SLRI MAGAZINE
สารจากกองบรรณาธิการ สวัสดีท่านผู้อ่านที่เคารพทุกท่าน เนื่องด้วย ในปี 2015 นี้ องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศให้เป็นปีสากลแห่งแสงและเทคโนโลยีแสง (International year of light and light-based technology, IYL 2015) ทางซินโครตรอน แมกกาซีน ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของ แสงในยุคต่างๆ ติดตามอ่านได้ใน Special Scoop และพบกับบทสัมภาษณ์พิเศษของ รศ. ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและประธานกรรมการบริหารสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน กับการน�ำพา ซินโครตรอนประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคต อีกทั้ง ข่าวสารมากมายติดตามอ่านได้ในฉบับ....
12
สารบัญ
Research Focus 3 Executive Interview 6 รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ
Accelerator Explore 8 Special Scoop 12 ปีสากลแห่งแสงและเทคโนโลยีแสง
KIDS วิทย์ 14 ตะลอน...โคราช 15 4 ธรรม ง่ายๆ 16 Digi Life 17 SLRI News 18
ซินโครตรอน แมกกาซีน
6
SYNCHROTRON MAGAZINE ที่ปรึกษา : ศ.น.ท.ดร. สราวุฒิ สุจิตจร, รศ.ดร. กิตติ อัตถกิจมงคล บรรณาธิการ : ดร. สมชาย ตันชรากรณ์ กองบรรณาธิการ : น.ส.ศศิพันธุ์ ไตรทาน, น.ส.กุลธิดา พิทยาภรณ์, น.ส.อริญา ลาภโคกสูง ออกแบบ : นายเทวฤทธิ์ พันธุ์เพียร, นายวีระพันธ์ มาจันทึก จัดท�ำโดย : ส่วนงานประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ.มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ : 0-4421-7040 ต่อ 1251-2 โทรสาร : 0-4421-7047 Website : www.slri.or.th E-mail : pr@slri.or.th Facebook : www.facebook.com/SLRI.THAILAND 2
SYNCHROTRON MAGAZINE
RESEARCH FOCUS
เพิม่ มูลค่า
กุง้ ด้วแช่ แ ข็ ง ยซินโครตรอน นางเบญญาภา ทองทุม บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ดร.กาญจนา ธรรมนู สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
จุดขาวบนเปลือกกุ้ง
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ถือเป็นบริษัทผู้ ส่งออกกุ้งแช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ มีส่วนแบ่งการตลาดไม่น้อย กว่าร้อยละ 15 ของยอดการส่งออก โดยกุง้ ทีบ่ ริษทั เพาะเลีย้ งได้รบั การ ดูแลอย่างดี และใช้วิธีการผลิตกุ้งแช่แข็งที่ทันสมัย เพื่อให้ได้กุ้งที่มี คุณภาพสูงตามความต้องการของลูกค้า กระบวนการการผลิตกุ้งแช่ แข็ง แม้จะมีการควบคุมคุณภาพเป็นอย่างดี ตั้งแต่ขั้นตอนการเพาะ เลี้ยง แต่บริษัทฯ พบว่า เกิดจุดขาวขึ้นที่บนเปลือกกุ้งภายหลังจากการ เก็บผลิตภัณฑ์แช่แข็งที่อุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อยอดการส่งออกของบริษัทเป็นอย่างมาก สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้เข้าไปมีส่วน ช่วยวิเคราะห์ ทดสอบ หาสาเหตุของการเกิดจุดสีขาวดังกล่าว โดยใช้ กล้องจุลทรรศน์ และใช้เทคนิคทางแสงอินฟราเรด ท�ำให้พบว่า จุดขาว นั้นคือผลึกของธาตุแคลเซียมและฟอสเฟต ที่ก่อตัวขึ้นมาภายหลัง ซึ่ง เกิดขึ้นเมื่อน�้ำระเหยออกไป (dehydrate) ภายใต้สภาวะแช่แข็ง ท�ำให้ แคลเซียมแยกตัวออกมาจากโครงสร้างไคตินของเปลือกกุ้ง จากผลการวิเคราะห์ดงั กล่าว ท�ำให้ทราบได้วา่ จุดขาวเปลือกกุง้ ที่เกิดขึ้นนี้ ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อไวรัส และมั่นใจว่ากุ้งแช่แข็ง ปลอดภัยต่อการบริโภค ข้อมูลที่ได้มีส่วนช่วยในการบริหารจัดการ สภาวะการเพาะเลี้ยง การเก็บรักษากุ้งแช่แข็ง และก�ำหนดระยะเวลา การขายให้รวดเร็วก่อนการกระตุน้ ให้เกิดผลึกแคลเซียมขึน้ ซึง่ ช่วยเพิม่ มูลค่าการส่งออกกว่า 1,350 ล้านบาท/ปี
ผลิตภัณฑ์กุ้งแช่แข็ง SYNCHROTRON MAGAZINE
3
RESEARCH FOCUS ดร. วันทนา คล้ายสุบรรณ์ นางวีรญา วงษ์เตปา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
งานวิจัยแสงซินโครตรอนเพื่อการฟื้นฟู งานหุงกระจกเกรียบตามแนวพระราชด�ำริฯ งานวิจัยที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชด�ำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้ด�ำเนินการใช้แสงซินโครตรอนศึกษาและวิเคราะห์กระจกเกรียบโบราณของ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม เพื่ อ น� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ ม าใช้ เ ป็ น แนวทางในการฟื ้ น ฟู ง านช่ า งหุ ง กระจก สามารถผลิตกระจกประดับที่ใช้ในการบูรณปฏิสังขรณ์ได้ดีกว่ากระจกสีที่น�ำเข้ามาจ�ำหน่ายจากโรงงานใน ต่างประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น กระจกเกรียบ คือ กระจกสีชนิด หนึ่ ง ใช้ แ ร่ ดี บุ ก ดาดเป็ น แผ่ น บาง ๆ รองรับอยู่ข้างหลัง ท�ำให้แลดูคล้าย แผ่นข้าวเกรียบ เคลือบด้วยผิวน�้ำยา เพื่อให้เป็นมันวาว ส่วนที่เป็นสีต่าง ๆ บนผิ ว กระจกใช้ ตั ว ยาซึ่ ง ได้ จ ากแร่ ต่างๆ กระจกชนิดนี้สามารถใช้กรรไกร ธรรมดาตั ด ย่ อ ยให้ เ ป็ น ชิ้ น เล็ ก ๆ เพื่ อ ประดั บ ตกแต่ ง พื้ น ลายหรื อ ลวดลายได้ ทั้งหมดนี้คือความหมาย ตามค� ำ ศั พ ท์ ข อง “กระจกเกรี ย บ” โดยราชบัณฑิตยสถาน อีกทั้งยังกล่าว ถึ ง งานช่ า งหุ ง กระจกในตอนหนึ่ ง ว่ า การท�ำกระจกสีในประเทศไทยปรากฏ ขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็น กระจกแผ่นบางเรียกว่ากระจกเกรียบ ผลิตโดยกรมช่างหุงกระจกที่ถูกยุบไป ในสมัยรัชกาลที่ 5 นับแต่นนั้ มาวิชาการ หุงกระจกของไทยจึงสูญสิ้นไปด้วย
กระจกสีแผ่นบาง มีสีต่าง ๆ กันหลายสี มีความหนาตั้งแต่ 0.4 มม. ถึง 0.7 มม. ไม่สามารถตัดด้วยกรรไกรได้ ผู้เขียน และที ม วิ จั ย ใช้ ล� ำ แสงซิ น โครตรอน ย่านรังสีเอกซ์ฉายบนตัวอย่างกระจก โบราณด้านที่เป็นแผ่นแก้ว กระตุ้น ให้ธาตุองค์ประกอบทั้งหลายในแก้ว เกิดการเรืองแสงในย่านพลังงานรังสีเอกซ์ (X-ray fluorescence) ตรวจจั บ สั ญ ญาณดั ง กล่ า วและวิ เ คราะห์ ไ ด้ ว่า แผ่นแก้วโบราณแต่ละสีประกอบ ด้ ว ยธาตุ ช นิ ด ใดบ้ า ง และมี สั ด ส่ ว น โดยมวลอยู ่ เ ท่ า ใด เนื่ อ งจากแก้ ว นั้นมีอยู่หลายชนิด เช่น แก้วโซดาไลม์ (soda-lime glass) แก้วตะกั่วหรือแก้ว คริสตัล(lead glass) ข้อมูลดังกล่าว จึงมีความส�ำคัญส�ำหรับการค�ำนวณ สู ต รแก้ ว ที่ จ ะทดลองท� ำ ขึ้ น มาใหม่ ให้มสี มบัตทิ างกายภาพ สมบัตเิ ชิงแสง และสมบัติทางเคมีเช่นเดียวกับแก้ว ตั ว อย่ า งกระจกโบราณที่ ไ ด้ โบราณได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้เขียน และที ม วิ จั ย น� ำ มาด� ำ เนิ น การศึ ก ษา กระจกโบราณมี สี ค ล้ า ยกั บ สี นั้น แต่เดิมถูกใช้ประดับเสาหานของ ของอัญมณี ได้แก่ แดงทับทิม น�้ำเงิน พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ไพลิ น เหลื องบุ ษ ราคั ม ซึ่ง แตกต่า ง แ ล ะ ป ร ะ ดั บ ที่ ฐ า น พ ร ะ บ ร ม รู ป จากกระจกสี ใ นท้ อ งตลาด ดั ง นั้ น ภายในปราสาทพระเทพบิ ด ร เป็ น ในงานซ่ อ มแซมที่ ต ้ อ งการความ
4
SYNCHROTRON MAGAZINE
สมบู ร ณ์ แ บบจึ ง ไม่ ส ามารถใช้ ก ระจกสี ในท้องตลาดได้ การสังเคราะห์แก้วให้มีสี เหมือนกับแก้วโบราณนัน้ ผูเ้ ขียนและทีมวิจยั วิ เ คราะห์ ก ารดู ด กลื น รั ง สี เ อกซ์ (X-ray absorption spectroscopy หรือ XAS) ของธาตุ ที่ ต รวจพบในแก้ ว โบราณ เช่ น ธาตุ เ หล็ ก ธาตุ แ มงกานี ส ธาตุ ท องแดง ธาตุโคบอลต์ ธาตุทองค�ำ ซึง่ สามารถดูดกลืน แสงในย่านที่ตามองเห็นได้ หากมีโครงสร้าง ในระดั บ อะตอมและสถานะทางเคมี ที่ เหมาะสม เช่น อะตอมของธาตุทองแดง ในสถานะออกซิเดชันเป็นบวกสอง และอยู่ ในโครงสร้างของแก้วโซดาไลม์จะดูดกลืน แสงบางช่วงความถีแ่ สงท�ำให้แก้วนัน้ ปรากฏ เป็ น สี ฟ ้ า ในทางกลั บ กั น ถ้ า แก้ ว นั้ น มี ธาตุทองแดงอยู่ในสถานะออกซิเดชันเป็น บวกหนึ่ง แก้วนั้นก็จะไม่มีสี เพราะทองแดง ในสถานะนี้ ไ ม่ ส ามารถดู ด กลื น แสงได้ ดังนั้นข้อมูลจากเทคนิค XAS ช่วยให้รู้ว่า สีในแก้วโบราณนั้นเกิดจากธาตุอะไร และ อยู่ในสถานะเคมีใด จึงสามารถเลียนแบบ สีแก้วโบราณได้โดยใช้ธาตุชนิดเดียวกัน และ ควบคุมให้อยู่ในสถานะเคมีที่ให้สีตรงกันได้ ทีมวิจยั ทดลองและพัฒนากระบวนการ ผลิ ต กระจกสี แ ผ่ น บาง จนในปั จ จุ บั น สามารถผลิตกระจกสีเหลือง และ สีน�้ำเงิน ได้ใกล้เคียงกับสีของกระจกเกรียบโบราณ และท� ำ เป็ น แผ่ น บางได้ ถึ ง 0.3 มม. อย่ า งไรก็ ต ามด้ ว ยข้ อ จ� ำ กั ด ทางเทคนิ ค ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร จึ ง ยั ง ไม่ ส ามารถผลิ ต กระจกเกรียบแผ่นขนาดใหญ่ได้ ทีมวิจัย ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขข้ อ จ� ำ กั ด ดั ง กล่ า ว เพื่ อ พั ฒ นากระบวนการผลิ ต ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ตลอดจนผลิ ต กระจกสี อื่ น ๆ และน� ำ ไปสู ่ จุดมุง่ หมายสูงสุดของงานวิจยั นี้ คือการ ผลิตกระจกเกรียบรุน่ ใหม่ทสี่ ามารถน�ำไป ใช้ในการบูรณะวัดพระศรีรตั นศาสดาราม ได้อย่างสมบูรณ์
รูปที่ 1 (บน) กระจกเกรียบโบราณประดับฐานพระบรมรูปในปราสาทพระเทพบิดร (ล่างซ้าย) กระจกเกรียบโบราณประดับ เสาหานพระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม (ล่างขวา) กระจกสีนำ� เข้าประดับเสาหานหลังจากการบูรณะซ่อมแซมในปี 2525
(a) (b)
(a)
(b)
รูปที่ 2 กระจกเกรียบโบราณ (a) กระจกเกรียบ รุน่ ทดลองผลิตโดยทีมวิจยั ของสถาบันฯ (b)
เอกสารอ้างอิง
1. Wantana Klysubun, Christoph A. Hauzenberger, Bruce Ravel, Prapong Klysubun, Yuying Huang, Weeraya Wongtepa and Panidtha Sombunchoo, Understanding the blue color in antique mosaic mirrored glass from the Temple of the Emerald Buddha, Thailand, X-ray spectrometry (2015) 44, 116-123. 2. Bruce Ravel, G.L. Carr, Christoph A. Hauzrnberger and Wantana Klysubun, X-ray and optical spectroscopic study of the coloration of red glass used in 19th century decorative mosaics at the Temple of the Emerald Buddha, Journal of Cultural Heritage (2015) 16, 315-321. 3. Wantana Klysubun, Bruce Ravel, Prapong Klysubun, Panidtha Sombunchoo and Weeraya Deenan, Characterization of yellow and colorless decorative glasses from the Temple of the Emerald Buddha, Bangkok, Thailand, Applied Physics A (2013) 11, 775-782. SYNCHROTRON MAGAZINE
5
EXECUTIVE INTERVIEW
เหลียวหลัง ... แลหน้า
ซิ นโครตรอนประเทศไทย พร้อมก้าวสูป่ ระชาคมอาเซี ยนอย่างเต็มภาคภูมิ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็นรากฐานส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ การสร้างความเข้มแข็ง ในด้ า นงานวิ จั ย พื้ น ฐานถื อ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ในการสรรค์ ส ร้ า งสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ นโยบายการบริ ห ารงาน ของสถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก ารมหาชน) มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาก้ า วไปสู ่ ก ารเป็ น องค์ ก รแห่ ง การเรียนรู้ที่ยั่งยืน เพื่อสามารถตอบโจทย์ภาครัฐ เอกชน และภาคธุรกิจอุตสาหกรรม โดยสถาบันฯ มีนโยบาย การด� ำ เนิ น งานที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายการพั ฒ นาประเทศของรั ฐ บาล ในการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซินโครตรอน แม็กกาซีน ฉบับนี้ เรามาท�ำความรูจ้ กั กับ รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ ประธานกรรมการบริหารสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน กับมุมมองในอดีต และการน�ำพาซินโครตรอนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคต ของสสาร และยังสามารถใช้ขนึ้ รูปชิน้ ส่วนกลไกขนาดจิว๋ ได้ดว้ ยเทคนิค พิเศษ การใช้งานแสงซินโครตรอน มีเทคนิคทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การกระเจิง รังสีเอกซ์ การดูดกลืนรังสีเอกซ์ การเรืองรังสีเอกซ์ เป็นต้น ปัจจุบนั มีการ พัฒนาและติดตัง้ ระบบล�ำเลียงแสง ณ ปัจจุบนั ได้ถงึ 10 ระบบล�ำเลียง แสง สามารถท�ำการทดลองได้หลากหลายด้าน เช่น ด้านเกษตรกรรม ด้านความมัน่ คง ด้านเศรษฐกิจ ด้านการแพทย์ ด้านวัฒนธรรม เป็นต้น ”
SLRI MAG: ความส�ำคัญของแสงซินโครตรอนในประเทศไทย
“จากการด�ำเนินงานมากว่า 10 ปี มีจำ� นวนโครงการทีเ่ ข้ามาใช้ โดยเฉลีย่ 300 โครงการ/ปี โดยมีอตั ราเติบโตของผูใ้ ช้บริการแสงซินโคร ตรอนมากขึน้ ทุกปี นโยบายส�ำคัญของสถาบันฯ อีกประการหนึง่ คือการ SLRI MAG: “สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน” มีบทบาทอย่างไรใน ขยายการให้บริการแสงซินโครตรอนแก่ภาคอุตสาหกรรม เพือ่ ส่งเสริมให้ วงการวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เกิดความร่วมมือในเชิงพาณิชย์ โดยได้เริม่ สนับสนุนการให้บริการเพือ่ ตอบ “สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน มีบทบาทเป็นสถาบันวิจัยกลาง โจทย์ให้บริการแก่ภาคอุตสาหกรรมอย่างครบวงจรมาตัง้ แต่ปี 2553 ทีผ่ า่ น ของประเทศ ทีม่ เี ครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ในระดับ World class เริม่ มา ซึง่ มีอตั ราการเข้ามาใช้บริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี ให้ผลสัมฤทธิ์ เปิดให้บริการแสงซินโครตรอนครัง้ แรกได้ตงั้ แต่ปี 2546 ครอบคลุมย่าน ของงานวิจยั อย่างเป็นรูปธรรม สร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจได้อย่างมีนยั ของแสงทีใ่ ช้ประโยชน์ได้ตงั้ แต่อนิ ฟราเรด แสงทีต่ ามองเห็น รังสีเหนือ ส�ำคัญ ซึง่ จากการประเมินมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจจากการด�ำเนินงานของ ม่วง รังสีเอกซ์ทงั้ ความถีต่ ำ�่ และสูง สามารถพัฒนาศักยภาพวงกักเก็บให้ สถาบันฯ ในช่วงปีงบประมาณ 2557 โดยศูนย์วจิ ยั เศรษฐศาสตร์ประยุกต์ กักเก็บอิเล็กตรอนทีม่ พี ลังงานสูงถึง 1,200 ล้านอิเล็กตรอนโวลท์ ได้เมือ่ ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่า การด�ำเนินงานของสถาบันฯ ก่อให้เกิด 2548 ทีผ่ า่ นมา แสงทีผ่ ลิตขึน้ ได้เหล่านีใ้ ช้เพือ่ วิเคราะห์วสั ดุอย่างลึกซึง้ ใน มูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจกว่า 1,900 ล้านบาท ถือเป็นการด�ำเนินงานทีส่ อด ระดับอะตอมและโมเลกุลว่า วัสดุทสี่ นใจมีธาตุอะไรบ้างเป็นองค์ประกอบ รับนโยบายของรัฐบาลทีจ่ ะกระตุน้ ภาคอุตสาหกรรมให้เห็นถึงความส�ำคัญ วิเคราะห์พฤติกรรมของวัสดุตามเวลาและปัจจัยทีผ่ นั แปร วิเคราะห์ผลึก ของงานวิจยั ทีส่ ามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง” 6
SYNCHROTRON MAGAZINE
"
ซิ นโครตรอน ถือเป็ นห้องปฏิบัติการ วิจัยกลางแห่งชาติ ที่มีเครื่องก�ำเนิด แสงซิ นโครตรอนที่ใหญ่ท่ีสุด ในภูมิภาคอาเซี ยน มุ ่งมัน่ การพัฒนา ศักยภาพให้ก้าวไปสู่ความเป็ นเลิศ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านแสงซิ นโครตรอน พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซี ยน อย่างเต็มภาคภูมิ
"
SLRI MAG: บทบาทของสถาบันในเวทีอาเซียนจะเป็นอย่างไร
“สถาบันฯเปิดให้บริการใช้แสงซินโครตรอนที่ให้บริการแบบ open facility นับเป็นข้อได้เปรียบของประเทศไทย ประเทศไทยจึงเป็น จุดศูนย์กลางทีด่ ยี งิ่ ทีร่ ฐั บาลจะด�ำเนินยุทธศาสตร์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การทูต (Science for Diplomacy) ด้วยการเชื้อเชิญนักวิทยาศาสตร์ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ทัง้ ภาคอุตสาหกรรมและวิชาการมาร่วมใช้ประโยชน์ อันจะท�ำให้ประเทศไทยหยั่งรู้ศักยภาพทาง วทน. ของประเทศเพื่อน บ้านในกลุม่ อาเซียนได้อย่างดี และยังจะน�ำไปสูค่ วามร่วมมือในการพัฒนา อุตสาหกรรมของกลุม่ ประเทศอาเซียน”
SLRI MAG: แนวทางการด�ำเนินงานในอนาคต
“ในอนาคต สถาบันฯ ยังได้ให้ความส�ำคัญกับการบริการตอบโจทย์ ในเชิงพาณิชย์อย่างต่อเนือ่ ง ทีจ่ ะสามารถสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ใน ประเทศได้อย่างยัง่ ยืน มุง่ เป้าทีจ่ ะเป็นเอตทัคคะทางด้านการใช้ประโยชน์ จากแสงซินโครตรอนเพื่อการวิเคราะห์วิจัยขั้นสูง หมายรวมถึงการใช้ ประโยชน์เครือ่ งมือวิจยั ขัน้ สูงทางด้านอืน่ ๆ ด้วย เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน เพิม่ รายได้เข้า ประเทศ และยกระดับประเทศไทยให้ทดั เทียมกับนานาอารยประเทศ” ประวัตกิ ารศึกษา • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ฟิสกิ ส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. 2520) • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ฟิสกิ ส์) Kent State University (พ.ศ. 2525) • วิทยาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (ฟิสกิ ส์นวิ เคลียร์) Kent State University (พ.ศ. 2529) • ปริญญาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุน่ 47 (พ.ศ. 2547-2548) • ประกาศนียบัตร Director Certification Program สถาบัน Thai Institute of Directors รุน่ 129/2010 (พ.ศ.2553) • ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตมิ ศักดิ์ (ฟิสกิ ส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ.2556) ต�ำแหน่งงานปัจจุบนั • ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) • ประธานคณะกรรมการบริหารองค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ • ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
SYNCHROTRON MAGAZINE
7
ACCELERATOR EXPLORE ดร. ประพงษ์ คล้ายสุบรรณ์, ดร. กฤษดา กิตติมานะพันธ์, ดร. ณรงค์ จันทร์เล็ก, นส. ศิริวรรณ ไกรนรา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
โครงการความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน กับห้องปฏิบตั กิ ารตรวจวัดอนุภาค ALICE ของเซิรน์
ผูอ้ า่ นหลายท่านคงคุน้ เคยหรือรูจ้ กั องค์กรเพือ่ การวิจยั นิวเคลียร์แห่งยุโรป หรือ เซิรน์ (CERN: Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire หรือ The European Organization for Nuclear Research) มาบ้างแล้ว เซิรน์ เป็นองค์กรระหว่างประเทศเพือ่ การวิจยั ในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านฟิสกิ ส์อนุภาค มีทตี่ งั้ อยูบ่ ริเวณชายแดนระหว่างประเทศสมาพันธรัฐสวิสและประเทศฝรัง่ เศส ใกล้กบั กรุงเจนีวา ในตอน แรกนั้นประเทศสมาชิกขององค์กรจะมีแต่เพียงประเทศในยุโรปเท่านั้น แต่ภายหลังได้มีการขยายความร่วมมือไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยของเราด้วย ส่วนงานวิจัยเมื่อตอนเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1952 นั้นจะเน้นไปที่ด้านฟิสิกส์นิวเคลียร์เป็นหลัก นี่จึงเป็นที่มา ของค�ำว่า “นิวเคลียร์” และ “ยุโรป” ในชื่อองค์กร
ปั จ จุ บั น เซิ ร ์ น เป็ น องค์ ก รวิ จั ย ฟิสิกส์พื้นฐานระดับโลก ประกอบไป ด้วยห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับ การพัฒนาเครือ่ งเร่งอนุภาค การพัฒนา ระบบตรวจวัดอนุภาค และการพัฒนา ระบบเก็บและประมวลผลข้อมูลขนาด ใหญ่ เซิ ร ์ น มี เ ครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคและ รูปที่ 1 ภาพถ่ายทางอากาศบริเวณที่ตั้งห้องปฏิบัติการเซิร์น แสดงระบบเครื่องเร่งอนุภาคที่อยู่ใต้ดิน เครือ่ งตรวจวัดอนุภาคขนาดใหญ่หลาย ระบบส�ำหรับท�ำการค้นคว้าวิจยั นอกจากนัน้ เซิรน์ ยังให้ความส�ำคัญกับการสร้างความตระหนักและการเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับฟิสกิ ส์อนุภาค และการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์อีกด้วย เครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดของเซิร์นซึ่งเป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่ที่สุดของโลกด้วยคือ Large Hadron Collider (LHC) มีความยาว เส้นรอบวง 27 กิโลเมตร ได้ถูกออกแบบให้สามารถเร่งพลังงานของโปรตอนได้สูงถึง 7 ล้านล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (Teraelectronvolt หรือ TeV) โปรตอนที่ถูกเร่งจะมีความเร็วสูงถึง 99.9999991 เปอร์เซ็นต์ของ ความเร็วแสง ซึ่งจะท�ำให้ได้พลังงานของการชน (Collision energy) เท่ากับ 14 TeV นีเ่ ป็นค่าพลังงานสูงสุดตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้ ในปัจจุบนั LHC เดินเครือ่ งทีพ่ ลังงานสูงทีส่ ดุ ได้ 6.5 TeV ต่อล�ำอนุภาค หรือเท่ากับ ทีพ่ ลังงานของการชน 13 TeV ซึง่ เป็นสถิตสิ งู สุดของโลกทีเ่ ริม่ ท�ำได้ตงั้ แต่ วันที่ 20 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมานี้เอง
รูปที่ 2 แผนภาพแสดงเครื่องเร่งอนุภาคต่าง ๆ ของเซิร์น ที่ส�ำคัญคือ LHC (Large Hadron Collider) ขนาดพลังงาน 7 TeV, SPS (Super Proton Synchrotron) ขนาดพลังงาน 450 GeV, PS (Proton Synchrotron) ขนาดพลังงาน 25 GeV, BOOSTER (Proton Synchrotron Booster; PSB) ขนาดพลังงาน 1.4 GeV, และ LEIR (Low Energy Ion Ring) ขนาดพลังงาน 72 MeV/u ส�ำหรับการเร่งไอออน ของตะกั่ว 8
SYNCHROTRON MAGAZINE
รูปที่ 3 เครื่องเร่งอนุภาค LHC
รูปที่ 4 การประกาศการค้นพบอนุภาคฮิกส์เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2555
ผลงานส�ำคัญที่สุดที่ผ่านมาของเครื่องเร่ง อนุภาค LHC ที่ผู้อ่านคงเคยได้ยินมาบ้างแล้ว คือ การค้ น พบอนุ ภ าคที่ เ รี ย กว่ า อนุ ภ าคฮิ ก ส์ หรื อ Higgs boson ซึ่ ง เป็ น อนุ ภาคมู ลฐานที่ เ ป็ น ต้ น ก�ำเนิดของมวลของสสารตามทฤษฎี ซึ่งเซิร์นได้ ประกาศการค้นพบดังกล่าวเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 การค้นพบดังกล่าวน�ำไปสู่การมอบ รางวัลโนเบลในสาขาฟิสกิ ส์ให้กบั นักฟิสกิ ส์สองท่าน ที่ เ ป็ น ผู ้ เ สนอทฤษฎี ข องการมี อยู ่ ข องอนุ ภาคดัง กล่าว ได้แก่ ปีเตอร์ ฮิกส์ (Peter Higgs) และ ฟรอง ซัวร์ อองแกลร์ (François Englert) ในปี พ.ศ. 2556 ซึง่ ข้อมูลการค้นพบนีไ้ ด้จากการชนกันของโปรตอน ที่พลังงาน 4 TeV ต่อล�ำอนุภาค หรือพลังงานของ การชน 8 TeV เท่านั้น
รูปที่ 5 แผนภาพของ LHC แสดงต�ำแหน่งของระบบตรวจวัดอนุภาคหลักทั้งสี่
จากแผนภาพของเครื่องเร่งอนุภาค LHC ในรูปที่ 5 เราจะเห็นว่าล�ำอนุภาคจะมีโอกาสชนกันใน 4 ต�ำแหน่งต่อ รอบ ซึ่งต�ำแหน่งทั้งสี่นี้เป็นที่ตั้งของระบบตรวจวัดอนุภาค หลัก 4 ระบบ จากทั้งหมด 7 ระบบ ได้แก่ ALICE (A Large Ion Collider Experiment), CMS (Compact Muon Solenoid), ATLAS (A Toroidal LHC ApparatuS) และ LHCb (LHC-beauty) โดยระบบตรวจวัดที่สามารถตรวจ วัดและค้นพบอนุภาคฮิกส์ ได้แก่ ระบบตรวจวัด ATLAS และ CMS
รูปที่ 6 ข้อมูลการค้นพบอนุภาคฮิกส์จากเครื่องตรวจวัดอนุภาค CMS (ซ้าย) และ ATLAS (ขวา)
ระบบตรวจวัดอนุภาค ALICE นั้นจะเป็นระบบตรวจ วั ด อนุ ภ าคที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั บ ระบบตรวจวั ด ATLAS และ CMS ที่ เ ป็ น ระบบตรวจวั ด อนุ ภ าคแบบเอนกประสงค์ (General-purpose) คือสามารถตรวจวัดอนุภาคได้หลาก หลายชนิด แต่ ALICE ได้ถูกออกแบบให้มีความเหมาะ สมเฉพาะส�ำหรับการศึกษาการชนกันของไอออนหนัก ซึ่ง ได้แก่ตะกั่ว การชนกันของไอออนหนักจะก่อให้เกิดความ ร้อนและพลังงานมหาศาลใกล้เคียงกับสภาวะที่เกิดขึ้นใน ช่ ว งเวลาเศษเสี้ ย ววิ น าที ภ ายหลั ง การก่ อ ก� ำ เนิ ด ของ จักรวาล หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ Big Bang รูปที่ 7 ระบบตรวจวัดอนุภาค ALICE
SYNCHROTRON MAGAZINE
9
ACCELERATOR EXPLORE
รูปที่ 8 ภาคตัดขวางของเครื่องตรวจวัดอนุภาค ALICE แสดงให้เห็นถึงระบบการวัดชนิดต่าง ๆ กว่า 10 ชนิดที่เป็นส่วนประกอบ (ซ้าย) โดยส่วนที่อยู่ในสุดคือระบบการวัด ITS (Inner Tracking System) (ขวา)
รูปที่ 9 คณะผู้บริหารและนักวิจัยของสถาบันฯ ได้เดินทาง ไปหารือความร่วมมือกับกลุ่มวิจัยและพัฒนาของ ALICE ITS
เครื่องตรวจวัดอนุภาค ALICE นั้นประกอบไปด้วยระบบวัดย่อยๆ ถึง 18 ระบบ โดย ระบบทีอ่ ยูใ่ นสุดใกล้กบั บริเวณทีอ่ นุภาคชนกันมากทีส่ ดุ คือระบบวัด Inner Tracking System (ITS) ท�ำหน้าที่ตรวจวัดอนุภาคที่มีช่วงชีวิตสั้นและไม่สามารถเดินทางได้ไกลก่อนที่มันจะ สลายตัวไปอย่างรวดเร็ว ระบบจะท�ำการตรวจวัดทั้งต�ำแหน่งและทิศทางการเคลื่อนที่ของ อนุภาคที่เกิดขึ้นหลังการชน โดยระบบ ITS นั้นประกอบไปด้วยเซนเซอร์อนุภาคชนิดซิลิกอน จ�ำนวน 6 ชั้นด้วยกัน ดังแสดงในรูปที่ 8 ด้านขวา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนได้เริ่มต้นความร่วมมือกับกลุ่มวิจัยและพัฒนาของห้อง ปฏิบัติการ ALICE ITS เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 โดยคณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เดิน ทางไปยังเซิร์นร่วมกับ ผศ. ดร. ชิโนรัตน์ กอบเดช อาจารย์สาขาวิชาฟิสิกส์ ส�ำนักวิชา วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเพื่อหารือถึงความร่วมมือ และได้ข้อสรุปเกี่ยว กับการใช้ลำ� อิเล็กตรอนของสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอนส�ำหรับงานทดสอบเซนเซอร์อนุภาค ที่ทางห้องปฏิบัติการ ALICE ITS พัฒนาขึ้น โครงการพัฒนาเครือ่ งก�ำเนิดแสงสยามเพือ่ ใช้ประโยชน์จากล�ำอิเล็กตรอนส�ำหรับงาน วิจยั นัน้ เป็นโครงการทีม่ จี ดุ ประสงค์เพือ่ เพิม่ การใช้ประโยชน์จากล�ำอิเล็กตรอนขนาดพลังงาน 1 GeV (ซึ่งจะเพิ่มเป็น 1.2 GeV ในอนาคต) ของเครื่องเร่งอนุภาคบูสเตอร์ซินโครตรอนของ เครือ่ งก�ำเนิดแสงสยาม นอกเหนือไปจากการใช้ผลิตแสงซินโครตรอนซึง่ เป็นภารกิจหลัก โดย จะน�ำล�ำอิเล็กตรอนไปใช้ในการอาบวัสดุ (Electron beam irradiation) เพือ่ ปรับปรุงคุณสมบัติ ของวัสดุนนั้ ๆ และพัฒนาระบบการทดสอบด้วยล�ำอิเล็กตรอน (Beam Test Facility; BTF) ในงานที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบคุณสมบัติของระบบวัดอนุภาคพลังงานสูง (High-energy particle detector characterization) และการทดสอบและปรับเทียบระบบวัดคุณสมบัตขิ อง ล�ำอนุภาค (Particle beam diagnostics calibration and testing) โดยงานแรกในส่วนนี้จะ เป็นการทดสอบคุณสมบัติของระบบวัดอนุภาคพลังงานสูงของ Inner Tracking System (ITS) ของเครื่องตรวจวัดอนุภาค ALICE
รูปที่ 10 โครงสร้างของระบบการวัด ITS (Inner Tracking System) มีเซนเซอร์ซิลิกอนเป็นองค์ประกอบพื้นฐาน 10
SYNCHROTRON MAGAZINE
เนื่ อ งจากการใช้ ล� ำ อิ เ ล็ ก ตรอนทดสอบ ประสิทธิภาพการท�ำงานของเซนเซอร์อนุภาคนัน้ จะ ต้องใช้ลำ� อิเล็กตรอนทีม่ จี ำ� นวนน้อย ๆ ในหลักของ 10 - 100 ตัว ในขณะที่ล�ำอิเล็กตรอนของเครื่อง ก�ำเนิดแสงสยามนั้นจะมีอิเล็กตรอนเป็นจ�ำนวน มาก ในหลักของหลายร้อยล้านตัวเพื่อให้ได้แสง ซินโครตรอนที่มีความเข้มสูง ดังนั้น การจะน�ำล�ำ อิเล็กตรอนไปใช้ในงานนี้จึงต้องมีระบบลดจ�ำนวน อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การใช้ โลหะหนักท�ำหน้าที่เป็นตัวกรองลดจ�ำนวนอนุภาค การปรับแต่งระบบเวลาของเครื่องเร่งอนุภาค และ การใช้แม่เหล็กสองขัว้ ร่วมกับสลิท (Slit) เป็นต้น ซึง่ ในระยะแรกทีผ่ า่ นมานัน้ ทางสถาบันฯ ได้ใช้วธิ แี รก คือ ใช้เป้าตะกั่วเพื่อลดจ�ำนวนอนุภาค วิธีนี้มีข้อดี คือสามารถด�ำเนินการได้ง่ายและรวดเร็ว แต่มี ข้ อ เสี ย ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ล� ำ อิ เ ล็ ก ตรอนที่ ไ ด้ นั้ น จะมี พลังงานที่ไม่คงที่ ในระยะที่สองที่สถาบันก�ำลังด�ำเนินการอยู่ นั้น จะท�ำการปรับปรุงระบบ BTF โดยใช้แม่เหล็ก สองขั้วที่มีอยู่ในระบบล�ำเลียงอิเล็กตรอนพลังงาน สูงท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวคัดเลือกพลังงานของอิเล็กตรอน ร่วมกับสลิท ท�ำให้มีข้อดีเหนือกว่าในระยะที่ 1 เพราะจะสามารถควบคุมพลังงานของอิเล็กตรอน ให้มคี า่ คงทีไ่ ด้ อีกทัง้ จะท�ำให้ลดจ�ำนวนอิเล็กตรอน ลงได้มากกว่าเดิม ซึง่ สถาบันฯ มีกำ� หนดทีจ่ ะติดตัง้ ระบบนี้ได้แล้วเสร็จในเดือนตุลาคมที่จะถึงนี้ ในระยะที่ 3 ซึง่ เป็นระยะสุดท้ายนัน้ สถาบันฯ จะติดตัง้ ระบบล�ำเลียงล�ำอิเล็กตรอนแยกออกจาก ระบบล�ำเลียงอนุภาคพลังงานสูง ซึง่ เราจะสามารถ น�ำล�ำอิเล็กตรอนไปใช้ในงานวิจยั ในด้านต่าง ๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการฉายล�ำอิเล็กตรอนอาบวัสดุ (Electron beam irradiation) เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุณสมบัติของวัสดุนั้น ๆ ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างยิ่ง ส�ำหรับนักวิจยั ด้านวัสดุศาสตร์ของไทย โดยเฉพาะ ก ลุ ่ ม วิ จั ย ที่ ท� ำ ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห ์ วั ส ดุ น า โ น (Nanomaterials) และวั ส ดุ แ ม่ เ หล็ ก นาโน (Nanomagnetic materials) โดยในระบบนี้เราจะ สามารถเลือกพลังงานของล�ำอิเล็กตรอนได้โดย ละเอียดกว่าระบบในระยะที่ 2 ขึ้นไปอีกด้วย
เอกสารอ้างอิง
1. CERN Faq : LHC the guide 2. CERN Website : home.web.cern.ch
รูปที่ 11 ระบบทดสอบเซนเซอร์ด้วยล�ำอิเล็กตรอนในระยะที่ 1
รูปที่ 12 ระบบทดสอบเซนเซอร์ด้วยล�ำอิเล็กตรอนในระยะที่ 2
รูปที่ 13 เซนเซอร์พร้อมบอร์ดอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับอ่านข้อมูลติดตั้งอยู่ในกล่องที่ท�ำจากตะกั่ว
รูปที่ 14 ระบบการฉายล�ำอิเล็กตรอนอาบวัสดุและระบบทดสอบเซนเซอร์ด้วยล�ำอิเล็กตรอนในระยะที่ 3
SYNCHROTRON MAGAZINE
11
SPECIAL SCOOP
ปีสากลแห่งแสง และเทคโนโลยีแสง ดร. ณัฐธวัล ประมาณพล
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2558 หรือ ค.ศ. 2015 เป็น ปีสากลแห่งแสงและเทคโนโลยีแสง (International year of light and light-based technologies, IYL 2015) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับแสง และเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของเทคโนโลยีแสงในชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น อีกทั้งยังเป็น การร�ำลึกเหตุการณ์ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์แห่งแสงในอดีตที่ผ่านมา
การค้นพบเกี่ยวกับแสง
การศึกษาค้นพบเกีย่ วกับแสงเริม่ ต้นขึน้ เมือ่ 1000 ปีทผี่ า่ นมา การค้นพบเหล่านีส้ ง่ ผลต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก
1015
1865
นักวิทยาศาสตร์ผู้บุกเบิก ชาวอาหรับ ได้เริ่มศึกษา วิทยาศาสตร์เชิงแสง หรือ ทัศนศาสตร์ (Optics)
นักวิทยาศาสตร์ชาว สก๊อตแลนด์ สามารถ อธิ บ ายคุ ณ สมบั ติ แม่เหล็กไฟฟ้าของแสง
James Clerk Maxwell
Ibn Al-Haytham
1815
Augustin-Jean Fresnel
ชาวฝรัง่ เศส ได้ประกาศ ทฤษฎีแสงในรูปแบบคลืน่
การประยุกต์ใช้แสง
1915
Albert Einstein
นักฟิสกิ ส์ชาวเยอรมัน ได้คน้ พบทฤษฎีสมั พัทธภาพขึน้
การศึกษาเกีย่ วกับแสง ซึง่ ก็คอื คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึง่ น�ำไปสู่ การพัฒนาแสงเลเซอร์ แผ่นดีวดี ี โทรศัพท์มอื ถือ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ไร้สาย หรือแม้แต่การศึกษาทางดาราศาสตร์วทิ ยุ (Radio astronomy) ซึ่งก็คือ การศึกษาวัตถุท้องฟ้าในช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ ส่วนทฤษฎี สัมพันธ์ภาพและการศึกษาการแผ่รงั สีจากเอกภพ ก่อให้เกิดการพัฒนา ออกแบบระบบดาวเทียม GPS และการค้นหาค�ำตอบเรือ่ งก�ำเนิดของ เอกภพ การศึกษาธรรมชาติและคุณสมบัติของแสง จึงมีความส�ำคัญ และก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ วงการวิทยาศาสตร์หลายสาขา ไม่วา่ จะเป็น ความพยายามทีจ่ ะท�ำความเข้าใจการเคลือ่ นทีข่ องดาว และดาวเคราะห์ บทบาทของแสงในกระบวนการสังเคราะห์แสง แสงจากการระเบิดครัง้ ใหญ่ (Big Bang) น�ำไปสูก่ ารค้นหาการก�ำเนิดของเอกภพ สเปกตรัมของ แสงในช่วงรังสีเอกซ์จนถึงอินฟราเรด ช่วยไขข้อสงสัยเกีย่ วกับสิง่ มีชวี ติ การใช้แสงกับร่างกายของมนุษย์ ช่วยในเรือ่ งการวินจิ ฉัย ถ่ายภาพทางรังสี
12
SYNCHROTRON MAGAZINE
1965
Arno Penzias และ Robert Wilson
ค้นพบรังสีไมโครเวฟฉากหลังของจักรวาล (Cosmic microwave background)
Timeline
1965
Charles Kao
นักฟิสกิ ส์และวิศวกรไฟฟ้าชาวจีน ประสบความส�ำเร็จใน การส่งแสงผ่านใยแก้วน�ำแสง (Fibre optics) ท�ำให้เรามี การสือ่ สารผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ในปัจจุบนั
และการรักษาทางการแพทย์ นอกจากนัน้ ศาสตร์แห่งแสงยังถูกประยุกต์ ใช้เป็นเทคโนโลยีการสร้างและควบคุมแสงทีร่ จู้ กั กันในชือ่ Photonics และอุปกรณ์เชิงแสงต่างๆ เช่น เลเซอร์ ใยแก้วน�ำแสง หลอดแอลอีดี มีความส�ำคัญและมีสว่ นช่วยทางด้านการแพทย์ การสือ่ สาร และพลังงาน แสงจึงมีบทบาทส�ำคัญมากในโลกยุคปัจจุบนั จะเห็นว่า การเชือ่ ม โยงอินเตอร์เน็ตทัว่ โลก โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เทคโนโลยีไร้สาย ท�ำให้การ สือ่ สาร ข้อมูลข่าวสารต่างๆ กระจายไปทัว่ โลกอย่างไร้พรหมแดน รวมถึง ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ สามารถเข้าถึงพื้นที่ห่างไกลได้ เทคโนโลยีแสงยังมีความส�ำคัญต่อพลังงานทางเลือก หรือพลังงานสะอาด เช่น การพัฒนาอุปกรณ์ทเี่ ปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานรูปอืน่ เพือ่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุม้ ค่าและยัง่ ยืน นอกจากนี้ เทคนิค เชิงแสงต่างๆ ยังมีส่วนช่วยในการศึกษาสภาวะแวดล้อมของโลก เช่น การส�ำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote sensing) เพือ่ คาดการณ์ภมู อิ ากาศ และภัยธรรมชาติ การส�ำรวจทางการเกษตรและแหล่งน�ำ้ ใต้ดนิ เป็นต้น
ก�ำเนิดของแสง หากย้อนกลับไป เมือ่ ประมาณสามแสนปีหลังการระเบิดครัง้ ใหญ่ (Big Bang) ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ อกภพมี อุ ณ หภู มิ สู ง มาก และเมื่ อ อุ ณ หภู มิ เย็ น ตั ว ลงมากพอ จึ ง เกิ ด การรวมตั ว กั น ของอะตอมพื้ น ฐาน ซึ่ ง เป็ น ที่ ม าของการเกิ ด ระบบสุ ริ ย ะ รวมทั้ ง โลกของเราด้ ว ย ตั้ ง แต่ นั้ น มา ดวงอาทิ ต ย์ จึ ง กลายเป็ น แหล่ ง ก� ำ เนิ ด แสงแรกและส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ท� ำ หน้ า ที่ ให้ แ สงสว่ า ง และความอบอุ ่ น แก่ โ ลกของเรา อี ก ทั้ ง การโคจรของโลกรอบ ดวงอาทิตย์ ยังท�ำให้เกิดฤดูกาลในแต่ละปี นอกจากนัน้ แสงอาทิตย์ยงั มีบทบาทส�ำคัญ ในกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช โดยใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน�้ำ เพื่อผลิต ก๊าซออกซิเจนสูบ่ รรยากาศ และสารจ�ำพวกคาร์โบไฮเดรต ซึง่ เป็นแหล่งพลังงานทีส่ ำ� คัญให้แก่ มนุษย์และสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ นอกจากแสงอาทิตย์แล้ว เรายังมีแหล่งก�ำเนิดแสงอืน่ ๆ เช่น การก่อกองไฟ จากการ ตัง้ แคมป์ไฟของบรรพบุรษุ มนุษย์ถำ้� หรือตะเกียง ในทีท่ ไี่ ม่มไี ฟฟ้า ปัจจุบนั เรามีไฟฟ้าใช้ ซึง่ เป็น แหล่งก�ำเนิดแสงทีม่ นุษย์สร้างขึน้ เริม่ จากการประดิษฐ์หลอดไฟ โดย Joseph Swan และ Thomas Edison ต่อมามีการพัฒนาหลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดแอลอีดีที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ในปัจจุบนั มนุ ษ ย์ ยั ง เรี ย นรู ้ ท่ี จ ะควบคุ ม แสง โดยใช้ ก ระจกซึ่ ง ท� ำ หน้ า ที่ เ ปลี่ ย นทิ ศ ทาง ของแสง และเลนส์ในการขยายภาพ เมือ่ หลายร้อยปีกอ่ น ได้มกี ารประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์ ซึง่ มีสว่ นประกอบของกระจกและเลนส์ เพือ่ ศึกษาวัตถุขนาดเล็กกว่าทีจ่ ะ มองเห็นด้วยตาเปล่า และวัตถุระยะไกล ไม่วา่ จะเป็นเรือในทะล หรือชิน้ ส่วนทางดาราศาสตร์ ในระยะไกลมาก นอกจากนัน้ เรายังสามารถส่งแสงจากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทีห่ นึง่ โดยใช้เส้นใยน�ำแสง เพือ่ ส่งผ่านข้อมูลต่างๆ หรือส�ำรวจบริเวณทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงได้ เช่น เครือ่ งมือทางการแพทย์ กล้องส่องอวัยวะภายใน
กองไฟ
ตะเกียง
หลอดไฟของเอดิสนั
หลอดฟลูออเรสเซนต์
แสงซินโครตรอน
วงกักเก็บอิเล็กตรอน
สถานีทดลอง
เครือ่ งเร่งอนุภาค แนววงกลม
ดวงอาทิตย์
เครือ่ งเร่งอนุภาค แนวตรง
ปัจจุบนั เรายังมีแหล่งก�ำเนิดแสงทีม่ นุษย์สร้างขึน้ อีกประเภทหนึง่ เรียกว่า เครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอน โดยอาศัยหลักการท�ำงานของการเร่งอิเล็กตรอน ให้มคี วามเร็วสูงเกือบเท่าความเร็วแสง ถูกบังคับให้เลีย้ วโค้งผ่านสนามแม่เหล็ก และปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปแบบของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าทีเ่ รียกว่า แสงซินโครตรอน ซึง่ มีลกั ษณะพิเศษครอบคลุมช่วงความยาวคลืน่ ตัง้ แต่ยา่ นรังสีอนิ ฟราเรดจนถึงรังสีเอกซ์ และมีความเข้มสูงมาก จึงถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ในการศึกษาระดับโมเลกุลและอะตอม กันอย่างแพร่หลาย โดยมีห้องปฏิบัติการเครื่องก�ำเนิดแสงซินโครตรอนกระจายอยู่ ทัว่ โลกประมาณ 50 แห่ง และในประเทศไทย ตัง้ อยู่ ณ สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ เป็น เครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคอาเซียน
เครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอน ที่มา : www.light2015.org www.lightsources.org SYNCHROTRON MAGAZINE
13
KIDS วิทย์
วิทยาศาสตร์ง่ายๆ รอบๆ ตัว ฉบับนี้ เราจะพักเรือ่ งการทดลองทางวิทยาศาสตร์ไว้กอ่ นนะคะ เนือ่ งจากน้องๆ หลายคนอาจคิดว่าวิทยาศาสตร์ เป็นเรือ่ งทีเ่ ข้าใจยาก ดังนัน้ ในฉบับนี้ SLRI Mag จะชวนน้องๆ ไปรูจ้ กั กับวิทยาศาสตร์ทเี่ ราสามารถพบเจอได้ ในชีวติ ประจ�ำวัน และน้องๆ จะรูว้ า่ “วิทยาศาสตร์เป็นเรือ่ งง่ายๆ ทีอ่ ยูร่ อบๆ ตัว” ไปเริม่ กันเลยค่ะ..........
Q: ทำ�ไมรอยฟกช้ำ� จึงมีสีคล้ำ�ดำ�เขียว?
Q: เสียงเพลงทำ�ให้แก้ว แตกได้จริงหรือ?
Q: ทำ�ไมท้องฟ้า เป็นสีฟ้า?
A: เมื่อร่างกายเราถูกกระแทกหรือถูกตี
A: การร้องเพลงด้วยเสียงสูงๆ เป็นเวลา
A: แท้จริงแล้วท้องฟ้าเองไม่มีสี แสงสี
อย่างแรงที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง จะทำ�ให้ เส้นเลือดฝอยบริเวณนัน้ แตก เลือดจะไหล ซึมออกมานองอยูใ่ ต้ผวิ หนัง ทำ�ให้ผวิ หนัง บวมขึ้น บริเวณที่เลือดไหลนองนี้อยู่ลกึ ถัดไปจากหนังกำ�พร้าชัน้ ใน ถ้าถูกกระแทก ใหม่ๆ จะเป็นรอยแดงจางๆ เมือ่ ผ่านวันไป จะมี สี ค ล้ำ�ขึ้ น การที่ เ ราเห็ น เป็ น สี ค ล้ำ� เขียวก็เพราะแสงที่ส่องกระทบรอยฟกช้ำ� นัน้ สะท้อนมาเข้าตาเรา ก่อนทีแ่ สงจะมา เข้าตาเรา แสงจะต้องผ่านชั้นต่างๆ ของ ผิวหนัง กล้ามเนือ้ และเนือ้ เยือ่ บริเวณนัน้ จะดูดซับแสงสีแดงไว้ ส่วนแสงสีน้ำ�เงิน ถึงแสงสีม่วงจะไม่ถูกดูดซับ เราจึงเห็น เป็นสีม่วงคล้ำ�บริเวณนั้น ยิ่งรอยฟกช้ำ� ขยายตัวลึกเข้าไปมากเพียงใด แสงก็จะ ถู ก ดู ด ซั บ มากขึ้ น เราก็ จ ะยิ่ ง เห็ น รอย ฟกช้ำ�คล้ำ�มากขึ้น ร่างกายจะพยายามกำ�จัดเม็ดเลือด แดงหรือเม็ดเลือดขาวที่ถูกทำ�ลายแล้ว รวมทั้ง ชิ้น ส่ ว นเซลล์ ท่ีแ ตกหลุ ด ออกมา เม็ดเลือดแดงจะสลายตัวมีสซี ดี ลงจนเหลือง และสุดท้ายเม็ดเลือดขาวจะมากลืนกิน สิ่งเหล่านี้ เพื่อทำ�ความสะอาด ในที่สุด เนื้อเยื่อบริเวณนั้นก็จะเข้าสู่สภาพเดิม 14
SYNCHROTRON MAGAZINE
นานสามารถทำ�ให้แก้วแตกได้ไม่ใช่เรื่อง พูดเล่น แท้จริงแล้วเป็นปรากฏการณ์ ธรรมชาติซึ่งเรียกว่าเกิด“กำ�ทอน (resonance)” ของเสียง คือ เกิดการแทรกสอด ของคลื่นเสียงแบบเสริมกัน เพื่อให้เข้าใจในเรื่องนี้ง่ายขึ้น ลอง นึกถึงเวลาเราไกวชิงช้าได้จงั หวะเหมาะๆ พอดี ชิงช้าจะยิ่งไกวสูงขึ้น แต่ถ้าไกว ชิงช้าผิดจังหวะจะทำ�ให้ชิงช้าไกวเบาลง เนือ่ งจากแรงทีผ่ ดิ จังหวะไปหักล้างกับการ เคลื่ อ นไหวของชิ ง ช้ า เสี ย หมด แก้ ว ก็ เช่นเดียวกัน แก้วแต่ละใบจะสั่นสะเทือน ด้วยความถี่เฉพาะตัว ถ้าลองใช้ดินสอ เคาะแก้วใบใดจะได้ยินเสียงเหมือนเดิม ทุกครั้ง คลื่นเสียงจากนักร้องทำ�ให้แก้ว สัน่ สะเทือนได้เช่นกัน ถ้าความถีข่ องเสียง ไม่พอดีกจ็ ะหักล้างกับการสัน่ สะเทือนของ แก้ว แต่ถ้านักร้องสามารถปรับความถี่ ของเสียงได้พอเหมาะกับการสั่นสะเทือน ของแก้วจะทำ�ให้แก้วสัน่ แรงขึน้ จนแตกได้
ฟ้ า ที่ เ ห็ น เกิ ด จากสี ฟ้ า ที่ มี อ ยู่ ใ นแสง อาทิตย์ โฟตอนของแสงสีฟ้ามีพลังงาน มากกว่าโฟตอนของแสงสีอนื่ จึงทำ�ให้มนั ชนอะตอมอื่ น ออกไปได้ ม ากกว่ า และ เคลื่อนลงต่ำ�มาเข้าตาเรา ดังนั้นเมื่อเรา มองขึ้นไปบนท้องฟ้า เราเลยเห็นโฟตอน แสงสีฟ้ามาก ทำ�ให้เห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้า แต่สีของดวงอาทิตย์ขณะลับขอบ ฟ้าไม่ได้เป็นสีฟ้า เพราะเมื่อดวงอาทิตย์ ลดต่ำ�ลง เราจะเห็นแสงอาทิตย์ส่องเป็น มุมผ่านฝุ่นสกปรกในอากาศ ฝุ่นละออง เหล่านี้จะสะท้อนโฟตอนสีฟ้าส่วนใหญ่ ออกไปก่ อ นที่ แ สงจะมาเข้ า ตาเรา จึงทำ�ให้เราเห็นท้องฟ้าเป็นสีส้มๆ แดงๆ จากข้ อ ความข้ า งต้ น ทำ�ให้ เ รา ตระหนักได้วา่ แท้จริงแล้วในการดำ�รงชีวติ ป ร ะ จำ� วั น ข อ ง เ ร า เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ วิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น หากเราลองสังเกต และวิเคราะห์จะพบว่า “วิทยาศาสตร์เป็น เรื่องง่ายๆ ที่อยู่รอบๆ ตัว” นั่นเองค่ะ
ภาพจาก http://www.wallpaperup.com
ตะลอนโคราช
พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน เมื่ อได้ ยิ น ชื่ อ ไม้ กลายเป็ นหิ น หลายท่านคงสงสัย อะไรคือไม้ กลายเป็ น หิน ตะลอน...โคราช ฉบับนี ้ จะพาทุกท่าน ไปเที่ยว สถาบันวิจัยไม้ กลายเป็ นหินและ ทรั พยากรธรณี ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ มหาวิ ท ยาลัย ราชภั ฎ นครราชสีมา หรื อที่ชาวโคราชเรี ยกกันว่า พิพิธภัณฑ์ไม้ กลายเป็ นหิน ไม้ กลายเป็ นหิน (petrified wood) คือ ไม้ สมัยดึกด�ำบรรพ์ที่กลายสภาพเป็ นหิน ซึ่งเกิดจากเนื ้อไม้ เดิมถูกแทนที่ด้วยแร่ ธาตุ ต่างๆ จากสารละลายในน้ำ�ใต้ ดนิ ไม้ กลายเป็ นหินได้ อย่างไร?? เมื่อมี การทับถมไม้ ในระดับลึก ไม้ จะอยูใ่ นสภาวะ ขาดออกซิเจนและจุลนิ ทรีย์ การสลายตัวหรือ ผุพังจึงเกิ ดขึน้ ช้ ามาก สารละลายแร่ ธาตุ
ในน� ำ้ ใต้ ดิน จะแทรกซึมเข้ าไปตกผลึกใน ช่องว่างหรือผนังเซลล์ของไม้ จนกระทัง่ กลาย เป็ นหินทังหมดในที ้ ่สดุ นิ ท ร ร ศ ก า ร ที่ จั ด แ ส ด ง ภ า ย ใ น พิพิธภัณฑ์ไม้ กลายเป็ นหินประกอบด้ วย 1. นิ ท รรศการภายนอก ได้ แก่ สวนอนุส รณ์ ส ถานไม้ ก ลายเป็ นหิ น ร. 6 สวนจ� ำ ลองภูมิ ป ระเทศแสดงที่ ม าของชื่ อ หมูบ่ ้ าน “โกรกเดือนห้ า” และ สวนจ�ำลอง ภูมิประเทศไม้ กลายเป็ นหินลุม่ น้ำ�มูล – ชี 2. พิพิธภัณฑ์ไม้ กลายเป็ นหิน ได้ แก่ นิทรรศการไม้ กลายเป็ นหินโคราช – ขอนแก่น ห้ องเฉลิมพระเกียรติ : สถาบันพระมหา กษั ต ริ ย์ ไ ทยกั บ การอนุ รั ก ษ์ ไ ม้ ก ลายเป็ น หิน ห้ องฉายวีดิโอแอนิเมชัน่ : ก�ำเนิดโลก วิวฒ ั นาการสิ่งมีชีวิตและประวัติพิพิธภัณฑ์
ห้ องฉายวีดิโอแอนิเมชัน่ : ก�ำเนิดไม้ กลาย เป็ นหินโกรกเดือนห้ า และ ห้ องนิทรรศการ ไม้ กลายเป็ นหินอัญมณี 3. พิ พิ ธภั ณ ฑ์ ช้ างดึ ก ด� ำบรรพ์ ได้ แก่ อุโมงค์ช้างดึกด�ำบรรพ์ วิดิทศั น์และ นิทรรศการ เรื่ องช้ างดึกด�ำบรรพ์ 4. พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ได้ แก่ อุโมงค์ ไดโนเสาร์ นิ ท รรศการไดโนเสาร์ โ คราช ห้องฉายวีดโิ อแอนิเมชัน่ เรื่อง “แม่อกิ วั โนดอนต์ ใจเด็ด ปะทะอัลโลซอร์ จอมโหด” นิทรรศการ “มุมเด็ก” การเข้ าชมพิพธิ ภัณฑ์ ไม้ กลายเป็ นหิน เปิ ดบริ การ : อังคาร – อาทิตย์ (ปิ ดวันจันทร์ ) เวลาเข้ าชม : 9.00 – 16.00 น. เปิ ดเข้ าชม ทุกๆ 15 นาที
เว็บไซต์ : http://www.khoratfossil.org เบอร์โทรศัพท์ : 0-4437-0739-40 ที่อยู่ : 184 ถ.มิตรภาพ-หนองปลิง หมู่ 7 บ้านโกรกเดือนห้า ต.สุรนารี อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา 30000 อัตราการเข้าชม : ผู้ใหญ่ 30 บาท นักศึกษา ปวส.-ปริญญาตรี 20 บาท นักเรียนอนุบาล-ปวช. 10 บาท
SYNCHROTRON SYNCHROTRON MAGAZINE MAGAZINE
15
ธรรมง่ายๆ
ทุกข์หรือสุข อยู ่ท่ใี จของเราเอง
ตราบใดที่เรายังคงเป็นมนุษย์ เราย่อมเจอทั้งปัญหา และอุปสรรคนานาชนิด ที่เข้ามาให้เราพิสูจน์ความอดทน ชีวิต เรายิ่งเจอปัญหามากเท่าไร ยิ่งทำ�ให้เรามีประสบการณ์มากขึ้น เท่านั้น ทุก ๆ ปัญหาที่ผ่านเข้ามาในชีวิตจะเป็นแบบฝึกหัดที่แสน วิเศษที่สุดที่ให้เราได้ฝึกคิด ไตร่ตรอง ด้วยเหตุผล ยิ่งเราได้เจอ ปัญหาที่หนักมากเท่าไร ทำ�ให้เราได้ใช้วิจารณญาณและความ คิดมากขึ้นเท่านั้น เคยมีความรู้สึกแบบนี้ไหม...ว่า… ทำ�ไมนะ...ชีวิตเราถึงโชคร้ายได้มากมายขนาดนี้ ? ้ ่ ? ทำ�ไมนะ...เราถึงได้เจอแต่ปญ ั หาเดิมๆแบบซำ�ซากอยู ร่ ำ�ไป ทำ�ไมนะ...เราถึงพบเจอแต่เรือ่ งราวเลวร้ายอยูไ่ ด้ตลอดเวลา ? ทำ�ไมนะ...เราถึงไม่ได้มีไม่ได้เป็นอย่างที่เราคิด ? ทำ�ไมนะ...เราทำ�สิง่ ใดไม่เคยประสบความสำ�เร็จเลยสักที ? ในชีวติ จริงๆแล้วเราเคยหาคำ�ตอบเหล่านีใ้ ห้กบั ตัวเองไหมว่า “คำ�ถามเหล่านี้” มันเกิดขึ้นมาจากอะไรกันแน่ ? “มันเกิดขึ้นมาจากปัญหาที่ผ่านเข้ามาในชีวิตเรา” หรือว่า “มันเกิดขึ้นจากใจของเราเอง” เคยลองคิดเล่น ๆ ไหมว่า ...ทำ�ไม...มีเหตุการณ์ๆเดียวกัน เกิดขึ้นระหว่างคนสองคน ทำ�ไมคนหนึ่งถึงได้ทุกข์ใจได้อย่าง แสนสาหั ส ...แต่ อี ก คนหนึ่ ง กั บ นั่ ง หั ว เราะและยิ้ ม ได้ อ ย่ า ง มีความสุข สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะว่า “ความทุกข์” กับ “ความสุ ข ” มั น คื อ เรื่ อ งเดี ย วกั น แต่ ใ จเราต่ า งหากที่ ทำ�ให้ “ความทุกข์” กับ “ความสุข” เป็นคนละเรื่องกัน หากเรามองในด้านดีๆ ของสิ่งที่เกิดขึ้นเราก็จะพบแต่ “ความสุข” หากเรามองแต่ในด้านร้าย ๆ ของสิ่งนั้นเราก็จะพบ แต่ “ความทุกข์” จะเห็นได้วา่ จะสุขหรือจะทุกข์อยูท่ ใี่ จของเราเอง ทั้งสิ้น หากตัวเราเองจมอยูแ่ ต่ในความทุกข์นนั้ จะส่งให้สงิ่ รอบตัว รวมถึงคนรอบข้าง หรือแม้แต่สังคมก็เป็นทุกข์ไปด้วย ในทาง กลั บ กั น สั ง คมหรื อ เศรษฐกิ จ ก็ อ าจเป็ น สาเหตุ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความทุกข์ได้เช่นกัน ซึ่งทางเว็บไซต์บลูมเบิร์ก ได้เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ดังกล่าวออกมาในรูป ดัชนีความทุกขเวทนา 16
SYNCHROTRON MAGAZINE
(Misery Index) เป็นตัวชี้วัดดัชนีทางเศรษฐกิจตัวใหม่ที่ทำ�การ วัดจากความทุกข์ โดยอาศัยดัชนีทางเศรษฐกิจเป็นตัวบ่งชี้ เช่น จากภาวะเงินเฟ้อและอัตราการตกงาน เป็นต้น ซึ่งประเทศไหน มีค่าดัชนีดังกล่าวต่ำ� หมายความว่ามีความทุกข์จากเศรษฐกิจ น้อย จากการจัดลำ�ดับความทุกข์ทางเศรษฐกิจ โดยวัดจาก เศรษฐกิจจากทัว่ โลก พบว่าประเทศทีม่ ดี ชั นีดงั กล่าวสูงสุด 86.5 คะแนน คือ เวเนซูเอลา และในกลุ่มที่มีดัชนีความทุกขเวทนา ต่ำ�ๆ นั้นได้แก่ เยอรมันนี ค่าดัชนีความทุกข์จากเศรษฐกิจ 6.65 คะแนน ถัดมาคือ มาเลเซีย 6.55 คะแนน ญี่ปุ่น 4.5 คะแนน ขณะที่สวิสเซอร์แลนด์ เป็น 2.4 คะแนน แต่ทเี่ ห็นจะเป็นเรื่องน่า เหลือเชือ่ คือ ประเทศไทย กลับมีความทุกข์เวทนาน้อยทีส่ ดุ ในโลก แค่คะแนนเพียง 1.6 ซึ่งเป็นไปได้ว่า “ประเทศไทย” ถึงแม้ไม่ใช่ ประเทศที่ ร่ำ�รวยอะไร แต่ ชี วิ ต ของไทยส่ ว นใหญ่ นั้ น อยู่ กั บ เกษตรกรรม ข้าวปลาอาหาร ถูกทีส่ ดุ บางอย่างหาเก็บ-หากินได้ ตามรั้ ว ตามไร่ ก็ อิ่มอร่ อยได้ โ ดยไม่ ต้องซื้ อหาให้เ ดือ ดร้อ น ยามที่คนไทยมีทุกข์ต่างก็เอื้ออาทรช่วยเหลือเจือจุนกัน บางคน ทำ�งานช่วยเหลือสังคมไม่หวังเรื่องเงินค่าจ้าง ที่สำ�คัญทำ�ด้วย “จิตอาสา” ภาพพจน์คนไทยใจจึงมีความสุข อย่างนีน้ เี่ องทีท่ ำ�ให้ เราเป็นทุกข์น้อยกว่าชาติอื่นใดในโลก ดั ง นั้ น ทุ ก ครั้ ง ที่ เ รามี ปั ญ หาวนเวี ย นเข้ า มาในชี วิ ต หากเรามองอีกมุมหนึ่งในด้านที่เราไม่เคยมอง เราจะพบว่าทุก ปั ญ หาที่ เ ข้ า มา ล้ ว นแต่ มี สิ่ ง ดี ๆ แฝงอยู่ ใ นตั ว ของมั น เอง อย่างน้อยที่สุดเราก็รู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ว่าเราสามารถก้าว ข้ามผ่านมันมาได้ ได้ประสบการณ์ดี ๆ ในการต่อสู้และดิ้นรน ซึ่งความรู้สึกและสิ่งเหล่านี้เราไม่สามารถหาซื้อหรือขอมาจาก ใครได้เลย ยิ่งเราเจอปัญหามากเราก็จะมีประสบการณ์มากขึ้น เรื่อย ๆ จนในที่สุดเราก็จะมองเห็นสิ่งเหล่านี้ว่ามันไม่ใช่ปัญหา เพราะเราได้เรียนรู้และศึกษามันมาเป็นอย่างดี ทุกครั้งที่เกิด ปัญหาและเรือ่ งราวร้ายใด ๆ จงบอกกับตัวเองว่า “ขอบคุณทุกๆ ปัญหาที่ผ่านเข้ามาในชีวิต และทำ�ให้ฉันได้ฝึกความอดทนและ ความเข้มแข็ง” แล้วเราก็จะยิม้ ได้กบั เรือ่ งราวต่าง ๆ ทีผ่ า่ นเข้ามา
ขอบคุณข้อมูลดีๆ จาก: https://www.gotoknow.org/posts/428219 http://www.bloomberg.com/news/articles/2015-03-03/the-15-happiest-economies-in-the-world
DIGI LIFE
วิธีง่ายๆ
การเพิ่มสัญญาณ Wi-Fi
ในบ้านของคุณ
คุณเคยมีปญ ั หากับสัญญาณ Wi-Fi ทีบ่ า้ นของคุณหรือไม่ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งความแรงทีต่ กบ้าง กระตุกบ้าง หรือช้าๆ หน่วงๆบ้าง จนบางครัง้ อดรูส้ กึ ไม่ได้วา่ ค่าอินเตอร์เนตทีจ่ า่ ยไปไม่คมุ้ ค่าเอาเสียเลย วันนี้ DIGI Life ได้รวบรวมข้อมูลเทคนิคการเพิม่ ความแรง Wi-Fi ในบ้านของคุณ มาให้ลองน�ำไปใช้กนั ....
1. ควรเลือกใช้เทคโนโลยี Wi-Fi รุ่นใหม่ๆ
ความใหม่ของอุปกรณ์ ว่าจะเป็นสมาร์ทโฟน โน๊ตบุค๊ หรือแม้แต่ อุปกรณ์กระจายสัญญาณล้วนแต่มผี ลต่อการรับส่งสัญญาณทัง้ สิน้ ฉะนั้น อะไรที่เปลี่ยนได้และไม่ทำ�ให้ตัวเราเดือดร้อนมากนัก ลอง เปลี่ยนสักหน่อยก็ดีเหมือนกันนะ
2. หาตำ�แหน่งที่เราท์เตอร์สามารถให้สัญญาณได้ แรงที่สุด
เราท์เตอร์ไม่ได้เป็นแกดเจ็ต (Gadget) ที่สวยหรูดูดี ดังนั้น หลายๆ คนชอบวางมันหลบๆ ไว้ แต่นเี่ ป็นเรือ่ งทีผ่ ดิ พลาดอย่างมาก เพราะเราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ “ขี้ร้อน” และมันต้องการที่ท่ีมีอากาศ ถ่ายเทสะดวก ฮวงจุย้ ทีด่ ที สี ดุ สำ�หรับการติดตัง้ เราท์เตอร์คอื วางมัน ในที่เปิดโล่ง อยู่สูงดีว่าอยู่ตำ�่ ไม่อยู่ชิดติดสิ่งกีดขวางที่อาจบล็อค สัญญาณได้ และไม่ควรวางเราท์เตอร์ให้เสาสัญญาณชิดติดกำ�แพง หรือออกไปนอกอาคาร เพราะจะทำ�ให้สูญเสียสัญญาณครึ่งหนึ่งที่ ส่งออกไป
4. ดูแลเน็ตเวิร์กให้ปลอดภัย
ส�ำหรับ วิธสี ดุ ท้ายทีจ่ ะช่วยให้สญ ั ญาณไวไฟของคุณไม่ถกู แอบ ใช้โดยชาวบ้านจนอืดยืดยาด ไปหมด เนื่องจากการ Home Wi-Fi จะมีการปล่อยสัญญาณออกไปนอกบ้าน หากคุณไม่ท�ำการตั้งค่า ระบบรักษาความปลอดภัยเอาไว้ อย่างเช่น การเข้ารหัส ซึง่ เราท์เตอร์ ใหม่ๆ วันนี้จะได้รับผลกระทบต่อประสิทธิภาพความเร็วน้อยมาก แต่มันย่อมดีกว่า การโดนข้างบ้านแอบบใช้สัญญาณไวไฟของคุณ ท่องเน็ต โหลดบิต ดูยูทูบ ที่แย่ไปกว่านั้นก็คือ แฮคเกอร์สามารถใช้ เน็ตเวิรก์ ทีไ่ ม้ได้รบั การดูแลเรือ่ งความปลอดภัยขโมย ข้อมูลส่วนตัว ของเหยื่อได้ ในที่นี้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ได้ตั้งค่าการเข้ารหัสด้วย WPA2 และใช้พาสเวิร์ดที่แข็งแรง
5. กระป๋องน�้ำอัดลมช่วยคุณได้
ลองเอากระป๋องน�้ำอัดลมมาตัดตามภาพ แล้ววางไว้ด้านหลัง เสาส่งสัญญาณของเราท์เตอร์เพื่อบังคับทิศทาง Wi-Fi ให้ไปยัง ทิศทางทีต่ อ้ งการ ซึง่ ทางเวบไซด์ lifehacker.com เขาบอกว่า ได้ผล เหมือนกันนะ ...
3. วางเราท์เตอร์ให้ห่างจากโทรศัทพ์บ้าน
เราท์เตอร์หลายๆ รุ่นมันใช้คลื่นความถี่ ย่าน 2.4GHz ในการ กระจายสัญญาณ ซึง่ เป็นคลืน่ ความถีเ่ ดียวกับโทรศัพท์ไร้สายภายใน บ้าน อุปกรณ์ไร้สายต่างๆ ตลอดจนเตาอบไมโครเวฟ ซึ่งอุปกรณ์ เหล่านี้สามารถส่งคลื่น 2.4GHz ที่แรงมาก จนรบกวนให้สัญญาณ Wi-Fi ของคุณสู้ไม่ได้ แนะนำ�ให้วางเราท์เตอร์ห่างไกลจากอุปกรณ์ เหล่านี้จะดีกว่า SYNCHROTRON MAGAZINE
17
SLRI NEWS
ซินโครตรอน ร่วมจัดงานถนนสายวิทยาศาสตร์ ประจ�ำปี 2558
สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก าร มหาชน) ร่ ว มจั ด กิ จ กรรมงาน “ถนนสาย วิทยาศาสตร์ รับวันเด็กแห่งชาติ ปี 2558” ซึ่ง จัดขึ้นไปเมื่อวันที่ 8 – 10 มกราคม 2558 ณ ก ร ะ ท ร ว ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี กรุงเทพมหานคร โดยในปีนี้ สถาบันฯ มีกิจกรรม ให้น้องๆ เยาวชน ร่วมเล่นสนุก พร้อมทั้งได้รับ ความรู้และของรางวัลกลับบ้านมากมาย ไม่ว่า จะเป็น กระเป๋าผ้าลายพี่ซินโครตรอนและผอง เพื่อน กระปุกออมสิน ปากกา ชุดภาพระบายสี สมุดโน้ต เป็นต้น
ซินโครตรอนจัดใหญ่ ! รับปัญหากลุม่ ผูใ้ ช้แสง หวังปรับปรุงการให้บริการเทียบระดับสากล สถาบันนฯ จัดประชุมกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์แสงซินโครตรอน ครั้ง ที่ 5 ประจ�ำปี 2558 (AUM 2015) เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558 ณ โรง แรมสวิสโฮเตล เลอ คองคอร์ต กรุงเทพมหานคร ซึ่งการจัดการประชุม ดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีให้กับผู้ใช้บริการแสงซินโครตรอน ของสถาบันฯ ซึ่งได้แก่ อาจารย์ นักวิจัย จากมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย ทั่วประเทศ และจากบริษัทภาคเอกชน ให้มีโอกาสพบปะ รับรู้ข่าวสาร ของสถาบันฯ และเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ รวมถึงได้มีโอกาสที่จะ สะท้อนความคิดเห็น และปัญหาที่พบในการใช้บริการห้องปฏิบัติการ แสงสยาม เพื่อให้สถาบันฯ จะได้น�ำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงการให้ บริการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ กลุ่มผู้ใช้บริการแสงซินโครตรอน ต่อไป
ซินโครตรอน สัมมนาการจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์ 5 ปี ระยะที่ 5 สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จัด สัมมนาประจ�ำปี 2558 ในหัวข้อ “การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ระยะที่ 5” ระหว่างวันที่ 5-6 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรม ภูวนาลี รีสอร์ท เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา กิจกรรมในวันแรกประกอบไปด้วย การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ จาก ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย พัฒนาสังคม ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ในหัวข้อ “แผน ยุทธศาสตร์ 5 ปี ระยะที่ 5 (พ.ศ.2560-2564) ของสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน” นอกจากนี้ สถาบันฯ ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.วีระพงษ์ แพสุวรรณ ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และประธานกรรมการบริหารสถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน มาบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ทิศทางการด�ำเนิน งานของสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ใน อนาคต” ในช่วงบ่าย ซึ่งมีการซักถาม-ตอบ ด้วยบรรยากาศ ที่อบอุ่นอีกด้วย
ซินโครตรอน ร่วมเฉลิมฉลอง ปีสากลแห่งแสง (International Year of Light) ซินโครตรอน ร่วมเฉลิมฉลอง ปีสากลแห่งแสง -International Year of Light (IYL2015) ด้วย การจัดบรรยายพิเศษในหัวข้อ ”Light in Nature” โดย Dr.Fred Schlachter นักฟิสิกส์ จาก American Physic Society และ Lawrence Berkeley National Labolatory ผู้เชี่ยวชาญด้านเลเซอร์และซินโคร ตรอน เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2558 ณ ห้องออร์ดทิ อเรียม สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จ.นครราชสีมา โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมฟังกว่า 100 ท่าน 18
SYNCHROTRON MAGAZINE
ซินโครตรอน ร่วมโชว์นวัตกรรม ในงานแถลงข่าวผลงานของ รัฐบาลรอบ 6 เดือน ดร.พิ เ ชฐ ดุ ร งคเวโรจน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แถลงข่าวผลงานรัฐบาลในรอบ 6 เดือน เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2558 ณ ห้องโถงชั้น 1 อาคาร พระจอมเกล้ า กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี โดย สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก ารมหาชน) ได้ ร ่ ว มจั ด นิทรรศการและโชว์นวัตกรรม อาทิ การเพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจด้วย แสงซินโครตรอน เครื่องแสดงผลอักษรเบรลล์ 20 เซลล์ และเครื่อง เคลือบกระจกกล้องโทรทรรศน์ฝีมือคนไทย เป็นต้น
สถาบันฯ จัดการประชุมคณะ อนุกรรมการที่ปรึกษานานาชาติ
สถาบันฯ จัดการประชุมคณะอนุกรรมการที่ปรึกษา นานาชาติ (International Advisory Committee) จ�ำนวน 7 ท่าน น�ำโดย Prof.Dr. Josef Hormes ประธานอนุกรรมการ และ Prof. Dr. Moonhor Ree, Dr. Paul Dumas, Dr. Haruo Ohkuma, Prof. Dr.June-Rong Chen, Prof. Dr. Jim Clarke และ Dr.Mau-Tsu Tang อนุกรรมการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานของ สถาบัน ทางด้านเทคนิค วิศวกรรม เครื่องเร่งอนุภาค และระบบ ล�ำเลียงแสง พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำ ปรึกษาเพื่อการแก้ไขปัญหา พัฒนาการด�ำเนินงาน และรองรับการให้บริการแก่ผใู้ ช้บริการแสง ซินโครตรอน เมื่อวันที่ 22 - 24 เมษายน 2558 ณ สถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จ.นครราชสีมา
ซินโครตรอน ต้อนรับอาเซียน จัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก ารมหาชน) กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารระดั บ อาเซี ย น ส� ำ หรั บ เทคนิ ค การปลดปล่ อ ยอิ เ ล็ ก ตรอน ASEAN Workshop on Photoemission Electron Spectroscopy and Microscopy (AWPESM2015) ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 – 29 พฤษภาคม 2558 และ เทคนิคการดูดกลืนรังสีเอกซ์ ASEAN Workshop on X-ray Absorption Spectroscopy (AWX2015) ระหว่างวันที่ 8-10 มิถุนายน 2558 โดยมี นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา อาจารย์ และนั ก วิ จั ย จากทั่ ว ประเทศและประเทศใน ภู มิ ภ าคอาเซี ย น ณ สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก ารมหาชน) จ.นครราชสีมา
SYNCHROTRON MAGAZINE
19