SLRI31 research research highlights

Page 1

การศึกษา

กระจกเกรียบโบราณของไทย ด้วยแสงซินโครตรอน

งานหุ ง กระจกและงานประดั บ กระจกเป็ น ศาสตร์ แ ขนงหนึ่ ง ของงานช่ า ง สิบหมู่โบราณของประเทศไทย มีความเจริญ รุ่งเรืองนับแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ซึ่งทรงโปรดให้ บู ร ณ ป ฏิ สั ง ข ร ณ ์ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ วั ด พ ร ะ ศรีรัตนศาสดาราม โดยฝาผนังด้านนอกเดิม ฝาผนังอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม เป็นลายทองรดน�ำ้ พืน้ สีแดง ได้ทำ� การแก้เป็น ลายปั้นปิดทองพื้นประดับกระจกดังที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน กระจกดังกล่าวรู้จักกันในนามว่า “กระจกเกรี ย บ” เนื่ อ งจากมี ลั ก ษณะบาง เหมือนข้าวเกรียบ สามารถตัดเป็นชิ้นได้ง่าย เหมาะส�ำหรับงานประดับลวดลายอันละเอียด สวยงาม นอกจากการประดับตกแต่งฝาผนัง แล้ ว ยั ง ได้ ถู ก น� ำ มาใช้ ต กแต่ ง บุ ษ บก เครื่องราชภัณฑ์ เครื่องใช้ทางศาสนาและ วัตถุโบราณอันมีค่าต่างๆ อย่างไรก็ตามเป็น ที่ น ่ า เสี ย ดายยิ่ ง ที่ ง านหุ ง กระจกและงาน ประดับกระจกขาดช่างฝีมือสืบทอดต่อกันมา จนในปัจจุบันยังไม่พบว่ามีแหล่งผลิตกระจก เกรียบในประเทศไทย จึงจ�ำเป็นต้องใช้กระจก

จากต่างประเทศในการซ่อมบ�ำรุง งานวิจัยนี้มีจึงมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพือ่ ศึกษาสมบัตขิ องกระจกเกรียบโบราณ ด้วยแสงซินโครตรอน ตามแนวพระราชด�ำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรม ราชกุมารี อีกทัง้ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะวิจยั ของสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน น� ำ ตั ว อย่ า งกระจกเกรี ย บโบราณจาก วัดพระศรีรตั นศาสดารามมาด�ำเนินการศึกษา ซึง่ คณะวิจยั ได้วเิ คราะห์องค์ประกอบทางเคมี ว่า กระจกแต่ละสีประกอบด้วยธาตุชนิดใดบ้าง และมีปริมาณเท่าไร โดยใช้แสงซินโครตรอน ตรวจสอบด้วยเทคนิคการเรืองแสงในย่าน พลังงานรังสีเอกซ์ นอกจากนี้ยังได้ศึกษา เชิ ง ลึ ก เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งอะตอมของธาตุ องค์ประกอบเหล่านั้นว่าเรียงตัวกันแบบใด ด้วยเทคนิคการดูดกลืนแสงซินโครตรอนย่าน พลังงานรังสีเอกซ์ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ทสี่ �ำคัญ เกี่ยวข้องกับการเกิดสีแต่ละสีในเนื้อแก้วของ กระจก จุดมุ่งหมายสูงสุดของงานวิจัยชิ้นนี้

งานวิจัยด้านโบราณคดี

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ได้ท�ำการศึกษาคุณสมบัติของกระจกเกรียบจาก วัดพระศรีรตั นศาสดาราม ตามแนวพระราชด�ำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรม ราชกุมารี โดยศึกษาทัง้ องค์ประกอบทางเคมีและโครงสร้างอะตอมของกระจกตัวอย่างด้วย แสงซินโครตรอน เพือ่ จุดมุง่ หมายทีจ่ ะท�ำกระจกเกรียบขึน้ มาใหม่ทมี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมือนของ เดิมทุกประการ ส�ำหรับใช้ในการบูรณปฏิสงั ขรณ์ในอนาคต


คื อ การใช้ ค วามรู ้ จ ากงานวิ จั ย ส� ำ หรั บ สังเคราะห์กระจกใหม่ที่มีคุณสมบัติเหมือน ข อ ง เ ดิ ม ทุ ก ป ร ะ ก า ร เ พื่ อ ใ ช ้ ใ น ง า น บูรณปฏิสังขรณ์ได้อย่างเหมาะสมในอนาคต

ตัวอย่างกระจกเกรียบทีน่ ำ� มาท�ำการศึกษาทดลอง

ตัวอย่างผลการวัดการดูดกลืนรังสีเอกซ์ของชิน้ กระจกเกรียบ

ดร. วันทนา คล้ายสุบรรณ์ ดร. ประพงษ์ คล้ายสุบรรณ์ ดร. ประยูร ส่งสิริฤทธิกุล สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.