCHITECTURE


SAT

09.01.21 PINUP 03 : CONCEPTUAL IDEA – TRANSFORMATION IDEA – EXPERIMENTAL IDEA – DIAGRAM – SCHEMATIC DESIGN – CONCEPTUAL MODEL งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอแนวคิด FORMAT: VERTICAL A3 (กระดาษหนามากกวา 100 แกรม-อยางนอย 10 แผน) 02.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอแนวคิด – CONCEPTUAL MODEL – SURROUNDING MODEL FORMAT: PLATE 60X120 CM. 03.ใหนักศึกษาออกแบบการนำเสนอแนวคิด FORMAT: DVD

SAT

30.01.21 PINUP 04 : LAYOUT – PLAN – SECTION – PERSPECTIVE (การอนุมัติแบบรางครั้งสุดทายกอนทำการนำเสนอจริง โดยอาจารยที่ปรึกษา) งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาเสนอแบบรางครั้งสุดทาย ประกอบดวย LAYOUT – PLAN – SECTION – PERSPECTIVE FORMAT: กระดาษธรรมดาขนาด 60X120 CM. 02.รวบรวมไฟลงาน FORMAT: DVD.

PINUP 05 : PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

FINAL MAGAZINE

9.


MON

01.02.20 PINUP 05 : FINAL MAGAZINE งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสุดทาย FORMAT: VERTICAL A3 (กระดาษหนามากกวา 100 แกรม-องคประกอบครบ) 02.รวบรวมไฟลงาน FORMAT: DVD.

WED

03.02.20 PINUP 06 : FINAL PLATE PRESENTATION งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสุดทาย FORMAT: VERTICAL PLATE PRESENTATION 60X120 CM. (แปะงานลงบน WHITE-FUTURE BOARD ONLY!!! – จำนวน 2 แผน) 02.รวบรวมไฟลงาน FORMAT: DVD.

FRI

05.02.20 PINUP 07 : FINAL PHYSICAL MODEL PRESENTATION งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสุดทาย FORMAT: MODEL บน PLATE 60X120 CM. (CONCEPTUAL MODEL – SURROUNDING MODEL – ARCHITECTURAL MODEL) 02.รวบรวมไฟลงาน (ภาพถาย) FORMAT: DVD.

10.

FACULTY OF ARCHITECTURE


SUN

07.02.21 PINUP 08 VIDEO งานที่มอบหมาย 01.ใหนักศึกษาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสุดทาย FORMAT: VIDEO ความยาว 3 นาที 02.รวบรวมไฟลงาน FORMAT: DVD.

TUE

09.02.21 PINUP 09-JURY : FINAL JURY – EXHIBITION งานที่มอบหมาย 01.ให น ั ก ศึ ก ษาเสนอผลงานการออกแบบขั ้ น สุ ด ท า ย (ORAL PRESENTATION) 02.ให น ั ก ศึ ก ษาเสนอผลงานการออกแบบขั ้ น สุ ด ท า ย (EXHIBITION) คอรทกลางอาคารเรียนรวม 3

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

11.


12.

FACULTY OF ARCHITECTURE


AREA REQUIMENT สวนที่ 1 พิพิธภัณฑ แบงหนาที่การใชสอยเปนสวนตางๆดังนี้ • สวนนิทรรศการถาวร - สวนนิทรรศการถาวร 500-600 ตารางเมตร - สวนจำหนายของที่ระลึก 100-120 ตารางเมตร • สวนนิทรรศการชั่วคราว - สวนนิทรรศการชั่วคราว เปรียบเทียบจากการศึกษาอาคารพิพิธภัณฑ จะมีสวนจัด แสดงนิทรรศการชั่วคราวประมาณ 10% ของพื้นที่สวนนิทรรศการถาวร • นิทรรศการกลางแจง • สวนสนับสนุนนิทรรศการ • สวนลานการแสดง • สวนบริหารโครงการ - พื้นที่สำนักงาน 1. ผูจัดการ จำนวน 1 คน 2. เลขานุการ จำนวน 1 คน 3. ประชาสัมพันธ จำนวน 1 คน 4. พนักงานบัญชี จำนวน 1 คน 5. พนักงานการตลาด จำนวน 1 คน 6. ชางไฟ ประปา เครื่องกล จำนวน 1 คน 7. รปภ. จำนวน 3 คน • สวนบริการสาธารณะ - สวนบริการสาธารณะ - สวนโถงทางเขาและสวนพักคอย จำนวนผูเขาชมโดยเฉลี่ย = 600 คน/วัน เฉลี่ยตอชั่วโมง คิดแคเวลาเปดทำการ 9.00-19.00 = 60 คน/ชม. เฉลี่ยผูเขาชมเปน 4 รอบ = 15–20 คน/กลุม

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY, TRANG CAMPUS

13.


(ชวงเวลาเขาชม 10.00-12.00 / 13.00- 15.00 / 15.00-17.00 / 17.00- 19.00) ผูเขาชมเปนหมูคณะสูงสุด เฉลี่ยตอวัน = 200 คน ดังนั้นโถงตอนรับจะตองตอนรับคนได (200+60) = 260 คน คิดพื้นที่ตอคน คนละ 1.2 ตารางเมตร - สวนนั่งพัก ที่จำหนายบัตรผานประตู อาจ จะเปนเคานเตอรลอยหรืออาจจะเปนหอง ซึ่งอยูใกลกันกับสวนติดตอ - สอบถาม สวนติดตอสอบถามอยูบริเวณทางเขา เพื่อความสะดวกและงายตอการพบเห็นเพื่อการ ใหบริการ - ขอมูล ประชาสัมพันธ แจกเอกสารตางๆ เกี่ยวกับ ตัวโครงการ - รานขายของที่ระลึก เปนที่สำหรับจัดขายของที่ระลึกของโครง การสามารถจัดใหอยูในสวนเดียวกับสวน ติดตอสอบถามได หรือจัดใหอยูในบริเวณ ที่เขาถึงงายที่สุดหลังจากการเขาชมนิทรรศการ - หองสุขา - หองสุขา จากกฎหมายควบคุมอาคาร กฎกระทรวงฉบับ ที่ 63 - สวนที่จอดรถรถยนตคิดจำนวนขั้นต่ำจาก กฎหมาย กฎกระทรวงฉบับที่ 7 ออกตาม พระราชบัญญัติควบคุมอาคารกอสราง พ.ศ. 2479

14.

FACULTY OF ARCHITECTURE


• สวนบริการโครงการ - ฝายรักษาความปลอดภัย - ฝายอาคารสถานที่ เปนฝายที่ดูแล ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาด สวยงามทั้งหมดภายในโครงการและงานระบบ ตางๆ ซึ่งควรที่ จะเขาไปบำรุงรักษาทำความ สะอาดไดงายและไมรบกวนกิจกรรมใน สวนอื่นๆ ที่จอดรถ แยกประเภทตามผูใช สอยอาคาร และแยกกับรถสวนบริการโครงการ เชน รถสงของสงอาหารสำหรับสวนราน อาหาร - พื้นที่จอดรถ 1.ที่จอดรถยนตสวนตัว จำนวน 30 คัน 2.ที่จอดรถพนักงาน รถยนตสวนตัว จำนวน 5 คัน รถมอเตอรไซค จำนวน 20 คัน 3.ที่จอดรถคนพิการจำนวนไมนอย กวากฎหมายกำหนด

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

15.


16.

FACULTY OF ARCHITECTURE


EXAMPLE : FUNCTION DIAGRAM

ACADEMIC AREA

PUBLIC AREA

OFFICE AREA

EXHIBITION

SERVICE AREA

SOUVENIR

PARKING LOT

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

17.


PUBLIC AREA

EXHIBITION

สวนบริการสาธารณะ - โถง - ประชาสัมพันธ - พักคอย - ขายบัตร - เก็บของ - ปฐมพยาบาล

สวนนิทรรศการ - นิทรรศการถาวร - นิทรรศการชั่วคราว

สวนรานคา - รานอาหาร - รานของที่ระลึก - รานคาอื่นๆ

SOUVENIR

18.

FACULTY OF ARCHITECTURE


EXAMPLE : FUNCTION DIAGRAM

สวนสำนักงาน - ฝายบริหาร - ฝายธุรกิจ - การเงิน - บัญชี - พัสดุ

สวนงานระบบ - เครื่องกำเนิดไฟฟา - หองเครื่องไฟฟา - ระบบปรับอากาศ - เครื่องสูบน้ำ

OFFICE AREA

SERVICE AREA

สวนวิชาการ - หองบรรยาย - หองสมุด - หองประชุม

ACADEMIC AREA

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

PARKING LOT

จอดรถ - จอดรถบัส - จอดรถสวนตัว 19.


20.

FACULTY OF ARCHITECTURE


EXAMPLE : FUNCTION DIAGRAM

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

21.


22.

FACULTY OF ARCHITECTURE


ASSESSMENT 100 % O งานแบบราง (คิดเปน 40 %) ในการสงแบบรางอนุโลมใหนักศึกษาขาดสงไดไมเกิน 3 ครั้ง หากเกินกวาที่กำหนดจะไมรับพิจารณาคะแนน แบบรางทั้งหมด ยกเวนกรณีเหตุจำเปนและเหตุสุดวิสัย O งานขั้นสมบูรณและการนำเสนอผลงานขั้นสุดทาย (คิดเปน 60 %) โดยกำหนดใหนักศึกษาเสนองานออกแบบ แบงออกเปน 3 สวน ประกอบไปดวย สวนที่ 1 เสนองานออกแบบลงในกระดาษ 60X120 CM เเนวตั้ง จำนวน 2 แผน (รายละเอียดดูไดจากทายเลมนี้) - ผังบริเวณ (LAY OUT) - ผังพื้นทุกชั้น (FLOOR PLAN) - รูปตัดตามขวางอยางนอย 1 รูป (CROSS SECTION) - รูปตัดตามยาวอยางนอย 1 รูป (CROSS SECTION) - รูปดาน 4 ดาน (ELEVATION) - หุนจำลอง (MODEL) - ทัศนียภาพภายนอก (EXTERIOR PERSPECTIVE) - ทัศนียภาพภายใน (INTERIOR PERSPECTIVE) - แบบขยาย DETAIL DESIGN ผนัง+หลังคา - แนวความคิดในการออกแบบ และงานอื่นๆ

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

23.


สวนที่ 2 เสนองานออกแบบลงในเลมรายงานขนาด A3 จำนวน 2 เลม Oใหนักศึกษาจัดทำและรวบรวมงานลงในรูปเลม รายงาน A3 สงใหอาจารยประจำกลุมตรวจใหคะแนน และนำสงพรอมกับงานขั้นสมบูรณ ในเลมรายงาน ประกอบดวย 1. การศึกษาและวิเคราะหสภาพแวดลอมของสถานที่ กอสราง (SITE ANALYSIS) 2.วิเคราะหพฤติกรรมของผูใชงานอาคารที่ จะมีผลตอการออกแบบงานสถาปตยกรรม (USER ANALYSIS) 3.วิเคราะหพื้นที่ และขนาดของหอง หรือสวนตางๆ ของอาคาร (AREA REQUIREMENT) 4.วิเคราะหความสัมพันธความตองการในการใชงาน ของแตละพื้นที่ (เชน FUNCTION DIAGRAM, TABULATION, CIRCULATION CHART, BUBBLE DIAGRAM) 5. แนวความคิดในการออกแบบ (CONCEPTUAL DESIGN) 6. การเลือกใชวัสดุที่คานึงถึงงบประมาณ การติดตั้ง และการบำรุงรักษา ตลอดจนแนวความคิด ดานการ เลือกใชวิศวกรรมโครงสราง และวิศวกรรมงานระบบ 7. แนวความคิดและกลยุทธในการประหยัดพลังงาน 8. ขอกำหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของกับโครงการ ออกแบบนี้ 9. การออกแบบในเขตรอนชื้นและศาสตรที่เกี่ยวของ กับการออกแบบพิเศษ

24.

FACULTY OF ARCHITECTURE


10. อธิบายถึงการออกแบบสภาพแวดลอม และสิ่ง อำนวยความสะดวกสำหรับทุกคน (UNIVERSAL DESIGN) 11.รายละเอียดแบบสมบูรณทั้งหมด ดังตอไปนี้และ กำหนดให เ ข า สเกลรวมถึ ง ต อ งสามารถเห็ น ได ช ั ด เจน (ระบุภายหลัง) - ผังบริเวณ (LAY OUT) - ผังพื้นทุกชั้น (FLOOR PLAN) - รูปตัดตามขวางอยางนอย 1 รูป (CROSS SECTION) - รูปตัดตามยาวอยางนอย 1 รูป (CROSS SECTION) - รูปดาน 4 ดาน (ELEVATION) - หุนจำลอง (MODEL) - ทัศนียภาพภายนอก (EXTERIOR PERSPECTIVE) - ทัศนียภาพภายใน (INTERIOR PERSPECTIVE) - แบบขยาย DETAIL DESIGN ผนัง+หลังคา สวนที่ 3 เสนองานออกแบบลงในรูปแบบ DVD สวนที่ 4 เสนองานออกแบบใน รูปแบบ VIDEO CLIP ความยาว 3 นาที โพสตลงใน YOUTUBE และเเชรลงใน FACEBOOK โดยติด #PSU_ADV_2020 สวนที่ 5 MODEL บนฐานขนาด 60X120 CM. (CONCEPTUAL MODEL – SURROUNDING MODEL – ARCHITECTURAL MODEL

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

25.


26.

FACULTY OF ARCHITECTURE


MINIMUM STANDARD OF WORK FOR DESIGN SUBMISSION 1. มาตรฐานงานขั้นต่ำของการสงงานออกแบบ งานจะตอง - ครบถวนตามที่โปรแกรมระบุไว และ สมบูรณ เกณฑในการพิจารณางานที่จะสงจะตองมี รายละเอียดดังตอไปนี้ (หากขาดขอใดขอหนึ่ง จะพิจารณาให 0 ในผลงานการนำเสนอผลงานชิ้น นั้นๆทันที) 1.1 SITE PLAN A. ตองแสดงทิศ B. ระยะขนาดที่ดินแตละดาน C. แนวระยะรนตามกฎหมาย D. แนวถนนที่ติดกับที่ดิน-ทางเขาอาคาร E. พื้นที่ติดตอรอบดาน F. GRID LINE เสาของอาคาร G. แสดงชื่องาน และมาตราสวน 1.2 ผังพื้นอาคาร A. ตองแสดงชื่อหองทุกหอง B. ระดับพื้นทุกหอง C. ผังเฟอรนิเจอรแตละหอง D. GRID LINE เสา E. แสดงแนวตัด F. ชองเปดประตูหนาตางที่แสดงในผังพื้น อยางถูกตอง G. แสดงชื่องานวาเปนผังชั้นไหน และ มาตราสวน H. บันได-RAMP เขียนทิศทางการขึ้น- ลงอยาง ถูกตอง I. แสดงสัญลักษณทิศทางการมองรูปดาน

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

27.


J. ผังหลังคาตองแสดงแนว SLOPE หลังคา และระบุวัสดุมุงหลังคา K. แสดงระยะทับซอนของพื้นชั้นบนดวย เสนประ ในผังอาคารชั้นนั้นๆ L. ผังหลังคาแสดงทิศทางความลาดชันของ หลังคา 1.3 รูปตัด 2 รูป A. น.ศ.จะตองตัดผานลิฟต บันไดเลื่อน หรือบันได ไมนอยกวา 1 รูป B. รูปตัดจะแสดงชื่อหองที่ตัดผาน ระดับทุกหอง ความสูงอาคาร ระยะอาคาร ระดับฝาเพดาน C. เฟอรนิเจอร ในหองที่ตัดผาน D. ประตูหนาตางในหองที่ตัดผาน E. แสดงชื่องาน และมาตราสวน F. การเขียนโครงสรางอยางตองและถูกวิธี G. แสดงความสูงอาคารแตละชั้น และความสูงรวม H. แสดง GRID เสา 1.4 รูปดาน 4 รูป A. แสดงชื่องาน แสดงดานของอาคารที่ สัมพันธ กับสัญลักษณทิศทางการมองรูปดานในผัง และมาตราสวน B. ระดับความสูงของอาคารแตละชั้น และความสูงรวม C. แนว GRID เสาแตละดาน D. ตองมีการเช็คเงาอาคาร ******* E. ระบุ MATERIAL อาคารคราวๆ

28.

( ภ า พ ท ั ศ น ี ย ภ า พ จ ะ ต  อ ง แ สFACULTY ด ง ใ หOF ชARCHITECTURE ัดเจนวา


1.5 ทัศนียภาพ A. ภายในและภายนอกตรงกับความเปน จริงในแบบ B. หามนักศึกษาคัดลอก ดัดแปลง ดูงานของ ผูอื่นแลววาดหรือคัดลอกตาม หรือคัดลอก จากหนังสือ เวปไซต และสื่อตางๆ มาสง C. นศ.จะตองอธิบายไดวาภาพทัศนียภาพ แตละภาพฉายมาจากสวนใดของอาคาร หรือมุมไหนของหอง D. ภาพทัศนียภาพทั้งภายใน-นอกที่แสดงจะตอง ไมเปนไปในลักษณะของการ ตกแตง PLATE PRESENT (ภาพทัศนียภาพจะตองแสดงใหชัดเจนวา เปนภาพทัศนียภาพไมใชแบคกราวนตกแตง เพลทงาน) E. หามนำผลงานผูอื่น หรืองานสถาปตยกรรม อื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือไมมีอยูจริงในพื้นที่ ที่กำหนดมานำเสนอในภาพทัศนียภาพ 1.6 โมเดล A. ตองมีขนาดของที่ดินตามแบบ B. ตัวอาคารที่สมบูรณในมาตราสวนที่ถูกตอง C. โมเดลอาคารจะตองตรงตามแบบ D. แสดงชื่อ-สกุล-เลขที่ประจำตัวของ นศ.บนโมเดล E. แสดงสัญลักษณทิศในโมเดล F. แสดงสเกลโมเดล ***หมายเหตุ : นศ.จะตองมีองค ประกอบพื้นฐานตามขอ 1.1-1.6 ครบถวน หากขาดขอใดขอหนึ่ง จะพิจารณาให 0 ในผลงานการนำเสนอผลงานชิ้นนั้นๆ

PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

29.


30.

FACULTY OF ARCHITECTURE


PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

31.


32.

FACULTY OF ARCHITECTURE


PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

33.


34.

FACULTY OF ARCHITECTURE


PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

35.


36.

FACULTY OF ARCHITECTURE


PRINCE OF SONGKLA UNIVERSITY TRANG CAMPUS

37.


MEGA CITY

MICRO NARRATIVE


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.