ERAWAN: รายงานประจำปี 2553

Page 1

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ชั้น 6 อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577 ทะเบียนเลขที่ 0107537001943 www.TheErawan.com

รายงานประจำปี 2553 บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการใช้กระดาษรีไซเคิล ซึ่งผลิตโดยบริษัทของคนไทยในการจัดพิมพ์หนังสือรายงานประจำปี 2553 เพื่อร่วมลดภาวะโลกร้อนและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

รายงานประจำปี 2553 บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)


Designed by Plan Grafik Co., Ltd. Tel. 0 2237 0080 # 300


วิสัยทัศน์ 2558 เป็นผู้นำธุรกิจการพัฒนาและลงทุน ในโรงแรมและรีสอร์ทในประเทศไทย

พันธกิจ ขยายเครือข่ายโรงแรมที่มีคุณภาพในประเทศไทย ซึ่งสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีให้ผู้ถือหุ้น และเกิดประโยชน์แก่ผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่นๆ อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง

ค่านิยมองค์กร

• บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ ไม่ยึดติดกับตัวบุคคล • บุคลากรที่มีทักษะและความชำนาญ มุ่งมั่นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง เพียงพอ และทันสมัยสำหรับการบริหารและตัดสินใจ • วัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง สนับสนุนการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน • เป็นสมาชิกที่ดีมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมสนับสนุนชุมชน และสิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้น

Back


สารบัญ 004 006 007 008 010 021 022 024 026 030 031 032 040 042 044 046 050 062 063 067 069 072 073 074 133

ภาพรวมปี 2553 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป ธุรกิจโรงแรมในเครือ สารจากประธานกรรมการ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบต่อผู้ถือหุน้ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน เกี่ยวกับบริษัท ประวัติบริษัท ธุรกิจที่ดำเนินงานในปัจจุบัน โรงแรมที่อยู่ระหว่างพัฒนา กลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ การถือครองหุ้นของคณะกรรมการและผู้บริหาร ภาพรวมของธุรกิจ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจพื้นที่ให้เช่า ปัจจัยความเสี่ยง หลักบรรษัทภิบาลที่ดี นโยบายบรรษัทภิบาล ค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหาร ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย การควบคุมภายใน รายการที่เกี่ยวโยงกัน ข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไป รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต การเปิดเผยข้อมูลของผู้สอบบัญชี งบการเงิน ข้อมูลทั่วไป


ภาพรวมปï 2553 ไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไ´ด์ / ไอบิส สมุย บ่อผุด / ไอบิส ภูเกÁต ปÉาตอง

Back


ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

(หน่วย : พันบาท)

รายการ

สรุปผลการดำเนินงาน

รายได้จากการดำเนินกิจการ รายได้รวม กำไรขั้นต้น กำไรจากการดำเนินงานก่อนดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อมราคา กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

สรุปฐานะการเงิน

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท (ไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย) ทุนเรือนหุ้นเรียกชำระแล้ว จำนวนหุ้นเรียกชำระแล้ว (พันหุ้น) มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นละ (บาท) กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) มูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหุ้น (บาท) (ไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย)

อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตรากำไรขั้นต้นต่อรายได้รวม (ร้อยละ) อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้รวม (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า)

004

2551

2552

2553

3,375,977 3,412,960 1,921,298 974,030 78,328

3,149,033 3,191,623 1,658,132 740,401 (229,411)

3,321,248 3,364,328 1,677,912 761,749 (275,017)

12,630,098 8,871,685 3,758,413 3,657,970 2,244,779 2,244,779 1 0.04 0.01 1.63

13,288,817 9,749,858 3,538,959 3,406,397 2,244,779 2,244,779 1 (0.10) - 1.52

12,950,427 9,677,477 3,272,950 3,130,975 2,244,779 2,244,779 1 (0.12) 1.39

0.41 0.23 0.33 56.91% 2.30% 0.68% 2.14% 2.36 2.06 3.12

0.52 0.27 0.38 52.66% n/a n/a n/a 2.76 2.42 2.38

0.44 0.27 0.63 50.52% n/a n/a n/a 2.96 2.63 2.70

Back


หน่วย : ล้านบาท

2549

2550

2551

2552

2553

รายได้จากการดำเนินกิจการ 4,000

3,331

3,194

3,376

3,149

3,321

3,000 2,000 1,000 0

กำไรก่อนหักดอกเบีÈยภาษี และค่าเส◊่อมราคา 1,200

1,153 1,011

974

1,000 740

800

762

600 400 200 0

กำไรสุทธิ 500

410

402

400 300 200 100

78

0

(229) (275)

005

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป

Back


ธุรกิจโรงแรม„นเคร◊อ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

แกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ

เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ

คอร์ทยาร์ด โดย แมริออท กรุงเทพ

ไอบิส กรุงเทพ นานา

ไอบิส กรุงเทพ สาทร

ไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์

เมอร์เคียว ไอบิส สยาม*

ไอบิส หัวหิน*

ไอบิส ภูเก็ต กะตะ ไอบิส ภูเก็ต ปาตอง

กรุงเทพœ หัวหิน

พัทยา

สมุย

ภูเกÁต

ไอบิส พัทยา

ฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา

เรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ท แอนด์ สปา ไอบิส สมุย บ่อผุด

ซิกส์เซ้นส์ แซงชัวรี่ ภูเก็ต * โรงแรมที่อยู่ในระหว่างการพัฒนา 006

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

สารจากประธานกรรมการ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

จากปัญหาวิกฤตด้านการเมืองในประเทศในระหว่างป ที่ผ่านมา ส่งผลให้ป 2553 เปนปที่อุตสาหกรรมโรงแรมและ การท่ อ งเที่ ย วของไทยได้ รั บ ผลกระทบอย่ า งรุ น แรงที่ สุ ด สำหรับ ดิ เอราวัณ กรุป เราได้มีการปรับตัวและเตรียมแผน บริหารความเสี่ยงเพื่อรองรับสถานการณ์ตั้งแต่ปลายป 2552 การทำงานร่วมกันระหว่างฝายบริหารและคณะกรรมการที่มี ประสิทธิภาพ พร้อมทั้งการได้รับการสนับสนุนจากผู้ที่มีส่วน ได้เสียทุกฝาย ไม่ว่าจะเปนคู่ค้า บริษัท ผู้บริหารโรงแรมต่างๆ สถาบันการเงิน ตลอดจนพนักงาน ทำให้สามารถผ่านวิกฤต ครั้งนี้มาได้ด้วยดี แม้ผลการดำเนินงานรวมจะมีผลขาดทุน ซึง่ เปนสิง่ ทีเ่ กิดจากปัจจัยภายนอกทีเ่ กินกว่าทีบ่ ริษทั จะควบคุมได้ อย่างไรก็ตาม เรายังคงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาและสร้างพืน้ ฐาน เพื่ อ ความเจริ ญ เติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น ในระยะยาวอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการขยายเครื อ ข่ า ยโรงแรมในที่ ตั้ ง และตลาดที่ เ รามี ความมั่นใจ พร้อมทั้งสร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแล ให้การดำเนินงานในทุกๆ ด้านเปนไปตามหลักบรรษัทภิบาลทีด่ ี

เรายึดมั่นการดำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส มีการเปดเผย ที่เพียงพอ ตรงไปตรงมา และมีความสม่ำเสมอ ทั้งในภาวะที่ กิจการดำเนินงานได้อย่างปกติ และในภาวะวิกฤต ส่งผลให้ ในป 2553 เราได้รับคัดเลือกให้เปนบริษัทที่มีคะแนนระดับ ดีเยี่ยม “Excellence” จากผลสำรวจการกำกับดูแลกิจการ บริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2010) ที่ ป ระเมิ น โดยสมาคม ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ได้ รั บ ผลการ ประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2553 ระดับดีเยี่ยม “Excellence” โดยได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน และได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ เ ป น บริ ษั ท จดทะเบี ย นดี เ ด่ น ด้ า น นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ “IR Excellence” ของกลุ่ ม บริ ษั ท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าตลาดไม่เกิน 10,000 ล้ า นบาท กลุ่ ม ที่ 1 นอกจากนี้ เ ราได้ มุ่ ง เน้ น ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝายอย่างเหมาะสมเสมอมา ในช่วงที่เกิด เหตุการณ์ไม่สงบในปทผี่ า่ นมา เราได้ดแู ลลูกค้า คูค่ า้ พนักงาน และร่วมมือประสานงานให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบกิจการ อื่นๆ ที่ได้รับผลกระทบ แม้กระทั่งคู่แข่งด้านการค้าเปนอย่างดี จนในปนบี้ ริษทั เปนหนึง่ ใน 2 บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจบริการทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เข้าเปนบริษทั ดีเยีย่ มด้านบรรษัทภิบาล (Corporate Social Responsibility: CSR) เราขอขอบคุณทุกๆ ฝายที่ให้การสนับสนุนให้เราได้ ผ่ า นวิ ก ฤตครั้ ง นี้ เราจะมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาธุ ร กิ จ และพั ฒ นา องค์กร เพื่อประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและผู้ที่มีส่วนได้เสียทุกฝาย ตลอดจนเปนสมาชิกที่ดีของสังคมตลอดไป

นายประกิต ประทีปะเสน Excellent CG Report 2009/2010 007

ประธานกรรมการบริษัท

Back


สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการ„หญ่ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ป 2553 เป น อี ก ป ที่ ธุ ร กิ จ โรงแรมและอุ ต สาหกรรม การท่องเที่ยวของประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤตที่รุนแรง สืบเนื่องจากปัญหาความไม่สงบทางการเมือง ความรุนแรง ที่เกิดขึ้นส่งผลโดยตรงแก่โรงแรมในเครือของ ดิ เอราวัณ กรุป โดยในช่ ว งการชุ ม นุ ม ที่ บ ริ เ วณแยกราชประสงค์ ใ นเดื อ น เมษายนถึงพฤษภาคม บริษัทต้องปดการดำเนินงานโรงแรม ในบริเวณที่มีการชุมนุมถึง 3 โรงแรม และหนึ่งศูนย์การค้า อย่างไรก็ตาม เราได้ดำเนินการต่างๆ อย่างดีที่สุด เพื่อปกปอง ทรัพย์สินของบริษัท และความปลอดภัยของผู้มาใช้บริการ ตลอดจนพนักงานของบริษทั นอกจากนีย้ งั ได้ดำเนินการร่วมมือ กับผูป้ ระกอบการอืน่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ โดยได้รบั การแต่งตัง้ จาก ทางภาครัฐให้เปนตัวแทนของกลุ่มโรงแรมและผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบ เพื่อเจรจาหาทางเยียวยาจากทางรัฐบาล จนนำมาซึง่ เงินช่วยเหลือแก่ผปู้ ระกอบการมากกว่า 2,000 ราย แม้ว่าจะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากเหตุการณ์ดังกล่าว ในป 2553 ทีผ่ า่ นมา เรายังสามารถบริหารจัดการให้มกี ารเพิม่ ขึน้ ของรายได้รวมร้อยละ 5 อันเปนผลจากการขยายเครือข่าย โรงแรมในช่ ว ง 2 - 3 ป ที่ ผ่ า นมา แต่ เ นื่ อ งจากผลกระทบ ในภาพรวมทำให้ ทั้ ง โรงแรมที่ เ ป ด ดำเนิ น การมานาน และ โรงแรมที่เปดดำเนินการใหม่ไม่สามารถสร้างรายได้ตามที่

กล่าวได้ว่าเราสามารถ ผ่านพ้นช่วงวิกƒตของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มาได้ นับตัÈงแต่ปï 2551 มาจนถึงปíจจุบัน จากการเตรียมแผนรองรับ ความเสี่ยงอยู่เสมอ

008

คาดหวังไว้ และไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยเฉพาะ ค่าเสื่อมราคาและดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นจากการเปดโรงแรมใหม่ๆ ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา ทำให้ ใ นป ที่ ผ่ า นมาเรามี ผ ลขาดทุ น สุ ท ธิ ประมาณ 275 ล้านบาท (อ่านรายละเอียดผลการดำเนินงาน ด้ า นการเงิ น ในส่ ว นรายงานจากรองกรรมการผู้ จั ด การ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ) แม้จะเกิดผลกระทบ ด้ า นลบจากเหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ เรายั ง คงได้ รั บ การสนั บ สนุ น ทางการเงินเปนอย่างดีจากสถาบันการเงิน เราจึงไม่ประสบ ปั ญ หาสภาพคล่ อ งทางการเงิ น แต่ อ ย่ า งใด เรายั ง สามารถ ดำเนินการก่อสร้างและเปดโรงแรมไอบิส ริเวอร์ไซด์ จำนวน 266 ห้องในไตรมาสที่ 4 ได้ตามแผน ทำให้ปัจจุบัน ดิ เอราวัณ กรุป มีโรงแรมทีเ่ ปดดำเนินการแล้วทัง้ สิน้ 13 โรงแรม มีหอ้ งพัก ให้บริการรวม 3,347 ห้อง ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ของประเทศไทย และสามารถรองรับกลุ่มลูกค้าประเภทต่างๆ ตั้งแต่ระดับราคาสูงถึงระดับราคาประหยัด นับเปนหนึ่งใน บริษัทที่เปนเจ้าของกิจการโรงแรมที่มีจำนวนห้องพักมากที่สุด ในประเทศไทย หลังจากดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การขยายงาน ระยะยาวขั้นที่ 1 มาตั้งแต่ป 2548 เราสามารถบริหารงาน ก่ อ สร้ า งและเป ด ดำเนิ น การได้ ต ามแผนที่ ว างไว้ และยั ง สามารถประหยั ด งบประมาณการลงทุ น รวมกว่ า 400 ล้านบาท หรือคิดเปนประมาณร้อยละ 6 ของงบประมาณ การลงทุนรวมของโครงการ ซึ่งเรามีความมั่นใจว่าจะสามารถ สร้างประโยชน์และผลตอบแทนที่คาดหวังจากการลงทุนได้ ตามที่ตั้งเปาไว้ ถึงแม้ว่ารายได้จากโรงแรมดังกล่าวในช่วง ทีผ่ า่ นมาจะไม่เปนไปตามทีค่ าดไว้กต็ าม ในช่วงปลายปทผี่ า่ นมา เราจึ ง ได้ ป ระกาศแผนธุ ร กิ จ 5 ป (2554 - 2558) กำหนด วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ จ ะเป น ผู้ น ำในการเป น ผู้ พั ฒ นาและผู้ ล งทุ น ใน กิจการโรงแรมในประเทศไทย โดยมีเปาหมายทีจ่ ะขยายเครือข่าย โรงแรมที่เปนเจ้าของมากกว่า 20 โรงแรม โดยคาดว่าจะใช้ เงินลงทุนประมาณ 10,000 ล้านบาท ในการขยายเครือข่าย

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

โรงแรม รวมทั้ ง การปรั บ ปรุ ง โรงแรมเดิ ม เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพ ในการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ขนาดของการลงทุนนั้นขึ้นกับ โอกาสในการลงทุ น ที่ จ ะสร้ า งผลตอบแทนที่ ดี แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น นอกจากนี้เรายังได้วางยุทธศาสตร์ใหม่ที่จะสร้างประโยชน์ และผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น โดยการรับรู้มูลค่าของทรัพย์สิน และสร้างกำไรจากการขายทรัพย์สิน หรือการนำทรัพย์สิน เข้ า กองทุ น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ หรื อ การร่ ว มทุ น กั บ ผู้ ที่ ส นใจ ในโรงแรมที่ดำเนินการอยู่ หรือการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย บนที่ ดิ น ที่ มี อ ยู่ ติ ด กั บ โรงแรมและรี ส อร์ ท ที่ เ ป ด ดำเนิ น การ ไปแล้ว ทั้งนี้เราจะให้ความสำคัญถึงความสมดุลในการสร้าง ประโยชน์ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ในระยะยาว และให้ ค วามสำคั ญ ในการสร้างผลตอบแทนและกำไรที่ดีในระยะสั้น กล่ า วได้ ว่ า เราสามารถผ่ า นพ้ น ช่ ว งวิ ก ฤตของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมาได้ นับตั้งแต่ป 2551 มาจนถึง ปั จ จุ บั น จากการเตรี ย มแผนรองรั บ ความเสี่ ย งอยู่ เ สมอ ประกอบกับความสามารถในการปรับตัวตามแผนที่เตรียมไว้ อย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเปนการ ปรับแผนการลงทุนในโครงการใหม่ การปรับลดภาระค่าใช้จา่ ย ทัง้ ด้านบุคลากรและค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงานต่างๆ ตลอดจน การปรั บ แผนการชำระคื น เงิ น กู้ นอกจากนี้ เ รายั ง ได้ มี ก าร ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาทรั พ ย์ สิ น ที่ มี อ ยู่ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งความ สามารถในการแข่งขัน รวมถึงการดำเนินการพัฒนาองค์กร ในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเปนการพัฒนาระบบงาน ด้ า นต่ า งๆ การพั ฒ นาบุ ค ลากร การสร้ า งฐานข้ อ มู ล ใน การตั ด สิ น ใจ และการหล่ อ หลอมวั ฒ นธรรมขององค์ ก ร ซึ่งทั้งหมดจะเปนพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างการเจริญเติบโต ที่ยั่งยืนในระยะยาว เรายึดมั่นในหลักการบริหารงานภายใต้ หลักธรรมาภิบาลที่ดี เรามุ่งมั่นในการสร้างสำนึกความเข้าใจ และส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง กั บ พนั ก งานในทุ ก ระดั บ โดยเฉพาะในเรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (Corporate Social Responsibility: CSR) เพื่อให้การทำงาน 009

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ของ ดิ เอราวัณ กรุป กับผู้มีส่วนได้เสียทุกๆ ด้านเปนไปตาม แนวทางที่เราได้กำหนดและเปดเผยไว้ (อ่านรายละเอียดใน ส่ ว นนโยบายบรรษั ท ภิ บ าล) ซึ่ ง เราได้ จั ด ทำการสำรวจต่ อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อนำ ผลการสำรวจมาปรับปรุงการทำงาน และเปนปัจจัยที่สำคัญ ในการพิจารณาผลตอบแทนประจำปของพนักงานทุกระดับ ในภาพรวมเรายั ง คงมี ค วามมั่ น ใจในศั ก ยภาพการ แข่ ง ขั น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทยในระยะยาว การฟนตัวอย่างชัดเจนของจำนวนนักท่องเที่ยวในไตรมาส ที่ 4/2553 ถึงต้นป 2554 นี้ แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่ง ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยอย่างชัดเจน ถึงแม้จะเกิด ปัญหาต่างๆ ภายในประเทศต่อเนื่องมาโดยลำดับ นอกจากนี้ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกยังคงเปนภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโต ด้านเศรษฐกิจทีส่ งู ทีส่ ดุ และคาดว่าจะมีแนวโน้มการเจริญเติบโต ด้านการท่องเที่ยวที่สูงกว่าภูมิภาคอื่นของโลก ประเทศไทย เปนประเทศหนึ่งที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์อย่างมากจาก การเติ บ โตของภู มิ ภ าค หากสถานการณ์ ภ ายในประเทศ มีความสงบเรียบร้อย เราเชื่อมั่นว่าโรงแรมทั้ง 13 โรงแรม ของ ดิ เอราวัณ กรุป และโรงแรมใหม่ทอี่ ยูใ่ นแผนการขยายงาน จะสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าประเภท ต่างๆ ได้เปนอย่างดี ซึ่งนอกจากจะสร้างประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย แล้ ว ยั ง มี ส่ ว นช่ ว ยเสริ ม สร้ า งมาตรฐาน อุตสาหกรรมโรงแรมไทยได้เปนอย่างดี

นายกษมา บุ≥ยคุปต์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

Back


รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

(ก) รายงานผลการดำเนินงาน„นปี 2553

ป 2553 นับเปนอีกปหนึ่งที่ธุรกิจโรงแรมและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤตที่รุนแรง โดยสาเหตุใหญ่มาจากปัญหาความไม่สงบทางการเมืองในไตรมาส 2/53 ซึ่งส่งผลโดยตรงแก่การดำเนินงานของเรา โดยใน ช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม 2553 ที่ผ่านมา โรงแรมของเราจำนวน 3 แห่งคือ โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ โรงแรมคอร์ทยาร์ด โดยแมริออท กรุงเทพ และโรงแรมไอบิส กรุงเทพ สาทร และศูนย์การค้า 1 แห่งคือ อาคารเอราวัณ แบงค็อก ซึ่งอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวต้องปดให้บริการลงชั่วคราว ถึงแม้ว่าจะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากเหตุการณ์ดังกล่าว แต่กลยุทธ์ การกระจายความเสี่ยงของเราโดยการขยายการลงทุนไปสู่โรงแรมระดับต่างๆ และแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ นอกเหนือจากกรุงเทพฯ ในช่วง 5 ปที่ผ่านมา ได้ส่งผลดีอย่างเห็นได้ชัดภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว โดยจะเห็นได้ว่าโรงแรมของเราที่ตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพฯ ไม่เพียงแต่ได้รบั ผลกระทบน้อยกว่าจากสถานการณ์ แต่การฟน ตัวกลับสูส่ ภาวะปกติยงั สามารถทำได้ในระยะเวลาอันสัน้ นอกจากนี้ แผนการบริหารความเสี่ยงต่างๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นสามารถปรับได้ตามสถานการณ์ที่มีความแตกต่างกัน และการบริหารจัดการ ทางการเงินที่เหมาะสมล้วนแล้วแต่ช่วยสนับสนุนให้เราสามารถให้ความสำคัญกับการดำเนินงานทางด้านธุรกิจได้อย่างเต็มที่ เพื่อรักษากระแสเงินสดและรองรับสถานการณ์ที่อาจมีการผันผวน เราได้ปรับแผนการชำระคืนเงินกู้ระยะยาว โดยเลื่อนการชำระ คืนเงินต้นที่จะถึงกำหนดในช่วงครึ่งปหลังของป 2553 ออกไป ส่งผลให้สามารถลดภาระการชำระคืนเงินต้นสำหรับป 2553 เปนจำนวน 347 ล้านบาท และลดยอดการชำระคืนเงินกู้ระยะยาวที่จะต้องชำระในป 2554 - 2556 ลงเปนจำนวนรวมกัน 415 ล้านบาทอีกด้วย ในส่วนของอุปสงค์ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยเริ่มต้นป 2553 อย่างสดใส โดยในไตรมาส 1/53 จำนวน นักท่องเที่ยวมีการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปที่แล้วอย่างเห็นได้ชัดถึงร้อยละ 27 แต่ผลจากความวุ่นวายทางการเมืองในไตรมาสที่ 2/53 ของป ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวปรับตัวลดลงประมาณร้อยละ 5 ในไตรมาสนี้ ก่อนที่จะเริ่มฟนตัวอย่างต่อเนื่องในไตรมาส 3/53 และไตรมาส 4/53 ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าสู่ประเทศไทยโดยรวมของป 2553 เพิ่มขึ้นร้อยละ 11 สู่ระดับ 15.7 ล้ า นคนต่ อ ป ซึ่ ง เป น จำนวนที่ สู ง ที่ สุ ด ของประเทศไทย นั บ เป น การสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความแข็ ง แกร่ ง ของอุ ต สาหกรรม การท่องเที่ยวของประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง โดยนักท่องเที่ยวจากทุกภูมิภาคเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากเอเชียและ ตะวันออกกลางยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในด้านยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติแผนการ ขยายงาน 5 ป (2554 - 2558) ของบริษัทฯ โดยมุ่งเน้นในประเด็นสำคัญ 3 ประการคือ 1. กลยุทธ์ด้านการเติบโตของธุรกิจโรงแรมเพื่อเพิ่มและขยายฐานรายได้และกำไรจากธุรกิจปกติ โดยเรายังคงมุ่งเน้น การลงทุนในประเทศ และกำหนดวิสัยทัศน์ที่จะเปนผู้นำในการเปนผู้พัฒนาและผู้ลงทุนในกิจการโรงแรมในประเทศไทย 2. กลยุทธ์ในการเพิ่มผลตอบแทนนอกเหนือจากรายได้และกำไรจากธุรกิจปกติ โดยการขายทรัพย์สินเพื่อรับรู้มูลค่า ที่เพิ่มสูงขึ้น และพัฒนาโครงการที่พักอาศัยในที่ดินซึ่งบริษัทฯ มีอยู่แล้วในบริเวณใกล้เคียงกับโรงแรม 3. เพิ่มความแข็งแกร่งด้านธรรมาภิบาลของบริษัทฯ โดยมุ่งเน้นที่การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝายอย่างเหมาะสมและ ต่อเนื่อง ซึ่งถือเปนปัจจัยหลักต่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาวของเรา แผนการจัดหาเงินทุนเพื่อสนับสนุนการเติบโตดังกล่าวจะมาจากแหล่งเงินทุน 4 ประเภทหลักคือ กระแสเงินสดจากการ ดำเนิ น งาน เงิ น สดรั บ จากการขายสิ น ทรั พ ย์ การออกใบสำคั ญ แสดงสิ ท ธิ ใ ห้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ปั จ จุ บั น และเงิ น กู้ ยื ม จากธนาคาร โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 ได้มีมติอนุมัติการขายอาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ ให้แก่กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ โดยรายการดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จในไตรมาส 2/54 นี้ และนอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติเห็นชอบ ให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำป 2554 ให้พิจารณาอนุมัติการออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ให้กับผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ และการออกหุ้นสามัญเสนอขายแก่พนักงานของกลุ่มบริษัทฯ (รายละเอียดตามหนังสือแจ้ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553) ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์และการเติบโตในอนาคต 010

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ของเรา ซึ่งจะช่วยให้เรามีโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสมต่อการขยายงาน และเพื่อให้พนักงานมีความตั้งใจที่จะปฏิบัติงานตามแผน ยุทธศาสตร์ที่ตั้งไว้ในช่วงระยะเวลา 5 ปข้างหน้าให้ประสบความสำเร็จ ในด้านการพัฒนาโรงแรมใหม่ เราได้เปดดำเนินการโรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ จำนวน 266 ห้องพักอย่างเปนทางการ ในเดือนพฤศจิกายน 2553 นับเปนโรงแรมไอบิสแห่งที่ 7 และเปนไอบิสแห่งที่ 3 ของเราที่กรุงเทพฯ ทำให้ ณ สิ้นป 2553 เรามีโรงแรมทีเ่ ปดดำเนินการแล้ว 13 แห่งรวมจำนวนห้องพัก 3,347 ห้อง และเพือ่ ให้เปนไปตามกลยุทธ์สำหรับธุรกิจโรงแรมทีว่ างไว้ ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาและลงทุนในกลุ่มโรงแรมระดับกลางและระดับประหยัดซึ่งเปนกลุ่มที่อุปสงค์มีการเติบโตที่ดี เราจะเริ่ม การพัฒนาโรงแรมใหม่อีก 3 แห่งในไตรมาส 1/54 ได้แก่ โรงแรมไอบิส หัวหิน ซึ่งมีแผนจะเปดให้บริการในไตรมาส 1/55 และ โรงแรมเมอร์เคียว ไอบิส สยาม กรุงเทพ ซึ่งเปนโรงแรมแห่งแรกที่จะดำเนินการโดยมี 2 โรงแรมภายใต้แบรนด์เมอร์เคียวและไอบิส อยู่ในอาคารเดียวกัน คาดว่าจะพร้อมเปดให้บริการในต้นป 2556 โรงแรมทั้ง 3 แห่งจะเพิ่มจำนวนห้องพักให้กับเรารวมกันประมาณ 600 ห้อง ถึงแม้ว่าเราจะเผชิญกับสภาวการณ์ที่ยากลำบากของสภาวะตลาดโดยรวมในป 2553 แต่รายได้รวมของบริษัทฯ ในป 2553 ยังคงมีการเติบโตร้อยละ 5 โดยรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากปที่ผ่านมา ซึ่งส่วนใหญ่มาจากรายได้ ที่เพิ่มขึ้นของโรงแรมใหม่ในป 2552 และป 2553 โดยรายได้จากโรงแรมที่เปดในป 2552 จำนวน 3 แห่งเติบโตเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 250 สำหรับธุรกิจการให้เช่าพื้นที่มีรายได้ลดลงเล็กน้อยเนื่องจากการปดให้บริการชั่วคราวของอาคารเอราวัณ แบงค็อก ในช่วงที่เกิดสถานการณ์ดังกล่าว โดยรวมเรายังสามารถทำกำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้และค่าเสื่อมราคา (EBITDA) ได้ต่อเนื่อง เปนจำนวน 770 ล้านบาทในปนี้ ซึ่งลดลงเล็กน้อยจากปที่ผ่านมา แต่จากการรับรู้ค่าเสื่อมราคาและดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น จากการเปดโรงแรมใหม่ ส่งผลให้บริษัทฯ มีผลขาดทุนสุทธิมากกว่าปที่ผ่านมา ล้านบาท รายได้จากกิจการโรงแรม รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รวมรายไดจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรกอนดอกเบี้ย ภาษีเงินไดและคาเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย กำไรจากการดำเนินงาน รายได้อื่น ดอกเบี้ยจ่าย กำไร (ขาดทุน) กอนหักภาษีเงินได ภาษีเงินได้ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไร (ขาดทุน) สุทธิกอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ-สุทธิ* กำไร (ขาดทุน) สุทธิ กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อสุทธิ

2552

2553

เปลี่ยนแปลง

2,748 401 3,149 (2,359) 790 (628) 162 43 (307) (102) (46) (32) (180) (50) (229) (0.10)

2,930 391 3,321 (2,551) 770 (684) 86 43 (361) (231) (20) (16) (267) (8) (275) (0.12)

+7% -2% +5% +8% -3% +9% -47% +1% +18% -127% -56% -51% -49% -84% -20% -20%

* รายละเอียดเพิ่มเติมในรายงานนี้ 011

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


รายได สัดส่วนรายได้ประเภทต่างๆ ของเราได้เปลี่ยนไปในป 2553 ซึ่งเปนไปตามแผนกลยุทธ์การกระจายรายได้ที่เราวางไว้ โดยรายได้จากโรงแรมระดับกลางและโรงแรมชั้นประหยัดมีการเติบโตเพิ่มมากขึ้น รายได้แบ่งตามประเภทของทรัพย์สินได้แสดงไว้ ตามตารางและแผนภาพด้านล่างนี้ รายได้แบ่งตามประเภทของทรัพย์สิน

2551 ล้านบาท สัดส่วน

จากโรงแรม 5 ดาวในกรุงเทพฯ จากรีสอร์ท 5 ดาวในต่างจังหวัด จากโรงแรมระดับกลาง จากโรงแรมชั้นประหยัด รายไดจากโรงแรม ค่าเช่าและบริการจากพื้นที่สำนักงาน ค่าเช่าและบริการจากพื้นที่ร้านค้า จากอื่นๆ (ยอดขายศูนย์อาหาร ที่จอดรถ ฯลฯ) รายไดคาเชาและคาบริการจากอาคารใหเชา รายได้อื่นๆ กำไรจากการขายเงินลงทุน รวมรายได

ล้านบาท 3,500

2552 ล้านบาท สัดส่วน

2,481 72.7% 187 5.5% 261 7.6% 58 1.7% 2,986 87.5% 159 4.7% 141 4.1% 89 2.6% 389 11.4% 28 0.8% 9 0.3% 3,413 100.0%

3,404

1,997 182 272 297 2,748 172 143 86 401 43 3,192

-6%

62.6% 5.7% 8.5% 9.3% 86.1% 5.4% 4.5% 2.7% 12.6% 1.3% 0.0% 100.0%

+5% 3,192

2553 ล้านบาท สัดส่วน 1,850 206 447 428 2,930 178 132 82 391 43 3,364

55.0% 6.1% 13.3% 12.7% 87.1% 5.3% 3.9% 2.4% 11.6% 1.3% 0.0% 100.0%

3,364

3,000 อื่นๆ ร้านค้า สำนักงาน โรงแรม Economy (7) โรงแรม Midscale (2) รีสอร์ท Luxury (2) โรงแรม Luxury กรุงเทพฯ (2)

2,500 2,000 1,500 1,000 500 2551

อื่นๆ

ร้านค้า

สำนักงาน

โรงแรม Economy (7)

โรงแรม Midscale (2)

2552 รีสอร์ท Luxury (2)

2553 โรงแรม Luxury กรุงเทพฯ (2)

หมายเหตุ : ไมรวมกำไรจากการขายเงินลงทุน 012

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

สำหรับผลการดำเนินงานในป 2553 ของทรัพย์สินทั้งหมด มีดังนี้ • โรงแรมระดับ 5 ดาว โรงแรมระดับ 5 ดาว 2 แห่งของเราในกรุงเทพฯ ซึ่งได้แก่ โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ (“GHEB”) และโรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ (“JWM”) มีผลการดำเนินงานในส่วนของรายได้จากห้องพักลดลงในป 2553 เนื่องจากโรงแรมทั้ง 2 แห่งในกรุงเทพฯ ได้รับผลกระทบโดยตรงจากความไม่สงบทางการเมืองในช่วงไตรมาส 2/53 โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง GHEB ซึ่งปดการให้บริการลงชั่วคราวในช่วงเวลาดังกล่าว ถึงแม้ว่าผลการดำเนินงานในไตรมาส 3/53 และ 4/53 จะปรับตัวเพิ่มขึ้นแต่ยังคงอยู่ในระดับที่ลดลงจากปที่ผ่านมา โดยอัตราการเข้าพักเฉลี่ย (“Average Occupancy”) ลดลงร้อยละ 3 และอัตราค่าห้องพักเฉลี่ย (“Average Room Rate or ARR”) ลดลงร้อยละ 8 ส่งผลให้รายได้เฉลี่ยต่อห้องพัก (“Revenue Per Available Room or RevPar”) และรายได้ค่าห้องพักรวมของ 2 โรงแรมนี้ลดลงร้อยละ 12 จากปที่ผ่านมา สำหรับโรงแรม 5 ดาวของเราในเขตพื้นที่ท่องเที่ยวต่างจังหวัดมีการฟนตัวที่ค่อนข้างดี โดยโรงแรมเรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ท แอนด์ สปา (“RKS”) มีอัตราการเข้าพักเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ในขณะที่อัตราค่าห้องพักเฉลี่ยลดลงร้อยละ 5 ส่งผลให้รายได้เฉลี่ย ต่ อ ห้ อ งพั ก และรายได้ ค่ า ห้ อ งพั ก ลดลงร้ อ ยละ 3 ในขณะที่ โ รงแรมซิ ก ส์ เ ซ้ น ส์ แซงชั ว รี่ ภู เ ก็ ต (“SSP”) อั ต ราการเข้ า พั ก มี การปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากปที่ผ่านมา ส่งผลให้รายได้เฉลี่ยต่อห้องพักเพิ่มขึ้นอย่างมากในปนี้ ถึงแม้ว่าค่าห้องพักเฉลี่ยจะ ปรับตัวลดลงร้อยละ 7 ก็ตาม

บาท/ห้อง/คืน

12%

อัตราการเขาพัก

25,000

24,545

20,000

18% 22,838

รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (RevPar บาทตอคืน)

15,000 คาหองพักเฉลี่ย (ARR บาทตอคืน)

10,000 5,000 0

63%

60%

55%

56%

4,958 3,110

4,572 2,754

5,163 2,835

4,889 2,735

2552

2553

2552

2553

โรงแรม 5 ดาว กรุงเทพฯ

เรเนซองส์ เกาะสมุย

2,832

2552

4,128

2553

ซิกส์เซ้นส์ แซงชัวรี่ ภูเก็ต

หมายเหตุ : คาหองพักเฉลี่ยของซิกสเซนส แซงชัวรี่ ภูเก็ต แสดงเปน Spending/Room

013

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


สำหรับรายได้รวมจากค่าอาหารและเครื่องดื่ม (“F&B”) ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก 2 โรงแรม 5 ดาวในกรุงเทพฯ ยังคงอยู่ในระดับ เดียวกันกับปที่ผ่านมา ทั้งที่โรงแรมในเขตกรุงเทพฯ ได้รับผลกระทบโดยตรงในช่วงการชุมนุมทางการเมือง นับเปนการตอกย้ำถึง ความแข็งแกร่งของฐานลูกค้า F&B ของโรงแรม GHEB และ JWM ซึ่งมีลูกค้าในประเทศเปนกลุ่มลูกค้าหลัก ซึ่งไม่ได้แปรผันตาม อัตราการเข้าพักของโรงแรม นอกจากนี้สภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่แข็งแกร่งเปนส่วนช่วยให้ฐานลูกค้าในประเทศของ โรงแรมมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง รายได้รวมทั้งหมดของโรงแรมในกลุ่ม 5 ดาวทั้ง 4 แห่ง ลดลงจากปก่อนร้อยละ 6 มาเปน 2,055 ล้านบาทในปนี้ ซึ่งส่วนใหญ่ เปนผลมาจากการลดลงร้อยละ 9 ของรายได้รวมส่วนห้องพัก • โรงแรมระดับกลาง เรามีโรงแรมระดับกลางจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงแรมคอร์ทยาร์ด โดยแมริออท กรุงเทพ (“CYB”) และโรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา (“HIP”) ในขณะที่ CYB มีผลการดำเนินงานที่ปรับตัวลดลงในปนี้ เนื่องจากโรงแรมได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ทางการเมืองในไตรมาส 2/53 และอยู่ในระหว่างการฟนตัว HIP ซึ่งเปดดำเนินการเต็มปเปนปแรก ในป 2553 มีการเติบโตทั้งในด้านอัตราการเข้าพักและอัตราค่าห้องพักที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างมากจากปที่ผ่านมา ซึ่งเปดดำเนินการ เพียง 3 เดือนในไตรมาส 4/52 โดยผลการดำเนินงานสำหรับป 2553 เปนดังนี้

บาท/ห้อง/คืน 3,500 3,000 2,500 2,000

59%

อัตราการเขาพัก

2,046

2,111

คาหองพักเฉลี่ย (ARR บาทตอคืน)

1,310

1,247

2552

2553

64%

1,500 1,000 500

รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (RevPar บาทตอคืน)

0

กลุ่มโรงแรมระดับกลางของเรามีรายได้รวม 447 ล้านบาทในป 2553 ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 64 จากป 2552 ทั้งนี้เปนผลมาจาก การเติบโตอย่างต่อเนื่องของ HIP

014

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

• โรงแรมชั้นประหยัด โรงแรมชั้นประหยัดทั้งหมดของเราเปดดำเนินการภายใต้แบรนด์ “ไอบิส” ซึ่งเปนกลุ่มที่ผลการ ดำเนินงานมีการเติบโตสูงที่สุดในปนี้ ณ สิ้นป 2553 เรามีโรงแรมชั้นประหยัดจำนวน 7 แห่ง โดย 4 แห่งแรก เปดดำเนินการ ในป 2551 ได้แก่ ไอบิส ภูเก็ต ปาตอง (“IPK”) ไอบิส พัทยา (“IPT”) ไอบิส กรุงเทพ สาทร (“IST”) และไอบิส สมุย บ่อผุด (“ISM”) และเปดดำเนินการเพิ่มอีก 2 แห่งในป 2552 คือ ไอบิส กรุงเทพ นานา (“INN”) และไอบิส ภูเก็ต กะตะ (“IKT”) และในไตรมาส 4/53 ได้เปดดำเนินการเพิ่มอีก 1 แห่ง คือ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ (“IRS”) ส่งผลให้ ณ สิ้นไตรมาส 4/53 เรามีจำนวน ห้องพักในกลุ่มโรงแรมชั้นประหยัดเพิ่มขึ้นเปน 1,704 ห้อง โดยกลุ่มโรงแรมชั้นประหยัดเปนกลุ่มที่มีการเติบโตทั้งในด้านของอัตรา การเข้าพักซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3 และรายได้เฉลีย่ ต่อห้องพักซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12 เมือ่ เทียบกับปทผี่ า่ นมา โดยเฉพาะกลุม่ โรงแรมไอบิส นอกเขตพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้อยกว่าโรงแรมในกรุงเทพฯ ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง

บาท/ห้อง/คืน 1,250 1,000 750

56% 995

556

59%

อัตราการเขาพัก

1,061

คาหองพักเฉลี่ย (ARR บาทตอคืน)

624

500

รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (RevPar บาทตอคืน)

250 0 2552

2553

กลุ่มโรงแรมชั้นประหยัดของเราซึ่งรายได้ส่วนใหญ่มาจากรายได้ค่าห้องพัก มีรายได้รวม 428 ล้านบาทในป 2553 ซึ่งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 44 จากป 2552 โดยรายได้ของโรงแรมชั้นประหยัดนอกเขตกรุงเทพฯ 4 โรงแรม มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง สำหรับ กลุ่มโรงแรมชั้นประหยัดในเขตกรุงเทพฯ ถึงแม้ว่าจะยังคงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองในไตรมาส 2/53 แต่ รายได้ที่เพิ่มขึ้นจาก IRS ที่เปดให้บริการในไตรมาส 4 ปนี้ ส่งผลให้รายได้สำหรับโรงแรม 3 แห่งในกรุงเทพฯ ยังคงเติบโตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13 จากปที่ผ่านมา

015

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


รายได้โรงแรมแยกตามประเภทของรายได้ในป 2552 และ 2553 แสดงตามแผนภาพด้านล่างนี้

ล้านบาท 3,500 3,000 176 1,092

2,500

160 1,170

2,000 1,500

1,480

1,600

2552

2553

1,000 500 0 อื่นๆ

จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม

จากการขายห้องพัก

รายได้รวมของธุรกิจโรงแรมทั้งหมดในป 2553 เท่ากับ 2,930 ล้านบาท ซึ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากป 2552 โดยรายได้ ส่วนห้องพักซึ่งคิดเปนสัดส่วนร้อยละ 55 ของรายได้ทั้งหมดมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 รายได้ส่วนอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งคิดเปนสัดส่วนร้อยละ 40 ของรายได้ทั้งหมดปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 รายได้ของธุรกิจโรงแรมที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจาก กลุ่มโรงแรมระดับกลางและโรงแรมชั้นประหยัด ซึ่งมีสัดส่วนรายได้ของการขายอาหารและเครื่องดื่มที่น้อยกว่ารายได้ค่าห้องพัก

016

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

รายได้โรงแรมแยกตามแหล่งท่องเที่ยว ในป 2552 และ 2553 แสดงตามแผนภาพด้านล่างนี้

ล้านบาท 2,400 2,000 1,800 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0 2552 2553 กรุงเทพฯ

2552 2553 พัทยา

2552 2553 ภูเก็ต

2552 2553 สมุย

รายได้ของกลุ่มโรงแรมในกรุงเทพฯ ปรับตัวลดลงในป 2553 นี้จากผลกระทบจากการชุมนุมทางการเมืองในไตรมาส 2/53 ดังกล่าวข้างต้น ในขณะที่พื้นที่ท่องเที่ยวนอกเขตกรุงเทพฯ ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเขตพื้นที่พัทยา รายได้ ของเราเติบโตเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 211 ซึ่งช่วยชดเชยการลดลงของรายได้จากโรงแรมในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ • ธุรกิจการใหเชาพื้นที่ ธุรกิจการให้เช่าพื้นที่ 2 แห่งคือ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ (“PC”) ซึ่งเปนอาคารสำนักงานพร้อม ร้านค้าย่อยในย่านธุรกิจใจกลางกรุงเทพฯ และอาคารเอราวัณ แบงค็อก (“EB”) ซึ่งเปนร้านค้าระดับหรูติดกับโรงแรม GHEB ของเรานั้น มีผลการดำเนินงานแสดงตามตารางด้านล่างนี้ เพลินจิต เซ็นเตอร์

อัตราการเช่าพื้นที่ รายได้เฉลี่ย (บาท/ตร.ม./เดือน)

017

เอราวัณ แบงค็อก

2552

2553

% การ เปลี่ยนแปลง

2552

2553

% การ เปลี่ยนแปลง

93.5% 496

95.9% 503

+2.3% +1.4%

92.7% 1,223

85.9% 1,331

-6.8% +8.9%

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


รายได้รวมจากธุรกิจการให้เช่าพืน้ ที่ (รวมทัง้ ร้านค้าต่างๆ ในอาเขตของโรงแรม GHEB) เท่ากับ 391 ล้านบาท ซึง่ ลดลงร้อยละ 2 จากช่วงเวลาเดียวกันของปก่อน โดยเปนผลมาจากการลดลงของรายได้ของอาคาร EB ซึ่งได้รับผลกระทบจากการชุมนุมในช่วง เดือนเมษายนและพฤษภาคมที่ผ่านมา ศูนย์การค้าต้องปดเปนการชั่วคราวและส่งผลกระทบต่อผู้เช่าซึ่งรายได้ขึ้นอยู่กับการให้ บริการแก่ลูกค้าภายนอก เพื่อเปนการช่วยเหลือผู้เช่าเราได้ยกเว้นค่าเช่าพื้นที่รายเดือนบางส่วน โดยที่รายได้ที่ลดลงส่วนหนึ่งได้รับ การสนับสนุนจากมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมของภาครัฐ ส่งผลให้รายได้ของอาคาร EB ปรับตัวลดลง ร้อยละ 3 มาเปน 85 ล้านบาท ในขณะทีร่ ายได้ของอาคาร PC เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3 มาเปน 297 ล้านบาทในป 2553 การเพิม่ ขึน้ ดังกล่าว ส่วนใหญ่เนื่องมาจากอัตราค่าเช่าที่สูงขึ้นจากผู้เช่าเดิมที่มีการต่ออายุสัญญาในระหว่างปและผู้เช่าใหม่ โดยรายได้จากธุรกิจ การให้เช่าพื้นที่แยกตามประเภทของรายได้ในป 2552 และ 2553 ได้แสดงในแผนภาพด้านล่างนี้

ล้านบาท 500 400

86

300

143

81 132

200 172

178

2552

2553

100 0 อื่นๆ

ร้านค้าเช่า

สำนักงาน

ผลกำไรจากการดำเนินงาน กำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี (“EBITDA”) ซึ่งไม่รวมรายได้อื่นและรายการพิเศษ เท่ากับ 770 ล้านบาทในป 2553 ซึ่งลดลงจากปที่ผ่านมา และส่งผลถึงระดับอัตรากำไรระดับ EBITDA ที่ลดลงจากร้อยละ 25 ในป 2552 มาเปนร้อยละ 23 ในป 2553 โดยสาเหตุหลักมาจากการลดลงของ EBITDA ของโรงแรมในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ และธุรกิจการให้เช่า พื้นที่ซึ่งได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในไตรมาส 2/53 ดังกล่าวข้างต้น ในขณะที่โรงแรมนอกเขตพื้นที่กรุงเทพฯ แสดงถึง การเติ บ โตเพิ่ ม ขึ้ น ของ EBITDA และอั ต รากำไรระดั บ EBITDA ในป 2553 ค่ า เสื่ อ มราคาและค่ า ตั ด จำหน่ า ยในป 2553 เท่ากับ 684 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 56 ล้านบาทจากปที่ผ่านมา เปนผลมาจากการที่โรงแรมจำนวน 3 แห่งที่เปดดำเนินการในป 2552 ได้ เ ป ด ดำเนิ น การเต็ ม ป ใ นป 2553 และโรงแรมใหม่ 1 แห่ ง ที่ เ ป ด ให้ บ ริ ก ารในป 2553 ส่ ง ผลให้ ใ นป 2553 นี้ เ รามี ก ำไร จากการดำเนินงานก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี (“EBIT”) และไม่รวมรายได้อื่นและรายการพิเศษ เท่ากับ 86 ล้านบาท ซึ่งลดลง ร้อยละ 47 จากปทผี่ า่ นมา

018

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ตนทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินสำหรับป 2553 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 18 มาเปน 361 ล้านบาท ซึง่ มาจาก 2 สาเหตุหลักคือ การต้องรับรูค้ า่ ใช้จา่ ย ดอกเบี้ยของโรงแรมที่เปดใหม่และการปรับเพิ่มของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งธนาคารเจ้าหนี้ของบริษัทฯ ได้มีการปรับอัตรา ดอกเบี้ยขั้นต่ำสำหรับลูกค้าชั้นดีเพิ่มขึ้นรวมร้อยละ 0.275 ในป 2553 นอกจากนี้เพื่อเปนการบริหารความเสี่ยงเนื่องจากอัตรา ดอกเบี้ยอยู่ในช่วงขาขึ้น เราได้เข้าทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยสำหรับเงินกู้ยืมระยะยาวจำนวนประมาณร้อยละ 30 ของเงินกู้ระยะยาวจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่เปนระยะเวลา 4 ปนับจากป 2553 ซึ่งส่งผลให้เรามีต้นทุน ทางการเงินเพิ่มขึ้น 7 ล้านบาทในปนี้ อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย (รวมเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาว) ของเราปรับตัวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.1 ในป 2552 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 4.3 ในป 2553 รายการพิเศษ ในป 2552 เรามีรายการพิเศษเปนค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนจำนวน 50 ล้านบาท ซึ่งมาจากค่าใช้จ่ายก่อนการเปด ดำเนินการของโรงแรมไอบิส กรุงเทพ นานา โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา และโรงแรมไอบิส ภูเก็ต กะตะ ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้ถูก บันทึกไว้ใน “ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร” ในงบกำไรขาดทุน สำหรับงวด 12 เดือนแรกของป 2553 มีค่าใช้จ่ายดังกล่าวจำนวน 8 ล้านบาท ซึ่งเปนค่าใช้จ่ายก่อนการเปดดำเนินการของโรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์

(ข) รายงานส∂านะทางการเงิน รายจายเงินทุน ในป 2553 เรามีสินทรัพย์รวม 12,950 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจากสิ้นงวดป 2552 ที่ 13,289 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เกิดจากการลดลงของสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งส่วนใหญ่มาจากการใช้ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน สำหรับรายจ่ายเงินทุน ในป 2553 เท่ากับ 653 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากจำนวน 1,373 ล้านบาทในป 2552 ซึ่งส่วนใหญ่เปนผลมาจากการลดลงของรายจ่าย เงินทุนสำหรับการพัฒนาโครงการใหม่ เนื่องจากในระหว่างป 2552 เรามีการพัฒนาโรงแรมจำนวน 3 แห่ง ในขณะที่ในป 2553 มีการพัฒนาโรงแรมเพียง 1 แห่งคือโรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ ซึ่งได้เปดดำเนินการแล้วเมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา นอกจากนี้เราได้มีการทำสัญญาเช่าที่ดินเพื่อโครงการโรงแรมเมอร์เคียว ไอบิส สยาม กรุงเทพ ซึ่งจะเริ่มก่อสร้างในป 2554 สำหรับ ค่าใช้จ่ายเงินทุนส่วนที่เปนการปรับปรุงทรัพย์สินเดิมเพิ่มขึ้นจากปที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงตามปกติประจำปของโรงแรม และพื้นที่เช่า ซึ่งสำหรับพื้นที่เช่าในปนี้ได้มีการลงทุนเพิ่มสำหรับพื้นที่อาคารสำนักงานให้ทันสมัยเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน

019

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


แหล่งเงินทุนของโครงการลงทุนเหล่านี้มาจากเงินกู้โครงการและกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน รายจ่ายเงินทุนแยกตาม ทรัพย์สิน ในระหว่างป 2553 แสดงตามแผนภาพด้านล่างนี้

6% ไอบิส ภูเก็ต กะตะ

20% โรงแรมอื่นๆ 9% อาคารสำนักงานและรานคา

40% ไอบิส กรุงเทพ ริเวอรไซด

25% เมอรเคียว ไอบิส สยาม กรุงเทพ

หนี้สินรวมลดลงเล็กน้อยจาก 9,750 ล้านบาท ณ สิ้นงวดป 2552 มาเปน 9,677 ล้านบาท ณ สิ้นป 2553 จากการลดลงของ หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นจาก 8,570 ล้านบาท ณ สิ้นป 2552 มาเปน 8,599 ล้านบาท ณ สิ้นป 2553 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้โครงการจากการก่อสร้างโรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ และความต้องการใช้เงินทุนหมุนเวียน ของบริษัทฯ ผลการขาดทุนสุทธิในปนี้ส่งผลให้ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลงจาก 3,539 ล้านบาท ณ สิ้นป 2552 มาเปน 3,273 ล้านบาท ณ สิ้นป 2553 ในส่วนของกระแสเงินสด ถึงแม้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่มีผลกระทบทางลบต่อธุรกิจระหว่างปที่ผ่านมา แต่บริษัทฯ มิได้ ประสบปัญหาทางด้านสภาพคล่องแต่อย่างใด กระแสเงินสดจากการดำเนินงานสำหรับช่วงป 2553 ยังคงสูงกว่าปที่ผ่านมา เงินสด จ่ายจากกิจกรรมการลงทุนลดลง ในขณะที่เงินสดรับจากกิจกรรมการจัดหาเงินลดลงเช่นกัน เนื่องจากเรามีการชำระคืนหนี้เงินกู้ จากสถาบันการเงินบางส่วนในปนี้ ณ สิ้นป 2553 บริษัทฯ มียอดเงินสดคงเหลือที่ 220 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ 277 ล้านบาท ณ สิ้นป 2552

นางกมลวรร≥ วิปุลากร

รองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ 020

รายงานจากรองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

รายงานจากค≥ะกรรมการตรวจสอบต่อผู้∂◊อหุ้น บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

เรียน ทานผูถือหุน บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 คน มีคุณสมบัติครบถ้วนตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของตน และที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ในรอบป 2553 มีการประชุม 4 ครั้ง เพื่อพิจารณาเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป 2553 โดยประสานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ ผู้สอบบัญชี รองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ และผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อให้มั่นใจได้ว่า งบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย มีการเปดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง เพียงพอเชื่อถือได้ และเปนไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป และเปนไปตามประกาศ ก.ล.ต. และ ตลท. 2. สอบทาน และประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน เพื่อให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี เหมาะสม กับการดำเนินธุรกิจ รวมถึงการดูแลทรัพย์สิน การปองกันความผิดพลาด ความเสียหาย โดยพิจารณาจากรายงานของ ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี ตลอดจนสอบถามจากฝายจัดการ ทั้งนี้ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เปน สาระสำคัญ จึงมีความเห็นว่าการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณาสอบทานการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึง การเปดเผยข้อมูลของการทำรายการว่าเปนรายการทางการค้าปกติทั่วไป การพิจารณาอนุมัติรายการเปนไปโดย รอบคอบตามเกณฑ์ที่บริษัทและภาครัฐกำหนด มีความสมเหตุสมผล และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 4. พิ จ ารณาให้ ค ำปรึ ก ษาและอนุ มั ติ แ ผนตรวจสอบภายในประจำป รั บ ทราบและเสนอผลการตรวจสอบภายใน ต่อคณะกรรมการบริษัท พิจารณางบประมาณประจำป ตลอดจนกำกับดูแล สอบทาน และประเมินผลงานของหัวหน้า สายงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชีประจำป 2554 และความเหมาะสมของค่าสอบบัญชี เสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง นายเจริญ ผู้สัมฤทธิ์เลิศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียน เลขที่ 4068 และ/หรือ นางสาววรรณาพร จงพีรเดชานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4098 และ/หรือ นายวิเชียร ธรรมตระกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3183 แห่งบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เปนผู้สอบบัญชีของบริษัท

นายสรรเสริญ วงศ์™ะอุ่ม ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554

021

Back


รายงานความรับผิด™อบของค≥ะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) เปนผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งจัดทำ ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติ อย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เปนอิสระ 3 คน เพื่อทำหน้าที่สอบทาน รายงานทางการเงินของบริษัท สอบทานความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน และติดตามการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความมั่นใจได้ว่ามีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีถูกต้องเพียงพอ ทันเวลา ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจำปนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้าง ความมั่นใจอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

022

นายประกิต ประทีปะเสน

นายกษมา บุ≥ยคุปต์

ประธานกรรมการ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

เกี่ยวกับบริ…ัท เรเน´องส์ เกาะสมุย รีสอร์ท แอนด์ สปา

023

Back


ประวัติบริษัท

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2525 ดำเนินการพัฒนา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจโรงแรมมาตลอด 29 ป

2534

โรงแรมแกรนด์ ไŒแอท เอราวั≥ กรุงเทพ

2528 เปดดำเนินการอาคารอัมรินทร์ พลาซ่า 2531 จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2534 เปดดำเนินการโรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ 2537 แปรสภาพเปนบริษัทมหาชน 2539 เปดดำเนินการอาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ 2540 เปดดำเนินการโรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ 2547 เปดดำเนินการอาคารเอราวัณ แบงค็อก 2548 เปดดำเนินการโรงแรมเรเนซองส์ เกาะสมุย รีสอร์ท แอนด์ สปา 2550 ขายกิจการอาคารอัมรินทร์ พลาซ่า เปดดำเนินการโรงแรมคอร์ทยาร์ด โดย แมริออท กรุงเทพ 2551 เปดดำเนินการโรงแรมซิกส์เซ้นส์ แซงชัวรี่ ภูเก็ต เปดดำเนินการโรงแรมไอบิส 4 แห่ง ได้แก่ โรงแรมไอบิส ภูเก็ต ปาตอง โรงแรมไอบิส พัทยา โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สาทร และโรงแรมไอบิส สมุย บ่อผุด 2552 เปดดำเนินการโรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา เปดดำเนินการโรงแรมไอบิส 2 แห่ง ได้แก่ โรงแรมไอบิส กรุงเทพ นานา โรงแรมไอบิส ภูเก็ต กะตะ 2553 เปดดำเนินการโรงแรมไอบิส กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์

2539 อาคารเพลินจิต เ´Áนเตอร์

024

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

2540

โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ

2551-2553

โรงแรมไอบิส 7 แห่ง

2551

โรงแรม´ิกส์เ´้นส์ แ´ง™ัวรี่ ภูเกÁต

2552 โรงแรมŒอลิเดย์ อินน์ พัทยา

025

ประวัติบริษัท

Back


ธุรกิจที่ดำเนินงาน„นปíจจุบัน บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

บริษัทและบริษัทย่อยประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการลงทุน พัฒนา และดำเนินธุรกิจโรงแรมทีส่ อดคล้องกับทำเล สถานทีต่ งั้ และกลุ่มเปาหมาย เปนธุรกิจหลัก ปัจจุบันมีโรงแรมที่เปด ดำเนินการรวม 13 โรงแรม โดยมีธุรกิจอื่น ได้แก่ ธุรกิจพื้นที่ ให้เช่าอาคารสำนักงาน และร้านค้า รายละเอียดตามประเภท ของธุรกิจต่างๆ ที่ดำเนินงานแล้ว มีดังนี้

ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท

เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ (JW Marriott Hotel Bangkok) • มาตรฐานโรงแรม : Luxury Hotel • จำนวนห้องพัก : 441 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนสุขุมวิท ซอย 2 กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 34 ป www.marriott.com/bkkdt

แกรนด ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ (Grand Hyatt Erawan Bangkok) • มาตรฐานโรงแรม : Luxury Hotel • จำนวนห้องพัก : 380 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนราชดำริ กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 31 ป www.bangkok.grand.hyatt.com

026

เรเนซองส เกาะสมุย รีสอรท แอนด สปา (Renaissance Koh Samui Resort and Spa) • มาตรฐานโรงแรม : Luxury Hotel • จำนวนห้องพัก : Deluxe 45 ห้อง และ Pool Villa 33 ห้อง • สถานที่ตั้ง : หาดละไม เกาะสมุย สุราษฎร์ธานี www.marriott.com/usmbr Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

คอรทยารด โดย แมริออท กรุงเทพ (Courtyard by Marriott Bangkok) • มาตรฐานโรงแรม : Midscale Hotel • จำนวนห้องพัก : 316 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ซอยมหาดเล็กหลวง ถนนราชดำริ กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 27 ป www.courtyard.com/bkkcy

ฮอลิเดย อินน พัทยา (Holiday Inn Pattaya) • มาตรฐานโรงแรม : Midscale Hotel • จำนวนห้องพัก : 367 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนพัทยาสาย 1 ชลบุรี www.holidayinn.com/pattaya

ซิกสเซนส แซงชัวรี่ ภูเก็ต (Six Senses Sanctuary Phuket) (ชื่อเดิม “ซิกเซนท เดสทิเนชั่น สปา ภูเก็ต”) • มาตรฐานโรงแรม : Luxury Destination Spa • จำนวนห้องพัก : Pool Villa 61 ห้อง • สถานที่ตั้ง : เกาะนาคาใหญ่ ภูเก็ต www.sixsenses.com

027

ธุรกิจที่ดำเนินงานในปัจจุบัน

ไอบิส ภูเก็ต ปาตอง (Ibis Phuket Patong) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 258 ห้อง • สถานที่ตั้ง : หาดปาตอง ภูเก็ต www.ibishotel.com

Back


ไอบิส พัทยา (Ibis Pattaya) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 259 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนพัทยาสาย 2 ชลบุรี www.ibishotel.com

ไอบิส สมุย บอผุด (Ibis Samui Bophut) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 250 ห้อง • สถานที่ตั้ง : หาดบ่อผุด เกาะสมุย สุราษฎร์ธานี www.ibishotel.com

ไอบิส กรุงเทพ สาทร (Ibis Bangkok Sathorn) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 213 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 28 ป www.ibishotel.com

028

ธุรกิจที่ดำเนินงานในปัจจุบัน

ไอบิส กรุงเทพ นานา (Ibis Bangkok Nana) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 200 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนสุขุมวิท ซอย 4 กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 28 ป www.ibishotel.com

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ธุรกิจพ◊Èนที่„ห้เ™่าอาคารสำนักงาน และร้านค้า

ไอบิส ภูเก็ต กะตะ (Ibis Phuket Kata) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 258 ห้อง • สถานที่ตั้ง : หาดกะตะ ภูเก็ต www.ibishotel.com

อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร (Ploenchit Center) • อาคารสำนักงาน : พื้นที่เช่า 42,950 ตร.ม. • สถานที่ตั้ง : ถนนสุขุมวิท ซอย 2 กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 14 ป

ไอบิส กรุงเทพ ริเวอรไซด (Ibis Bangkok Riverside) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 266 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ถนนเจริญนคร ซอย 17 กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 24 ป www.ibishotel.com

029

ธุรกิจที่ดำเนินงานในปัจจุบัน

อาคารเอราวัณ แบงค็อก (Erawan Bangkok) • ร้านค้า : พื้นที่เช่า 6,849 ตร.ม. • สถานที่ตั้ง : ถนนเพลินจิต/ถนนราชดำริ กรุงเทพฯ • สิทธิการเช่าคงเหลือระยะเวลา : 31 ป www.erawanbangkok.com

Back


โรงแรมที่อยู่ระหว่างพั≤นา บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ไอบิส หัวหิน (Ibis Hua Hin) • มาตรฐานโรงแรม : Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 200 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ทางขึน้ เขาตะเกียบ หัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ • ลูกค้าเปาหมาย : นักท่องเที่ยว

030

เมอรเคียว ไอบิส สยาม (Mercure Ibis Bangkok Siam) • มาตรฐานโรงแรม : Midscale and Economy Hotel • จำนวนห้องพัก : 380 ห้อง • สถานที่ตั้ง : ฝังตรงข้ามห้างมาบุญครอง ติดกับสถานีรถไฟฟา สนามกีฬาแห่งชาติ • ลูกค้าเปาหมาย : นักธุรกิจและนักท่องเที่ยว • สิทธิการเช่าที่ดินคงเหลือระยะเวลา : 32 ป

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

กลยุทธ์„นการดำเนินธุรกิจ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

3 กลยุทธหลักในการดำเนินธุรกิจ 1. ทรั พ ย์ สิ น ที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น : พั ฒ นาทรั พ ย์ สิ น ให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดมูลค่าสูงสุด 2. ทรัพย์สินที่จะพัฒนาในอนาคต : มุ่งพัฒนาและลงทุนในธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทตรงตามความต้องการของลูกค้า และมีศักยภาพในการแข่งขัน โดยคำนึงถึงการกระจายความเสี่ยงของรายได้อย่างเปนระบบ และได้รับผลตอบแทน ที่เหมาะสมกับความเสี่ยง 3. สร้างปัจจัยสนับสนุนความมั่นคงและเจริญเติบโตที่ยั่งยืน โดยการสร้างและพัฒนาระบบบริหารงานด้านต่างๆ ทรัพยากร บุคคลที่มีคุณภาพมุ่งเน้นที่ทักษะในการทำงาน สร้างฐานข้อมูลความรู้เพื่อประกอบการตัดสินใจ และวัฒนธรรมองค์กร ที่เข้มแข็ง

ธุรกิจโรงแรม

74%

100%

100%

100%

100%

100%

100%

ธุรกิจอาคารสำนักงาน และร้านค้า

100%

031

100%

Back


โครงสร้างการ∂◊อหุ้นและการจัดการ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

โครงสร้างการ∂◊อหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีทุนที่เรียกชำระแล้ว 2,244,779,001 บาท เปนหุ้นสามัญทั้งหมด มูลค่าหุ้นละ 1 บาท โดยมีผู้ถือหุ้น 10 รายแรกตามทะเบียนหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ได้แก่ ชื่อผู้ถือหุ้น 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นายสุขกาญจน์ วัธนเวคิน บริษัท ซิตี้ โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด นางวรรณสมร วรรณเมธี บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) นายอิสระ ว่องกุศลกิจ SKANDINAVISKA ENSKILDA BANKEN AB (PUBL) นางสาวจินตนา กาญจนกำเนิด PAN-ASIA SUGAR FUND LIMITED นายสุพล วัธนเวคิน รวมผูถือหุน 10 อันดับแรก

จำนวนหุ้น (หุ้น)

% หุ้น

379,185,716 228,481,318 131,353,314 120,683,649 108,418,238 101,257,910 96,715,700 73,588,254 73,000,000 58,698,916 1,371,383,015

16.89% 10.18% 5.85% 5.38% 4.83% 4.51% 4.31% 3.28% 3.25% 2.61% 61.09%

ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลปัจจุบันได้จากเว็บไซต์ของบริษัท www.TheErawan.com ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป อย่างไรก็ตาม โครงสร้างผู้ถือหุ้นบริษัทมีลักษณะดังต่อไปนี้ กลุ่มผู้ถือหุ้น กลุ่มว่องกุศลกิจ กลุ่มวัธนเวคิน รวมผูถือหุนรายใหญ กลุ่มนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ กลุ่มบริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) กลุ่มนักลงทุนสถาบัน กลุ่มผู้บริหารของบริษัท อื่นๆ รวม

032

จำนวนหุ้น (หุ้น)

% หุ้น

878,910,119 698,970,657 1,577,880,776 254,177,774 118,894,138 90,251,982 20,922,417 182,657,914 2,244,779,001

39.15% 31.14% 70.29% 11.32% 5.30% 4.02% 0.93% 8.14% 100.00%

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

รายนามกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายบริหาร หรือการดำเนินงานของบริษัท อย่างมีนัยสำคัญ ประกอบด้วย ชื่อกรรมการ

กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่

1. นายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ 2. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ 3. นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย 4. นายสุพล วัธนเวคิน 5. นางพนิดา เทพกาญจนา

กลุ่มว่องกุศลกิจ กลุ่มว่องกุศลกิจ กลุ่มว่องกุศลกิจ กลุ่มวัธนเวคิน กลุ่มวัธนเวคิน

โครงสร้างการจัดการ

ผู้ถือหุ้นแต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะกรรมการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยขึ้นอีก 4 คณะ เพื่อช่วยในการกำกับดูแล และจัดการในด้านต่างๆ ประกอบไปด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ สรรหาและบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการมีสมาชิก 12 คน โดยมีตำแหน่งและวุฒิการศึกษาสูงสุด ตามรายละเอียดดังนี้ ชื่อ 1. นายประกิต ประทีปะเสน

ตำแหน่ง

5. นายบรรยง พงษ์พานิช

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

6. นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร

กรรมการอิสระ

2. นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม

3. รศ.มานพ พงศทัต 4. นายเดช บุลสุข

033

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

วุฒิการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเวยน์ รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยบริดจ์พอร์ต รัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา • สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแคนซัส สเตท สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Back


ชื่อ

ตำแหน่ง

7. นายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ

กรรมการ

8. นายสุพล วัธนเวคิน

กรรมการ

9. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ

กรรมการ

10. นางพนิดา เทพกาญจนา

กรรมการ

11. นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย

กรรมการ

12. นายกษมา บุณยคุปต์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่

เลขานุการบริษัท : นางสาวกนกวรรณ ทองศิวะรักษ์

วุฒิการศึกษา • เภสัชศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นักบริหาร) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) มหาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ มิสซูรี่ สหรัฐอเมริกา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย สำนักงานอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภาไทย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (ธุรกิจระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยบริดจ์พอร์ต รัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา

กรรมการผูมีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท ประกอบด้วยนายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ นางพนิดา เทพกาญจนา นายกษมา บุณยคุปต์ นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย สองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน นโยบายจายเงินปนผล บริษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผล ประมาณร้อยละ 35 ของกำไรสุทธิ ของงบการเงินรวมหลังหักเงินสำรองต่างๆ ทุกประเภทที่กฎหมายและบริษัทได้กำหนดไว้ อย่างไรก็ตาม อัตราการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด และภาระ การลงทุนของบริษัทและบริษัทในเครือ รวมถึงข้อจำกัดทางกฎหมายและความจำเปนอื่น

034

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

อำนาจหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการ มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. จัดการบริษัทให้เปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชน์ 2. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจ 3. พิจารณาแผนธุรกิจ พัฒนาขีดความสามารถ และประเมินผลการดำเนินงานของบริษัท 4. พิจารณางบประมาณ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และสร้างผลตอบแทนที่ดีให้แก่ผู้ถือหุ้น 5. กำหนดนโยบายพัฒนา และแผนสืบทอดตำแหน่งผู้บริหารระดับสูง 6. กำกับดูแล และพัฒนาการบริหารความเสี่ยง 7. กำกับดูแล และพัฒนาการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาล 8. กำกับดูแล ควบคุมให้มีระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่ดี 9. ดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทั้งรายใหญ่และรายย่อย ให้สามารถใช้สิทธิในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของตน และรับรู้ข่าวสารอย่างถูกต้องครบถ้วน โปร่งใส เปดเผย และสามารถตรวจสอบได้ 10. แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ และติดตามการดำเนินงาน 11. ประเมินผลการดำเนินงานผู้บริหารระดับสูง และพิจารณานโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล วาระการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป และในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปทุกครั้ง กรรมการจะต้องออกจากตำแหน่ง จำนวนหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ทั้งนี้กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับเลือกใหม่ได้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย 1. นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม 2. รศ.มานพ พงศทัต 3. นายเดช บุลสุข

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กำกั บ ดู แ ลสอบทานรายงานทางการเงิ น รายไตรมาส/รายป ที่ ผ่ า นการสอบทาน และตรวจสอบจากผู้ ส อบบั ญ ชี ตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนด ตลอดจนพิจารณากลั่นกรองการนำเสนอข้อมูลข่าวสารในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายงาน ทางการเงิน ร่วมกับคณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง และผู้สอบบัญชีก่อนนำเสนอต่อบุคคลภายนอก 2. พิจารณาความเปนอิสระ คัดเลือก เสนอให้แต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี และประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี ปละ 4 ครั้ง โดยไม่มีฝายจัดการ 3. พิจารณาปัญหาและอุปสรรคที่มีนัยสำคัญที่ผู้สอบบัญชีประสบระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ และให้ข้อยุติเมื่อมีความเห็น ที่แตกต่างระหว่างผู้สอบบัญชี และฝายจัดการ 4. กำกับดูแล และสอบทานให้มีระบบควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิผลตามมาตรฐานสากล 5. กำกับดูแลให้มีระบบงานเชิงปองกันที่เปนประโยชน์ให้กับหน่วยงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติ งานให้ดียิ่งขึ้น 035

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


6. พิจารณาแผนงานตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแลความเปนอิสระของสายงานตรวจสอบภายใน เห็นชอบการแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าสายงานตรวจสอบภายใน 7. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ทัดเทียมกับมาตรฐานบัญชีสากล 8. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท 9. กำหนดมาตรการปองกันการทุจริต และสอบทานสรุปผลตรวจสอบการทุจริต 10. สอบทานความถูกต้อง และประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุมภายใน ให้ขอ้ เสนอแนะ ปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ 11. สอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) ให้มคี วามถูกต้อง สมเหตุสมผล และเปนไปตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 12. จัดทำรายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ เปดเผย ไว้ในรายงานประจำปของบริษัท 13. ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด และ/หรือคณะกรรมการมอบหมาย และในการปฏิบัติตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบมี อ ำนาจเรี ย กสั่งการให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง หัวหน้าหน่วยงาน หรือพนักงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำเปน

วาระการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป คณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 1. นายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการ 2. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการ 3. นายสุพล วัธนเวคิน กรรมการ 4. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ กรรมการ 5. นางพนิดา เทพกาญจนา กรรมการ 6. นายกษมา บุณยคุปต์ กรรมการ คณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กำกับดูแลผลการดำเนินงานทางด้านการเงินของกลุ่มบริษัท 2. กำกับดูแล กลั่นกรอง อนุมัติ และติดตามโครงการลงทุนต่างๆ ที่ได้รับอนุมัติ 3. กำกับดูแล และประเมินแผนบริหารความเสี่ยงอย่างเปนระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ 4. กำกับดูแล ติดตามการบริหารความเสี่ยง ปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

วาระการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป

036

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ประกอบด้วย 1. นายประกิต ประทีปะเสน 2. นางพนิดา เทพกาญจนา 3. นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. พิจารณาโครงสร้างคณะกรรมการ กำหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะตำแหน่งของกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย 2. พิจารณา และสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิเข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อยที่คณะกรรมการ แต่งตั้งขึ้น 3. กำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อย 4. นำเสนอนโยบาย และแนวปฏิบัติในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการ และพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัย อยู่เสมอ 5. ประเมินผลงาน และติดตามการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และฝายจัดการให้เปนไปตามนโยบาย และแนวปฏิบัติ ในการกำกับดูแลกิจการที่ดี 6. สนับสนุนการเรียนรู้ในเรื่องที่เกี่ยวกับธุรกิจ ข้อบังคับ และแผนกลยุทธ์ของบริษัท

วาระการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป คณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน ประกอบด้วย 1. นายสุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการ 2. นายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ กรรมการ 3. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงาน พิจารณากำหนดค่าตอบแทนประจำป และกำหนดโครงสร้างค่าตอบแทนของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ พร้อมทั้งให้คำปรึกษาแก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ในการกำหนดค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง 2. พิ จ ารณาแผนพั ฒ นาทั ก ษะ ความรู้ ความสามารถของผู้ ที่ ถู ก เสนอชื่ อ ให้ ด ำรงตำแหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (ในกรณีเกิดการเปลี่ยนแปลง) 3. พิจารณานโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สำคัญ และพิจารณานโยบายเกี่ยวกับโครงสร้างผลตอบแทนพนักงาน ได้แก่ นโยบาย และงบประมาณการปรับผลตอบแทนประจำป การจ่ายเงินรางวัล (โบนัส) ประจำป 4. พิจารณาการจัดสรร การให้สิทธิซื้อหุ้นแก่พนักงาน (ESOP) ในส่วนได้รับการจัดสรรเกินกว่าร้อยละ 5 ของโครงการ

วาระการดำรงตำแหนงของคณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ป 037

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


กรรมการอิสระ มีจำนวนรอยละ 50 ของคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย 1. นายประกิต ประทีปะเสน กรรมการอิสระ 2. นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม กรรมการอิสระ 3. รศ.มานพ พงศทัต กรรมการอิสระ 4. นายเดช บุลสุข กรรมการอิสระ 5. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการอิสระ 6. นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร กรรมการอิสระ ผูบริหาร ประกอบด้วย 1. นายกษมา บุณยคุปต์ 2. นางกมลวรรณ วิปุลากร 3. นายเพชร ไกรนุกูล 4. นางวริศรา เจือจารุศักดิ์ 5. นายอภิชาญ มาไพศาลสิน 6. นายสุชัย วุฒิวรชัยรุ่ง 7. นางสาวภคินี พราหมณ์เทศ 8. นายสุรพล เจียมสุวรรณ 9. นายวิบูลย์ ชัยศุจยากร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ รองกรรมการผู้จัดการ สายธุรกิจโรงแรม รองกรรมการผู้จัดการ สายพัฒนาและบริหารโครงการ 2 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สายพัฒนาและบริหารโครงการ 1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ สำนักทรัพยากรบุคคล ผู้อำนวยการอาวุโส ฝายบัญชี ผู้อำนวยการ สำนักบริหารธุรกิจอาคารสำนักงานและร้านค้า ผู้อำนวยการ ฝายการเงินและกฎหมาย

อำนาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ 1. ร่วมกับคณะกรรมการในการกำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กร 2. วางแผนธุรกิจและกำหนดกลยุทธ์ทงั้ ระยะสัน้ และระยะยาวเพือ่ ให้บรรลุเปาหมาย ตลอดจนการจัดทำแผนบริหารความเสีย่ ง 3. จัดทำงบประมาณประจำปและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ 4. บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่การสรรหา การกำหนดเงินเดือน ค่าจ้าง ผลตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ กำหนด วิธีประเมินผลและจัดสรรผลประโยชน์พิเศษ การแต่งตั้ง ถอดถอน โอนย้าย ตลอดจนการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่างๆ ตามความเหมาะสม 5. จัดโครงสร้างบริหารงาน กำหนดบทบาทและหน้าที่ ตลอดจนกำหนดอำนาจอนุมัติ 6. สร้างและหล่อหลอมวัฒนธรรมองค์กรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน 7. พัฒนาระบบงานด้านต่างๆ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 8. พัฒนาทักษะความรู้ความชำนาญ รวมถึงการพัฒนาฐานข้อมูลที่ใช้ในการบริหารงานและตัดสินใจ หนาที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบไม่นอ้ ยกว่าทีพ่ ระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 กำหนด และ/หรือ กฎหมายหรือข้อกำหนดอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย 1. สนับสนุนให้คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและความระมัดระวัง เยี่ยงวิญูชนผู้ประกอบธุรกิจจะพึง 038

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

กระทำภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน (Fiduciary Duties) ตลอดจนให้คำปรึกษาแก่กรรมการ ฝายจัดการ และ พนักงานให้ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎและระเบียบ และข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมทั้งข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน การปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี และการเปนศูนย์กลางในการรวบรวมแผนบริหารความเสี่ยง ประสานงานในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกรรมการ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ การดำรง ตำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย การพ้นจากตำแหน่งตามวาระ การลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระ การแต่งตั้ง กรรมการใหม่ เปนต้น กำหนดและแจ้งสถานทีจ่ ดั เก็บเอกสารสำคัญของบริษทั ตลอดจนเปดเผยสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องตามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต. ติดตามการปฏิบัติงานของฝายจัดการให้เปนไปตามมติของคณะกรรมการ (Good Practices) จัดทำรายงานประจำปให้เพียงพอต่อการเผยแพร่แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง พิจารณาจดหมายเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป (AGM-Annual General Meeting of Shareholders) และ การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น (EGM-The Extraordinary General Meeting of Shareholders) ความเพียงพอของเอกสาร ข้อมูล เอกสารประกอบการประชุม การให้ข้อมูลต่อที่ประชุม และบันทึกรายงานการประชุม เปดเผยสารสนเทศที่เกี่ยวข้องตามหน้าที่ความรับผิดชอบต่อตลาดหลักทรัพย์

ขอบังคับบริษัทที่เกี่ยวของกับการแตงตั้งกรรมการ ข้อ 18 กรรมการนั้นให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 18.1 ให้ประธานในที่ประชุมเสนอต่อที่ประชุม ซึ่งรายชื่อและประวัติความเปนมาของผู้ได้รับการเสนอชื่อ ตามที่ คณะกรรมการได้เสนอเพื่อขออนุมัติ 18.2 ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำนวนหุ้นที่ตนถือ 18.3 การเลื อ กตั้ ง กรรมการอาจดำเนิ น การโดยการออกเสี ย งลงคะแนนเลื อ กตั้ ง บุ ค คลคนเดี ย วหรื อ หลายคน เปนกรรมการก็ได้ ตามที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร ผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด ตามข้อ 18.2 เลือกตั้งกรรมการแต่ละคน และไม่อาจแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดโดยเฉพาะ 18.4 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผู้ได้รับการเลือกตั้งเปนกรรมการเท่าจำนวนกรรมการ ที่จะพึงมี ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวนกรรมการ ที่จะพึงมี ประธานกรรมการในที่ประชุมมีสิทธิออกเสียงชี้ขาด ข้อ 48 มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นนั้น ให้ประกอบด้วยคะแนนเสียงดังต่อไปนี้ 48.1 ในกรณีปกติ ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม (ด้วยตนเองหรือโดยการมอบฉันทะ) และ ออกเสียงลงคะแนน

039

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

Back


การ∂◊อครองหุ้นของค≥ะกรรมการและผู้บริหาร บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

นายประกิต ประทีปะเสน นายสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม รศ.มานพ พงศทัต นายเดช บุลสุข นายบรรยง พงษ์พานิช นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร นายวิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ นายสุพล วัธนเวคิน นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ นางพนิดา เทพกาญจนา นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย นายกษมา บุณยคุปต์ นางกมลวรรณ วิปุลากร นายเพชร ไกรนุกูล นางวริศรา เจือจารุศักดิ์ นายอภิชาญ มาไพศาลสิน นายสุชัย วุฒิวรชัยรุ่ง นางสาวภคินี พราหมณ์เทศ นายสุรพล เจียมสุวรรณ นายวิบูลย์ ชัยศุจยากร

ตำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฯ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้อำนวยการอาวุโส ผู้อำนวยการ ผู้อำนวยการ

31 ธ.ค. 2553

หุ้นสามัญ (หุ้น) 31 ธ.ค. 2552

เพิ่ม (ลด)

150,058 319,729 660,000 3,001,500 11,457,870 58,698,916 5,493,550 3,797,416 11,510,211 839,082 1,000,000 1,825,716 1,088,697

150,058 319,729 660,000 3,001,500 11,457,870 58,698,916 5,493,550 3,693,416 11,510,211 839,082 1,000,000 1,825,716 1,088,697

104,000 -

หมายเหตุ : ขอมูลจากรายงานการถือครองหลักทรัพยของกรรมการ และผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

040

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ภาพรวมของธุรกิจ Œอลิเดย์ อินน์ พัทยา

041

Back


ธุรกิจโรงแรม บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

ปิดสนามบิน

17.0

2550

2551

16.0 15.0

การเมือง

ล้านคน

ปฏิวัติ

จำนวนนักท่องเที่ยวต่าง™าติ ที่เดินทางเข้ามา„นประเทศไทย

การเมือง และไข้หวัดระบาด

ในป 2553 นับเปนปที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพและความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย โดยทั้งปจำนวน นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 15.7 ล้านคน เพิ่มขึ้นคิดเปนอัตราร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับ ปที่แล้ว ในขณะทีจ่ ำนวนการท่องเทีย่ วภายในประเทศคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เปน 91 ล้านคนครัง้ หรือเพิม่ ขึน้ คิดเปนร้อยละ 5 เมือ่ เทียบกับ ปทแี่ ล้ว ถึงแม้ว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยจะได้รับผลกระทบจากหลายเหตุการณ์ เช่น เหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา และปัญหาเศรษฐกิจในภูมิภาคยุโรป ในช่วงไตรมาสแรกของป 2553 นับเปนไตรมาสที่มีการเจริญเติบโตของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติสูงที่สุดของป โดยเพิ่มขึ้นสูง ถึงอัตราร้อยละ 27 เมื่อเทียบกับปที่แล้ว เนื่องจากปัจจัยสนับสนุนจากภาวะการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยว ชาวจีน ชาวรัสเชีย และชาวอินเดียที่มีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นสูงมากเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปที่แล้ว ต่อมาเมื่อเกิด ปัญหาความไม่สงบทางการเมืองขึ้นในไตรมาสที่ 2 ซึ่งส่งผลกระทบต่อจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เข้ามาประเทศไทย เปนอย่างมาก แต่หลังจากนัน้ สถานการณ์ตา่ งๆ ก็เริม่ เข้าสูภ่ าวะปกติเรียบร้อย สร้างความมัน่ ใจให้นกั ท่องเทีย่ วชาวต่างชาติกลับมา ท่องเที่ยวในประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง จำนวนนักท่องเที่ยวค่อยๆ ปรับตัวดีขึ้น จนมีอัตราเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปที่แล้ว แม้ว่าในกรุงเทพฯ จะมีอัตราการฟนตัวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ช้ากว่าในจังหวัดอื่นๆ เพราะยังมีการชุมนุมทางการเมือง อยู่อย่างต่อเนื่อง แต่ในขณะที่จังหวัดซึ่งเปนแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของประเทศ เช่น ภูเก็ต พัทยา สมุย เชียงใหม่ มีอัตราการเจริญ เติบโตของนักท่องเทีย่ วทีส่ งู มากทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติทนี่ ยิ มเช่าเหมาลำ (Charter flight) รวมไปถึงสายการบินต่างๆ ได้มีการเพิ่มเที่ยวบินตรง (Direct flight) จากต่างประเทศไปยังจังหวัดที่เปนแหล่งท่องเที่ยวมากขึ้น สรุปรวมทั้งปจำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยทั้งหมด 15.7 ล้านคน เพิ่มขึ้นคิดเปนอัตราร้อยละ 11 มีจำนวนมากกว่าที่ทางการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเคยประมาณการไว้ ซึ่งเปนผลมาจากปัจจัยสนับสนุนต่างๆ เช่น การฟนตัว ของเศรษฐกิจโลกในภาพรวม การจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดโรดโชว์ในต่างประเทศอย่างต่อเนือ่ งของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย และมาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียมต่างๆ ส่วนทางด้านการท่องเที่ยวในประเทศของคนไทยตลอดทั้งป 2553 นั้น ทางการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทยได้ประเมินไว้ว่ามีการท่องเที่ยวในประเทศถึง 91 ล้านคนครั้ง ซึ่งเปนจำนวนที่เพิ่มขึ้นจากปที่แล้วคิดเปนร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับปที่แล้ว จากปัจจัยการสนับสนุนของทางทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น การนำค่าใช้จ่ายที่พักไปหักค่าลดหย่อนภาษีบุคคล ธรรมดาได้ รัฐบาลประกาศให้มีวันหยุดต่อเนื่องเพิ่มขึ้น และการส่งเสริมกิจกรรมงานท่องเที่ยวไทยอย่างสม่ำเสมอของทาง ภาคเอกชนและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

13.0 12.0

สึนามิ

14.0

11.0 10.0 2547

2548

2549

2552

2553

2554F

จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ

ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 042

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

80.0

2550

2551

2552

2553

สึนามิ

90.0

ปิดสนามบิน

100.0

การเมือง

ล้านคนครั้ง

ปฏิวัติ

จำนวนครัÈงของคนไทย ที่ท่องเที่ยวภาย„นประเทศ

การเมือง และไข้หวัดระบาด

สำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในป 2554 คาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นจากป 2553 จากปัจจัยบวกหลายๆ ประการ ทั้งเรื่องเศรษฐกิจโดยรวมที่ปรับตัวดีขึ้น ความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีมากในช่วงท้ายป 2553 ที่จะส่งผลต่อเนื่องมายัง ในไตรมาสแรกของป 2554 การขยายตัวของสายการบินต้นทุนต่ำ อีกทั้งกรุงเทพฯ ยังได้รับการลงคะแนนเสียงจากผู้อ่านนิตยสาร ทราเวลแอนด์เลเชอร์ (Travel & Leisure) ให้เปนเมืองที่น่าท่องเที่ยวที่สุดในโลกประจำป 2553 โดยมีเชียงใหม่อยู่ในลำดับที่สอง ทั้งนี้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยคาดการณ์ว่าในป 2554 จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่จะเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย ทั้งสิ้นประมาณ 16.5 ล้านคน หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนร้อยละ 5 และคาดว่าจะสร้างรายได้ด้านการท่องเที่ยวเข้าประเทศ คิดเปนมูลค่า ประมาณ 600,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 จากป 2553 แต่อย่างไรก็ขึ้นอยู่กับความเสถียรภาพของสถานการณ์ทางการเมือง โดยในป 2554 คาดว่านักท่องเที่ยวชาวเอเชียตะวันออกยังคงเปนนักท่องเที่ยวที่ครองสัดส่วนมากที่สุดของจำนวนนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติทเี่ ข้ามาประเทศไทยเช่นเดียวกับป 2553 ทีป่ ระมาณร้อยละ 51 ของจำนวนนักท่องเทีย่ วทัง้ หมด และคาดว่านักท่องเทีย่ ว ชาวจีน ชาวรัสเชีย และชาวอินเดีย จะเปนภูมิภาคที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงเช่นเดิม ในขณะที่ทางด้านสภาอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยคาดการณ์การขยายตัวของจำนวนการท่องเที่ยวในประเทศของคนไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 7 หรือคิดเปน 97 ล้านคนครั้ง ในส่วนของอุปทานใหม่ของโรงแรมในระดับ International Chain และ Regional Chain ทีค่ าดการณ์วา่ จะเปดในป 2554 นัน้ ส่วนใหญ่จะเปนโรงแรมในระดับห้าดาว (Luxury) และระดับกลาง (Midscale) โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ ที่โรงแรมระดับกลาง (Midscale) ทยอยเปดตั้งแต่ปลายป 2553 และคาดว่าจะเสร็จอีกในป 2554 อีกหลายแห่ง ซึ่งเปนการรองรับความต้องการของ นักท่องเที่ยวจากทวีปเอเชียที่คาดว่าจะเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยเพิ่มขึ้น ในภาพรวมแล้ว คาดว่าในป 2554 เปนปที่มีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปที่ผ่านมา เนื่องจากประเทศไทยมีพื้นฐานที่ดีทั้งทางด้าน ชื่อเสียงทางการท่องเที่ยวที่มีมาอย่างยาวนาน ความเปนมิตรของคนไทย ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่สวยงาม รวมทั้งมีความคุ้มค่าในการใช้จ่าย สิ่งเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยสามารถเจริญเติบโตได้อย่างมั่นคง ต่อไปในอนาคต

70.0 60.0 50.0 2547

2548

2549

2554F

จำนวนครั้ง

ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา

043

ธุรกิจโรงแรม

Back


ธุรกิจพ◊Èนที่„ห้เ™่า บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม และสภาพการแข่งขัน ในช่วงครึ่งแรกของป 2553 สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศเปนปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจให้เช่าพื้นที่ สำนักงาน และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ผู้เช่าพื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงมุ่งเน้นที่จะต่ออายุสัญญาเช่าเดิมพร้อมกับการขอลด อัตราค่าเช่ามากกว่าที่จะย้ายไปสถานที่ใหม่ ในไตรมาส 3 ต่อเนื่องถึงไตรมาส 4 สถานการณ์การทางการเมืองยังส่งผลกระทบ ต่อเนือ่ งกับธุรกิจการให้เช่าพืน้ ทีส่ ำนักงาน อุปสงค์ยงั คงไม่มคี วามเคลือ่ นไหว การเช่าพืน้ ทีส่ ำนักงานในอาคารทัง้ เกรด A และเกรด B ไม่มกี ารขยายตัว ประกอบกับสถานการณ์เศรษฐกิจทัว่ โลกยังคงทรงตัวและหลายประเทศประสบภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ซึง่ จะต้องใช้เวลา เพื่อฟนฟู ซึ่งเปนเหตุให้การลงทุนจากต่างประเทศอยู่ในช่วงชะลอตัว

อาคารสำนักงาน ภาพรวมของตลาดพื้นที่ให้เช่าอาคารสำนักงานในเขตกรุงเทพมหานคร ช่วงสุดท้ายของป 2553 พื้นที่ให้เช่ารวม 7.98 ล้านตารางเมตร เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับ 7.86 ล้านตารางเมตรในช่วงเดียวกันของปก่อน พื้นที่ให้เช่า 2.81 ล้านตารางเมตร อยู่ในทำเลย่านใจกลางเมือง มีการเช่าพื้นที่ไปแล้ว 2.50 ล้านตารางเมตร หรือประมาณร้อยละ 88.85% ส่วนที่เหลือ 0.31 ล้านตารางเมตร หรือประมาณร้อยละ 11.15% ยังคงเปนพื้นที่ว่าง (ข้อมูลจาก CB Richard Ellis (Thailand) Co.,Ltd.) อัตราค่าเช่าพื้นที่อาคารสำนักงานครึ่งหลังของป 2553 ปรับลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปก่อน อัตราค่าเช่าเฉลี่ย ของพื้ น ที่ อ าคารสำนั ก งานเกรด A อยู่ ที่ 680 บาทต่ อตารางเมตร ส่วนอัตราค่าเช่าเฉลี่ยของพื้นที่อาคารสำนักงานเกรด B (อาคารสำนักงานของบริษัทจัดอยู่ในกลุ่มเกรด B) ที่อยู่กลางใจเมืองลดลงถึง 5.5% อยู่ที่ 548 บาทต่อตารางเมตรจาก 578 บาทต่อตารางเมตร ปัจจัยสำคัญที่ทำให้อัตราค่าเช่าต่อตารางเมตรลดลงต่อการเช่าพื้นที่อาคารสำนักงานเกรด A และเกรด B เมื่อเทียบกับปก่อนคืออุปสงค์ที่ไม่ขยายตัว ผู้เช่าเดิมลดขนาดพื้นที่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ซึ่งเปนเหตุผลหลักที่ทำให้เจ้าของพื้นที่ ปรับอัตราค่าเช่าลงเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจที่ยังไม่เอื้ออำนวยต่อการขยายพื้นที่ ในช่วงปลายไตรมาสที่ 4 อุปทานยังคงมีเหลืออยู่ประมาณ 1.10 ล้านตารางเมตร และในป 2554 จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้นอีก ประมาณ 114,480 ตารางเมตร ในจำนวนทั้งหมดนี้อยู่กลางใจเมือง และเปนที่คาดหวังว่าในป 2554 เศรษฐกิจโลกจะขยับตัวไปใน ทิศทางที่ดีขึ้น การขยายกิจการหรือการลงทุนที่ชะลอตัวจะกลับมาอีกครั้ง ซึ่งเปนผลดีต่อภาพเศรษฐกิจโดยรวมโดยเฉพาะ การให้เช่าพื้นที่สำนักงานย่านใจกลางเมือง อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศไทยยังคงเปนปัจจัยสำคัญ ในสายตาของนักลงทุนจากต่างประเทศที่จะเลือกเข้ามาลงทุนในประเทศไทย

044

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ศูนย์การค้า สำหรับอุปทานของพื้นที่ศูนย์การค้าเมื่อสิ้นป 2553 อยู่ที่ 5.55 ล้านตารางเมตร เพิ่มขึ้นจากปก่อนประมาณ 0.17 ล้านตาราง เมตร หรือประมาณร้อยละ 3.0 ในจำนวนที่เพิ่มขึ้นนี้อยู่บริเวณรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งส่วนใหญ่เปนศูนย์การค้าขนาดเล็ก (Community Mall) ที่จำหน่ายสินค้าและบริการเฉพาะแก่ตลาดกลุ่มเปาหมาย อัตราค่าเช่าพื้นที่ของศูนย์การค้าเกรด A ชั้น Ground เริ่มต้นที่ 1,200 - 3,200 บาท และ 700 - 2,600 บาทสำหรับพื้นที่ชั้นอื่นๆ ส่วนพื้นที่ศูนย์การค้าเกรด B ชั้น Ground อัตราค่าเช่าพื้นที่โดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1,000 - 2,500 บาท และ 400 - 2,100 บาทสำหรับพื้นที่ชั้นอื่นๆ สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศและเศรษฐกิจโลกยังคงเปนปัจจัยหลักของผูบ้ ริโภคและผูป้ ระกอบการในการจับจ่าย และลงทุนด้วยความระมัดระวัง อย่างไรก็ดี เปนที่คาดหวังว่าในป 2554 สถานการณ์ทางเศรษฐกิจจะปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น อันจะเปนผลดีต่อตลาดค้าปลีกและสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ประกอบการในการตัดสินใจลงทุนหรือขยายกิจการ และความต้องการ เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้าจะมีแนวโน้มดีขึ้นเช่นกัน

045

ธุรกิจพื้นที่ให้เช่า

Back


ปíจจัยความเสี่ยง บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ แต่งตั้งคณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่ในการกำกับดูแล และประเมินแผนความเสี่ยง อย่างเปนระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารที่กำกับดูแลสายงานสูงสุด เปนเจ้าของความเสี่ยง และมีหน้าที่ใน การวิเคราะห์ความเสี่ยงและหาแนวทางแก้ไข ประเภทความเสี่ยงและแนวทางการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนมาตรการรองรับ ผลกระทบ พอสรุปได้ดังต่อไปนี้

1. ความเสี่ยงดานการบริหาร การจัดการกรณีตองพึ่งพาผูบริหารจากภายนอก สำหรับกิจการโรงแรม บริษัทไม่มีนโยบายในการบริหารกิจการโรงแรมด้วยตนเอง แต่มีนโยบายในการกระจายความเสี่ยงโดยการคัดเลือก Brand และบริษัทผู้บริหารที่แตกต่างกัน โดยจะว่าจ้างบริษัทผู้บริหารโรงแรมระดับนานาชาติ (International Hotel Operator) อาทิ Hyatt International, Marriott International, Accor Hospitality, Six Senses Resorts and Spas และ IHG InterContinental Hotels Group ซึ่งเปนองค์กรที่มีชื่อเสียง ประสบการณ์ มีระบบงานและความชำนาญในตลาดแต่ละประเภท อย่างไรก็ตาม สัญญาจ้างบริหารเปนสัญญาระยะยาวจึงอาจมีความเสี่ยงที่ชื่อเสียงของ Brand หรือความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล ลดลง และอาจส่งผลต่อผลการดำเนินงานโรงแรมของบริษัทได้ บริษัทจึงได้กำหนดเงื่อนไขในสัญญาจ้างบริหารที่สามารถยกเลิก สัญญาจ้างบริหารหากได้รับผลกระทบที่มีนัยสำคัญอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริษัทสามารถจัดหาผู้บริหารใหม่ในเครือข่ายอื่นที่มี ชื่อเสียงมาบริหารแทนได้

2. ความเสี่ยงจากอุปสงคที่ลดลง และอุปทานในธุรกิจที่เพิ่มขึ้น ในส่วนของความเสี่ยงทางด้านการลดลงหรือเพิ่มขึ้นที่ไม่สัมพันธ์กันของอุปสงค์และอุปทานในตลาด เปนเหตุให้มี สภาพการแข่งขันสูงเพื่อช่วงชิงส่วนแบ่งทางตลาด ซึ่งส่งผลกระทบกับรายได้และกำไรจากการดำเนินธุรกิจโรงแรม บริษัทได้ว่าจ้าง ผูบ้ ริหารโรงแรมระดับนานาชาติ เพือ่ บริหารงานโรงแรมของบริษทั ซึง่ แต่ละแห่งมีจดุ แข็งในกลุม่ ตลาดตามแต่ละโรงแรมทีบ่ ริหารอยู่ และยั ง มี ฐ านลู ก ค้ า ของตนเองทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ รวมทั้ ง ได้ ผ่ า นสถานการณ์ ต่ า งๆ ที่ เ ป น ความเสี่ ย งต่ อ รายได้ และกำไรของการดำเนินกิจการมาแล้วทั่วโลก จึงมีความได้เปรียบเชิงแข่งขันต่อคู่แข่งในธุรกิจหลายๆ ด้าน นอกจากนี้ทางบริษัท มีการเตรียมการรองรับความเสี่ยงด้วยการปรับปรุงและเพิ่มจุดแข็งของโรงแรมอย่างต่อเนื่อง และมีมาตรการเพื่อลดค่าใช้จ่าย ในส่วนต่างๆ รองรับอยู่เสมอ บวกกับกลยุทธ์ในการกระจายการลงทุนไปในโรงแรมระดับต่างๆ ในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญที่ยังมี ระดับการแข่งขันที่ไม่รุนแรง ทำให้สามารถจัดการกับความเสี่ยงนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. ความเสี่ยงจากปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบกับทรัพยสิน และการดำเนินธุรกิจ ปัจจัยภายนอกต่างๆ ที่จะมีผลกระทบกับทรัพย์สินและการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมและอาคารสำนักงาน รวมทั้ง ร้านค้าเช่า เช่น ผลกระทบจากสิง่ แวดล้อม ภัยธรรมชาติตา่ งๆ การก่อการร้าย หรือความไม่สงบทางการเมืองนัน้ เปนเรือ่ งทีไ่ ม่สามารถ คาดการณ์ล่วงหน้าหรือปองกันการเกิดเหตุการณ์เหล่านี้ อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากการออกมาตรการที่รัดกุมต่างๆ โดยมีการเพิ่ม ลำดับความเข้มงวดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ตั้งแต่การตรวจค้น จำกัดการเข้าออกในอาณาเขต ติดตั้งสิ่งกีดขวางทาง เข้าออกอาคาร ไปจนถึงการอพยพย้ายคนออกจากสถานที่เพื่อปองกันความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลแล้ว บริษัทยังได้จัดทำ ประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทุกประเภท (All Risks) คุ้มครองการขาดรายได้จากการหยุดดำเนินธุรกิจ (Business Interruption) และคุม้ ครองภัยจากการก่อการร้าย (Terrorism) เพือ่ ลด/บรรเทาความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยตรงกับทรัพย์สนิ และการดำเนินงาน ของบริษัท

046

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

4. ความเสี่ยงจากปจจัยภายนอกที่มีผลกระทบทำใหรายไดของธุรกิจโรงแรมลดลงอยางไมปกติ ปัจจัยภายนอกที่จะมีผลกระทบทำให้รายได้ของธุรกิจโรงแรมลดลงอย่างไม่ปกติ ตัวอย่างเช่น ความไม่สงบทางการเมือง การเกิดโรคติดต่อ ซึ่งเปนเหตุการณ์ที่บริษัทไม่สามารถควบคุม และ/หรือปองกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ เหตุการณ์เหล่านี้หากเกิดขึ้นแล้ว จะส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในประเทศลดลงอย่างมาก และมีผลกระทบโดยตรงต่อรายได้และกำไรของธุรกิจโรงแรม อย่างไรก็ดี จากเหตุการณ์ในอดีตที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าเหตุการณ์เหล่านี้จะส่งผลกระทบในระยะสั้นประมาณ 3 - 9 เดือน นโยบาย ในการจัดการรองรับความเสี่ยงของบริษัทคือการมีระบบที่มีความคล่องตัว มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางการ ตลาด และปรับลดหรือเลื่อนค่าใช้จ่ายในส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินต่อไปได้

5. ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราดอกเบีย้ นีเ้ กิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ ในตลาดในอนาคต ซึง่ การเปลีย่ นแปลง ของอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัท เพื่อเปนการบริหารความเสี่ยง เนือ่ งจากอัตราดอกเบีย้ อยูใ่ นช่วงขาขึน้ ในป 2553 บริษทั ได้เข้าทำสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ สำหรับเงินกูย้ มื ระยะยาวบางส่วน จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่เปนระยะเวลา 4 ป ส่งผลให้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีเงินกู้ยืมที่มีอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวอยู่ประมาณร้อยละ 68 ของเงินกู้ยืมระยะยาวทั้งหมด และอัตราดอกเบี้ยคงที่อยู่ประมาณร้อยละ 32 ของเงินกู้ยืม ระยะยาวทั้งหมด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวของบริษัทส่วนใหญ่อิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะยาว (MLR) ลบด้วยอัตราร้อยละ 1.5 - 2.0 ต่อป และบางส่วนอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำประเภท 6 เดือน บวกด้วยร้อยละ 2 ต่อป

6. ความเสี่ยงดานบุคลากร บริษัทได้ให้ความสำคัญในเรื่องการพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคลเปนอย่างมาก จะเห็นได้จากการที่บริษัทได้ดำเนิน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงผู้บริหารให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ช่วงปที่ผ่านๆ มา การเพิ่มบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถใน ทุกระดับในส่วนงานที่มีการขยายตัว การพัฒนาความรู้ความสามารถทักษะบุคลากรที่มีอยู่อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การสูญเสีย ผู้บริหารระดับสูงหรือบุคลากรที่สำคัญถือเปนอีกความเสี่ยงที่สำคัญของบริษัท บริษัทจึงได้มีการจัดทำแผนสืบทอดและพัฒนา ตำแหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดยมี ค ณะกรรมการพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และกำหนด ค่าตอบแทนเปนผู้กำกับดูแล สำหรับการพัฒนาตำแหน่งบริหารอื่นเปนหน้าที่ของผู้บริหารตามสายบังคับบัญชาที่จะกำกับดูแล การพัฒนาบุคลากรให้สามารถขึ้นมาทดแทน โดยมีการพิจารณาลงไป 3 ระดับ จากระดับรองกรรมการผู้จัดการถึงผู้ที่จะขึ้นมา ระดับผู้อำนวยการฝาย นอกจากนี้การเปนบริษัทที่บริหารงานโดยผู้บริหารมืออาชีพ ดำเนินการภายใต้ระบบงานที่มีประสิทธิภาพ ไม่ยึดติดกับความสามารถหรือการตัดสินใจของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีการกระจายความรับผิดชอบและการตัดสินใจที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการ จึงเปนโครงสร้างการบริหารงานที่ช่วยลดความเสี่ยงและผลกระทบหากมีการสูญเสีย บุคลากรทีส่ ำคัญ นอกจากนี้การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อในการทำงานให้มีบรรยากาศที่ดี เน้นการทำงานแบบเปนทีม การทำงานด้วย คุณธรรมจริยธรรม จะช่วยให้บริษัทเปนองค์กรที่เปนที่สนใจแก่ผู้มีความรู้ความสามารถมืออาชีพและมีคุณธรรม สุดท้ายนโยบาย การให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่แข่งขันได้ตามความรู้ความสามารถ การให้ผลตอบแทนพิเศษ (โบนัส) ตามผลงานที่เชื่อมโยง กับยุทธศาสตร์ขององค์กร และการให้สิทธิซื้อหุ้นในระยะยาวแก่คณะผู้บริหารก็เปนอีกส่วนที่ทำให้บุคลากรมีความมุ่งมั่นและรู้สึก ร่วมเปนเจ้าของ ทำงานให้บริษัทอย่างมีประสิทธิภาพ และเปนกลไกที่สำคัญเพื่อรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพให้ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และลดความเสี่ยงในเรื่องบุคลากรได้อีกทางหนึ่ง

047

ปัจจัยความเสี่ยง

Back


รางวัลด้านบรรษัทภิบาล บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ป 2553 • ได้รับรางวัลการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2553 “ดีเยี่ยม-สมควรเปนตัวอย่าง” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2553 • ได้รับรางวัล “บริษัทที่มีการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลดีเลิศ ป 2553” โครงการรายงานการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน • ได้รับรางวัล “บริษัทจดทะเบียนดีเด่นด้านนักลงทุนสัมพันธ์” โครงการ SET Awards 2010 • เปน 1 ใน 2 บริษัทที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล “รายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น” โครงการ SET Awards 2010 ป 2548 - 2552 • “ควอไทล์ 2 ป 2548” (2nd Quartile”, Top rating = 1st Quartile) โครงการรายงานการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน • ได้รับรางวัลการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2549 “ดี” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2549 • ได้รับรางวัล “บริษัทที่มีการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลดีมาก ป 2549 โครงการรายงานการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน • การจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2550 “ดีมาก” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2550 • ได้รับรางวัล “คณะกรรมการแห่งป - ดีเด่น” 2549/50 โครงการประกาศเกียรติคุณคณะกรรมการแห่งป • ได้รับรางวัล “บริษัทที่มีการปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาลดีมาก ป 2551” โครงการรายงานการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน • การจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2551 “ดีเยี่ยม” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2551 • ได้รบั รางวัล “บริษทั ทีม่ กี ารปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาลดีเยีย่ ม ป 2552” โครงการรายงานการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน • การจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2552 “ดีเยี่ยม” โครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำป 2552 • เปน 1 ใน 3 บริษัทที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล “บริษัทจดทะเบียนดีเด่นด้านนักลงทุนสัมพันธ์” โครงการ SET Awards 2009

048

Excellent CG Report 2009/2010

Back


À≈—°∫√√…—∑¿‘∫“≈∑’Ë¥’ ´‘° 凴âπ å ·´ß™—«√’Ë ¿Ÿ‡°Áµ

Back


π‚¬∫“¬∫√√…—∑¿‘∫“≈ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

บริษัทบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล การกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ดำเนินธุรกิจดวย ความถูกตองตามกฎหมาย ยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม การเปดเผยขอมูลดวยความโปรงใสตรงไปตรงมา พัฒนาระบบควบคุม ภายใน และมีกลไกการตรวจสอบที่ดีและเหมาะสม การดำเนินงานคำนึงถึงความรับผิดชอบตอผูถือหุนและผูที่มีสวนไดเสียทุกฝาย โครงสรางคณะกรรมการบริษทั กลไกการกำกับดูแล การบริหารงาน แสดงใหเห็นถึงศักยภาพและความรับผิดชอบในเรือ่ งตางๆ ไดดี ซึ่งนอกจากจะเปนไปตามกรอบมาตรฐานที่ดีของ OECD (Organization for Economic Cooperating and Development) แลว บริษัทยังไดศึกษาและนำแนวปฏิบัติที่ดีทั้งในประเทศและตางประเทศนำมาปฏิบัติ อาทิ การจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอย 4 ชุด เพื่อชวยกำกับดูแลการบริหารจัดการในแตละเรื่องใหละเอียดมากขึ้น ตลอดจนการกำหนดโครงสรางกรรมการ ซึ่งมีกรรมการอิสระ มากถึงรอยละ 50 และในการกำกับดูแลเรื่องบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริษัทไดตั้งคณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล (Nominating and Corporate Governance Committee หรือ NCG) เพื่อกำหนดนโยบาย และทบทวนแนวปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหผูมีสวนไดเสียทุกฝายมั่นใจวาบริษัทมีมาตรฐานที่ดีทันสมัยและมีการนำไปปฏิบัติจริงอยางเปนรูปธรรม ซึ่งการดำเนินการ ตามนโยบายนั้น ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญเปนผูนำในการเสริมสรางธรรมาภิบาลแกพนักงานทุกระดับ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญกำหนดใหมีคูมือจริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct) ตามนโยบายของ คณะกรรมการบริษัท เพื่อสื่อสารใหพนักงานทุกระดับทราบ และกำหนดเปนแนวปฏิบัติงานภายใตกรอบนโยบายธรรมาภิบาล ที่ชัดเจน โดยมีการชี้แจงและสรางความเขาใจกับพนักงานผานการประชุมพนักงาน (Town Hall Meeting) ซึ่งกำหนดไวไมนอยกวา ปละ 2 ครั้ง นอกจากนี้บริษัทยังไดประกาศหลักบรรษัทภิบาลสำหรับผูบริหาร 10 ประการ เพื่อใชเปนแนวทางในการทำงานดวย คุณธรรมและจริยธรรม (With Integrity) และเปน 1 ใน 4 ของวัฒนธรรมองคกร บริษัทไดมุงเนนใหพนักงานมีความเขาใจ การดำเนินธุรกิจที่คำนึงถึงผลประโยชนตอผูมีสวนไดเสียทุกฝายอยางเหมาะสม (Corporate Social Responsibility: CSR) ไมวาจะเปนผูถือหุน พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกคา เจาหนี้ คูคา คูแขงขัน รัฐ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม บริษัททำการ สำรวจความคิดเห็นกับผูมีสวนไดเสียอยางสม่ำเสมอ เพื่อนำขอเสนอแนะจากผลการสำรวจมาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงาน ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและยังใชเปนปจจัยหนึ่งในการประเมินผลการทำงานประจำปของพนักงานทุกระดับ

ERWûs °—∫ CSR ‡√‘Ë¡µâπÕ¬à“߉√ เริม่ ทีผ่ นู ำขององคกรตองมีความเขาใจในกรอบ CSR ทีถ่ กู ตอง แกนของ CSR คือ การประพฤติปฏิบตั ติ นอยางมีความรับผิดชอบ ดวยความจริงใจตอผูที่มีสวนไดเสียทุกฝาย ไมวาจะเปนผูถือหุน พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกคา เจาหนี้ คูคา คูแขงขัน รัฐ ชุมชน สังคม หรือกลุมอุตสาหกรรมที่เราอยูรวมกัน ป จ จุ บั น คนทั่ ว ไปถ า ได ยิ น คำว า CSR ยั ง เข า ใจว า CSR คื อ กิ จ กรรมที่ อ งค ก รทำเพื่ อ ประโยชน ต อ ชุ ม ชน สั ง คม และ สิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการบริจาคเงินรูปแบบตางๆ การรณรงคอนุรักษสิ่งแวดลอม การสนับสนุนการกีฬา หรือการลงมือสราง ที่อยู สรางโรงเรียนแกผูดอยโอกาส การปลูกปาหรือรณรงคใชวัสดุที่ไมทำลายสิ่งแวดลอม หรือพูดภาษางายๆ วาโครงการคืนกำไร ใหแกสังคม ความจริงแลวกิจกรรมตางๆ เหลานั้นเปนเพียงสวนเล็กๆ ของ CSR การกำหนดนโยบายและยุทธศาสตรตลอดจนแผนการดำเนินงาน ไดคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางออม ที่อาจเกิดกับผูอื่น มิใชคำนึงถึงแตประโยชนและผลกำไรใหแกผูถือหุนแตอยางเดียว คณะกรรมการบริษัทตองมีความเห็น ในทิศทางเดียวกันในการกำหนดนโยบายที่สรางความสมดุลแกผูที่มีสวนเกี่ยวของตางๆ ไมเฉพาะในสถานการณที่ทุกอยางดี ธุรกิจมีกำไร แตตองสามารถปฏิบัติไดจริงตลอดเวลาแมในชวงภาวะวิกฤต เรามีความเชื่อมั่นวา CSR เปนแนวทางสูความสำเร็จที่ยั่งยืนในระยะยาว เพราะการเปนองคกรที่ไดรับการยอมรับ โดยผูที่มี สวนไดเสียทุกฝายอยากที่จะติดตอ อยากทำธุรกรรมดวย ตัวอยางเชน การรักษาพนักงานที่ดีไวได ตองทำใหพนักงานมีความสุข 050

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

Excellent CG Report 2009/2010

ในการทำงาน คนที่ดีมีความสามารถอยากมารวมงานดวย ลูกคามีความพึงพอใจ อยากมาใชสินคาและบริการอยางตอเนื่อง คูคา ตางมีความสบายใจที่จะคาขายดวยความตรงไปตรงมาโปรงใส ใหราคาและบริการที่ดีที่สุด เพราะการตัดสินใจจะซื้อจะขายเปนไป อยางมีเหตุผลตามขอเท็จจริง ไมตองวิ่งเตน ผูถือหุนรายยอย ผูถือหุนรายใหญมีความสบายใจที่ไดรับขอมูลที่เทาเทียมกันแบบ ตรงไปตรงมา ทันตอเหตุการณสม่ำเสมอ ทั้งในภาวะที่ผลประกอบการดีและไมดี เจาหนี้มีความมั่นใจในความโปรงใสของขอมูล ที่ไดรับ มีความรับผิดชอบตอการชำระหนี้ และการปฏิบัติตามสัญญากูยืมเงิน การเปนนิติบุคคลที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมายของ หนวยงานรัฐ มีการบันทึกบัญชีถูกตองตรงไปตรงมา เสียภาษีครบถวน ถาทุกองคกรสามารถดูแลรับผิดชอบผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ไดเปนอยางดี สังคมและเศรษฐกิจก็จะเขมแข็ง มีประสิทธิภาพ และจะเห็นวากิจกรรมคืนกำไรใหสังคมที่สวนใหญเขาใจวาคือ CSR กลับเปนประเด็นที่ไมสำคัญเลยหากองคกรยังไมไดใหความสำคัญ หรือเอาเปรียบผูมีสวนไดเสียอื่น เรามุงมั่นทำเรื่องนี้อยางตอเนื่องมากวา 5 ป เริ่มจากการสรางความเขาใจที่ถูกตองภายในองคกร ที่สำคัญจะทำอยางไรที่จะ หลอหลอมใหทุกคนในองคกรสามารถนำไปปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรมและเปนธรรมชาติ คือเปนปกติทุกวัน เราไดยกเรื่องนี้เปน สวนหนึ่งของพันธกิจ กำหนดเปน ERAWAN MOTTO 1 ใน 4 ของวัฒนธรรมองคกร ถือเปน DNA ของเรา เรายังกำหนดใหเปน สวนสำคัญของยุทธศาสตรองคกร ที่คำนึงถึงความพอใจของผูมีสวนไดเสียทุกฝายเปนสวนสำคัญ ในการประเมินผลงานพนักงาน เพื่อจัดทำ Balance Score Card เชื่อมโยงไปยังการประเมินผลการดำเนินงานของทุกคนในองคกร การหลอหลอมและสรางสำนึก ความรับผิดชอบตอผูที่มีสวนไดเสียทุกฝาย เปนกระบวนการที่ใชเวลา ไมสามารถบังคับได จะสำเร็จไดเมื่อทุกคนในองคกรทำ และเห็นผลดีที่เกิดขึ้นกับองคกร กับงานที่รับผิดชอบดวยตนเอง จึงเกิดความเชื่อ ความรูสึกมั่นใจและอยากทำ เมื่อทำแลวรูสึกดี มีประโยชน มีความสุขที่ไดทำ ที่สำคัญทุกคนในองคกรพูดจาภาษาเดียวกัน เราเชื่อมั่นและมุงมั่นในเสนทางเดินที่มีคุณธรรม มีความถูกตอง แมอาจไมเห็นผลในระยะสั้นก็ตาม เพื่อใหความสำเร็จของเรามีความยั่งยืน และเปนความสำเร็จที่มาพรอมกับ คุณธรรมจริยธรรมตาม Motto ของเรา สิ่งเหลานี้ไมใชรางวัลใดๆ ที่ไดรับหรือจะไดรับ แตตองเปนของจริงมีอยูจริงในองคกร คนที่มาติดตอกับองคกรสัมผัสไดอยางตอเนื่อง ไมตองอาศัยการโฆษณาประชาสัมพันธ เพราะผูมีสวนไดเสียทุกฝายที่ติดตอกับ องคกรเกิดความพึงพอใจ คือเครือขายการประชาสัมพันธที่มีประสิทธิภาพที่สุด

ªïπ’È∑”Õ–‰√摇»… ปนี้เปนปที่เลวรายของประวัติศาสตรอุตสาหกรรมโรงแรมและทองเที่ยว ดังนั้น บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) มีรายไดหลักจากการประกอบธุรกิจโรงแรมประมาณ 90% เรามีโรงแรมที่เพิ่งเปดดำเนินการไมถึง 2 ป ถึง 5 โรงแรม นอกจากนี้ เรามี 3 โรงแรมที่ตองหยุดใหดำเนินการในชวงการชุมนุมประมาณ 2 เดือน เราประสบภาวะขาดทุนอยางหนัก แถมยังถูกกลาวหา วาใหการสนับสนุนกลุมเสื้อแดงระหวางการชุมนุม ซึ่งเกิดจากความเขาใจที่ไมถูกตองในภาวะที่คนทั่วไปไมยอมรับฟงขอเท็จจริง เราคิดวาเปนการไมยากทีจ่ ะดำเนินนโยบายดาน CSR ในขณะทีภ่ าวะทุกอยางดี การดูแลผูถ อื หุน พนักงาน ครอบครัว ลูกคา เจาหนี้ คูคา คูแขงขัน รัฐ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม หรือกลุมอุตสาหกรรมที่เราอยูรวมกัน แตในภาวะวิกฤต เราคิดวา เราได แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ความสม่ ำ เสมอในการดำเนิ น งานตามนโยบาย และแนวปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย CSR มาใช อ ย า งเป น รูปธรรม โดยเฉพาะในภาวะวิกฤตอยางปนี้ เราไดมีการเปดเผยขอมูลผลกระทบที่ตรงไปตรงมา โปรงใส รวดเร็วทันตอเหตุการณ แกผูลงทุน เจาหนี้ และสาธารณชน การออกมาตรการผอนคลายดานการเงินกับลูกคาที่ไดรับผลกระทบ การเปนศูนยกลางรวบรวม ขอมูลโรงแรมคูแขงทั้ง 10 แหง ที่ตางไดรับผลกระทบโดยตรงเชนเดียวกับเรา เรารวมเปนตัวแทนและแกนนำในการเสนอและ เจรจาหาทางเยี ย วยาผู ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากรั ฐ บาล การตั ด สิ น ใจป ด รั บ ลู ก ค า และการให บ ริ ก ารของโรงแรมเพี ย งไม กี่ วั น หลังจากสถานการณของการชุมนุมดูจะยืดเยื้อ เปนเพียงเพราะเราคำนึงถึงความปลอดภัยของลูกคา พนักงาน ทรัพยสิน และ ตอบสนองมาตรการในการรักษาความสงบของรัฐ เราไดดูแลพนักงานโดยรักษาสภาพการเปนพนักงาน ตลอดจนการจัดการ 051

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


ฝกอบรมเพื่อสรางขวัญกำลังใจ และความเชื่อมั่นตอองคกร การพิจารณาใหผลตอบแทนในชวงที่ปดกิจการชั่วคราวซึ่งสอดคลอง กับโรงแรมอื่นที่ไมไดรับผลกระทบ การชวยดูแลประสานงานใหแกคูคา ลูกคา ในการจัดหาสถานที่ทำงาน การจายชำระเงินใหแก คูคาตามกำหนดเวลาเดิมทุกราย โดยไมมีการขอขยายเวลาในการชำระหนี้ อยางไรก็ตาม ในปนี้แมเกิดภาวะวิกฤตการณตางๆ มากมาย เรายังดำเนินนโยบายการทำกิจกรรมเพื่อประโยชนตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม (Corporate Contributions) ภายใต งบประมาณที่จำกัด ไดแก การปรับปรุงทางเทาบริเวณใตทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ถนนสุขุมวิท) การรวมปลูกปาในโครงการ ดิ เอราวัณ รักษชาง “ปลูกปาใหชาง” ณ เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา จังหวัดลพบุรี และสรางฝายชะลอน้ำ ซึ่งเปนตัวอยาง การเขามามีสวนรวมกิจกรรมของพนักงานและครอบครัว แมพนักงานจะตองรับภาระคาใชจายบางสวนก็ตาม เราคิดวากวา 5 ปที่ผานมา เรานาจะเดินมาถูกทาง ถึงแมวาเรื่อง CSR จะเปนเรื่องที่ทำไดโดยไมมีที่สิ้นสุด เรายังคงนโยบาย ที่จะพัฒนาใหดีขึ้นอยางตอเนื่องในทุกๆ ดาน เรามุงมั่นและเลือกที่จะเดินเสนทางนี้ดวยความเชื่อมั่น เรากำหนดนโยบายและงบประมาณที่ชัดเจนในการทำกิจกรรมเพื่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม โดยตั้งงบประมาณไว ประมาณรอยละ 0.5 ของกำไรสุทธิ สำหรับโครงการตางๆ และเนื่องจากเรามีงบประมาณไมมาก เราจึงมุงเนนแนวคิดและ การดำเนิ น งานที่ จ ะเกิ ด ประโยชน ชั ด เจน และสามารถทำต อ เนื่ อ ง วั ด ผลได เราไม น ำกิ จ กรรมเพื่ อ ชุ ม ชน สั ง คม และ สิ่งแวดลอม มาใชเปนเครื่องมือในการประชาสัมพันธ หรือเพื่อสงเสริมการสรางรายได ผลกำไร กิจกรรมเพื่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอมของเราคือการใหโดยไมคาดหวังผลทางการคา คือการตอบแทนสังคมทีเ่ ราอยูเ ทาทีเ่ ราพอจะกระทำได แมจะอยูในชวงภาวะวิกฤต ที่ผานมาเราแบงกิจกรรมกลุมได 4 ประเภท 1. กิจกรรมสงเสริมอุตสาหกรรมทองเที่ยว ประกอบดวย ë โครงการ Welcome Guide to Thailand ซึ่งสอนภาษาอังกฤษฟรีแกผูขับรถรับจาง (แท็กซี่) ซึ่งทำมาตั้งแตป 2551 จนถึงปจจุบันเปนรุนที่ 7 ë โครงการเผยแพรศิลปวัฒนธรรมไทยในรูปปฏิทิน ซึ่งไดรับผลตอบรับดี โดยโครงการนี้ไดรับพิจารณารางวัลจาก สมาคมนักประชาสัมพันธแหงประเทศไทย ประกอบดวย • ปฏิทินป 2550 จากภาพถายที่ชนะการประกวดโครงการ ดิ เอราวัณ รักษชาง 12 ภาพ ไดรับรางวัลรองชนะเลิศ สุริยศศิธร ประเภทปฏิทินตั้งโตะ • ปฏิทินป 2551 จากภาพถายพุทธประวัติและพุทธชาดก โครงการ Thai Mural Painting 12 ภาพ ไดรับรางวัล ชนะเลิศ สุริยศศิธร ประเภทปฏิทินตั้งโตะ • ปฏิทินป 2552 จากภาพถายที่ชนะการประกวดโครงการ The Land of Smiles 12 ภาพ ไดรับรางวัลชนะเลิศ สุริยศศิธร ประเภทปฏิทินตั้งโตะ • ปฏิทนิ ป 2553 The Heart of Thai Community เพือ่ ถายทอดวิถชี วี ติ และวิถชี มุ ชนผานตลาดศูนยกลางชุมชน 12 แหง • ป 2554 เรามีนโยบายลดการใชกระดาษ จึงงดการทำปฏิทิน 2. กิจกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนใกลเคียงกับทรัพยสินของบริษัท และชุมชนทั่วไป ประกอบดวย ë โครงการรอบบานนามอง มีวัตถุประสงคเพื่อปลูกฝงจิตสำนึกในการรักษาความสะอาด เนนการมีสวนรวมของ พนักงาน พนักงานบริษัทในเครือ และกลุมคูคา • โครงการปรับปรุงทางเทาใตทางพิเศษเฉลิมมหานคร โดยรวมกับสำนักงานเขตปทุมวัน และการทางพิเศษ แหงประเทศไทย เพื่ออำนวยความสะดวกในการสัญจรแกบุคคลทั่วไป 052

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

• โครงการปรับปรุงภูมิทัศนสวนหยอมเกาะกลางถนนสุขุมวิท (เพลินจิต-นานา) โดยรวมกับสำนักงานเขตคลองเตย

เพื่อปรับปรุงภูมิทัศนใหสวยงาม ë กิจกรรมเติมฝนปนรัก • ครั้งที่ 1 “เลานิทานใหนองฟง” ณ บานเด็กตาบอดผูพิการซ้ำซอน เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2553 • ครั้งที่ 2 “เติมรักระหวางวัย จากหนูนอยสูคุณยาย” ณ สถานสงเคราะหคนชราบานบางแค 2 เมื่อวันที่ิ 8 เมษายน 2553 • ครัง้ ที่ 3 “ภารกิจรวมใจชวยโรงเรียนหลังน้ำลด” ณ โรงเรียนวัดหนาตางใน อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2553 ë โครงการเอราวัณรวมใจชวยผูประสบภัยน้ำทวม รวมกับพนักงานของบริษัทบริจาคเงินเพื่อนำไปซื้อเครื่อง อุปโภคบริโภคมาจัดทำถุงยังชีพ เพื่อชวยผูประสบอุทกภัยจำนวน 333 ถุง โดยบริจาคผานไทยทีวีสีชอง 3 ซึ่งมี ความพรอมในการแจกจายใหถึงมือผูประสบภัยอยางรวดเร็ว 3. กิจกรรมที่สงเสริมการลดใชพลังงาน และรักษาสิ่งแวดลอม ประกอบดวย ë โครงการขยะแลกไข จัดขึ้นทุกๆ 2 เดือนเปนประจำทุกป ตั้งแตป 2550 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการคัดแยกขยะ และใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการเชิญชวนพนักงานและบุคคลทั่วไปนำของเหลือใช เลิกใช หยุดใช นำมาแลกไข เพื่อลดปริมาณขยะ ë Let’s Green เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหความรูเรื่องพลังงานและสิ่งแวดลอมกับพนักงาน ผูเชาพื้นที่ภายในอาคาร เพลินจิต เซ็นเตอร มี 2 โครงการ ไดแก โครงการรวมใจใชซ้ำ คัดแยกขยะอยางถูกวิธี และโครงการการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยภาพที่ใชในการรณรงคบางสวนไดรับความอนุเคราะหจากกลุม Green Peace ซึ่งจะนำไปติดไวตามสวนตางๆ ของอาคาร เชน ประตูลิฟตโดยสาร หองน้ำภายในอาคาร เปนตน 4. โครงการอนุรักษชางไทย โครงการ ดิ เอราวัณ รักษชาง “ปลูกปาใหชาง” ณ เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา จังหวัดลพบุรี และสรางฝายชะลอน้ำ กิจกรรมจะแบงเปน 2 ชวงคือ 1. ชวงการจัดหารายได ดวยการจำหนายถุงผา ตนไม ผักสวนครัว ใหแกบุคคลทั่วไปที่สัญจรในอาคารเพลินจิต เซ็นเตอร เพื่อรณรงคใหงดใชถุงพลาสติก และรักการปลูกตนไม เพื่อจัดหารายไดนำไปซื้อกลาไม และมอบรายได สวนที่เหลือใหแกเจาหนาที่อาสาสมัครพิทักษปา เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา จังหวัดลพบุรี 2. พนักงานเดินทางไปปลูกตนไม เพื่อสรางแหลงที่อยูอันอุดมสมบูรณใหชางไทย เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 18 - 19 กันยายน 2553 กิจกรรมตางๆ เหลานี้ตองยอมรับวา ถาจะเอาแคสักแตวาไดทำนั้นเปนเรื่องงาย การทำงานตองโปรงใสตรวจสอบได การติ ด ตาม วั ด ผล และนำมาทบทวนตรวจสอบประโยชน ที่ เ กิ ด ขึ้ น การคงอยู ข องสิ่ ง ที่ ท ำไป การนำสิ่ ง เหล า นี้ ม าประมวล และปรับปรุงแนวทางและวิธีการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทุกอยางขึ้นอยูกับการเรียนรู รวมทั้งเรื่องนี้เราไดทำกันอยางจริงจัง ใสใจ ตั้งใจ ดูแลติดตามอยางตอเนื่อง ซึ่งเรายอมรับวายังมีเรื่องที่สมควรตองปรับปรุง เรามีหนวยงานที่มอบหมายใหคอยติดตามดูแล และประสานงานเรื่องนี้ ซึ่งขึ้นตรงกับประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ 053

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


°‘®°√√¡‡æ◊ËÕ™ÿ¡™π —ߧ¡ ·≈– ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ (Corporate Contributions: CC) ∑”Õ¬à“߉√„Àâ§π„π Õߧå°√¡’ à«π√à«¡ เราเชื่อวาพนักงานทุกคนมีจิตใจดีมีน้ำใจ การสรางบรรยากาศที่สงเสริมและกระตุนใหมีสวนรวม ตั้งแตการเปดโอกาส ใหเสนอความคิดเห็น เสนอโครงการ หรือกิจกรรมในกรอบที่วางไว สงเสริมใหมีการเขารวมทำกิจกรรมดวยความสมัครใจ ตลอดจน รวมรณรงคประชาสัมพันธกิจกรรม เพื่อใหผูที่มีสวนไดเสียมีโอกาสเขารวมทำกิจกรรม ไมใชทำกันเฉพาะพนักงาน การเขารวม กิจกรรมไมมีความเกี่ยวโยงกับการประเมินผลการทำงานประจำป ทุกคนทำดวยใจที่บริสุทธิ์ ทำแลวรูสึกมีความสุขที่ไดทำ กิจกรรมรวมกัน เราไดเห็นการเขารวมของผูมีสวนเกี่ยวของขยายวงกวางขึ้น บางคนชวนเพื่อนฝูงลูกหลานพี่นองมาเขารวม กิจกรรม นับเปนภาพที่สวยงาม ความสำคัญคือเราจะทำอยางไรใหผูที่มีสวนไดเสียสนใจและอยากเขารวมโดยสมัครใจกับกิจกรรม ของเรา ไมใชตองไปขอรองหรือเรี่ยไรกัน

·π«ªØ‘∫—µ‘¥â“π∫√√…—∑¿‘∫“≈¢Õ߇Õ√“«—≥ ·∫à߇ªìπ 9 ‡√◊ËÕß ¥—ßµàÕ‰ªπ’È 1. ®√‘¬∏√√¡∏ÿ√°‘® บริษัทกำหนดแผนในการดำเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี โดยรวบรวมขอควรปฏิบัติ และจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ ที่ดี เหมาะสมสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรองคกร และมั่นใจวาสามารถปฏิบัติไดมาจัดทำเปนคูมือจริยธรรมธุรกิจ ในป 2548 และปรั บ ปรุ ง ขึ้ น ใหม ใ นป 2551 โดยเตรี ย มแผนที่ จ ะปรั บ ปรุ ง ใหม เ พื่ อ สร า งความเข ม แข็ ง และตรงตามวิ ธี ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ของ บริษัทอีกครั้งในป 2554 ซึ่งถือเปนการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง ตามคำขวัญที่วา “ความสำเร็จตองมาพรอมดวยคุณธรรม” (Success with Integrity) และประกาศใหกับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนใชเปนแนวทางปฏิบัติรวมกัน เพื่อใหบริษัท ก า วไปสู ค วามสำเร็ จ ด ว ยสำนึ ก ของความถู ก ต อ งและดี ง าม และเผยแพร คู มื อ จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ ไว บ นเว็ บ ไซต ข องบริ ษั ท (http://www.TheErawan.com) เพื่อสงเสริมใหทุกคนในบริษัทมีวัฒนธรรมองคกร และมีจริยธรรมในการทำงานและทัศนคติที่ดี เป น สมาชิ ก ที่ ดี ข องสั ง คม ซึ่ ง ถื อ เป น หนึ่ ง ในกลไกสำคั ญ ที่ จ ะหล อ หลอมให ผู บ ริ ห ารและพนั ก งานมี ค วามเชื่ อ มั่ น ในหน า ที่ ความรับผิดชอบของตนที่พึงมีตอผูมีสวนไดเสีย ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม

2. §ÿ≥ ¡∫—µ‘ ‚§√ß √â“ß Àπâ“∑’˧«“¡√—∫º‘¥™Õ∫¢Õߧ≥–°√√¡°“√∫√‘…—∑ ·≈–ΩÉ“¬®—¥°“√ บริษัทกำหนดคุณสมบัติของกรรมการ สอดคลอง และเขมกวาขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป มีขอบเขตอำนาจหนาที่ชัดเจน มีการถวงดุลอำนาจระหวางกันของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร โดยมีกรรมการอิสระ 1 ใน 2 ของกรรมการทั้งคณะ ประกอบดวย ประธานกรรมการที่เปนกรรมการอิสระ และเปนคนละคนกับ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู จั ด การใหญ โดยมี บ ทบาท อำนาจ และหน า ที่ แ บ ง แยกออกจากกั น อย า งชั ด เจน เพื่อสงเสริมใหเกิดดุลยภาพระหวางการบริหารและการกำกับดูแลกิจการ มีกรรมการอิสระ 6 คน กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 5 คน และกรรมการที่เปนผูบริหาร (ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ) รวมเปน 12 คน คณะกรรมการบริษัท แตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยขึ้น 4 คณะ เพื่อใหมีการแบงแยกตำแหนงและหนาที่ความรับผิดชอบ อยางชัดเจนเหมาะสม และมีนโยบายในการพิจารณาสับเปลี่ยนกรรมการ (Rotation) เพื่อดำรงตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอย ตามความเหมาะสม โดยประธานคณะกรรมการชุดยอยมีหนาที่ในการนำเสนอนโยบายที่ไดรับมติเห็นชอบจากคณะของตนตอ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอยแตงตั้งเลขานุการ ทำหนาที่รับผิดชอบในการติดตามและประสานงานระหวาง 054

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

กรรมการกับฝายจัดการ เพือ่ ใหแนใจไดวา มีการปฏิบตั ติ ามนโยบายทีว่ างไว และมีการบันทึกรายงานการประชุมเปนลายลักษณอกั ษร คณะกรรมการชุดยอยประกอบดวย คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระทั้งคณะไมนอยกวา 3 คน ที่มีความรูทางดานบัญชี การเงิน และ ลั ก ษณะการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท อย า งเพี ย งพอ เพื่ อ ทำหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบการสอบทานรายงานทางการเงิ น สอบทาน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน และติดตามการบริหารความเสี่ยงที่สำคัญอยางตอเนื่อง พิจารณาความเปนอิสระของ หนวยงานตรวจสอบภายใน ใหความเห็นชอบการแตงตั้ง/โยกยาย/เลิกจางหัวหนาสายงานที่ปฏิบัติหนาที่ในฐานะเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ และระเบียบที่เกี่ยวของ พิจารณาคัดเลือกแตงตั้งและเสนอ คาตอบแทนผูสอบบัญชี พิจารณาสอบทาน และเปดเผยขอมูลการทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน (Connected Transaction) ใหเปนไป ตามเกณฑที่กำหนดอยางครบถวน โปรงใส คณะกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยง ประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 6 คน ทำหนาที่รับผิดชอบกำกับดูแล และบริหารจัดการนโยบาย แผนงาน และโครงการลงทุนตางๆ ที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนกำกับดูแล การบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล ประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 3 คน ประธานกรรมการเปนกรรมการอิสระ และสมาชิกอีก 2 คน ไมมีสวนเกี่ยวของกับการบริหาร มีหนาที่รับผิดชอบในการพิจารณาโครงสรางคณะกรรมการบริษัท กำหนด คุณสมบัติเฉพาะตำแหนง พิจารณาและสรรหาบุคคลผูทรงคุณวุฒิเขาดำรงตำแหนงกรรมการ ตลอดจนประเมินผลงานของ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดยอยทีค่ ณะกรรมการบริษทั แตงตัง้ ขึน้ และกำกับดูแลใหกรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงาน ทุกระดับปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และจริยธรรมธุรกิจ (Code of Conduct) คณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารไมนอยกวา 3 คน ทำหนาที่รับผิดชอบในการนำเสนอนโยบายเพื่อพัฒนา ประเมินความรูความสามารถ และกำหนดคาตอบแทนของผูดำรง ตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ จัดทำแผนสืบทอดตำแหนงผูบริหารระดับสูง ตลอดจนพิจารณา นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งเลขานุการบริษัท เพื่อทำหนาที่ตามที่พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551 กำหนด และ/หรือกฎหมายหรือขอกำหนดอื่นที่เกี่ยวของ ตลอดจนติดตามและประสานงานระหวางคณะกรรมการ บริษัทกับฝายจัดการ และผูที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก

3. §ÿ≥ ¡∫—µ‘¢Õß°√√¡°“√ หลักการ ควรมีความรูและประสบการณที่หลากหลายทั้งดานการเงิน เศรษฐกิจ การจัดการ บริหารธุรกิจ การตลาด การบริการ การทองเที่ยว และกฎหมายอยางเพียงพอที่จะใหทิศทาง นโยบายที่เหมาะสมกับการพัฒนาธุรกิจโรงแรมและรีสอรท มีทักษะ เฉพาะตัว มีความสามารถในการมองภาพรวม และมีความเปนอิสระเพียงพอที่จะทำหนาที่ตรวจสอบถวงดุลการดำเนินงาน ของฝายจัดการ โดยมีบทบาทที่สำคัญ 2 ประการคือ เพื่อรวมกำหนดกลยุทธใหบริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงคทางธุรกิจ และสนับสนุนใหมีการบริหารงานตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี 055

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


คุณสมบัติทั่วไป 1. เปนผูมีความรูและประสบการณที่หลากหลาย เปนมืออาชีพ และมีจริยธรรม 2. เขาใจบทบาทหนาที่ และทำหนาที่ของตน (Practices) อยางเต็มที่ ดวยความมุงมั่นที่จะสรางมูลคาสูงสุดใหกิจการและ ผูถือหุนในระยะยาว 3. มีเวลาเพียงพอในการทำหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. ควรมีการประเมินตนเอง และแจงตอคณะกรรมการบริษัทเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือมีเหตุการณที่ทำใหไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ วาระในการดำรงตำแหนง และการเกษียณอายุของกรรมการ 1. ใหมีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 3 ป ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทอาจเสนอชื่อใหผูถือหุนพิจารณาเลือกตั้งใหมหลังจาก หมดวาระ โดยใหพิจารณาการดำรงอยูจากการประเมินผลการทำงานของกรรมการเปนรายป และกำหนดใหวาระ การดำรงตำแหนงของกรรมการในคณะกรรมการชุดยอยเปนคราวละ 3 ป เทากัน 2. กรรมการเกษียณอายุเมื่อมีอายุครบ 75 ป โดยมีผลตั้งแตวันถัดจากวันประชุมผูถือหุนสามัญประจำป และใหนับ หลังจากวันที่กรรมการผูนั้นมีอายุครบ 75 ปบริบูรณ คุณสมบัติเฉพาะ ประธานกรรมการ มีหนาที่นอกเหนือจากที่กลาวในหลักการขางตน และกรรมการอื่น คือ (1) การทำหนาที่ประธาน ในที่ประชุมคณะกรรมการ (2) การลงคะแนนเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียง 2 ขางเทากัน (3) การเปนผูเรียกประชุมคณะกรรมการ (4) การทำหนาที่ประธานในที่ประชุมผูถือหุน ดังนั้นคุณสมบัติของประธาน กรรมการที่แตกตางจากกรรมการ ดังนี้ • ตองเปนกรรมการที่ไมไดดำรงตำแหนงเปนผูบริหาร (Non Executive Director: NED) • ไมมีสวนรวมในการบริหารงาน ไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจำ ผูสอบบัญชี ผูใหบริการทาง วิชาชีพอื่น หรือเปนผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทตรวจสอบบัญชี หรือเปนบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง โดยตองไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียในลักษณะดังกลาว กรรมการที่เปนผูบริหาร • กรรมการที่ดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร ไมควรดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นมากกวา 3 บริษัท กรรมการอิสระ • ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้ง คูสมรสของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหาร หรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย • ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทภายใน 2 ปกอนหนา ไดแก • ความสัมพันธในลักษณะการใหบริการทางวิชาชีพ ไดแก ผูสอบบัญชี (ทุกกรณี) ผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมินราคาทรัพยสินที่มีมูลคารายการตอปเกิน 2 ลานบาท 056

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

• ความสัมพันธทางการคา ทางธุรกิจ ไดแก รายการที่เปนธุรกรรมปกติ รายการเชา ใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการ

• •

เกีย่ วกับสินทรัพย บริการ และรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงินทีม่ มี ลู คาการทำรายการตัง้ แต 20 ลานบาท หรือตั้งแตรอยละ 3 ของ NTA ของบริษัท แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา โดยใหรวมมูลคารายการยอนหลังไมนอยกวา 6 เดือน กอนวันที่มีการทำรายการครั้งลาสุด ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระได ตองเขารับการอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) อยางนอย 1 หลักสูตร ไดแก หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) หรือ Directors Accreditation Program (DAP) หรือ Audit Committee Program (ACP)

กรรมการตรวจสอบ • ตองเปนกรรมการอิสระที่ไดรับแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท หรือผูถือหุน • ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง • มีหนาที่ไมนอยกวาที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด

ธุรกรรมที่มีผลตอความเปนอิสระ • มีอำนาจอนุมัติรายการตางๆ หรือลงนามผูกพันบริษัทจริง ยกเวน การลงนามตามมติของคณะกรรมการบริษัท หรือ เปนการลงนามรวมกับกรรมการรายอื่น • เขารวมประชุม หรือรวมลงคะแนนในเรื่องที่มีสวนไดเสีย หรือมีความขัดแยงทางผลประโยชน ลักษณะตองหาม กรรมการและผูบริหารของบริษัทตองไมมีคุณสมบัติที่ขัดหรือแยงกับขอกำหนดของบริษัท และประกาศคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูไดในเว็บไซตของบริษัท

4. ∫∑∫“∑¢Õߧ≥–°√√¡°“√∫√‘…—∑ ·≈–ΩÉ“¬®—¥°“√ คณะกรรมการบริษัทมีสวนรวมในการกำหนดนโยบาย และขอพึงปฏิบัติของผูบริหาร ครอบคลุมถึงหนาที่และภารกิจหลัก โดยเปดโอกาสใหฝายจัดการมีอิสระในการกำหนดแผนยุทธศาสตรการบริหารตามวัตถุประสงคและพันธกิจของบริษัท และเสนอ ขออนุมัติแผนจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการประชุมระหวางกรรมการอิสระดวยกันเอง และมีโอกาสไดพบปะกับผูบริหารระดับรองลงมา จากประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญตามลำพัง ภายใตการรับรูของประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ

5. °“√ª√–™ÿ¡§≥–°√√¡°“√ บริษัทกำหนดจำนวนครั้งที่จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย โดยการนัดหมายและ แจงใหกรรมการ และผูที่มีสวนเกี่ยวของทราบลวงหนาตลอดทั้งป โดยกำหนดวาระใหกรรมการไดประชุมกันเองโดยไมมีประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ เลขานุการบริษัท หรือผูบริหารอยูในหองประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งจะจัดให มีขึ้นกอนการพิจารณาผลงาน และงบประมาณประจำปของทุกป ในป 2553 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 057

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


058

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back

ตำแหนง

วาระการดำรง ตำแหนง 4/4 4/4 4/4 100%

9/9 9/9 9/9 8/9 5/9 5/9 9/9 9/9 7/9 8/9 8/9 9/9 88%

95%

7/9 9/9 9/9 9/9 8/9 9/9

-

100%

2/2 2/2 -

2/2

100%

2/2 2/2 2/2 -

-

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ พัฒนา คณะกรรมการ คณะกรรมการ การเงินและ สรรหาและ ผูบ ริหารระดับสูง บริหาร บริษัท ตรวจสอบ บรรษัทภิบาล และกำหนด ความเสี่ยง คาตอบแทน

จำนวนครั้งที่เขารวมประชุม/จำนวนครั้งที่จัดใหมีการประชุม

* เสนอใหกลับเขาดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง ณ วันประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2554 ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 26 เมษายน 2554

ประธานกรรมการ/ เม.ย. 2552 - 2555 กรรมการอิสระ 2. นายสรรเสริญ วงศชะอุม กรรมการอิสระ เม.ย. 2552 - 2555 3. รศ.มานพ พงศทัต กรรมการอิสระ เม.ย. 2552 - 2555 4. นายเดช บุลสุข กรรมการอิสระ เม.ย. 2552 - 2555 5. นายบรรยง พงษพานิช กรรมการอิสระ เม.ย. 2553 - 2556 6. นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร กรรมการอิสระ เม.ย. 2552 - 2554* 7. นายวิฑูรย วองกุศลกิจ กรรมการ เม.ย. 2551 - 2554* 8. นายสุพล วัธนเวคิน กรรมการ เม.ย. 2553 - 2556 9. นายชนินท วองกุศลกิจ กรรมการ เม.ย. 2553 - 2556 10. นางพนิดา เทพกาญจนา กรรมการ เม.ย. 2551 - 2554* 11. นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย กรรมการ เม.ย. 2553 - 2556 12. นายกษมา บุณยคุปต ประธานเจาหนาที่บริหาร เม.ย. 2551 - 2554* และกรรมการผูจัดการใหญ สัดสวนการเขาประชุมเฉลี่ยตอคณะ

1. นายประกิต ประทีปะเสน

รายชื่อกรรมการ

µ“√“ß· ¥ß°“√‡¢â“ª√–™ÿ¡¢Õß°√√¡°“√ ª√–®”ªï 2553

ป 2553 บริ ษั ท จั ด ให มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท 9 ครั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ 4 ครั้ ง คณะกรรมการการเงิ น และบริ ห ารความเสี่ ย ง 9 ครั้ ง คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล 2 ครั้ง คณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน 2 ครั้ง ทุกครั้งมีการจดบันทึกรายงานการประชุมไวเปน ลายลักษณอักษร และเก็บไว ณ สำนักงานเลขานุการบริษัท และบน Data Server ซึ่งผูมีสวนเกี่ยวของภายในสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก รายละเอียดการเขาประชุม ของกรรมการ ป 2553 ตามตารางดังตอไปนี้


SUCCESS WITH INTEGRITY

6. °“√ª√–‡¡‘πº≈ß“π§≥–°√√¡°“√∫√‘…—∑ บริษัทจัดใหมีการประเมินผลงานคณะกรรมการบริษัททุกป โดยกรรมการทุกคน รวม 12 คน เปนผูประเมินผลการทำงานของ ตนเอง และคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะ โดยอิ ส ระ และส ง ตรงให เ ลขานุ ก ารคณะกรรมการสรรหาและบรรษั ท ภิ บ าล เพื่อทำการประเมินผล และนำผลการประเมินเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อนำมาปรับปรุงพัฒนากระบวนการ ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การประเมินผลประจำป 2553 กรรมการมากกวารอยละ 87 เห็นดวยกับโครงสรางและองคประกอบของกรรมการวา มีความเหมาะสม มีกรรมการอิสระที่เพียงพอทำใหมีการถวงดุลอำนาจแบบสมดุล รอยละ 87 เห็นวากรรมการเขาใจบทบาทหนาที่ ของตน มีความอิสระในการตัดสินใจโดยไมถูกครอบงำโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง รอยละ 92 เห็นวาจำนวนครั้งของการประชุม มีความเหมาะสม และเอกสารที่ไดรับลวงหนาเพียงพอตอการตัดสินใจ กรรมการไดศึกษาขอมูลกอนการประชุม และสามารถ เขารวมประชุมไดอยางสม่ำเสมอ รอยละ 88 เห็นวากรรมการทุกคนปฏิบัติหนาที่ของตนดวยความรับผิดชอบในการดูแลการบริหาร กิจการใหเปนไปเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดของผูถือหุน รอยละ 91 เห็นวากรรมการมีความสัมพันธที่ดีกับฝายจัดการ และสามารถหารือ กับประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญไดอยางตรงไปตรงมา และรอยละ 88 เห็นวาตนเองไดปฏิบัติหนาที่ ดวยความรับผิดชอบ และมีความเขาใจในธุรกิจอยางเพียงพอ สรุปไดตามแผนภาพดังตอไปนี้

°“√ª√–‡¡‘πº≈ß“π §≥–°√√¡°“√∫√‘…—∑

Avg. (รอยละ)

100

87

87

92

88

91

88

80 60 40 20 0 โครงสราง/ บทบาท หนาที่ การประชุม การทำหนาที่ ความสัมพันธ คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ คณะกรรมการ ของกรรมการ กับฝายจัดการ คณะกรรมการ

059

นโยบายบรรษัทภิบาล

การพัฒนา ตนเองและ การพัฒนา ผูบริหาร

Back


7. °“√ √√À“°√√¡°“√ ·≈–ºŸâ∫√‘À“√√–¥—∫ Ÿß คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหคณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล มีหนาที่ในการกำหนดนโยบาย และกระบวนการ สรรหากรรมการที่ชัดเจน ประกอบดวยกระบวนการในการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตนของผูที่ถูกเสนอชื่อ เพื่อใหแนใจวาเปนไป ตามคุณสมบัติของกรรมการ และถูกตองตามกระบวนการคัดเลือก เพื่อติดตอทาบทามใหเขาดำรงตำแหนง และเสนอขอแตงตั้ง จากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือพิจารณารับรองคุณสมบัติของกรรมการที่พนจากตำแหนงตามวาระใหกลับเขาดำรงตำแหนง อีกวาระหนึ่งจากที่ประชุมผูถือหุน โดยจะนำขอสรุปจากการประเมินผลงานของกรรมการในขณะที่ดำรงตำแหนงเปนรายบุคคลมา ประกอบการพิจารณา อนึ่ง ในการพิจารณาสรรหากรรมการ และผูบริหารระดับสูง เปนไปโดยอิสระ ไมอยูภายใตอิทธิพลของผูหนึ่งผูใด และฝาย จัดการโดยประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ จะจัดใหมีประชุมเพื่อปฐมนิเทศกรรมการ หรือผูบริหารระดับสูง โดยการบรรยายสรุป (Briefing) ใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง เพื่อใหกรรมการ หรือผูบริหารระดับสูงเขาใจธุรกิจและการปฏิบัติหนาที่ แนวทางในการดำเนินธุรกิจ และแผนยุทธศาสตรขององคกร คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหคณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทน มีหนาที่สรรหาและจัดทำ แผนสืบทอดงาน หรือแผนสืบทอดตำแหนงผูบริหารระดับสูง ไดแก ตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ เพื่อใหการทำหนาที่เปนไปอยางตอเนื่อง ปองกันไมใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทหยุดชะงัก

8. §à“µÕ∫·∑π¢Õß°√√¡°“√ ºŸâ∫√‘À“√ ·≈–æπ—°ß“π คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหคณะกรรมการชุดยอย ทำหนาที่ในการกำหนดนโยบายการจายคาตอบแทนของกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน ดังนี้ คณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาลทำหนาที่ในการกำหนดนโยบายการจายคาตอบแทนของกรรมการ โดยมีการ พิจารณา ทบทวนความสมเหตุสมผลของการจายคาตอบแทน ตามขอบเขตอำนาจหนาที่ความรับผิดชอบ สถานะทางการเงิน และผลการดำเนินงานของบริษัท เปรียบเทียบกับบริษัทในกลุมธุรกิจ และระดับรายไดที่ใกลเคียงกันทุกป โดยกำหนดใหมี การจายคาตอบแทนเปน 2 ลักษณะ คือ คาเบี้ยประชุม และโบนัส อยางไรก็ตาม กรรมการที่ไดรับมอบหมายใหเปนกรรมการ ในคณะกรรมการชุดยอย จะไดรับคาตอบแทนเพิ่มตามความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น และเสนอขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนสามัญ เปนประจำทุกป คณะกรรมการพัฒนาผูบริหารระดับสูงและกำหนดคาตอบแทนทำหนาที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ตามเปาหมายที่กำหนดไว 4 ดาน คือ ดานการเงิน ดานความพึงพอใจของลูกคา ดานกระบวนการภายใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย และการพัฒนาองคกร เพื่อประกอบในการพิจารณากำหนดโครงสราง คาตอบแทนและคาตอบแทนประจำป และรวมกับประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ กำหนดนโยบายใน การจายคาตอบแทนใหกับผูบริหารและพนักงานตามสายงาน ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญพิจารณาจายคาตอบแทนประจำปของผูบริหารตามนโยบายที่กำหนด โดยผานกระบวนการประเมินผล 2 สวนคือ 1) การประเมินผลงานตามยุทธศาสตร (BSC - Balance Score Card) เปน การพิจารณาตามความสำคัญของยุทธศาสตรของสายงานตอยุทธศาสตรขององคกร ผานกระบวนการถายทอดเชื่อมโยงของ ยุทธศาสตรจากระดับองคกรลงสูร ะดับตางๆ 3 ระดับ ไดแก ยุทธศาสตรองคกร ยุทธศาสตรสายงาน และยุทธศาสตรฝา ยงาน และ 2) การประเมิ น ผลงานเชิ ง ทั ก ษะและเชิ ง พฤติ ก รรม (CSB - Competency Skill Behavior) ที่ ส นั บ สนุ น วั ฒ นธรรมองค ก ร 060

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

การประเมินเปนรายบุคคลโดยผูบังคับบัญชาโดยตรง ซึ่งจะมีหัวขอการประเมินบางสวนตามนโยบายของบริษัท และบางสวน แตกตางกันตามที่ผูบังคับบัญชาระดับสายงานเปนผูกำหนด และเพื่อใหการประเมินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และมีขอมูล ประกอบจากผูรวมงานในระดับตางๆ การประเมินจึงทำในลักษณะ 360 องศา โดยใหผูบังคับบัญชาประเมินผูใตบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชาประเมินผูบังคับบัญชา และใหมีการประเมินตนเองทุกระดับ ผลการประเมินทั้ง 2 สวนนำมาเปนเครื่องมือใน การกระจายผลตอบแทนรวมขององคกรสูระดับสายงาน ฝาย และสวนงาน อนึง่ ป 2553 บริษทั จายคาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหารระดับสูง เปนจำนวนเงินรวม 35,333,941.40 บาท ประกอบดวย 1. คาตอบแทนกรรมการ เปนเงิน 4,310,000.00 บาท รายละเอียดการจายคาตอบแทนรายบุคคลแสดงไวตามตารางแสดง คาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย 2. คาตอบแทนกรรมการบริษัทยอย เปนเงิน 1,980,000.00 บาท 3. คาจางของผูบริหาร 9 คน ที่จายจากบริษัท และบริษัทยอย เปนเงิน 28,100,575.80 บาท 4. เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพของผูบริหาร 9 คน เปนเงิน 943,365.60 บาท

061

นโยบายบรรษัทภิบาล

Back


062

รวม

2. นายสรรเสริญ วงศชะอุม 3. รศ.มานพ พงศทัต 4. นายเดช บุลสุข 5. นายบรรยง พงษพานิช 6. นายเอกสิทธิ์ โชติกเสถียร 7. นายวิฑูรย วองกุศลกิจ 8. นายสุพล วัธนเวคิน 9. นายชนินท วองกุศลกิจ 10. นางพนิดา เทพกาญจนา 11. นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย 12. นายกษมา บุณยคุปต

1. นายประกิต ประทีปะเสน

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

ประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานเจาหนาที่ บริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ

ตำแหนง

2,940,000

240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000

300,000

คณะกรรมการ บริษัท

260,000

100,000 80,000 80,000 -

-

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

960,000

ไมรับ คาตอบแทน ในฐานะผูบริหาร

180,000 240,000 180,000 180,000 180,000 -

-

คณะกรรมการ การเงินและ บริหาร ความเสี่ยง

75,000

22,500 22,500 -

30,000

คณะกรรมการ สรรหาและ บรรษัทภิบาล

คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

µ“√“ß§à“µÕ∫·∑π¢Õߧ≥–°√√¡°“√∫√‘…—∑ ·≈–§≥–°√√¡°“√™ÿ¥¬àÕ¬ ªï 2553

75,000

22,500 22,500 30,000 -

-

คณะกรรมการ พัฒนา ผูบริหารระดับสูง กำหนด คาตอบแทน

4,310,000

340,000 320,000 320,000 442,500 240,000 502,500 450,000 442,500 442,500 240,000 240,000

330,000

คาตอบแทน ที่เปน ตัวเงินรวม

§à“µÕ∫·∑π¢Õß°√√¡°“√ ·≈–ºŸâ∫√‘À“√

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

§«“¡√—∫º‘¥™Õ∫µàÕºŸâ¡’ à«π‰¥â‡ ’¬ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

9. §«“¡√—∫º‘¥™Õ∫µàÕºŸâ¡’ à«π‰¥â‡ ’¬ (Corporate Social Responsibility: CSR) คณะกรรมการบริษัท กำหนดยุ ทธศาสตรในการดำเนินธุรกิจไวหลายประการ “CSR” หรือความรับผิดชอบของบริษัท ตอผูมีสวนไดเสีย ไดแก ผูถือหุน พนักงาน ครอบครัวพนักงาน ลูกคา เจาหนี้ คูคา คูแขงขัน รัฐ ชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม นับเปน หนึ่งในยุทธศาสตรหลักของบริษัท เพื่อใหบริษัทดำเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบ และเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตองตรงกัน จึงได กำหนดแนวทางในการปฏิบัติตามหนาที่ความรับผิดชอบไวดังตอไปนี้

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอผูถือหุน (Duties and Responsibilities of the Board to Shareholder) คณะกรรมการบริษัทคำนึงถึงสิทธิของผูถือหุนโดยไมจำกัดเฉพาะสิทธิขั้นพื้นฐานที่กฎหมายไดกำหนดไว ไดแก การซื้อขาย หรือโอนหุน การมีสวนแบงในกำไร การไดรับขาวสารขอมูลของบริษัทอยางเพียงพอ การเขารวมประชุมเพื่อใชสิทธิออกเสียงใน ที่ประชุมผูถือหุนเพื่อแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ แตงตั้งผูสอบบัญชี และเรื่องสำคัญที่มีผลกระทบตอบริษัท เชน การจัดสรรกำไร การกำหนดหรือการแกไขขอบังคับ และหนังสือบริคณหสนธิ การลดทุนหรือเพิม่ ทุน และการอนุมตั ริ ายการพิเศษ ทัง้ นีค้ ณะกรรมการ บริษัทไดกำกับดูแลใหมีการใหขอมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจนเอกสารขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ ตองตัดสินใจในทีป่ ระชุมแกผถู อื หุน และแจงใหผถู อื หุน ทราบกฎเกณฑทใี่ ชในการประชุม รวมถึงขัน้ ตอนการออกเสียงลงมติทไี่ มยงุ ยาก สถานที่ในการจัดประชุมสะดวก และไมเสียคาใชจายมากนักในการเดินทางมารวมประชุม คณะกรรมการบริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอวาระการประชุมผูถือหุนสามัญประจำปลวงหนากอนวันประชุมผูถือหุน โดยกำหนดเกณฑที่ชัดเจน เผยแพรไวในเว็บไซตของบริษัท เพื่ออำนวยความสะดวกใหแกผูถือหุน โดยผูถือหุนสามารถสงเอกสาร เพื่อเสนอวาระการประชุมไดภายในวันที่ 31 มกราคมของทุกป ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทสนับสนุนใหผูถือหุนใชหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข ซึ่งจะทำใหผูถือหุนสามารถกำหนดทิศทางการลงคะแนนเสียง โดยมีชื่อและขอมูลของกรรมการอิสระทั้ง 6 คนของบริษัท เพื่อเปนทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถือหุน และกำหนดใหมีการเผยแพรขอมูลไวทางเว็บไซตของบริษัทเปนการลวงหนา ไมนอยกวา 30 วันกอนวันประชุม และจัดสงเอกสารใหทันเวลา เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุม ลวงหนาอยางเพียงพอ ระหวางการประชุม บริษัทใหความสำคัญในทุกขั้นตอนการนำเสนอ ไมมีการรวม เพิ่ม หรือสลับวาระแตอยางใด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในวาระแตงตั้งกรรมการ บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเลือกกรรมการภายใตขอมูลที่เพียงพอ เปนรายบุคคล และ เก็บบัตรลงคะแนนไวเปนหลักฐานครบทุกคะแนนเสียง ทั้ง เห็นดวย ไมเห็นดวย และ งดออกเสียง ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง ประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการชุดยอย กรรมการ ประธานเจาหนาที่บริหารและ กรรมการผูจัดการใหญ รองกรรมการผูจัดการ สายบริหารเงินและเทคโนโลยีสารสนเทศ เขารวมประชุมครบทุกคน เพื่อเปดโอกาส ใหผูถือหุนแสดงความเห็น และสามารถซักถามตอที่ประชุมในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของ โดยในชวง 4 ปที่ผานมา (ป 2550 - 2553) กรรมการทุกทานเขารวมประชุมครบทั้งคณะ เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีเวลาไดซักถามอยางเพียงพอ เหมาะสม แตไมไดทำให ระยะเวลาในการประชุมนานเกินไป มีการบันทึกประเด็นคำถามคำตอบ มติของที่ประชุม และคะแนนเสียงที่ไดรับแตละวาระเปน ลายลักษณอักษรไวในรายงานการประชุม และเผยแพรรายงานการประชุมผานเว็บไซตของบริษัท ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม ผูถือหุน นอกเหนือจากความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอผูถือหุนดังกลาวขางตนแลว คณะกรรมการบริษัทยังไดกำหนด นโยบายความรับผิดชอบระดับบริษัทที่มีตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย (Corporate Social Responsibility) ทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งก็รวมถึงความรับผิดชอบของบริษัทที่มีตอผูถือหุนดวย โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

063

Back


ความรับผิดชอบของบริษัทตอผูถือหุน (Responsibilities to Shareholders) 1. บริหารจัดการบริษัทใหเปนสถาบันที่มีคุณภาพ ยึดมั่นในความถูกตอง สรางความเขมแข็ง และความเจริญเติบโตที่ยั่งยืน ใหแกผูถือหุนในระยะยาว 2. ปฏิบัติหนาที่ดวยความสามารถและความระมัดระวังเยี่ยงวิญูชน ผูประกอบธุรกิจพึงกระทำภายใตสถานการณอยาง เดียวกัน 3. ปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความสุจริตและเปนธรรมตอผูถ อื หุน ทัง้ รายใหญและรายยอย และเพือ่ ผลประโยชนของผูเ กีย่ วของโดยรวม 4. จัดการดูแลไมใหทรัพยสินของบริษัทตองสูญคาหรือสูญเสียไปโดยไมเกิดประโยชน 5. รายงานสถานะและผลการดำเนินงานของบริษัทอยางถูกตองสม่ำเสมอ ครบถวนตามความเปนจริง 6. ไมเปดเผยสารสนเทศที่เปนความลับของบริษัทตอผูอื่นโดยมิชอบ 7. ไมดำเนินการใดๆ ในลักษณะซึ่งกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน โดยมิไดแจงใหบริษัททราบ 8. เคารพสิทธิ และความเทาเทียมกันของผูถือหุนทุกราย ทั้งผูถือหุนที่เปนผูบริหาร และผูถือหุนที่ไมเปนผูบริหาร รวมทั้ง ผูถือหุนตางชาติใหไดรับการปฏิบัติที่เทาเทียมกัน ความรับผิดชอบของบริษัทตอผูลงทุนสัมพันธ (Responsibilities to Investor Relation) บริ ษั ท แต ง ตั้ ง หน ว ยงานดู แ ลผู ล งทุ น สั ม พั น ธ (Investor Relations) เพื่ อ ทำหน า ที่ ร วบรวมข อ มู ล ที่ ส ำคั ญ ของบริ ษั ท ไวอยางครบถวนและเพียงพอที่ผูลงทุนรายยอย/สถาบัน ผูถือหุน นักวิเคราะห และภาครัฐที่เกี่ยวของสามารถติดตอไดโดยตรง ณ สำนักงานที่ทำการของบริษัท หรือคนหารายละเอียดและขาวสารไดทางเว็บไซตของบริษัท หรือสอบถามขอมูลเพิ่มเติมผาน IR@TheErawan.com บริษัททำแบบสอบถามเพื่อสำรวจความพึงพอใจตอขอมูลที่ไดรับ (IR Survey) เปนประจำทุกป ตั้งแตป 2549 และ ในป 2553 บริษัทไดทำการสำรวจจากนักวิเคราะหที่เขารวมประชุมกับบริษัทไมนอยกวา 2 ครั้งในรอบป โดยสงแบบสอบถาม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ ห นั ก วิ เ คราะห ใ นเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2553 หลั ง การประชุ ม นั ก วิ เ คราะห ป ระจำไตรมาส 4 ทำให เ ชื่ อ ได ว า ผูตอบแบบสอบถามทุกคนอยูในกลุมเปาหมายที่ตองการ โดยรอยละ 66 ของผูตอบแบบสอบถามไดติดตามขอมูลของบริษัท มาไมนอยกวา 3 ป และรอยละ 91 มีความพึงพอใจตอขอมูลขาวสารที่ไดรับ และพึงพอใจตอรูปแบบในการนำเสนอ ในป 2553 บริษัทไดรับเกียรติจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โครงการ SET Awards ประจำป 2553 โดยเปนบริษัท ที่ไดรับรางวัลบริษัทจดทะเบียนดีเดนดานนักลงทุนสัมพันธ ประจำป 2553 (IR Excellence Awards 2010) โดยเปนบริษัทในกลุม บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยที่มีมูลคาตลาดไมเกิน 10,000 ลานบาท กลุมที่ 1 ความรับผิดชอบของบริษัทตอสิทธิในการเขาถึงขอมูลของผูมีสวนไดเสีย (Responsibility of the Right to Access Information of Stakeholders) บริษัทใหสิทธิการเขาถึงขอมูลของผูมีสวนไดเสียทุกฝาย กำหนดแนวทาง และขอควรปฏิบัติสำหรับผูบริหารและพนักงาน เมื่อตองติดตอสัมพันธกับผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียม เปนธรรม และเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียสามารถติดตอกับคณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและบรรษัทภิบาล เพื่อใหขอแนะนำที่เปนประโยชนตอการบริหารจัดการ และสรางมูลคาเพิ่มใหกับบริษัทโดยตรงที่สำนักงานที่ทำการของบริษัท เลขที่ 2 อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร ชั้น 6 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพฯ หรือติดตอที่สำนักบรรษัทภิบาล GCG@TheErawan.com ขอมูลที่ไดรับถือเปนความลับสงตรงใหกับ คณะกรรมการ

064

ความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ความรับผิดชอบของบริษัทตอพนักงาน (Responsibilities to Employees) 1. กำหนดโครงสรางผลตอบแทนที่เหมาะสมสอดคลองกับอัตราตลาด ตามความรู ความสามารถ ความรับผิดชอบตอ หนาทีก่ ารงาน และพฤติกรรม ผานกระบวนการประเมินยุทธศาสตร 3 ระดับ ไดแก ยุทธศาสตรองคกร ยุทธศาสตรสายงาน และยุทธศาสตรฝายงาน และการประเมินผลงานเชิงทักษะและเชิงพฤติกรรม (Competency Skill Behavior: CSB) ในลักษณะ 360 องศา โดยใหผูบังคับบัญชาประเมินผูใตบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชาประเมินผูบังคับบัญชา และ การประเมินตนเองทุกระดับ 2. ปรับปรุงและจัดหาสวัสดิการที่ดี และประโยชนอื่นที่เหมาะสม เชน การประกันอุบัติเหตุสำหรับพนักงานและผูบริหาร ที่เดินทางไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ การทำประกันสุขภาพ การใหวงเงินคารักษาพยาบาลคนไขนอก การตรวจสุขภาพ ประจำป การจัดใหมีเครื่องดื่มบริการพนักงาน เปนตน 3. สรางความเขาใจในเปาหมาย บทบาท และความรับผิดชอบ ใหโอกาสเจริญกาวหนาตามเหตุผล สรางการยอมรับและ รับรูในผลงานที่ทำ 4. การใหรางวัลและการลงโทษตองอยูบนพื้นฐานของความถูกตอง และกระทำดวยความสุจริต 5. ดู แ ลรั ก ษาสภาพแวดล อ มในการทำงานใหมีความปลอดภัยตอชีวิต สุขภาพอนามัย ทรัพยสิน และเอื้อประโยชน ในการทำงาน 6. มีระบบการทำงานที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ใหโอกาสไดใชความรูความสามารถ และสนับสนุนใหมีการเรียนรูเพื่อพัฒนา ความสามารถ ใหโอกาส และใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของพนักงาน 7. เผยแพรขอพึงปฏิบัติทางจริยธรรมแกพนักงาน เพื่อใหมั่นใจวาพนักงานเขาใจและปฏิบัติตามอยางทั่วถึง 8. ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับตางๆ เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานและสวัสดิภาพของพนักงาน 9. หลีกเลี่ยงการกระทำใดๆ ที่ไมเปนธรรมและไมถูกตอง ซึ่งมีผลกระทบตอความกาวหนาและมั่นคงในอาชีพ และให ความเคารพตอสิทธิสวนบุคคล ความรับผิดชอบของบริษัทตอลูกคา (Responsibilities to Customers) 1. กำหนดนโยบายการตั้งราคาที่ยุติธรรม และเหมาะสม 2. การพิจารณาเงื่อนไขทางการคา การเจรจาทางธุรกิจ ไมมีรายการใดเปนพิเศษ โดยยึดหลักเสมือนกับการทำรายการ กับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) ทุกรายการ 3. จัดหา และปรับปรุงระบบการใหบริการที่เหมาะสมและเปนไปตามเงื่อนไขทางการคา 4. จัดทำสัญญาที่เปนธรรมกับลูกคา (ไมทำใหลูกคาเสียประโยชน หรือมีขอเสียเปรียบในทางการคา) 5. เปดเผยขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของและเปนประโยชนอยางตรงไปตรงมา ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา และไมบิดเบือน ขอเท็จจริง 6. รักษาสารสนเทศที่เปนความลับของลูกคาเสมือนหนึ่งสารสนเทศของบริษัท และไมนำไปใชเพื่อประโยชนของตนเองและ พวกพอง 7. ไมเรียก ไมรับ หรือไมใหผลประโยชนใดๆ ที่ไมสุจริตกับลูกคา

065

ความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย

Back


ความรับผิดชอบของบริษัทตอคูคาและเจาหนี้ (Responsibilities to Suppliers and Creditors) 1. เปดโอกาสใหมีการแขงขันทางการคาอยางเปนธรรม โดยกำหนดวิธีการจัดซื้อ วาจางทำของ และบริการที่เหมาะสม เนนความโปรงใส และมีประสิทธิภาพ ไดแก วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประมูลงาน วิธีพิเศษ และวิธีจัดซื้อจาก สวนราชการ และรัฐวิสาหกิจ และมีการออกแบบสอบถามความเห็นตอการเขารวมประมูลงาน เพื่อปรับปรุงกระบวนการ จัดซื้อ วาจางทำของ และบริการอยูเสมอ 2. ไมเจาะจงผลิตภัณฑ หรือพยายามเลือกสรรคุณลักษณะที่ไมโนมเอียงไปทางผลิตภัณฑใดผลิตภัณฑหนึ่งอยางจงใจ นอกจากจะมีเหตุผลสนับสนุนความจำเปนอยางเพียงพอ กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ หรือคุณลักษณะเฉพาะ ของตัวผลิตภัณฑ จะตองบอกกลาวใหผูคาทราบ และหากจำเปนตองใหเสนอราคาใหม ผูเสนอราคารายเดิมจะตอง ไดรับโอกาสในการเสนอราคาอยางเทาเทียมกัน 3. ตองเลือกสรรผูเสนอราคาที่ดี และสนใจตอการเสนอราคาอยางแทจริง ไมเชิญผูเสนอราคาเพียงเพื่อใหครบจำนวน ตามระเบียบ และผูเสนอราคาทุกรายตองไดรับรายละเอียด ขอมูล และเงื่อนไขอยางเดียวกันเปนลายลักษณอักษร กรณี มีการบอกกลาวดวยวาจาจะตองมีการยืนยันเปนลายลักษณอักษรอีกครั้งหนึ่ง 4. ผูบริหารหรือพนักงานที่มีสวนเกี่ยวของกับการจัดซื้อ วาจางทำของ และบริการ ตองเปดเผยขอมูล และ/หรือลักษณะ ความสัมพันธสวนบุคคลของตนเอง คูสมรส ญาติสนิท หรือมีความสัมพันธสวนบุคคลกับผูเสนอราคารายใดรายหนึ่ง ที่ ส ง ผลให เ กิ ด ความไม โ ปร ง ใสในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ โ ดยตรง และให แ สดงความรั บ ผิ ด ชอบโดยการไม อ ยู ร ว มใน กระบวนการพิจารณาตัดสินชี้ขาด 5. ไมเรียก ไมรับของขวัญ ของกำนัล การรับเลี้ยง ยกเวนในโอกาสอันควรตามธรรมเนียมปฏิบัติ และละเวนการให ความชอบพอเป น พิ เ ศษจนเป น เหตุ ใ ห ผู อื่ น คิ ด ว า น า จะเกิ ด ความไม ยุ ติ ธ รรม โดยเฉพาะการทำให ผู ค า รายอื่ น เกิ ด ความเขาใจผิด และไมตองการรวมเสนอราคา และอาจนำไปบอกกลาวจนทำใหบริษัทเสียภาพพจน 6. จัดทำสัญญาที่เปนธรรม และปฏิบัติตามขอตกลงที่มีตอคูคาและเจาหนี้ กรณีที่คาดวาจะไมสามารถปฏิบัติได ตองรีบ เจรจากับคูคา/เจาหนี้โดยเร็ว เพื่อรวมกันหาแนวทางแกไข และปองกันไมใหเกิดความเสียหาย 7. ละเวนการกระทำใดๆ ที่ชวยใหคูคาไมตองเสียภาษีที่พึงจะเสียใหกับรัฐ 8. เปดเผยขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของและเปนประโยชนอยางตรงไปตรงมา ถูกตอง ครบถวน ทันเวลา และไมบิดเบือน ขอเท็จจริง ความรับผิดชอบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม (Responsibilities to Social and Environment) บริษัทกำหนดนโยบายที่เกี่ยวกับสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอมที่ชัดเจน และมีแผนจัดทำโครงการ “ดิ เอราวัณ เพื่อสังคมและ สิ่ ง แวดล อ ม” โดยคณะกรรมการบริ ษั ท อนุ มั ติ ใ ห จั ด สรรเงิ น งบประมาณร อ ยละ 0.5 ของกำไรสุ ท ธิ ข องทุ ก ป โ ดยประมาณ เพื่อตอบแทนสังคม ชุมชน และสิ่งแวดลอม โดยแบงเปน 2 สวน คือ ประมาณรอยละ 50 ของงบประมาณที่ไดรับ ใชเพื่อประโยชน แกชุมชนและสิ่งแวดลอมบริเวณใกลเคียงกับทรัพยสินบริษัท และประมาณรอยละ 50 ของงบประมาณที่ไดรับ ใชเพื่อประโยชนตอ สังคมสวนรวมทั่วไปอยางตอเนื่อง

066

ความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

°“√§«∫§ÿ¡¿“¬„π บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

ในป 2553 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุม 9 ครั้ง โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมดวยทุกครั้งเพื่อให ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบควบคุมภายใน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดชี้แจงและรายงาน สรุปผลการตรวจสอบภายในสำหรับป 2553 ใหคณะกรรมการบริษัททราบเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2554 ตามที่ไดแสดงไว ในรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบตอผูถือหุน และคณะกรรมการบริษัทมีความเห็นตอระบบการควบคุมภายในเชนเดียวกับ คณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระสำคัญไดดังนี้

1. √–∫∫§«∫§ÿ¡¿“¬„π ·≈–°“√µ√«® Õ∫¿“¬„π คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่โดยตรงในการกำกับดูแลระบบการควบคุมภายในที่ดี ครอบคลุมทุกดาน ทั้งดานบัญชี การเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวของ โดยกำหนดกลไกในการตรวจสอบที่ถวงดุลกันอยางมีประสิทธิภาพ มีสายงานตรวจสอบภายในทำหนาที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกสายงานตามแผนตรวจสอบที่พิจารณาความเสี่ยงเปนสำคัญ รวมทั้งใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการวางระบบการควบคุมภายในที่ดี ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ในการพิจารณาแผนงานตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแลความเปนอิสระของสายงาน ตรวจสอบภายใน เห็นชอบการแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนาสายงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนดูแลใหสายงานตรวจสอบ ภายในมีความเปนอิสระ สามารถทำหนาที่ตรวจสอบและถวงดุลไดตามมาตรฐานที่กำหนด และใหรายงานตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบไม น อ ยกว า ไตรมาสละ 1 ครั้ ง เพื่ อ ให มั่ น ใจได ว า ระบบการควบคุ ม ภายใน และงานตรวจสอบภายในของบริ ษั ท เปนไปโดยรัดกุม ไมกอใหเกิดความเสียหายตอผูถือหุน

2. °“√ª°ªÑÕß°“√„™â¢âÕ¡Ÿ≈¿“¬„π บริษัทใหความสำคัญในการใชขอมูลภายใน และเพื่อเปนการปกปองกรณีที่กรรมการและผูบริหารใชขอมูลภายในเพื่อหา ผลประโยชนใหแกตนเองหรือผูอื่นในทางมิชอบ (Abusive Self-dealing) โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลภายในที่ยังไมเปดเผย ตอสาธารณะ หรือขอมูลที่มีผลกระทบตอแผนยุทธศาสตรองคกร การดำเนินธุรกิจ การเจรจาตอรองทางการคา และราคาหุน ซึ่งเปนการเอาเปรียบและกอใหเกิดความเสียหายตอผูถือหุนโดยรวม จึงกำหนดหลักบรรษัทภิบาลสำหรับผูบริหาร (Executive Ethic Standard) ไวเปนขอปฏิบัติ 10 ประการ และกำหนดบทลงโทษสถานหนักในกรณีที่มีการฝาฝน หรือกระทำการใดๆ ในลักษณะที่จงใจไมปฏิบัติ ไวในคูมือจริยธรรมธุรกิจในหัวขอ หลักบรรษัทภิบาลสำหรับผูบริหารระดับสูง อนึ่ ง บริ ษั ท กำหนดระดั บ การเข า ถึ ง ข อ มู ล ภายในของบริษัทใหกับพนักงานระดับตางๆ ตามความเหมาะสมกับหนาที่ ความรับผิดชอบ และไดกำหนดบทลงโทษไวในขอบังคับการทำงานในหมวดวินัยและโทษทางวินัย ยกตัวอยางเชน วินัยเกี่ยวกับ ความลั บ และผลประโยชน ข องบริ ษั ท ข อ 3.2 ที่ ว า “ไม แ สวงหาผลประโยชน อั น มิ ค วรได จ ากบริ ษั ท หรื อ บุ ค คลอื่ น ที่ มี ความสัมพันธกับบริษัท หามประกอบธุรกิจสวนตัว หรือรับทำงานใหผูอื่นในธุรกิจที่เหมือนหรือคลายคลึงกับบริษัท แมวางานนั้นๆ จะทำนอกเวลาของบริษัทก็ตาม” การใหความเปนธรรมในการพิจารณาโทษทางวินัย และการลงโทษ บริษัทแตงตั้งคณะกรรมการ วินัยใหดำเนินการสอบสวน และใหความเปนธรรมแกพนักงานที่ถูกกลาวโทษ

067

Back


3. §«“¡‡°’ˬ«‚¬ßÀ√◊Õ§«“¡¢—¥·¬âß∑“ߺ≈ª√–‚¬™πå บริษัทกำหนดวิธีปฏิบัติการทำรายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ตองผานการสอบทานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ หรือคณะกรรมการบริษัท ตามเกณฑที่กำหนด และใหมีการเปดเผยรายการและมูลคาของรายการ ที่อาจมีความขัดแยงในปที่ผานมา โดยอธิบายความจำเปน และความสมเหตุสมผลของรายการที่เกิดขึ้นไวในรายงานประจำป อยางชัดเจน ทั้งนี้บริษัทกำหนดใหกรรมการ ผูบริหารที่มีสวนเกี่ยวของกับรายการดังกลาวเปดเผยขอมูล และ/หรือ ลักษณะความสัมพันธสวนบุคคลของตนเอง คูสมรส ญาติสนิท หรือมีความสัมพันธสวนบุคคลกับผูเสนอราคารายใด รายหนึ่งที่สงผลใหเกิดความไมโปรงใสในการปฏิบัติหนาที่โดยตรง สงใหสำนักบรรษัทภิบาล และใหงดออกเสียง และ/หรือไมอยูรวมในกระบวนการพิจารณาตัดสินชี้ขาด การทำรายการที่เกี่ยวโยงกันในปที่ผานมา แสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และตารางแสดงการทำรายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น โดยทุ ก รายการเป น รายการที่ ส มเหตุ ส มผล และเป น การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ปกติ การพิ จ ารณาทำรายการเป น ไป เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท ผานการสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือคณะกรรมการบริษัท วาเปนเสมือน การทำรายการกับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) ตามขอกำหนดของบริษัท และระเบียบของสำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และไมขัดกับมาตรฐานการบัญชีเรื่องการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ในป 2553 บริษัทมีการทำรายการอื่นที่กอใหเกิดรายไดกับกลุม บริษัทที่มีความเกี่ยวของกันในลักษณะความสัมพันธ ซึ่งถือเปนการดำเนินธุรกิจปกตินอกเหนือจากรายการที่กลาวมาแลวขางตน ดังนี้ กลุมบริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด รายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด กลุมบริษัท บานปู จำกัด (มหาชน) รายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด บริษัท แปซิฟก เวิลด (ประเทศไทย) จำกัด รายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด

068

การควบคุมภายใน

3,778,067.20 586,400.00

บาท บาท

924,217.17 441,556.20

บาท บาท

614,375.95 438,067.00

บาท บาท

Back


069

2,153,757.60 19,350.95 497,174.40

สัญญาเชาพื้นที่ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร อายุสัญญาเชา 3 ป มูลคารายการประกอบดวย • รายไดคาเชาและบริการ • ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด • เจาหนี้เงินมัดจำการเชา

3. บมจ. หลักทรัพย บัวหลวง ประเภทธุรกิจ เงินทุน และหลักทรัพย ลักษณะความสัมพันธ • นายสรรเสริญ วงศชะอุม กรรมการอิสระ เปนประธานกรรมการของ บริษัท หลักทรัพย บัวหลวง จำกัด (มหาชน)

2,099,000.86 17,528.21 497,174.40

2,468,884.44 243,106.48

สัญญาเชาพื้นที่สำนักงาน และบริการกับ บมจ. โรงแรมเอราวัณ อายุสัญญาเชา 1 ป มูลคารายการประกอบดวย • รายไดคาเชาและบริการ 2,826,315.31 • ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด 433,800.97

2. บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด (ไฮแอท รีเจนซี่ หัวหิน) ประเภทธุรกิจ ประกอบกิจการโรงแรม ลักษณะความสัมพันธ • คุณพนิดา เทพกาญจนา กรรมการบริษัท เปนญาติสนิทกับคุณวรรณสมร วรรณเมธี และคุณหญิงณัฐิกา วัธนเวคิน กรรมการ ผูมีอำนาจลงนาม บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด • กลุมวัธนเวคินถือหุนในบริษัทรอยละ 31.14

ป 2553

38,880,207.20 45,131,880.54 596,469.30 1,209,192.21 9,036,948.83 9,037,920.83

ป 2552

มูลคาของรายการ (บาท)

สัญญาเชาพื้นที่ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร อายุสัญญาเชา 1 - 3 ป มูลคารายการประกอบดวย • รายไดคาเชาและบริการ • ลูกหนี้ ณ วันสิ้นงวด • เจาหนี้เงินมัดจำการเชา

ลักษณะรายการ

1. กลุมบริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด ประเภทธุรกิจ ผลิตและจำหนาย น้ำตาลทราย กากน้ำตาล ลักษณะความสัมพันธ • คุณวิฑูรย วองกุศลกิจ คุณชนินท วองกุศลกิจ และคุณกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย กรรมการบริษัท เปนกรรมการผูมีอำนาจลงนาม และกรรมการกลุมบริษัทน้ำตาลมิตรผล • กลุมวองกุศลกิจถือหุนในบริษัทรอยละ 39.15

และลักษณะความสัมพันธ

บุคคล/นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

รายการระหวางกิจการที่เกี่ยวของกันในลักษณะความสัมพันธ ดังนี้

ราคาที่ตกลงกันเปนราคาตลาด เมื่อเทียบกับพื้นที่เชาบริเวณใกลเคียง และไมต่ำกวาผูเชารายอื่นตามเกณฑ มาตรฐานธุรกิจ

ราคาที่ตกลงกันเปนราคาตลาด เมื่อเทียบกับพื้นที่ใหเชาบริเวณ ใกลเคียง และไมต่ำกวาผูเชาหรือ ผูรับบริการรายอื่นตามเกณฑ มาตรฐานธุรกิจโรงแรม

เปนผูเชารายใหญ ราคาที่ตกลงกัน ไมต่ำกวาอัตราเฉลี่ยที่ตกลงกับผูเชา รายอื่น ตามเกณฑมาตรฐานธุรกิจ

คณะกรรมการตรวจสอบ

ความเห็นของ

SUCCESS WITH INTEGRITY

√“¬°“√∑’ˇ°’ˬ«‚¬ß°—π

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

Back


ความจำเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน ในกรณีที่บริษัทเขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัท บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของ และหรือ บุคคลภายนอก บริษัทจะพิจารณาถึงความจำเปนและความเหมาะสมในการเขาทำสัญญานั้นๆ โดยคำนึงถึงผลประโยชนของ บริษัทเปนหลัก มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหวางกัน ในกรณีที่บริษัทเขาทำสัญญาใดๆ ก็ตาม หรือมีการทำรายการระหวางกันกับบริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของ บุคคลภายนอก และ/หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง เพื่อประโยชนของบริษัท คณะกรรมการบริษัทกำหนดใหตองปฏิบัติตามหลักเกณฑของ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่องการเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนใน รายการที่เกี่ยวโยงกัน และใหมีราคาและเงื่อนไขเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก โดยกรรมการหรือพนักงานที่มีสวนไดเสีย ในรายการนั้นจะตองไมมีสวนในการพิจารณาอนุมัติ นโยบายหรือแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต -ไมมี-

070

รายการที่เกี่ยวโยงกัน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

¢âÕ¡Ÿ≈∑“ß°“√‡ß‘π ·≈–¢âÕ¡Ÿ≈∑—Ë«‰ª ·°√π¥å ‰Œ·Õ∑ ‡Õ√“«—≥ °√ÿ߇∑æ

071

รายการที่เกี่ยวโยงกัน

Back


√“¬ß“π¢ÕߺŸâ Õ∫∫—≠™’√—∫Õπÿ≠“µ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

เสนอ ผูถือหุนบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุน เฉพาะกิ จ การ งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส ว นของผู ถื อ หุ น รวมและงบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส ว นของผู ถื อ หุ น เฉพาะกิ จ การ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอ ความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาว จากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ของบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ตรวจสอบโดย ผูสอบบัญชีอื่นจากสำนักงานเดียวกันซึ่งแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2553 ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึง การใชวธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทัง้ ทีเ่ ปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสม ของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจน การประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาว ใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

«√√≥“æ√ ®ßæ’√‡¥™“ππ∑å ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4098 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 22 กุมภาพันธ 2554

072

Back


การเปิดเผยข้อมูลของผู้สอบบัญชี บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนแก่ผู้สอบบัญชี รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด รวม 3,780,000 บาท แบ่งเป็น • ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริษัท 2,300,000.00 บาท • ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริษัทย่อย 1,480,000.00 บาท 2) ค่าบริการอื่น -ไม่มี-

073

Back


งบดุล

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2552

2553

2552

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 ลูกหนี้การค้า 4, 6 สินค้าคงเหลือ 7 เงินทดรองจ่ายค่าก่อสร้าง ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 4, 8 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

220,384,384 148,046,349 72,898,210 15,023,839 50,625,364 95,183,758 602,161,904

277,488,552 148,495,188 78,247,461 34,617,512 198,001,782 88,915,926 825,766,421

93,907,272 79,207,822 28,045,046 13,905,283 - 15,882,989 230,948,412

201,834,559 79,573,655 33,792,403 14,772,675 78,120,621 20,391,741 428,485,654

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 9 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 10 เงินลงทุนในกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน 11, 21 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย 4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 12, 16 สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร 13, 16 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 14 เงินมัดจำการเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 15 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

- 338,271 2,571,029 - 10,255,825,384 1,793,652,235 60,833,747 204,341,948 30,702,907 12,348,265,521 12,950,427,425

- 338,271 3,305,168 - 10,406,634,932 1,712,926,169 74,139,901 231,340,229 34,365,743 12,463,050,413 13,288,816,834

2,299,159,881 338,271 1,975,973 1,080,774,007 6,242,901,679 963,996,368 39,744,993 202,314,317 28,655,926 10,859,861,415 11,090,809,827

2,299,159,881 338,271 2,525,360 745,745,622 6,459,617,393 857,138,383 50,285,579 228,221,973 30,413,472 10,673,445,934 11,101,931,588

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 074

Back


งบดุล (ต่อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2553

2552

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 16 195,700,000 207,200,000 195,700,000 152,200,000 เจ้าหนี้การค้า 4, 17 211,897,440 230,684,342 90,083,357 75,101,006 เจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง 40,952,783 100,481,328 20,235,144 59,303,424 หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 16 - 25,701 - 25,701 เจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี 16 819,440 528,658 819,440 528,658 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี 16 573,750,000 697,250,000 403,750,000 371,000,000 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 18 348,220,977 366,065,534 151,375,348 151,988,590 รวมหนี้สินหมุนเวียน 1,371,340,640 1,602,235,563 861,963,289 810,147,379 หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เช่าซื้อ 16 621,197 567,618 621,197 567,618 เงินกู้ยืมระยะยาวจากบริษัทย่อย 4, 16 - - 38,860,995 55,131,790 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 16 7,829,517,051 7,665,467,051 5,314,750,000 5,370,900,000 เจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่าที่ดิน 360,000,000 360,000,000 360,000,000 360,000,000 เงินมัดจำรับจากผู้เช่า 100,677,747 103,452,269 99,232,325 102,033,939 รายได้รอการตัดบัญชี 19 15,320,798 18,135,126 15,320,798 18,135,126 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 8,306,136,793 8,147,622,064 5,828,785,315 5,906,768,473 รวมหนี้สิน 9,677,477,433 9,749,857,627 6,690,748,604 6,716,915,852

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 075

Back


งบดุล (ต่อ)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2553

2552

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 20 ทุนจดทะเบียน 2,244,779,001 2,244,779,001 2,244,779,001 2,244,779,001 ทุนที่ออกและชำระแล้ว 2,244,779,001 2,244,779,001 2,244,779,001 2,244,779,001 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 21 358,142,539 358,142,539 358,142,539 358,142,539 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง จากการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน (596,603) (191,098) (405,036) (108,143) กำไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำรองตามกฎหมาย 21 79,608,000 78,840,000 67,658,000 66,890,000 ยังไม่ได้จัดสรร 449,041,861 724,826,403 1,729,886,719 1,715,312,339 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท 3,130,974,798 3,406,396,845 4,400,061,223 4,385,015,736 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 141,975,194 132,562,362 - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 3,272,949,992 3,538,959,207 4,400,061,223 4,385,015,736 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 12,950,427,425 13,288,816,834 11,090,809,827 11,101,931,588

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 076

Back


งบกำไรขาดทุน

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

รายได้ รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม รายได้จากค่าเช่าห้องในอาคาร และค่าบริการที่เกี่ยวข้อง 4 กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ เงินปันผลรับ 4 ดอกเบี้ยรับ 4 รายได้อื่น 4, 23 รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม ต้นทุนจากการให้เช่าห้องในอาคาร และค่าบริการที่เกี่ยวข้อง 4 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย 24 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 25 ค่าตอบแทนผู้บริหาร 26 ขาดทุนจากการลดลงของ มูลค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย 9 รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน 4, 28 กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ 29 กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี ส่วนของกำไร (ขาดทุน) ที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 30

2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2553

2552

2,929,914,482 2,748,087,145 1,545,898,978 1,254,911,502 391,333,097 400,945,926 384,011,760 388,885,008 3,573,512 3,864,462 1,232,838 2,065,965 982,813 383,911 18,085,498 287,308 411,737 357,904 39,065,891 28,295,440 38,112,615 37,983,704 35,810,011 33,168,730 3,364,328,256 3,191,623,052 2,024,104,976 1,707,613,953 1,488,413,277 1,336,282,137 154,922,380 683,504,716 214,081,725 666,927,747 35,153,941 - 3,243,003,786 121,324,470 (360,761,571) (239,437,101) (19,866,597) (259,303,698)

154,618,598 627,780,673 206,708,919 670,783,982 40,238,236

705,452,776

562,043,929

159,636,076 404,735,841 118,441,023 341,957,951 33,353,941

159,974,511 353,932,033 94,107,251 338,392,235 38,333,236

- - 804,524 3,036,412,545 1,763,577,608 1,547,587,719 155,210,507 260,527,368 160,026,234 (306,846,197) (245,184,988) (189,577,331) (151,635,690) 15,342,380 (29,551,097) (45,656,292) - (197,291,982) 15,342,380 (29,551,097)

(275,016,542) (229,410,772) 15,712,844 32,118,790 (259,303,698) (197,291,982) (0.12) (0.10)

15,342,380 - 15,342,380 0.01

(29,551,097) (29,551,097) (0.01)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 077

Back


078

Back

งบการเงินรวม

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และวันที่ 1 มกราคม 2553 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี เงินปันผล 31 จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย 21 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี เงินปันผล 31 โอนทุนสำรองตามกฎหมายของบริษัทย่อย เป็นกำไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร 21 460,000

-

-

-

(405,505) - - (405,505) - (405,505) - - (275,016,542) (275,016,542) 15,712,844 (259,303,698) - - - - (6,300,012) (6,300,012) - 768,000 (768,000) - - (596,603) 79,608,000 449,041,861 3,130,974,798 141,975,194 3,272,949,992

(460,000)

- - - - - - - - 2,244,779,001 358,142,539

-

- - 285,520 - 285,520 - (229,410,772) (229,410,772) 32,118,790 (197,291,982) - (22,447,636) (22,447,636) - (22,447,636)

(191,098) 78,840,000 724,826,403 3,406,396,845 132,562,362 3,538,959,207

-

-

285,520 - -

(476,618) 79,300,000 976,224,811 3,657,969,733 100,443,572 3,758,413,305

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น

(หน่วย : บาท)

2,244,779,001 358,142,539

- - -

- - -

2,244,779,001 358,142,539

ผลกำไร กำไรสะสม (ขาดทุน) ที่ยังไม่ ทุนเรือนหุ้น รวมส่วน ส่วนของ ส่วนเกิน เกิดขึ้นจริงจาก ที่ออกและ ของผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น มูลค่าหุ้น การเปลี่ยนแปลง ทุนสำรอง ชำระแล้ว ยังไม่ได้ ของบริษัท ส่วนน้อย ในมูลค่ายุตธิ รรม ตามกฎหมาย จัดสรร หมายเหตุ ของเงินลงทุน

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น


079

Back

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และวันที่ 1 มกราคม 2553 ผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน กำไรสำหรับปี จัดสรรเป็นทุนสำรองตามกฎหมาย 21 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ขาดทุนสำหรับปี เงินปันผล 31 358,142,539 - - - 358,142,539

- - - 2,244,779,001

- - -

- - - 2,244,779,001

358,142,539

2,244,779,001

ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกิน ที่ออกและ มูลค่าหุ้น ชำระแล้ว หมายเหตุ

(296,893) - - (405,036)

(108,143)

213,758 - -

(321,901)

ผลกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่ เกิดขึ้นจริงจาก การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน

- - 768,000 67,658,000

66,890,000

- - -

66,890,000

ยังไม่ได้ จัดสรร

4,385,015,736

213,758 (29,551,097) (22,447,636)

4,436,800,711

รวมส่วน ของผู้ถือหุ้น ของบริษัท

(หน่วย : บาท)

- (296,893) 15,342,380 15,342,380 (768,000) 1,729,886,719 4,400,061,223

1,715,312,339

- (29,551,097) (22,447,636)

1,767,311,072

กำไรสะสม ทุนสำรอง ตามกฎหมาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2552

2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไร (ขาดทุน) สำหรับปี (259,303,698) (197,291,982) 15,342,380 รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 683,504,716 627,780,673 404,735,841 หนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) 717,106 851,763 (914,539) ขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย - - - กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าเงินลงทุน ในบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (18,638) - - ค่าเผื่อผลขาดทุนจากภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่เรียกคืนไม่ได้ 3,794,537 1,496,186 3,302,220 โอนเงินมัดจำและรายได้รอการตัดบัญชีเป็นรายได้ (5,343,191) (3,140,513) (5,343,191) โอนเงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าเป็นรายได้ (1,368,177) (680,661) (1,368,177) เงินปันผลรับ (982,813) (383,911) (18,085,498) ดอกเบี้ยรับ (411,737) (357,904) (39,065,891) กำไรจากการจำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนและสิทธิการเช่า (286,337) (14,870,147) (200,787) ต้นทุนทางการเงิน 360,761,571 306,846,197 245,184,988 ภาษีเงินได้ 19,866,597 45,656,292 - 800,929,936 765,905,993 603,587,346

2552 (29,551,097) 353,932,033 1,314,166 804,524 1,256,544 (3,140,513) (680,661) (287,308) (28,295,440) (12,815,570) 189,577,331 472,114,009

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 080

Back


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2552

2553

2552

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เงินทดรองจ่ายค่าก่อสร้าง ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินมัดจำการเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินมัดจำรับจากผู้เช่า จ่ายภาษีเงินได้

(4,284,401) 5,349,251 19,593,673 147,376,418 (6,267,833) 26,998,281 15,790,124 (18,786,899) (3,245,963) 3,770,476 987,223,063 (52,837,616)

(48,520,383) (20,197,890) 27,619,480 18,157,685 (27,932,924) (26,461,638) 9,921,545 95,768,997 9,964,022 3,589,521 807,814,408 (75,722,398)

(2,735,763) 5,747,357 867,392 78,120,621 1,952,884 25,907,656 12,906,147 14,982,351 344,593 3,743,384 745,423,968 (14,450,821)

(29,973,752) (10,565,192) 43,216,220 14,728,825 (8,328,428) (24,709,101) 9,396,549 16,746,326 16,017,955 3,762,739 502,406,150 (14,250,151)

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 934,385,447 732,092,010 730,973,147 488,155,999 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย - - (184,861,134) (88,489,462) รับคืนเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทย่อย - - 184,861,134 88,489,462 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย - - (334,017,866) (228,981,950) เงินลงทุนในกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน 347,271 (4,720) 252,494 เงินสดจ่ายจากการคืนทุนบริษัทย่อย - - - (126,348) ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (488,502,754) (1,348,767,100) (170,188,057) (1,066,443,492) ซื้อสิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร (156,279,790) (3,879,077) (150,000,000) ซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (8,544,905) (20,310,177) (3,511,734) (19,326,732) เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 3,850,275 27,789,366 6,299,303 24,711,907 รับเงินปันผล 982,812 383,911 18,085,498 287,308 รับดอกเบี้ย 411,737 357,904 38,055,372 28,322,562 (647,735,354) (1,344,429,893) (595,024,990) (1,261,556,745) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 081

Back


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน จ่ายชำระเจ้าหนี้เช่าซื้อ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากบริษัทย่อย เงินกู้ยืมระยะยาวจากบริษัทย่อย จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะยาวจากบริษัทย่อย เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงิน ชำระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายต้นทุนทางการเงิน จ่ายเงินปันผล จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลดลงสุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2553

2552

2553

2552

(11,500,000) (1,130,340) -

(822,850,000) (27,942,746) (515,574) -

43,500,000 (1,130,340) 11,027,304 (11,027,304) 31,646,562 (47,917,357)

(745,350,000) (27,942,746) (515,574) 72,101,952 (41,715,114)

209,200,000 1,687,300,000 (168,650,000) (365,373,909) (339,799,013) (22,447,636) (6,300,012) -

139,000,000 1,648,800,000 (162,400,000) (246,574,309) (222,360,167) (22,447,636) -

(343,754,261)

(243,875,444)

5

(57,104,168) (138,592,852) (107,927,287) (112,830,031) 277,488,552 416,081,404 201,834,559 314,664,590

5

220,384,384

277,488,552

93,907,272

201,834,559

4,016,134 1,449,000

1,592,109 -

4,016,134 1,449,000

1,592,109 -

38,086,089

93,925,423

18,911,350

55,423,761

รายการที่ไม่ใช่เงินสด โอนเงินมัดจำรับจากผู้เช่าหักกลบกับยอดลูกหนี้ ซื้อยานพาหนะตามสัญญาเช่าซื้อ ซื้ออาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน และสิทธิการเช่าโดยยังมิได้ชำระเงิน

473,745,031

660,570,715

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 082

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554

1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร บริษัทมีสำนักงานสาขา 9 แห่งที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดชลบุรี จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดสุราษฎร์ธานี บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อเดือนมิถุนายน 2537 บริษัทดำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการลงทุนในบริษัทต่างๆ ให้เช่าอาคารและดำเนินกิจการโรงแรม รายละเอียดของบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้

ชื่อกิจการ

ลักษณะธุรกิจ

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) โรงแรม บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด โรงแรม บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด โรงแรม บริษัท เอราวัณ ภูเก็ต จำกัด โรงแรม บริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด โรงแรม บริษัท เอราวัณ นาคา จำกัด เจ้าของที่ดิน บริษัท เดอะ รีเสิร์ฟ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) โรงแรม บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด โรงแรม บริษัทร่วม บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด ให้บริการ

083

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ประเทศ ที่กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุ้นร้อยละ 2553 2552

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

ไทย ไทย

1.05 4.22

1.05 4.22

ไทย

48.00

48.00

Back


2. เก≥±åการ®ัดทำงบการเงิน งบการเงินนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงค์ของการรายงานเพื่อใช้ในประเทศไทย และจัดทำเป็นภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษา อังกฤษได้จัดทำขึ้นเพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทำและแสดงหน่วยเงินตราเป็นเงินบาท และมีการปัดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อให้แสดงเป็น หลักพันบาท ยกเว้นที่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเว้นที่กล่าวไว้ ในนโยบายการบัญชี งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้อง และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย ระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศการจัดเลขระบุฉบับที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยใหม่ ดังนี้

ฉบับเดิม

ฉบับใหม่

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 103

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 42

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 106

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 48

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107

เรื่อง หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ การเปดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคาร และสถาบันการเงินที่คล้ายคลึงกัน การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจ เฉพาะด้านการลงทุน การแสดงรายการและการเปดเผยข้อมูล สำหรับเครื่องมือทางการเงิน

กลุ่มบริษัทได้ใช้แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) เพื่อจัดทำและนำเสนองบการเงิน ซึ่งออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีระหว่าง ปี 2553 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 การใช้แม่บทการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่นี้ไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญ กับงบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินหลายฉบับ ซึ่งยังไม่มีผลบังคับ ในปัจจุบนั และไม่ได้มกี ารนำมาใช้สำหรับการจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีไ่ ด้ออกและปรับปรุงใหม่เหล่านี้ ได้เปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37

084

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ในการจัดทำงบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐาน หลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อ สมมติ ฐ านที่ ใ ช้ ใ นการจัดทำงบการเงินจะได้รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้รับผลกระทบ ข้อมูลเกี่ยวกับการประมาณความไม่แน่นอนและข้อสมมติฐานที่สำคัญในการกำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสำคัญ ต่อการรับรู้จำนวนเงินในงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไปนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 35 ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 16 การจัดประเภทของสัญญาเช่า

3. น‚ยบายการบัญชีที่สำ§ัญ (ก) เกณฑ์ในการจัดทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้วยงบการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย (รวมกันเรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) และส่วนได้เสียของ กลุ่มบริษัทในบริษัทร่วม บริษัทยอย บริษัทย่อยเป็นกิจการที่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มบริษัทมีอำนาจควบคุม ทั้งทางตรงหรือทางอ้อมในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของกิจการนั้น เพื่อได้มาซึ่งประโยชน์จากกิจกรรม ของบริษัทย่อย งบการเงินของบริษัทย่อยได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยเป็นนโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท บริษัทรวม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญ โดยมีอำนาจเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายทางการเงินและการดำเนินงาน แต่ไม่ถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกล่าว การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐาน ว่ามีอยู่เมื่อกลุ่มบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 50 งบการเงินรวมของกลุ่มบริษัทได้รวม ส่วนแบ่งรายได้ ค่าใช้จา่ ย และการเคลือ่ นไหวของส่วนของเจ้าของของบริษทั ร่วมภายหลังจากการปรับปรุงนโยบายการบัญชีให้เป็น นโยบายเดียวกันกับของกลุ่มบริษัท นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญสิ้นสุดลง เมื่อ ผลขาดทุนที่กลุ่มบริษัทได้รับปันส่วนจากบริษัทร่วมมีจำนวนเกินกว่าเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเป็นศูนย์และ หยุดรับรู้ส่วนผลขาดทุน เว้นแต่กรณีที่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมาย หรืออนุมาน หรือยินยอมที่จะชำระภาระผูกพันของ บริษัทร่วม 085

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมถึงรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลมาจาก รายการระหว่างกิจการในกลุม่ ถูกตัดรายการในการจัดทำงบการเงินรวม กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริงซึง่ เป็นผลมาจากรายการกับบริษทั ร่วม ถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงถูกตัดรายการในลักษณะ เดียวกับกำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่เท่าที่เมื่อไม่มีหลักฐานการด้อยค่าเกิดขึ้น (ข) รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินและเป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรหรือขาดทุนจากการแปลงค่าจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน (ค) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียก และเงินลงทุนระยะสัน้ ที่มีสภาพคล่องสูง (ง) ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะห์ประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณ์เกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคต ของลูกค้า ลูกหนี้จะถูกตัดจำหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็นหนี้สูญ (จ) สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงในราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ย) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า มูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดำเนินธุรกิจปกติหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการขาย (ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ในงบการเงินรวมบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย 086

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

เงินลงทุนในตราสารทุน ตราสารทุนซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดนอกเหนือจากที่ถือไว้เพื่อค้าหรือตั้งใจถือไว้จนครบกำหนด จัดประเภทเป็นเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรู้มูลค่าในครั้งแรกเงินลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลค่ายุติธรรม และการเปลี่ยนแปลง ที่ไม่ใช่ผลขาดทุนจากการด้อยค่า บันทึกโดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนผลขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้ในงบกำไรขาดทุน เมื่อมี การจำหน่ายเงินลงทุน จะรับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นโดยตรงเข้าในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่เป็น เงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ย จะต้องบันทึกดอกเบี้ยในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดินแสดงด้วยราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า สินทรัพยที่เชา การเช่าซึ่งกลุ่มบริษัทได้รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั้นๆ ให้จัด ประเภทเป็นสัญญาเช่าการเงิน อุปกรณ์และยานพาหนะที่ได้มาโดยทำสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็นสินทรัพย์ด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า หักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสมและ ขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าเช่าที่ชำระจะแยกเป็นส่วนที่เป็นค่าใช้จ่ายทางการเงิน และส่วนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทำให้ อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่สำหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน คาเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณ ของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้งานของสินทรัพย์แสดงได้ดังนี้ อาคารและส่วนปรับปรุง เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ ยานพาหนะ

5 - 40 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี

ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 33 กลุ่มบริษัทไม่คิดค่าเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เครื่องใช้ในการดำเนินกิจการโรงแรม ได้แก่ ลินิน เครื่องเคลือบ เครื่องแก้วและเครื่องเงิน และเครื่องใช้บางชนิดที่ใช้ใน การดำเนินกิจการโรงแรม ซึ่งบันทึกเป็นมูลค่าของทรัพย์สินด้วยมูลค่าที่ซื้อมาในจำนวนเท่าที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานโดยปกติ ได้ถือเป็นมูลค่าหลักของเครื่องใช้ในการดำเนินกิจการโรงแรม การซื้อเพิ่มเติมในภายหลังจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อมีรายการซื้อ เกิดขึ้น 087

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


(ซ) สิทธิการเช่า สิทธิการเช่าแสดงด้วยราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า คาตัดจำหนาย สิทธิการเช่าตัดบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญาเช่า (ฌ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่กลุ่มบริษัทซื้อมาและมีอายุการใช้งานจำกัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและ ขาดทุนจากการด้อยค่า ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแสดงได้ดังนี้ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์

5 - 10 ปี

(ญ) การด้อยค่า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุ่มบริษัทได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ในกรณี ที่มีข้อบ่งชี้จะทำการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรือมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสด สูงกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกำไรขาดทุน เมื่อมีการลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งได้บันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และมีความชัดเจน ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวมีการด้อยค่า ยอดขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้นจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยไม่ต้องปรับกับ ยอดสินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าว ยอดขาดทุนที่บันทึกในงบกำไรขาดทุนเป็นผลต่างระหว่างราคาทุนที่ซื้อกับมูลค่ายุติธรรม ในปัจจุบันของสินทรัพย์ หักขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรู้แล้วในงบกำไรขาดทุน การคำนวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ทางการเงินสำหรับหลักทรัพย์เผื่อขาย คำนวณโดยอ้างอิงถึงมูลค่ายุติธรรม มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึงมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์หรือมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์หักต้นทุนในการขาย แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์ ประมาณการ กระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราคิดลดก่อนคำนึงภาษีเงินได้เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจ ประเมินได้ในตลาดปัจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อสินทรัพย์ สำหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดย อิสระจากสินทรัพย์อื่น ให้พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์นั้นมีความ เกี่ยวข้องด้วย 088

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน จะถูกกลับรายการเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธ์โดยตรงกับขาดทุนจากการด้อยค่าที่เคยรับรู้ ส่วนสินทรัพย์ทางการเงินที่เป็นตราสารทุนที่จัดประเภทเป็น หลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรู้ในงวดก่อนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ ที่ออกรายงานว่ามีข้อบ่งชี้เรื่องการด้อยค่าหรือไม่ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการ ที่ใช้ในการคำนวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเท่าที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ไม่เกินกว่ามูลค่าตามบัญชีภายหลังหักค่าเสือ่ มราคาหรือค่าตัดจำหน่าย เสมือนหนึง่ ไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่ามาก่อน (ฎ) เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้ค่าก่อสร้างและเจ้าหนี้อื่นแสดงในราคาทุน (ฏ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ก็ต่อเมื่อกลุ่มบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปัจจุบันหรือที่ก่อตัวขึ้นอันเป็น ผลมาจากเหตุการณ์จากอดีต และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชำระภาระ หนี้สินดังกล่าว และสามารถประมาณจำนวนภาระหนี้สินได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าผลกระทบดังกล่าวมีจำนวนที่เป็นสาระสำคัญ ประมาณการหนีส้ นิ พิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดทีจ่ ะจ่ายในอนาคต โดยใช้อตั ราคิดลดในตลาดปัจจุบนั ก่อนคำนึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนจำนวนที่อาจประเมินได้ในตลาดปัจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีต่อหนี้สิน (ฐ) รายได้ รายได้ที่รับรู้ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้า รายไดจากกิจการโรงแรม รายได้ในกิจการโรงแรมจากค่าห้อง ค่าอาหารและเครื่องดื่ม และรายได้ค่าบริการอื่น บันทึกเป็นรายได้เมื่อแขกเข้าพัก ในห้อง มีการขายอาหารและเครื่องดื่ม และเมื่อมีการให้บริการแล้ว รายไดจากคาเชาและคาบริการ คงค้าง 089

รายได้จากค่าเช่าห้องและค่าบริการที่เกี่ยวข้องในอาคารสำนักงานและพื้นที่ในศูนย์การค้าจะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ

ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุ่มบริษัทมีสิทธิ ได้รับเงินปันผล (ฑ) รายได้รอการตัดบัญชี บริษัทรับรู้รายได้ค่าเช่ารอตัดบัญชีเป็นรายได้โดยวิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่า (ฒ) ค่าใช้จ่าย สัญญาเชาดำเนินงาน รายจ่ายภายใต้สญ ั ญาเช่าดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธที เี่ ป็นระบบตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ทไี่ ด้รบั ตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนเป็นส่วนหนึ่งของค่าเช่าทั้งสิ้นตามสัญญา ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่ค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้น ยกเว้นในกรณี ที่มีการบันทึกเป็นต้นทุนส่วนหนึ่งของสินทรัพย์ อันเป็นผลมาจากการใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ ดังกล่าวก่อนที่จะนำมาใช้เองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดย ใช้วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (ณ) ภาษีเงินได้ ภาษี เ งิ น ได้ จ ากกำไรหรื อ ขาดทุ น สำหรั บ ปี ป ระกอบด้ ว ยภาษี เ งิ น ได้ ปั จ จุ บั น ซึ่ ง ได้ แ ก่ ภ าษี ที่ ค าดว่ า จะจ่ า ยชำระ โดยคำนวณจากกำไรประจำปีที่ต้องเสียภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่ประกาศใช้หรือที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจน การปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปีก่อนๆ

4. รายการที่เกิดข÷Èนและยอด§งเหลือกับบุ§§ลหรือกิ®การที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ได้แก่ บุคคล หรือกิจการต่างๆ ทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับกลุม่ บริษทั และบริษทั โดยการเป็นผูถ้ อื หุน้ หรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกัน หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำหนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาด หรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ ความสัมพันธ์ที่กลุ่มบริษัทมีกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งมีการควบคุม หรือควบคุมร่วมกันในบริษัท หรือเป็นกิจการที่บริษัท ควบคุม หรือควบคุมร่วมกัน หรือเป็นบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับกลุ่มบริษัท มีดังนี้ 090

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตั้ง/สัญชาติ

บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด บริษัท เอราวัณ ภูเก็ต จำกัด บริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด บริษัท เอราวัณ นาคา จำกัด บริษัท เดอะ รีเสิร์ฟ จำกัด บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

บริษัท ราชประสงค์ สแควร์ จำกัด

ไทย

บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด

ไทย

บริษัท พาเนล พลัส จำกัด บริษัท เพโทรกรีน จำกัด บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด บริษัท ภูเขียว ไบโอ-เอ็นเนอร์ยี จำกัด บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด บริษัท ไอเอจี ประกันภัย (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แปซิฟก เวิลด์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท น้ำตาลและอ้อยตะวันออก จำกัด

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ลักษณะความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 72.59 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 95.77 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 99.99 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 99.99 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 99.99 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 99.99 เป็นบริษัทย่อย บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 99.99 เป็นบริษัทร่วม บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้อยละ 48.00 และมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทถือหุ้นโดยตรง ร้อยละ 23.29 เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการเป็น ญาติสนิทกับกรรมการบริษัท เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกันโดยมีกรรมการร่วมกัน

นโยบายการกำหนดราคาสำหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้

รายการ

บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้สาธารณูปโภค ค่าเช่าและค่าบริการจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย

091

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

นโยบายการกำหนดราคา อัตราร้อยละ 4.15 - 4.53 ต่อปี (2552 : อัตรารอยละ 4.15 - 5.05 ตอป) ตามที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติ ราคาตามสัญญา 17 ล้านบาทต่อปี อัตราร้อยละ 4.15 - 4.53 ต่อปี (2552 : อัตรารอยละ 4.15 - 5.05 ตอป)

Back


รายการ

นโยบายการกำหนดราคา

บริษัทร่วม ค่าบริหาร กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ

ราคาทุนตามสัดส่วนการถือหุ้น ตารางเมตรละ 308 - 583 บาทต่อเดือน (2552 : ตารางเมตรละ 300 - 566 บาทตอเดือน) ขึ้นอยู่กับทำเลที่ตั้งของอาคาร ราคาตามสัญญา ราคายุติธรรมตามเงื่อนไขที่ดีที่สุด 11 ล้านบาทต่อปี ราคายุติธรรมตามเงื่อนไขที่ดีที่สุด

รายได้สาธารณูปโภค รายได้ค่าบริการอื่น ค่าเช่าที่ดิน ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย

รายการที่สำคัญกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 สรุปได้ดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ บริษัทย่อย ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้สาธารณูปโภค ค่าเช่าและค่าบริการจ่าย ดอกเบี้ยจ่าย กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้สาธารณูปโภค รายได้ค่าบริการอื่น ค่าเช่าที่ดิน ค่าบริหาร ค่าเบี้ยประกันภัยจ่าย

092

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

28

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

-

-

38,940 17,350 1,918 16,264 1,874

28,173 1,995 16,472 1,502

45,551 4,264 5,667 10,920 1,000 -

41,295 3,271 3,240 10,920 1,600 1,632

43,082 4,264 5,073 1,000 -

38,469 3,271 2,715 1,600 982

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ ลูกหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด บริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) บริษัท เพโทรกรีน จำกัด บริษัท พาเนล พลัส จำกัด บริษัท ภูเขียว ไบโอ-เอ็นเนอร์ยี จำกัด บริษัท โรงแรมชายทะเล จำกัด บริษัท แปซิฟก เวิลด์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท น้ำตาลและอ้อยตะวันออก จำกัด บริษัทอื่นๆ รวม

6

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

-

-

126 880 328

105 672 273

986 442 63 727 19 243 438 292 55 3,265

907 325 280 191 16 434 31 2,184

986 342 63 727 19 438 55 3,964

867 325 280 191 16 31 2,760 (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ลูกหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด

093

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

746

-

Back


(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด

5,460

5,460

(หน่วย : ร้อยละต่อปี)

อัตราดอกเบี้ย 2553 2552

เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทย่อย บริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด บริษัท เอราวัณ นาคา จำกัด บริษัท เอราวัณ ภูเก็ต จำกัด บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด บริษัท เดอะ รีเสิร์ฟ จำกัด

4.53 4.53 4.53 4.53 4.53

4.15 4.15 4.15 4.15 4.15

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

-

-

(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552

-

79,316 20,036 - 598,568 - 228,740 - 154,114 - 1,080,774

73,500 16,909 484,973 26,968 143,396 745,746

094

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

-

-

184,861 (184,861) -

88,489 (88,489) -

-

-

745,746 457,451 (122,423) 1,080,774

516,791 269,662 (40,707) 745,746 (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เจ้าหนี้การค้า-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

257 30 287

200 200 (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เจ้าหนี้อื่น-กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด

095

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 23

-

Back


(หน่วย : ร้อยละต่อปี)

(หน่วย : พันบาท)

อัตราดอกเบี้ย 2553 2552

เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูยืมระยะยาว บริษัทย่อย บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด

4.53

4.15

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552

-

-

38,861

55,132

รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม เงินกูยืมระยะยาว บริษัทย่อย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

-

-

11,027 (11,027) -

-

-

-

55,132 31,646 (47,917) 38,861

24,745 72,102 (41,715) 55,132

5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง รวม

7,559 194,741 18,084 220,384

7,293 270,196 277,489

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 3,684 90,223 93,907

3,763 198,072 201,835

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นสกุลเงินบาท 096

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

6. ลูกหนีÈการ§้า (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นๆ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี้สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) สำหรับปี การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้การค้ามีดังนี้

4

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

3,265 146,722 149,987 (1,941) 148,046

2,184 148,969 151,153 (2,658) 148,495

3,964 76,460 80,424 (1,216) 79,208

2,760 78,944 81,704 (2,130) 79,574

717

852

(914)

1,314

(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค้างชำระ น้อยกว่า 3 เดือน กิจการอื่นๆ ค้างชำระ น้อยกว่า 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

3,265

2,184

3,964

2,760

141,574 4,127 949 72 146,722 (1,941) 144,781 148,046

147,152 1,345 246 226 148,969 (2,658) 146,311 148,495

73,482 1,957 949 72 76,460 (1,216) 75,244 79,208

77,833 639 246 226 78,944 (2,130) 76,814 79,574

ลูกหนี้การค้าของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นสกุลเงินบาท

097

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


7. สิน§้า§งเหลือ (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ อาหารและเครื่องดื่ม วัสดุสิ้นเปลืองใช้ในการดำเนินงาน อสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย อื่นๆ รวม

12

งบการเงินรวม 2553 2552 32,801 15,365 17,684 7,048 72,898

35,071 12,044 23,254 7,878 78,247

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 9,118 989 17,684 254 28,045

9,215 237 23,254 1,086 33,792

8. สินทรัæยåหมุนเวียนอื่น (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ เงินทดรองจ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้อื่น ภาษีซื้อที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ อื่นๆ รวม

4 4

งบการเงินรวม 2553 2552 46,887 24,009 1,577 9,735 12,976 95,184

39,828 21,890 3,055 9,914 14,229 88,916

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 322 9,083 843 3,843 1,792 15,883

4,669 7,190 128 7,333 1,072 20,392

098

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


099

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

72.59 95.77 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99

119.50 71.00 450.00 550.00 330.00 7.50 1.00

119.50 71.00 450.00 550.00 330.00 7.50 1.00

2552

819,710 819,710 68,000 68,000 451,291 451,291 582,001 582,001 376,858 376,858 300 300 1,000 1,000 2,299,160 2,299,160

2553

2553

2552

วิธีราคาทุน

-

2553

2553

2552

2553

เงินปันผลรับ

- 819,710 819,710 17,350 - 68,000 68,000 - 451,291 451,291 - 582,001 582,001 - 376,858 376,858 300 300 1,000 1,000 - 2,299,160 2,299,160 17,350

2552

ราคาทุน-สุทธิ

(หน่วย : พันบาท)

การด้อยค่า

งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนชำระแล้ว

(หน่วย : ล้านบาท)

-

2552

ในระหว่างไตรมาสแรกของปี 2551 บริษัทได้รับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท เอราวัณ เพลินจิต จำกัด และบริษัทย่อยดังกล่าวได้ดำเนินการจดทะเบียน เลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์แล้ว นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยได้มีมติอนุมัติให้คืนทุนให้กับผู้ถือหุ้นล่วงหน้าโดยไม่ต้องรอให้เสร็จสิ้นการชำระ บัญชีในอัตราหุ้นละ 7.36 บาท รวมเป็นเงิน 1,480.3 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้ดำเนินการคืนทุนแล้ว และบริษัทได้ตั้งผลขาดทุนจากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุน ในบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นจำนวน 656.5 ล้านบาทในงบกำไรขาดทุน อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2551 บริษัทมีการคืนเงินทุนบางส่วนที่ได้รับคืนทุนล่วงหน้า โดยไม่ต้องรอให้เสร็จสิ้นการชำระบัญชีให้แก่บริษัทย่อยเป็นจำนวนหุ้นละ 0.0032 บาท รวมเป็นเงิน 0.6 ล้านบาท ในวันที่ 11 ธันวาคม 2552 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ จดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชี บริษัทได้รับเงินคืนทุนส่วนที่เหลือและรับรู้ผลขาดทุนจากการจำหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นจำนวนเงิน 0.8 ล้านบาท

บริษัทย่อย บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด บริษัท เอราวัณ ภูเก็ต จำกัด บริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด บริษัท เอราวัณ นาคา จำกัด บริษัท เดอะ รีเสิร์ฟ จำกัด รวม

สัดส่วน ความเป็นเจ้าของ 2553 2552

(หน่วย : ร้อยละ)

เงินลงทุนในบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และเงินปันผลรับสำหรับแต่ละปี มีดังนี้

9. เงินลงทุน„นบริ…ัทย่อย

SUCCESS WITH INTEGRITY

Back


100

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back

48.00

48.00

สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552

1.00

1.00

ทุนชำระแล้ว 2553 2552

(หน่วย : ล้านบาท)

338

338

วิธีราคาทุน 2553 2552

338

338

งบการเงินรวม วิธีส่วนได้เสีย 2553 2552

-

-

การด้อยค่า 2553 2552

(หน่วย : พันบาท)

338

338

วิธีส่วนได้เสีย-สุทธิ 2553 2552

-

-

เงินปันผลรับ 2553 2552

บริษัทร่วม บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด

48.00

48.00

สัดส่วนความเป็นเจ้าของ 2553 2552

(หน่วย : ร้อยละ)

1.00

1.00

ทุนชำระแล้ว 2553 2552

(หน่วย : ล้านบาท)

338

338

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน การด้อยค่า 2553 2552 2553 2552

338

338

ราคาทุน-สุทธิ 2553 2552

(หน่วย : พันบาท)

-

-

เงินปันผลรับ 2553 2552

ในระหว่างปี บริษัทได้พิจารณาส่วนได้เสียของเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามสัดส่วนที่ถือหุ้นแล้ว พบว่าจำนวนเงินไม่มีสาระสำคัญ จึงไม่ได้บันทึกยอดดังกล่าวไว้ใน งบการเงินรวม

บริษัทร่วม บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด

(หน่วย : ร้อยละ)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และเงินปันผลรับสำหรับแต่ละปี มีดังนี้

10. เงินลงทุน„นบริ…ัทร่วม


SUCCESS WITH INTEGRITY

ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทร่วมซึ่งกลุ่มบริษัทไม่ได้บันทึกเงินลงทุนในบริษัทดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสีย โดยไม่ได้ ปรับปรุงให้แสดงข้อมูลตามสัดส่วนที่ถือหุ้นโดยกลุ่มบริษัท (หน่วย : ร้อยละ)

(หน่วย : พันบาท)

สัดส่วน สินทรัพย์ ความเป็นเจ้าของ รวม

ปี 2553 บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด ปี 2552 บริษัท ราชประสงค์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด

หนี้สิน รวม

รายได้ รวม

ขาดทุน สุทธิ

48.00

1,772

248

2,005

(477)

48.00

2,998

1,953

3,206

(41)

11. เงินลงทุน„นกิ®การอื่นที่เกี่ยวข้องกัน (หน่วย : ร้อยละ)

(หน่วย : พันบาท)

สัดส่วนเงินลงทุน 2553 2552

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ราชประสงค์ สแควร์ จำกัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า รวม

23.29 0.17

23.29 0.17

(หน่วย : ร้อยละ)

101

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

23.29 0.13

23.29 0.13

2552

206 2,942 (577) 2,571

206 3,290 (191) 3,305

(หน่วย : พันบาท)

สัดส่วนเงินลงทุน 2553 2552

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท ราชประสงค์ สแควร์ จำกัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า รวม

งบการเงินรวม 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 206 2,174 (405) 1,975

206 2,427 (108) 2,525

Back


102

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ปรับปรุง โอน โอนออกไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ปรับปรุง โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

(ก) กลุ่มบริษัท

12. ที่ดิน อา§ารและอุปกร≥å

7

หมายเหตุ

1,648,371 3,224 (3,014) 1,648,581

1,652,000 6,434 (10,063) -

ที่ดิน

9,392,293 48,954 (1,138) 337,909 (6,249) 9,771,769

7,563,967 93,423 (105) 1,736,755 (1,747)

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

2,009,405 33,731 (287) 62,091 (25,029) 2,079,911

1,639,925 364,107 (384) 31,471 (25,714) 33,864 2,968 (1,357) 35,475

84,555 4,670 24 306 (55,691) 215,494 6,916 7,671 230,081

163,578 48,397 3,519 -

รวม

147,592 13,447,019 358,863 454,656 (5,216) (6,641) (411,077) (3,406) (35,649) 90,162 13,855,979

1,097,056 12,201,081 837,342 1,354,373 (465) (1,773,615) (1,564) (13,191) (23,254) (83,152)

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินรวม

(หน่วย : พันบาท)


103

คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ปรับปรุง จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ปรับปรุง จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของกลุ่มบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ตัดรายการระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ตัดรายการระหว่างกัน

1,919,738 316,590 (2) (1,457) 2,234,869 334,008 (12) (5,071) 2,563,794

5,644,229 5,644,229 7,157,424 7,157,424

- -

1,652,000 1,652,000 1,648,371 1,648,371

ที่ดิน

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

852,956 50 853,006

651,446 69 651,515

988,410 192,827 (8) (24,830) 1,156,399 235,641 (22,707) 1,369,333

19,365 19,365

20,428 18,356 38,784

45,771 13,063 3 (44,338) 14,499 5,969 (1,293) 19,175

215,494 215,494

163,578 163,578

- -

9,228,737 18,425 9,247,162 378,407 9,625,569

2,953,919 522,480 (7) (70,625) 3,405,767 575,618 (12) (29,071) 3,952,302

รวม

147,592 10,041,202 50 147,592 10,041,252 365,383 10,406,635

1,097,056 1,097,056

- -

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินรวม

(หน่วย : พันบาท)

SUCCESS WITH INTEGRITY

Back


104

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ตัดรายการระหว่างกัน ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี 2552 ตัดรายการระหว่างกัน 2553 ตัดรายการระหว่างกัน

7,207,975 7,207,975

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

1,648,581 1,648,581

ที่ดิน

710,578 710,578

15,044 1,256 16,300

230,081 230,081

รวม

522,480 13,024 535,504 575,618 13,024 588,642

9,902,421 1,256 9,903,677 352,148 10,255,825

90,162 90,162

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินรวม

(หน่วย : พันบาท)


105

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

-

28

ที่ดิน

28

หมายเหตุ

-

-

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

-

-

-

4,264

31,407

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินรวม

4,264

31,407

รวม

อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัทซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีราคาทุน 924.7 ล้านบาท (2552 : 823.9 ลานบาท)

ตนทุนทางการเงินที่รับรูเปนสวนหนึ่ง ของสินทรัพย รับรู้ในปี 2552 อัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ในปี 2552 (รอยละ MLR-1.50 ตอป) รับรู้ในปี 2553 อัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ในปี 2553 (รอยละ MLR-1.50 ตอป)

(หน่วย : พันบาท)

SUCCESS WITH INTEGRITY

Back


106

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ปรับปรุง โอน โอนออกไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ปรับปรุง โอน จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ปรับปรุง จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าเสื่อมราคาสำหรับปี ปรับปรุง จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

(ข) บริษัท

7

หมายเหตุ 4,042,411 8,585 (105) 1,634,039 (1,747) 5,683,183 36,067 (904) 63,712 (6,234) 5,775,824 965,483 189,223 (2) (1,458) 1,153,246 208,943 (12) (5,064) 1,357,113

1,247,626 (10,063) 1,237,563 (3,013) 1,234,550 - -

ที่ดิน

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

356,610 100,008 (4) (11,913) 444,701 136,320 (14,928) 566,093

643,515 291,990 60 30,480 (12,167) 953,878 22,318 (287) 7,030 (16,841) 966,098 42,509 9,495 3 (44,338) 7,669 2,299 (1,246) 8,722

66,589 4,328 24 (55,692) 15,249 1,450 (1,246) 15,453 - -

- -

72,366 1,031,512 38,709 711,692 573 (1,666,301) (13,191) 111,648 63,712 2,720 80,809 (5,215) 35 (70,804) 114,403 68,502

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,364,602 298,726 (3) (57,709) 1,605,616 347,562 (12) (21,238) 1,931,928

7,104,019 1,055,304 (21) (1,209) (23,254) (69,606) 8,065,233 143,364 (6,406) (27) (27,334) 8,174,830

รวม

(หน่วย : พันบาท)


107

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

4,529,937 4,529,937 4,418,711 4,418,711

1,237,563 1,237,563 1,234,550 1,234,550 -

28 28

-

-

3,076,928 3,076,928

ที่ดิน

1,247,626 1,247,626

หมายเหตุ

อาคารและ ส่วนปรับปรุง

-

-

400,005 400,005

509,127 50 509,177

286,836 69 286,905

-

-

5,475 1,256 6,731

7,580 7,580

5,724 18,356 24,080

-

-

114,403 114,403

111,648 111,648

72,366 72,366

1,799

31,366

68,502 68,502

63,712 63,712

1,031,512 1,031,512

เครื่องตกแต่ง เครื่องใช้ สินทรัพย์ที่อยู่ ติดตั้งและ ยานพาหนะ ในการดำเนิน ระหว่างการ อุปกรณ์ กิจการ ก่อสร้าง

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,799

31,366

6,241,646 1,256 6,242,902

6,459,567 50 6,459,617

5,720,992 18,425 5,739,417

รวม

อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทซึ่งได้คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีราคาทุน 411.7 ล้านบาท (2552 : 398.2 ลานบาท)

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริษัท ภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ตนทุนทางการเงินที่รับรูเปนสวนหนึ่งของสินทรัพย รับรู้ในปี 2552 อัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ในปี 2552 (รอยละ MLR-1.50 ตอป) รับรู้ในปี 2553 อัตราดอกเบี้ยที่รับรู้ในปี 2553 (รอยละ MLR-1.50 ตอป)

(หน่วย : พันบาท)

SUCCESS WITH INTEGRITY

Back


13. สิท∏ิการเช่าที่ดินและอา§าร (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม สิทธิการเช่า อาคาร

สิทธิการเช่า ที่ดิน

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น จำหน่าย ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

1,020,131 1,650 1,021,781 150,000 5,237 1,177,018

1,208,593 2,241 (6) 1,210,828 3,279 (768) (1,483) 1,211,856

2,228,724 3,891 (6) 2,232,609 153,279 (768) 3,754 2,388,874

คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

275,607 26,226 301,833 26,875 1,998 330,706

165,516 47,342 212,858 47,884 (768) 259,974

441,123 73,568 514,691 74,759 (768) 1,998 590,680

744,524

1,043,077

719,948

997,970

846,312

951,882

1,787,601 (5,443) 1,782,158 1,717,918 (4,992) 1,712,926 1,798,194 (4,542) 1,793,652

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ตัดรายการระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ตัดรายการระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ตัดรายการระหว่างกัน

108

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สิทธิการเช่า สิทธิการเช่า รวม ที่ดิน อาคาร

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

845,645 845,645 150,000 995,645

278,481 278,481 278,481

1,124,126 1,124,126 150,000 1,274,126

คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

188,206 22,483 210,689 22,776 233,465

35,933 20,366 56,299 20,366 76,665

224,139 42,849 266,988 43,142 310,130

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 1 มกราคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

657,439 634,956 762,180

242,548 222,182 201,816

899,987 857,138 963,996

กลุ่มบริษัทและบริษัทได้นำสิทธิการเช่าที่ดินที่มีอยู่ส่วนใหญ่ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 677.5 ล้านบาท และ 612.1 ล้านบาท ตามลำดับ (2552 : 703.4 ลานบาท และ 635.0 ลานบาท ตามลำดับ) ไปจดจำนองไว้กับธนาคาร เพื่อค้ำประกันเงินกู้ยืม (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี หัก ค่าตัดจำหน่ายที่ถือเป็นต้นทุน ตัดรายการระหว่างกัน ค่าตัดจำหน่ายที่รวมอยู่ใน งบกำไรขาดทุนสำหรับปี

74,759 (381) (450)

73,568 (459) (450)

43,142 -

42,849 -

73,928

72,659

43,142

42,849

109

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

Back


14. สินทรัæยåไม่มีตัวตน (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น โอน จำหน่าย ปรับปรุง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

143,189 5,115 3,322 (44) (807) 150,775

123,566 18,622 1,564 (563) 143,189

99,233 3,556 25 (44) (90) 102,680

80,030 17,994 1,209 99,233

คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม ค่าตัดจำหน่ายสำหรับปี จำหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

69,049 20,936 (44) 89,941

49,601 19,618 (170) 69,049

48,947 14,032 (44) 62,935

36,590 12,357 48,947

74,140 60,834

73,965 74,140

50,286 39,745

43,440 50,286

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

15. สินทรัæยåไม่หมุนเวียนอื่น (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อื่นๆ รวม

30,703 30,703

110

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

31,482 2,884 34,366

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 28,656 28,656

30,413 30,413

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

16. หนีÈสินที่มี¿าระดอกเบีÈย (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ สวนที่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ส่วนที่มีหลักประกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้เช่าซื้อส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี สวนที่ไมหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่มีหลักประกัน เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกันส่วนที่ไม่มีหลักประกัน เจ้าหนี้เช่าซื้อ รวม

4

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

195,700

207,200

195,700

152,200

573,750

697,250

403,750

371,000

-

26

-

26

819 770,269

529 905,005

819 600,269

529 523,755

7,829,517

7,665,467

5,314,750

5,370,900

621 7,830,138 8,600,407

568 7,666,035 8,571,040

38,861 621 5,354,232 5,954,501

55,132 568 5,426,600 5,950,355

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินและเจ้าหนี้เช่าซื้อแสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจ่าย ชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ครบกำหนดภายในหนึ่งปี ครบกำหนดหลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี ครบกำหนดหลังจากห้าปี รวม

111

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

769,450 4,192,250 3,637,267 8,598,967

904,450 4,881,150 2,784,317 8,569,917

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 599,450 3,151,111 2,202,500 5,953,061

523,200 3,362,532 2,063,500 5,949,232

Back


ภายใต้สัญญาเงินกู้ยืม กลุ่มบริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการตามที่ระบุในสัญญา เช่น อัตราส่วนการถือหุ้นของ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริษัท การค้ำประกันหนี้สินหรือเข้ารับอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงินแก่บุคคลหรือนิติบุคคล ใดๆ การจ่ายเงินปันผล และการรวมหรือควบบริษัทเข้ากับบริษัทอื่น และการดำรงอัตราส่วนทางการเงินบางประการให้เป็นไป ตามสัญญา เป็นต้น ในระหว่างปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้รับอนุมัติผ่อนผันจากสถาบันการเงินให้เลื่อนกำหนดระยะเวลาการชำระ คืนเงินต้นของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระในปี 2553 ออกไปเป็นเริ่มต้นชำระคืนในปี 2554 นอกจากนี้ บริษัทและ บริษัทย่อยบางแห่งได้รับอนุมัติผ่อนผันจากสถาบันการเงินดังกล่าวให้มีการขยายระยะเวลาคืนเงินต้นออกไปอีก 1 - 6 ปี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยส่วนที่มีหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเป็นสินทรัพย์ดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-มูลค่าสุทธิทางบัญชี สิทธิการเช่าที่ดิน-มูลค่าสุทธิทางบัญชี รวม

8,611,172 677,546 9,288,718

8,731,712 703,445 9,435,157

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 5,541,237 612,180 6,153,417

5,772,469 634,956 6,407,425

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิได้เบิกใช้เป็นจำนวนเงินรวม 441.3 ล้านบาท และ 250 ล้านบาท ตามลำดับ (2552 : 1,049.6 ลานบาท และ 788.1 ลานบาท ตามลำดับ) หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

เงินต้น

ครบกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ครบกำหนดชำระหลังจากหนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 ดอกเบี้ย ยอดชำระ เงินต้น ดอกเบี้ย

ยอดชำระ

-

-

-

27

(1)

26

-

-

-

27

(1)

26

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยทั้งหมดของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นสกุลเงินบาท 112

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญา เพื่อพิจารณาว่าบริษัทได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ใน สินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

17. เ®้าหนีÈการ§้า (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่นๆ รวม

4

งบการเงินรวม 2553 2552 211,897 211,897

230,684 230,684

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 287 89,796 90,083

200 74,901 75,101

เจ้าหนี้การค้าทั้งหมดของกลุ่มบริษัทและบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 เป็นสกุลเงินบาท

18. หนีÈสินหมุนเวียนอื่น (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าธรรมเนียมในการบริหารและการใช้สิทธิ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด และค่าธรรมเนียม อื่นค้างจ่าย-ธุรกิจโรงแรม เงินประกันผลงาน เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย เงินมัดจำรับ-ธุรกิจโรงแรม อื่นๆ รวม

113

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

25,358 65,957 23,709 14,852 100,542 10,629 56,656 50,518 348,221

29,152 70,082 19,420 7,000 104,107 27,678 54,017 54,610 366,066

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

10,099 13,457 6,775 8,160 58,569 24,232 30,083 151,375

10,835 23,057 6,755 60,474 22,204 28,664 151,989

Back


19. รายได้รอการตัดบัญชี (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

สิทธิการเช่าอาคาร การบริการ และอุปกรณ์-กิจการอื่นๆ หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม มูลค่าสุทธิทางบัญชี ค่าตัดจำหน่ายรับรู้ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปี

56,720 (41,399) 15,321 2,814

56,720 (38,585) 18,135 2,814

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 56,720 (41,399) 15,321 2,814

56,720 (38,585) 18,135 2,814

20. ทุนเรือนหุ้น (หน่วย : พันหุ้น/พันบาท)

มูลค่าหุ้น ต่อหุ้น (บาท)

จำนวนหุ้น

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม หุ้นสามัญ ลดทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

1 1

ทุนที่ออกและชำระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม หุ้นสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม หุ้นสามัญ

2553

2552

จำนวนเงิน

จำนวนหุ้น

จำนวนเงิน

2,244,779 -

2,244,779 -

2,281,143 (36,364)

2,281,143 (36,364)

1

2,244,779

2,244,779

2,244,779

2,244,779

1

2,244,779

2,244,779

2,244,779

2,244,779

1

2,244,779

2,244,779

2,244,779

2,244,779

เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2554 ให้พิจารณาอนุมัติในเรื่องดังต่อไปนี้ ก) พิจารณาอนุมัติให้ออกใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเดิมของบริษัทจำนวนไม่เกิน 224,477,900 หน่วย และการออกหุ้นสามัญเพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ ข) พิจารณาอนุมัติให้ออกหุ้นสามัญเสนอขายแก่พนักงานของกลุ่มบริษัทจำนวนไม่เกิน 35,743,099 หุ้น

114

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

ค) พิจารณาอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทโดยออกหุ้นสามัญใหม่จำนวนไม่เกิน 260,220,999 หุ้น โดยมีมูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิและการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของพนักงานของกลุ่มบริษัท ในการประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้ลดทุนจดทะเบียนของ บริษัท จาก 2,281.1 ล้านบาท เป็น 2,244.8 ล้านบาท โดยการยกเลิกหุ้นสามัญจดทะเบียนที่ยังมิได้นำออกจำหน่ายจำนวน 36,364,098 หุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท บริษัทได้จดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552

21. ส่วนเกินทุนและสำรอง สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุ้นสูงกว่ามูลค่า หุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริษัทต้องนำค่าหุ้นส่วนเกินนี้ตั้งเป็นทุนสำรอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นนี้จะนำไปจ่ายเป็น เงินปันผลไม่ได้ สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะต้องจัดสรรทุนสำรอง (“สำรอง ตามกฎหมาย”) อย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปีหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสำรองดังกล่าวมีจำนวน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลไม่ได้ ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมแสดงในส่วนของเจ้าของประกอบด้วยผลรวมการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินเผื่อขายจนกระทั่งมีการตัดรายการหรือเกิดการด้อยค่า

22. ข้อมูลทางการเงิน®ำแนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทได้นำเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานธุรกิจและส่วนงานภูมิศาสตร์ รูปแบบหลักในการรายงานคือ ส่วนงานธุรกิจพิจารณาจากระบบการบริหาร การจัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ ในการกำหนดส่วนงาน ผลได้ (เสีย) สินทรัพย์และหนี้สินตามส่วนงาน รวมรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับส่วนงาน หรือที่สามารถปันส่วนให้กับ ส่วนงานได้อย่างสมเหตุสมผล รายการที่ไม่สามารถปันส่วนได้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ดอกเบี้ยหรือเงินปันผลทั้งส่วนของสินทรัพย์ และรายได้ เงินให้กู้ยืมที่มีดอกเบี้ย เงินกู้ยืมและดอกเบี้ยจ่าย และสินทรัพย์และค่าใช้จ่ายของกิจการโดยรวม

115

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


สวนงานธุรกิจ กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้ ส่วนงาน 1 ธุรกิจให้เช่าอาคาร ส่วนงาน 2 ธุรกิจโรงแรม สวนงานภูมิศาสตร กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านั้น ดังนั้นฝายบริหารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริษัทมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์เพียง ส่วนงานเดียว ข้อมูลเกี่ยวกับผลได้ (เสีย) ตามส่วนงานธุรกิจในงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ธุรกิจ ให้เช่าอาคาร 2553 2552

รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้ กำไรจากการดำเนินงานตามส่วนงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่น ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ขาดทุนสำหรับปี

116

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

391 20 411 138

401 20 421 153

ธุรกิจ โรงแรม 2553 2552 2,930 2,930 41

2,748 2,748 80

ตัดรายการ ระหว่างกัน 2553 2552 (20) (20) (13)

(20) (20) (13)

รวม 2553

2552

3,321 3,321 166

3,149 3,149 220

43 (7) (1) (80) (361) (20) (15) (275)

43 (10) (2) (95) (307) (46) (32) (229)

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

การจำแนกส่วนงานทางธุรกิจในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ธุรกิจ ให้เช่าอาคาร

สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร สินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์

ธุรกิจ โรงแรม

สินทรัพย์ที่ ไม่ได้ปนส่วน

ตัดรายการ ระหว่างกัน

2553

2552

2553

2552

2553

2552

2553

712 326

725 356

55 9,070 1,547

55 9,196 1,444

18 159 -

23 158 -

315 (79)

รวม

2552

2553

2552

73 328 10,256 (87) 1,794 827 12,950

78 10,407 1,713 1,091 13,289

(หน่วย : ล้านบาท)

ธุรกิจ ให้เช่าอาคาร

เงินกู้ยืมที่มีดอกเบี้ย เจ้าหนี้ค่าสิทธิการเช่า ที่ดิน หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน

ธุรกิจ โรงแรม

หนี้สินที่ ไม่ได้ปนส่วน

ตัดรายการ ระหว่างกัน

2553

2552

2553

2552

2553

475

480

8,976

8,561

268

180

180

180

180

-

-

-

2552

2553

รวม

2552

330 (1,120)

2553

2552

(801) 8,599

8,570

-

360 360 718 820 9,677 9,750

23. รายได้อื่น (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

กำไรจากการจำหน่ายอาคารและอุปกรณ์ กำไรจากการขายเงินลงทุน รายได้ค่าภาษีโรงเรือน อื่นๆ รวม

286 7,834 29,993 38,113

117

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

14,870 526 6,719 15,869 37,984

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 201 7,704 27,905 35,810

12,816 506 6,531 13,316 33,169

Back


24. §่า„ช้®่าย„นการขาย (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน รวม

155,611 58,471 214,082

150,608 56,101 206,709

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 101,798 16,643 118,441

74,053 20,054 94,107

25. §่า„ช้®่าย„นการบริหาร (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าธรรมเนียมในการบริหารและค่าธรรมเนียมอื่น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมและบำรุงรักษา อื่นๆ รวม

234,486 168,299 39,358 224,785 666,928

243,331 159,375 44,705 223,373 670,784

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 150,475 95,201 21,328 74,954 341,958

145,553 89,596 16,154 87,089 338,392

26. §่า„ช้®่ายผลประ‚ยชนåตอบแทนæนักงาน (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ผูบริหาร เงินเดือน และผลประโยชน์อื่น เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

118

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

34,211 943 35,154

39,145 1,093 40,238

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 32,411 943 33,354

37,240 1,093 38,333

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

พนักงานอื่น เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่น เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ รวม

761,032 18,356 779,388 814,542

717,557 17,830 735,387 775,625

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 379,793 7,900 387,693 421,047

331,898 6,738 338,636 376,969

กลุ่มบริษัทและบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงานของกลุ่มบริษัทและบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจ ของพนักงานในการเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ถึงอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่มบริษัทและบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 3 ถึงอัตราร้อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพนี้ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามข้อกำหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุน ที่ได้รับอนุญาต

27. §่า„ช้®่ายตามลัก…≥ะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ต้นทุนขายอาหารและเครื่องดื่ม ค่าเช่าจ่าย

119

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

814,542 462,068 47,037

775,625 409,899 46,385

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 421,047 231,104 31,326

376,969 188,501 30,400

Back


28. ต้นทุนทางการเงิน (หน่วย : พันบาท)

หมายเหตุ ดอกเบี้ยจ่าย กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สถาบันการเงิน ค่าตัดจำหน่ายของต้นทุนการทำรายการ ส่วนที่บันทึกรวมกับเงินกู้ยืม ส่วนที่บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง สุทธิ

4

งบการเงินรวม 2553 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

363,477

337,750

1,874 245,080

1,502 219,401

1,549 365,026

503 338,253

31 246,985

40 220,943

12

(4,264) 360,762

(31,407) 306,846

(1,800) 245,185

(31,366) 189,577

29. ¿า…ีเงินได้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ภาษีเงินไดปจจุบัน สำหรับปีปัจจุบัน

19,867

45,656

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 -

-

จำนวนภาษีเงินได้ในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการและงบกำไรขาดทุนรวมไม่เท่ากับจำนวนภาษีเงินได้ที่คำนวณโดยการใช้ อัตราภาษีเงินได้คูณกับยอดกำไรสุทธิตามบัญชีสำหรับปีเนื่องจาก (ก) มีขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ยกมาจากปีก่อน และได้ถูกนำมาใช้เพื่อลดจำนวนกำไรที่ต้องเสียภาษีในปีปัจจุบัน (ข) ความแตกต่างระหว่างการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายทางบัญชีกับรายได้และค่าใช้จ่ายทางภาษีบางรายการ (ค) ขาดทุนของบริษัทย่อยบางแห่งไม่สามารถจะนำมาสุทธิกับกำไรของบริษัทย่อยแห่งอื่นๆ ในการคำนวณภาษีเงินได้

120

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

30. กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขัÈนæืÈน∞าน กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานสำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 คำนวณจากกำไร (ขาดทุน) สำหรับปีที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทและจำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้วระหว่างปีโดยแสดงการคำนวณดังนี้ (หน่วย : พันบาท/พันหุ้น)

งบการเงินรวม 2553 2552

กำไร (ขาดทุน) ที่เป็นส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท จำนวนหุ้นสามัญที่ออกจำหน่ายแล้ว กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

(275,017) 2,244,779 (0.12)

(229,411) 2,244,779 (0.10)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 15,342 2,244,779 0.01

(29,551) 2,244,779 (0.01)

31. เงินปíนผล ในการประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2553 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรเป็น เงินปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.30 บาท เป็นจำนวนทัง้ สิน้ 23.9 ล้านบาท เงินปันผลดังกล่าวได้จา่ ยให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 ในการประชุมสามัญประจำปีผู้ถือหุ้นของบริษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2553 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้งดจ่ายเงินปันผล ประจำปี 2552 เนื่องจากบริษัทมีผลขาดทุนจากการดำเนินงานในปี 2552 ในการประชุ ม สามั ญ ประจำปี ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 28 เมษายน 2552 ผู้ ถื อ หุ้ น มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารจั ด สรรกำไร เป็ น เงิ น ปั น ผลในอั ต ราหุ้ น ละ 0.01 บาท เป็ น จำนวนทั้ งสิ้ น 22.4 ล้ านบาท เงิน ปั นผลดั งกล่า วได้ จ่ ายให้ แ ก่ผู้ ถือ หุ้ นในวัน ที่ 27 พฤษภาคม 2552

32. เ§รื่องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดตามสัญญาของคู่สัญญา กลุ่มบริษัทไม่มีการถือหรือออกเครื่องมือทางการที่เป็น ตราสารอนุพันธ์ เพื่อการเก็งกำไรหรือการค้า การจัดการความเสี่ยงเป็นส่วนที่สำคัญของธุรกิจของกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทมีระบบในการควบคุมให้มีความสมดุลของระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยพิจารณาระหว่างต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้นทุนของการจัดการความเสี่ยง ฝายบริหารได้มี การควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและ การควบคุมความเสี่ยง 121

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้มั่นคงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้าหนี้และความเชื่อมั่นของตลาด และก่อให้เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกำกับดูแลผลตอบแทนจากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริษัทพิจารณา จากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดำเนินงานต่อส่วนของเจ้าของรวม ซึ่งไม่รวมส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม อีกทั้งยัง กำกับดูแลระดับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย หมายถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริษัท เนื่องจากดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับ ขึ้นลงตามอัตราตลาด กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม (ดูหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 16) กลุม่ บริษทั ได้ลดความเสีย่ งดังกล่าวโดยทำให้แน่ใจว่าดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากเงินกูย้ มื ส่วนใหญ่มอี ตั ราใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของเงินให้กู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระหรือกำหนดอัตราใหม่มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย หลังจาก 1 ปี ที่แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) ปี 2553 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ปี 2552 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

122

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

รวม

4.53

-

1,080,774

-

1,080,774

4.15

-

745,746

-

745,746

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระหรือ กำหนดอัตราใหม่มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ย หลังจาก 1 ปี ที่แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) ปี 2553 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

ปี 2552 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

รวม

5, MLR - 1.50, MLR - 2.00, อัตราเงินฝาก ประจำประเภท 6 เดือน + 2.00

769,450

4,192,250 3,637,267

8,598,967

5, MLR - 1.50, MLR - 2.00, อัตราเงินฝาก ประจำประเภท 6 เดือน + 2.00

904,450

4,881,150 2,784,317

8,569,917

123

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ย หลังจาก 1 ปี ที่แท้จริง ภายใน 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ร้อยละต่อปี) ปี 2553 เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

รวม ปี 2552 เงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

รวม

4.53 5, MLR - 1.50, MLR - 2.00, อัตราเงินฝากประเภท 6 เดือน + 2.00 599,450 599,450 4.15 5, MLR - 1.50, MLR - 2.00, อัตรา เงินฝากประเภท 6 เดือน + 2.00 523,200 523,200

38,861

รวม

-

38,861

3,112,250 2,202,500 3,151,111 2,202,500

5,914,200 5,953,061

55,132

-

3,307,400 2,063,500 3,362,532 2,063,500

55,132

5,894,100 5,949,232

ในระหว่างปี 2553 บริษัทได้เข้าทำสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินแห่งหนึ่งเพื่อเงินกู้ยืมระยะยาว สกุ ล เงิ น บาทจำนวนรวมทั้ ง หมด 2,665 ล้ า นบาท จากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ตามที่ระบุไว้ในสัญญา แต่ละสัญญามีระยะเวลา 4 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยช่วยปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ผลต่างที่จะต้องจ่ายหรือ จะได้รับตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยได้บันทึกไว้เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนทางการเงินตลอดระยะเวลาตามสัญญา

124

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มูลค่ายุติธรรม 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2552

สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย

16,479

-

ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจหลักเป็นเงินบาท บริษัทไม่มีความเสี่ยงที่เป็นสาระสำคัญจากเงินตราต่างประเทศ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ คือความเสี่ยงที่ลูกค้าหรือคู่สัญญาไม่สามารถชำระหนี้แก่กลุ่มบริษัท ตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ เมื่อครบกำหนด ฝายบริหารได้กำหนดนโยบายทางด้านสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อดังกล่าวโดยสม่ำเสมอ โดยการ วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้าทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่รายงาน ไม่พบว่ามีความเสี่ยงจากสินเชื่อ ที่เป็นสาระสำคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางด้านสินเชื่อแสดงไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินแต่ละรายการในงบดุล อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานลูกค้าจำนวนมาก ฝายบริหารไม่ได้คาดว่าจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสำคัญจากการ เก็บหนี้ไม่ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุ่มบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้ เพียงพอต่อการดำเนินงานของกลุ่มบริษัท และเพื่อทำให้ผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง การกำหนดมูลคายุติธรรม สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่จะครบกำหนดในระยะเวลาอันสั้น และเงินกู้ยืมระยะยาวที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราใกล้เคียง กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ในตลาด แสดงมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมโดยประมาณมู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ที่ แ สดงในงบดุ ล บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยไม่ มี การพิจารณามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่มากกว่า 1 ปี ซึ่งมีจำนวนไม่เป็นสาระสำคัญ เมื่อเทียบกับจำนวนเงินกู้ทั้งหมด

125

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู้ และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่า ยุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำหนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์ การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

33. การเปลี่ยนแปลงประมา≥การทางบัญชี

เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อยบางแห่งได้มีการเปลี่ยนแปลงอายุการใช้งานของอาคารและ ส่วนปรับปรุงอาคารจาก 30 ปี เป็น 40 ปี ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทำให้งบการเงินของกลุ่มบริษัทและบริษัท สำหรับปี 2553 มีขาดทุนสำหรับงวดลดลงจำนวน 20.09 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ : กำไรเพิ่มขึ้น 6.71 ล้านบาท ตามลำดับ และขาดทุน ต่อหุ้นลดลงจำนวน 0.008 บาทต่อหุ้น (งบการเงินเฉพาะกิจการ : กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น 0.002 บาทต่อหุ้น)

34. ¿าระผูกæันกับบุ§§ลหรือกิ®การที่ไม่เกี่ยวข้องกัน (หน่วย : ล้านบาท)

งบการเงินรวม 2553 2552

ภาระผูกพันรายจายฝายทุน สัญญาที่ยังไม่ได้รับรู้ ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดำเนินงาน ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี รวม ภาระผูกพันตามสัญญาเชาระยะยาว ภายในหนึ่งปี หลังจากหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี หลังจากห้าปี รวม ภาระผูกพันอื่นๆ ค้ำประกันวงเงินกู้และวงเงินสินเชื่อ หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร รวม

126

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552

305.1

400.9

248.2

167.0

33.8 2.8 36.6

36.0 3.4 39.4

13.2 0.9 14.1

28.2 3.2 31.4

46.5 213.9 2,669.5 2,929.9

43.2 195.6 2,224.2 2,463.0

27.3 135.5 1,852.9 2,015.7

26.9 109.6 1,906.5 2,043.0

750.0 30.1 780.1

750.0 31.0 781.0

750.0 21.5 771.5

750.0 22.4 772.4

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

สัญญาระยะยาว บริษัทและบริษัทย่อยมีสัญญาเช่าทรัพย์สินระยะยาวและสัญญาบริการต่างๆ กับบุคคลภายนอก บริษัทในประเทศ บริษัท ในต่างประเทศ และหน่วยราชการดังต่อไปนี้ สัญญาเชาทรัพยสินระยะยาว บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด ได้ทำสัญญาเช่าอาคารกับหน่วยราชการแห่งหนึ่ง โดยมีกำหนดเวลาเช่า 30 ปี นับแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2530 โดยบริษัทย่อยต้องจ่ายค่าเช่ารายเดือนตามอัตราค่าเช่าในแต่ละปีตามที่ระบุในสัญญา อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2549 บริษัทย่อยดังกล่าวได้ลงนามในสัญญารับทำการปรับปรุงอาคารและเช่าที่ดินและอาคารที่ปรับปรุงแล้ว ภายใต้ เงื่อนไขในสัญญา บริษัทย่อยผูกพันที่จะชำระค่าตอบแทนเป็นจำนวน 70.0 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้ชำระเงินดังกล่าวทั้งจำนวน แล้ว นอกจากนี้ บริษัทย่อยผูกพันที่จะชำระค่าเช่าเป็นรายเดือนในอัตราค่าเช่าแต่ละปีตามที่ระบุในสัญญามีกำหนดเวลา 30 ปี นับแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินแปลงหนึ่งกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง มีกำหนดระยะ เวลาเช่า 30 ปี สิ้นสุดในปี 2564 โดยเมื่อครบกำหนดสัญญาเช่าแล้ว บริษัทย่อยมีสิทธิต่ออายุสัญญาเช่าอีก 20 ปี บริษัทย่อยต้อง จ่ายค่าเช่าที่ดินในอัตราปีละ 10.9 ล้านบาท และให้มีการปรับอัตราค่าเช่าทุกระยะ 10 ปี และเมื่อครบกำหนดอายุสัญญาเช่าแล้ว อาคารและส่วนปรับปรุงบนที่ดินเช่า รวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง เครื่องมือเครื่องใช้ที่มีส่วนสำคัญในการดำเนินกิจการโรงแรม จะตกเป็นของผู้ให้เช่า บริษัท เอราวัณ เพลินจิต จำกัด ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้งอาคารโรงแรมและอาคารสำนักงานภายใต้สัญญาเช่า 2 ฉบับจากผู้ให้เช่า ตามสัญญานี้ บรรดาสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินที่เช่ารวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องตกแต่งและเครื่องมือเครื่องใช้ที่มี ส่วนสำคัญในการดำเนินการตามโครงการจะตกเป็นของผู้ให้เช่าทันทีเมื่ออายุของสัญญาเช่าสิ้นสุดลง บริษัทย่อยผูกพันที่จะชำระ ค่าเช่าที่ดินในอัตราปีละ 24.3 ล้านบาท (สำหรับปี 2548 - 2557) และให้มีการปรับอัตราค่าเช่าทุกระยะ 10 ปี ซึ่งสัญญาเช่ามี กำหนดระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุดในปี 2568 ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาเช่า บริษัทย่อยจะต้องรับภาระจ่ายค่าตอบแทนการเช่า และ เงินประกันการจ่ายค่าเช่าดังนี้ 1. ค่าตอบแทนการเช่าจำนวน 360.0 ล้านบาท จะชำระภายในปีที่ 30 ของการเช่า ซึ่งได้บันทึกไว้เป็นส่วนหนึ่งใน “เจ้าหนี้ ค่าสิทธิการเช่าที่ดิน” ในงบดุล 2. เงินประกันการจ่ายค่าเช่าจำนวน 180.0 ล้านบาท บริษัทย่อยได้จ่ายเงินประกันดังกล่าวเต็มจำนวนแล้ว ซึ่งจะได้รับคืน ในปีที่ 30 ของการเช่าและได้แสดงเป็นส่วนหนึ่งของ “เงินมัดจำการเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์” ในงบดุล เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2545 บริษัทย่อยได้ทำสัญญาเช่าที่ดินเฉพาะส่วนที่เป็นที่ตั้งของอาคารโรงแรมเพื่อต่ออายุสัญญาเช่า ซึ่งตามสัญญาเดิมได้ระบุให้ผู้เช่าสามารถขอต่ออายุสัญญาเช่าได้อีกเมื่อสัญญาเช่าหมดอายุแล้ว บริษัทย่อยตกลงเช่าที่ดินโดยมี กำหนดระยะเวลา 20 ปี นับแต่วันที่ 24 มกราคม 2568 ถึงวันที่ 23 มกราคม 2588 โดยบริษัทย่อยต้องจ่ายค่าตอบแทนการเช่า จำนวน 216.1 ล้านบาท ซึ่งบริษัทย่อยได้ชำระเงินดังกล่าวทั้งจำนวนแล้ว นอกจากค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษัทย่อยผูกพันที่จะต้องจ่ายชำระค่าเช่าที่ดินดังนี้ 127

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


ค่าเช่าสำหรับปี 2568 ถึงปี 2577 ในอัตราปีละ 44.7 ล้านบาท หรือในอัตราที่คำนวณจากอัตราเฉลี่ยของดัชนีราคาผู้บริโภค ทั่วไปของประเทศไทยแล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า ค่าเช่าสำหรับปี 2578 ถึงปี 2588 ในอัตราปีละ 89.4 ล้านบาท หรือในอัตราที่คำนวณจากอัตราเฉลี่ยของดัชนีราคาผู้บริโภค ทั่วไปของประเทศไทยแล้วแต่อัตราใดจะสูงกว่า เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 บริษัทย่อยได้โอนภาระผูกพันตามสัญญาดังกล่าวให้แก่บริษัท เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2545 บริษัท เอราวัณ เพลินจิต จำกัด ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับบุคคลภายนอก มีกำหนดระยะเวลาเช่า 22 ปี 10 เดือน สิ้นสุดในปี 2568 ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริษัทย่อยตกลงชำระค่าตอบแทนการเช่าโดยแบ่งจ่ายเป็น 3 งวด รวมเป็นเงิน 32.8 ล้านบาท บริษัทย่อยได้จ่ายชำระค่าตอบแทนการเช่างวดแรกและงวดที่สองเรียบร้อยแล้วเป็นจำนวน 23.2 ล้านบาท ยอดคงเหลือจำนวน 9.6 ล้านบาท มีกำหนดชำระในปี 2568 นอกจากนี้ บริษัทย่อยต้องจ่ายค่าเช่าที่ดินในระยะเวลา 3 ปีแรก ในอัตราปีละ 0.8 ล้านบาท และให้มีการปรับอัตราค่าเช่าทุกระยะ 10 ปีต่อไป และเมื่อครบกำหนดอายุสัญญาเช่าแล้ว สิ่งปลูกสร้างบนที่ดินเช่ารวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องตกแต่ง เครื่องมือเครื่องใช้ที่มีส่วนสำคัญในการดำเนินการจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ ผู้ให้เช่า เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 บริษัทย่อยได้โอนภาระผูกพันตามสัญญาดังกล่าวให้แก่บริษัท บริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับมูลนิธิแห่งหนึ่งเพื่อทำการปรับปรุงพัฒนาที่ดินและดำเนินการ ก่อสร้างอาคาร ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริษัทย่อยผูกพันที่จะชำระค่าเช่าเป็นรายเดือนในอัตราเดือนละ 100,000 บาท สัญญา กำหนดให้วันเริ่มต้นการเช่าและการจ่ายค่าเช่าคือในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 เป็นต้นไป และให้มีการปรับอัตราค่าเช่าทุกระยะ 10 ปี ซึง่ สัญญาเช่ามีกำหนดระยะ 30 ปี สิน้ สุดในปี 2577 และเมือ่ สัญญาเช่าหมดอายุแล้วจะขอต่อสัญญาเช่าได้อกี โดยบริษทั ย่อย จะต้องแจ้งให้ผู้เช่าทราบเป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 2 ปีก่อนครบกำหนดสัญญาเช่า และเมื่อ ครบกำหนดอายุสัญญาเช่าแล้ว อาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมดบนที่ดินดังกล่าวจะตกเป็นของผู้ให้เช่า เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2549 บริษัทได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับบุคคลภายนอกมีกำหนดระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุดในปี 2581 ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริษัทตกลงชำระค่าตอบแทนการเช่าเป็นจำนวน 25.0 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายชำระค่าตอบแทนการเช่า ดังกล่าวแล้ว นอกจากนี้ บริษัทต้องจ่ายค่าเช่าที่ดินในระยะเวลา 3 ปีแรก ในอัตราปีละ 1.2 ล้านบาท และให้มีการปรับอัตราค่าเช่า ทุก 3 ปี และเมื่อครบกำหนดอายุสัญญาเช่า สิ่งปลูกสร้างบนที่ดินรวมทั้งอุปกรณ์ติดตั้งที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดให้ตกเป็น กรรมสิทธิ์ของผู้ให้เช่า เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2550 บริษัทได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับบุคคลภายนอกมีกำหนดระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุดในปี 2582 ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริษัทตกลงชำระค่าตอบแทนการเช่าเป็นจำนวน 53.0 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายชำระค่าตอบแทนการเช่า ดังกล่าวแล้ว นอกจากนี้ บริษัทต้องจ่ายค่าเช่าที่ดินในระยะเวลา 3 ปีแรก ในอัตราปีละ 0.4 ล้านบาท และให้มีการปรับอัตราค่าเช่า ทุก 3 ปี และเมื่อครบกำหนดอายุสัญญาเช่า สิ่งปลูกสร้างบนที่ดินรวมทั้งอุปกรณ์ติดตั้งที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ทั้งหมดให้ตกเป็น กรรมสิทธิ์ของผู้ให้เช่า เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 บริษัทได้ทำสัญญาเช่าที่ดินกับบริษัทในประเทศ 2 แห่ง มีกำหนดระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุด ในปี 2586 ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริษัทตกลงชำระค่าตอบแทนการเช่าเป็นจำนวน 150.0 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายชำระ ค่าตอบแทนการเช่าดังกล่าวแล้ว เมื่อครบกำหนดอายุสัญญาเช่า สิ่งปลูกสร้างบนที่ดินรวมทั้งอุปกรณ์ติดตั้งที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ ได้ทั้งหมดให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้ให้เช่า 128

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

สัญญาบริหารโรงแรม เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2531 บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) ได้ทำสัญญากับบริษัทหลายแห่งในกลุ่มของ บริษัท ไฮแอท อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จำกัด โดยบริษัทคู่สัญญาดังกล่าวจะให้บริการต่างๆ ที่จำเป็นเกี่ยวกับงานก่อสร้าง และบริ ห ารโรงแรมของบริ ษั ท ย่ อ ยแห่ ง นั้ น ตามเงื่ อ นไขของสั ญ ญา บริ ษั ท ย่ อ ยผู ก พั น ที่ จ ะจ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มการจั ด การ ค่าธรรมเนียมการใช้สิทธิและค่าใช้จ่ายปันส่วนด้านการตลาดและส่งเสริมการขายแก่บริษัทคู่สัญญาตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาการจัดการจะมีอายุ 20 ปี นับตั้งแต่เริ่มเปดดำเนินการโรงแรม และมีสิทธิต่ออายุสัญญาได้อีกอย่างน้อย 10 ปี ทั้งนี้ ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการที่ระบุไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2553 บริษัท โรงแรมเอราวัณ จำกัด (มหาชน) ได้ทำสัญญาเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขบางประการกับ บริษัท ไฮแอท อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จำกัด โดยบริษัทย่อยดังกล่าวตกลงที่จะขยายอายุสัญญาบริหารโรงแรมไปอีก 9.5 ปี และมีสิทธิต่ออายุสัญญาได้อีกอย่างน้อย 10 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการที่ระบุไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2537 บริษัท เอราวัณ เพลินจิต จำกัด ได้ทำสัญญาการจัดการกับบริษัทหลายแห่งในกลุ่มของ Marriott Worldwide Corporation (“Marriott”) เพื่อว่าจ้างให้ “Marriott” เป็นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษัทย่อย ตามเงื่อนไขของสัญญา บริษัทย่อยผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษัทคู่สัญญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธีการ คำนวณที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมจะสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2575 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 บริษัทย่อยได้ โอนภาระผูกพันตามสัญญาดังกล่าวให้แก่บริษัท เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2548 บริษัท เอราวัณ ราชดำริ จำกัด และบริษัท เอราวัณ สมุย จำกัด ได้ทำบันทึกข้อตกลงกับกลุ่ม ของบริษัทในเครือ Marriott (“Marriott”) เพื่อว่าจ้างให้ “Marriott” เป็นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษัทย่อยให้เป็นโรงแรมตาม มาตรฐานของ Courtyard by Marriott และ Renaissance Hotel ตามเงื่อนไขของสัญญา บริษัทย่อยผูกพันที่จะต้องจ่าย ค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษัทคู่สัญญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธีการคำนวณที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมี ระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่เริ่มเปดดำเนินกิจการโรงแรมและมีสิทธิต่ออายุสัญญานี้ได้อีกอย่างน้อย 10 ปี ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไข บางประการที่ระบุในสัญญา ในเดือนธันวาคม 2548 บริษทั ได้ทำสัญญากับ InterContinental Hotels Group เพือ่ บริหารโรงแรมภายใต้แบรนด์ Holiday Inn ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ที่พัทยา โดยบริษัทผูกพันที่จะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษัทคู่สัญญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธีการ คำนวณที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 15 ปี นับตั้งแต่เริ่มเปดดำเนินกิจการโรงแรม และมีสิทธิต่ออายุ สัญญานี้ได้อีก 5 ปี ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการที่ระบุในสัญญา ในเดือนมิถุนายน 2549 บริษัท เอราวัณ ภูเก็ต จำกัด ได้ทำสัญญากับกลุ่มของบริษัทในเครือ Six Senses โดยบริษัท คู่ สั ญ ญาดั ง กล่ า วจะให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารรี ส อร์ ท ของบริ ษั ท ย่ อ ย ตามเงื่ อ นไขของสั ญ ญา บริ ษั ท ย่ อ ยผู ก พั น ที่ จ ะจ่ า ย ค่าธรรมเนียมต่างๆ ตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาจะมีอายุ 30 ปี นับตั้งแต่วันที่รีสอร์ทเริ่มเปดดำเนินการ และมีสิทธิ ต่ออายุสัญญาได้ ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการที่ระบุไว้ในสัญญา ในเดือนมิถุนายน 2549 ถึงเดือนมีนาคม 2551 บริษัทและบริษัท เอราวัณ เจ้าพระยา จำกัด ได้ทำสัญญาเพื่อว่าจ้างให้ Accor Group เป็นผู้บริหารงานกิจการโรงแรมของบริษัทและบริษัทย่อยจำนวน 10 แห่ง ภายใต้แบรนด์ Ibis ซึ่งมีที่ตั้งใน ประเทศไทย โดยบริษทั และบริษทั ย่อยผูกพันทีจ่ ะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมต่างๆ ให้แก่บริษทั คูส่ ญ ั ญาในอัตรา ระยะเวลาและตามวิธกี าร 129

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


คำนวณที่ระบุไว้ในสัญญา โดยสัญญาบริหารโรงแรมมีระยะเวลา 15 ปี นับตั้งแต่เริ่มเปดดำเนินกิจการโรงแรม และมีสิทธิต่ออายุ สัญญานี้ได้อีก 5 ปี ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขบางประการที่ระบุในสัญญา ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม 2552 ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม ระยะเวลาสัญญาจาก 15 ปี เป็น 20 ปี

35. หนีÈสินที่อา®เกิดข÷Èน คดีฟองรองและขอพิพาท ก) ในปี 2551 บริษัทได้ถูกบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเคยเป็นลูกค้าในอาคารให้เช่าฟองร้องเรียกคืนเงินประกันการเช่าที่บริษัท นำไปหักกับค่าไฟฟาค้างชำระเป็นจำนวนเงินประมาณ 1.3 ล้านบาท ซึ่งศาลชั้นต้นได้มีคำพิพากษาให้ยกฟองคดีแล้ว เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 และปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างระยะเวลาการยื่นอุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารเชื่อว่าบริษัท จะไม่ได้รับผลเสียหายจากคดีฟองร้องดังกล่าว ข) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 บริษัทได้รับหมายเรียกของศาลตามคำร้องของจำเลยที่ร้องขอต่อศาลให้บริษัทเข้าเป็น จำเลยร่วมในคดีที่โจทก์ซึ่งเป็นผู้เช่าที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างรายหนึ่งฟองร้องเจ้าของทรัพย์สินเดิมที่ขายที่ดินพร้อม สิ่งปลูกสร้างที่ให้เช่าดังกล่าวให้บริษัทต่อศาลแพ่งในข้อหาผิดสัญญาเช่า และเรียกค่าเสียหายเป็นจำนวนเงินประมาณ 79.4 ล้านบาท โดยเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ศาลชั้นต้นได้พิพากษายกฟอง และโจทก์ได้ยื่นขอขยายเวลาอุทธรณ์ ต่อศาลชั้นต้น แต่โจทก์ไม่ได้ยื่นอุทธรณ์คำพิพากษาแต่อย่างใด จึงถือว่าคดีถึงที่สุด ค) ในปี 2552 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทให้สถาบันอนุญาโตตุลาการ สำนักระงับข้อพิพาท เพื่อพิจารณา ข้อพิพาทกับบริษัทผู้รับเหมารายหนึ่งให้ชำระเงินค่าเสียหายอันเนื่องมาจากการผิดสัญญาก่อสร้าง ซึ่งบริษัทผู้รับเหมา รายดังกล่าวได้ยื่นคำคัดค้าน/ข้อเรียกร้องแย้งต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการเช่นกัน ข้อพิพาทดังกล่าวอยู่ในกระบวนการ พิจารณาระงับข้อพิพาทของอนุญาโตตุลาการและยังไม่เป็นที่สิ้นสุด ดังนั้น บริษัทย่อยจึงยังไม่สามารถประมาณการ ผลกระทบจากข้อพิพาทดังกล่าวได้

36. เหตุการ≥åชุมนุมทางการเมือง

จากเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองในกรุงเทพมหานครในระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ทำให้บริษัทและ บริษัทย่อยบางแห่งซึ่งตั้งอยู่บริเวณดังกล่าวได้รับผลกระทบ โดยมีรายได้สำหรับช่วงระยะเวลาดังกล่าวลดลงจากงวดเดียวกันของ ปีก่อน ประมาณ 180.3 ล้านบาท อย่างไรก็ดี กลุ่มบริษัทได้รับเงินช่วยเหลือบางส่วนจากมาตรการของรัฐเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการชุมนุมดังกล่าว

37. มาตร∞านการรายงานทางการเงินที่ยังไม่ได้„ช้ กลุ่มบริษัทยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มี การบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ดังต่อไปนี้กำหนดให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ 130

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552)

เรื่อง

ปีที่มีผลบังคับใช้

การนำเสนองบการเงิน 2554 สินค้าคงเหลือ 2554 งบกระแสเงินสด 2554 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลง 2554 ประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 2554 ภาษีเงินได้ 2556 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 2554 สัญญาเช่า 2554 รายได้ 2554 ผลประโยชน์ของพนักงาน 2554 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล 2556 และการเปดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ 2556 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม 2554 การเปดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล 2554 หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการ 2554 ผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 2554 กำไรต่อหุ้น 2554 งบการเงินระหว่างกาล 2554 การด้อยค่าของสินทรัพย์ 2554 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 2554 และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 2554 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 2554 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 2554 การรวมธุรกิจ 2554 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย และการดำเนินงานที่ยกเลิก

2554

ซึ่งผู้บริหารพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่โดย สภาวิชาชีพบัญชี ต่องบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการดังต่อไปนี้ 131

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญจากการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 ดังนี้ (ก) ต้นทุนการรื้อถอน การขนย้ายและ การบูรณะสภาพของสินทรัพย์ ต้องถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์และอาจมีการคิดค่าเสื่อมราคาประจำปี (ข) การกำหนดค่าเสื่อม ราคา ต้องพิจารณาแต่ละส่วนแยกต่างหากจากกันเมื่อแต่ละส่วนประกอบนั้นมีสาระสำคัญ (ค) มูลค่าคงเหลือของที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ต้องมีการประมาณด้วยมูลค่าที่กิจการคาดว่าจะได้รับในปัจจุบันจากสินทรัพย์นั้น หากมีอายุและสภาพที่คาดว่าจะได้รับ ในปัจจุบันเมื่อสิ้นสุดอายุการให้ประโยชน์ นอกจากนี้ ต้องมีการสอบทานมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์อย่างน้อยทุกสิ้นปี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) อนุญาตให้กิจการเลือกปรับไปข้างหน้าสำหรับปีที่เริ่มนำมาถือปฏิบัติ บริษัท เลือกที่จะใช้ทางเลือกดังกล่าว ซึ่งผู้บริหารพิจารณาแล้วไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำคัญต่องบการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี เรื่องผลประโยชน์ของพนักงานให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2554 บริษัทจึงยังไม่ได้บันทึกบัญชีผลประโยชน์หลังออกจากงานภายใต้โครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น และผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างจนกว่าจะเกิดค่าใช้จ่ายขึ้น ซึ่งตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ กำหนดให้ต้อง ทยอยรับรู้ค่าใช้จ่ายและประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ตามระยะเวลาตั้งแต่วันที่พนักงานเริ่มให้บริการ โดยกำหนดให้มี ข้อสมมติฐานในการคำนวณตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยเพื่อประเมินภาระผูกพันและค่าใช้จ่ายของผลประโยชน์ระยะยาว รวมถึงกำหนดให้ใช้วิธีการคิดลดผลประโยชน์เนื่องจากกำหนดเวลาการจ่ายชำระผลประโยชน์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นภายหลังจาก ที่พนักงานได้ให้บริการเป็นเวลานาน ฝายบริหารได้มีการประเมินหนี้สินในช่วงการเปลี่ยนแปลง ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 สำหรับผลประโยชน์พนักงานหลัง ออกจากงานเป็นเงิน 39 ล้านบาทสำหรับกลุ่มบริษัท และจำนวนเงิน 16 ล้านบาทสำหรับบริษัท ฝายบริหารมีความตั้งใจที่จะรับรู้ และบันทึกหนี้สินนี้โดยปรับกับกำไรสะสม ณ วันที่นำมาตรฐานการบัญชีมาใช้ครั้งแรก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) ได้กำหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีสำหรับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนและ การเปดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็นรายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งกิจการสามารถวัดมูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนโดยใช้วิธีมูลค่ายุติธรรม หรือวิธีราคาทุน สำหรับวิธีมูลค่ายุติธรรมกิจการ ต้องรับรู้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในกำไรหรือขาดทุน กลุ่มบริษัทอยู่ระหว่างพิจารณาวิธี ณ วันที่นำมาตรฐานการบัญชี มาใช้ครั้งแรก

38. เหตุการ≥å¿ายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติงดจ่าย เงินปันผลสำหรับปี 2553 132

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

¢âÕ¡Ÿ≈∑—Ë«‰ª

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน)

∫√‘…—∑ ¥‘ ‡Õ√“«—≥ °√ÿäª ®”°—¥ (¡À“™π) çERAWANé ทะเบียนเลขที่ 0107537001943 สำนักงานใหญ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร ชั้น 6 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577

สำนักงานสาขาที่ 5 โรงแรมไอบิส สมุย บอผุด เลขที่ 197 ถนนรอบเกาะ ตำบลบอผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี 84320 โทรศัพท 66 (0) 7791 4888 โทรสาร 66 (0) 7791 4889

สำนักงานสาขาที่ 1 อาคารเอราวัณ แบงค็อก เลขที่ 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 66 (0) 2250 7777 โทรสาร 66 (0) 2250 7788

สำนักงานสาขาที่ 6 โรงแรมไอบิส กรุงเทพ สาทร เลขที่ 29/9 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 66 (0) 2610 5188 โทรสาร 66 (0) 2610 5189

สำนักงานสาขาที่ 2 โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ เลขที่ 4 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2656 7700 โทรสาร 66 (0) 2656 9831

สำนักงานสาขาที่ 7 โรงแรมไอบิส กรุงเทพ นานา เลขที่ 41 ซอยสุขุมวิท 4 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2667 5888 โทรสาร 66 (0) 2667 5889

สำนักงานสาขาที่ 3 โรงแรมไอบิส ภูเก็ต ปาตอง เลขที่ 10 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตำบลปาตอง อำเภอกระทู จังหวัดภูเก็ต 83150 โทรศัพท 66 (0) 7630 3888 โทรสาร 66 (0) 7630 3889

สำนักงานสาขาที่ 8 โรงแรมฮอลิเดย อินน พัทยา เลขที่ 463/68 ถนนพัทยาสาย 1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท 66 (0) 3872 5555 โทรสาร 66 (0) 3872 5556

สำนักงานสาขาที่ 4 โรงแรมไอบิส พัทยา เลขที่ 463/79 ถนนพัทยาสาย 2 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท 66 (0) 3841 8188 โทรสาร 66 (0) 3841 8189

สำนักงานสาขาที่ 9 โรงแรมไอบิส ภูเก็ต กะตะ เลขที่ 88/8 ถนนกะตะ ตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83100 โทรศัพท 66 (0) 7636 3488 โทรสาร 66 (0) 7636 3489 โฮมเพจ www.TheErawan.com

133

ขอมูลทั่วไป

Back


ประเภทธุรกิจ

ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการลงทุนพัฒนาและดำเนินธุรกิจโรงแรมที่เหมาะสมกับทำเลและสถานที่ตั้ง และกลุม เปาหมายเปนธุรกิจหลัก โดยมีธรุ กิจอืน่ ไดแก ธุรกิจใหเชาพืน้ ทีอ่ าคารสำนักงาน และรานคา

ทุนของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทุนจดทะเบียน 2,244,779,001 บาท หุนสามัญ 2,244,779,001 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนชำระแลว 2,244,779,001 บาท หุนสามัญ 2,244,779,001 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท

∫ÿ§§≈Õâ“ßÕ‘ßÕ◊ËπÊ 1. นายทะเบียนหุนสามัญ บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2359 1200-02 โทรสาร 66 (0) 2359 1259 2. ผูสอบบัญชี

นายเจริญ ผูสัมฤทธิ์เลิศ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 นางสาวบุญศรี โชติไพบูลยพันธุ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3756 นางสาววรรณาพร จงพีรเดชานนท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4098 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ชั้น 48 เอ็มไพรทาวเวอร 195 ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 66 (0) 2677 2000 โทรสาร 66 (0) 2677 2222

134

ขอมูลทั่วไป

Back


SUCCESS WITH INTEGRITY

”π—°ß“π„À≠à บริษัท ดิ เอราวัณ กรุป จำกัด (มหาชน) อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร ชั้น 6 เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท ซอย 2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577 www.TheErawan.com

∏ÿ√°‘®‚√ß·√¡ แกรนด ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพ เลขที่ 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 66 (0) 2254 1234 โทรสาร 66 (0) 2254 6267 www.bangkok.grand.hyatt.com เจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ เลขที่ 4 ถนนสุขุมวิท ซอย 2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2656 7700 โทรสาร 66 (0) 2656 7711 www.marriott.com/bkkdt เรเนซองส เกาะสมุย รีสอรท แอนด สปา เลขที่ 208/1 หมูที่ 4 ตำบลมะเร็ต อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี 84310 โทรศัพท 66 (0) 7742 9300 โทรสาร 66 (0) 7742 9333 www.marroitt.com/usmbr ซิกสเซนส แซงชัวรี่ ภูเก็ต เลขที่ 32 หมูที่ 5 ตำบลปาคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 83110 โทรศัพท 66 (0) 7637 1400 โทรสาร 66 (0) 7637 1401 www.sixsenses.com 135

ขอมูลทั่วไป

คอรทยารด โดย แมริออท กรุงเทพ เลขที่ 155/1 ซอยมหาดเล็กหลวง 1 ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 66 (0) 2690 1888 โทรสาร 66 (0) 2690 1899 www.courtyard.com/bkkcy ฮอลิเดย อินน พัทยา เลขที่ 463/68 ถนนพัทยาสาย 1 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท 66 (0) 3872 5555 โทรสาร 66 (0) 3872 5556 www.holidayinn.com/pattaya ไอบิส ภูเก็ต ปาตอง เลขที่ 10 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตำบลปาตอง อำเภอกระทู จังหวัดภูเก็ต 83150 โทรศัพท 66 (0) 7630 3888 โทรสาร 66 (0) 7630 3889 www.ibishotel.com ไอบิส พัทยา เลขที่ 463/79 ถนนพัทยาสาย 2 ตำบลหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท 66 (0) 3841 8188 โทรสาร 66 (0) 3841 8189 www.ibishotel.com ไอบิส สมุย บอผุด เลขที่ 197 ถนนรอบเกาะ ตำบลบอผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี 84320 โทรศัพท 66 (0) 7791 4888 โทรสาร 66 (0) 7791 4889 www.ibishotel.com

Back


ไอบิส กรุงเทพ สาทร เลขที่ 29/9 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 66 (0) 2610 5188 โทรสาร 66 (0) 2610 5189 www.ibishotel.com ไอบิส กรุงเทพ นานา เลขที่ 4 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2667 5888 โทรสาร 66 (0) 2667 5889 www.ibishotel.com ไอบิส ภูเก็ต กะตะ เลขที่ 88/8 ถนนกะตะ ตำบลกะรน อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83100 โทรศัพท 66 (0) 7636 3488 โทรสาร 66 (0) 7636 3489 www.ibishotel.com

∏ÿ√°‘®æ◊Èπ∑’Ë„Àâ‡™à“ อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท ซอย 2 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 66 (0) 2656 8600-4 โทรสาร 66 (0) 2656 9899 อาคารเอราวัณ แบงค็อก เลขที่ 494 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 66 (0) 2250 7777 โทรสาร 66 (0) 2250 7788 www.erawanbangkok.com

ไอบิส กรุงเทพ ริเวอรไซด เลขที่ 27 ถนนเจริญนคร ซอย 17 แขวงบางลำภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 66 (0) 2805 9888 โทรสาร 66 (0) 2805 9889 www.ibishotel.com

136

ขอมูลทั่วไป

Back


Designed by Plan Grafik Co., Ltd. Tel. 0 2237 0080 # 300


บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ชั้น 6 อาคารเพลินจิต เซ็นเตอร์ เลขที่ 2 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 66 (0) 2257 4588 โทรสาร 66 (0) 2257 4577 ทะเบียนเลขที่ 0107537001943 www.TheErawan.com

รายงานประจำปี 2553 บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)

บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยการใช้กระดาษรีไซเคิล ซึ่งผลิตโดยบริษัทของคนไทยในการจัดพิมพ์หนังสือรายงานประจำปี 2553 เพื่อร่วมลดภาวะโลกร้อนและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

รายงานประจำปี 2553 บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.