2/2551 eTAT Tourism Journal

Page 1

e TAT

จุลสารวิชาการท่องเที่ยว 2 / 2 5 5 1

ITB Berlin convention Market Trends & Innovations 2008 l ASEAN Tourism Conference (ATC 2008) l แนวโน้มการท่องเที่ยวโลกที่โดดเด่นในปี 2550 l กลุ่มนักท่องเที่ยวเอเชียที่น่าจับตามอง ภายในปี 2012 l

eTATjournal.com

TOURISM JOURNAL 2008 vol 2


e TAT

พบกองบรรณาธิการ ประจำไตรมาสที่ 2/2551 เมษายน - มิถุนายน 2551

สถานการณ์โดยรวมของไทยตอนนี้ มีเรื่องชวนอึดอัดขัดใจหลายเรื่อง เช่น น้ำมันแพง ข้าวแกงขึ้นราคา รัฐธรรมนูญที่ได้มาก็อยากจะแก้ บรรยากาศมันเลยไม่รื่นรมย์ หมดอารมณ์จะเดินทาง ท่องเที่ยว แต่สัญชาตญาณของคน ก็ต้องไขว่คว้าหาทาง entertain ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง คนกรุงเทพฯมักจะได้เปรียบเสมอ เพราะ activities มันมากมาย lifestyle ที่หลายคน (นอกกรุง) ต้องอิจฉา ชีวิตสนุกทุกตารางนิ้ว กรุงเทพฯเมืองฟ้าอมรเป็นเมืองที่มีเสน่ห์ เพราะเป็นเมืองที่มีกิจกรรม หลากหลาย variety มีสีสัน อยากดูหนังอินดี้ ก็มี เทศกาลหนังสืออินดี้ก็มี หนังกลางแปลงก็มี อยากอ่านหนังสือก็มี “ตัวเลือก” มากทีเดียว เรามี ห้องสมุดดนตรี ที่ TK Park แล้วก็ยังมี ห้องสมุดเกี่ยวกับการออกแบบ ที่ TCDC ใครอยากรู้เรื่องความเป็นมาของละครเวที ก็ต้องไป Theater Library ที่ รัชดาลัย ตอนนี้ ใหม่สุด เท่าที่ผู้เขียนไปมาคือ Museum of Siam แถวๆ ท่าเตียน และอื่นๆ อีกมากมาย

วกกลับมาคุยเรื่องสำคัญแต่ (อาจจะ)ไม่สนุก คือ เรื่อง จุลสารวิชาการการท่องเที่ยวฉบับนี้ ท่านเปิดอ่านได้อย่างจุใจในทุกเรื่อง ททท.ขอยืนยันว่า ข้อมูลที่นำเสนอในฉบับนี้จะทำให้ท่านตื่นตาตื่นใจ เพราะท่านจะได้พบเจอเรื่องใหม่ๆ ประเด็นสดๆ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ และที่สำคัญท่านสามารถนำไป ต่อยอดขยายผลได้ เรื่องสุดท้าย จะเป็นเรื่องที่ ททท.ขอประชาสัมพันธ์ การสัมมนา เปิดมุมมอง ท่องเที่ยวไทย ซึ่งจะจัด ในวันที่ 7 และ 8 มิถุนายน 2551 ที่ ห้องจูปิเตอร์ 4-7 อิมแพค เมืองทองธานี ท่านจะได้พบกับ คณะวิทยากรคับคั่ง กว่า 36 ท่าน ทั่วฟ้าเมืองไทย ทั้งนักเขียนซีไรต์ (บินหลา สันกาลาคีรี) ผู้กำกับ ภาพยนตร์รางวัลสุพรรณหงส์ปีล่าสุด (มะเดี่ยว) กูรูเพลงของไทย (มาโนช พุฒตาล) ขวัญใจวัยรุ่น (นักอ่าน) คือ วงศ์ทนงและทรงกลด ณ a day รวมทั้ง ผู้ผลิตรายการทีวี คุณภาพคับแก้ว อย่าง ทีวีบูรพา ก็จะมา เปิดกะลา พากบเที่ยว ขอโทษที่เสนอได้ไม่ครบ เพราะกระดาษหมด พบกันที่อิมแพค ในการสัมมนา เปิดมุมมอง ท่องเที่ยวไทย ครบรส ครบเครื่องเรื่องท่องเที่ยว สวัสดีค่ะ หมายเหตุ: TK Park คือ Thailand Knowledge Park (อุทยานเรียนรู้) TCDC คือ Thailand Creative & Design Center (ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ) ยุวดี นิรัตน์ตระกูล บรรณาธิการ Yuvadee.nirattakun@tat.or.th

สารบัญ eTAT Tourism Journal จุลสาร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 0 2250 5500 ต่อ 2620-2 โทรสาร: 0 2253 7468 email: etatjournal@tat.or.th etatjournal@hotmail.com website: http://www.etatjournal.com

สถานการณ์ท่องเที่ยว • สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย ปี 2550 • สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวโลกจาก ITB Berlin Convention Market Trends & Innovations • ประมวลข่าวสารการท่องเที่ยวจากงาน ITB Berlin 2008 การประชุมสัมมนา • สรุปข้อมูลการประชุมวิชาการ ASEAN Tourism Conference (ATC 2008) Dynamics of ASEAN tourism บทความด้านการท่องเที่ยว • แนวโน้มการท่องเที่ยวโลกที่โดดเด่นในปี 2550 • กลุ่มนักท่องเที่ยวเอเชียที่น่าจับตามองภายในปี 2012 • นักท่องเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ • การท่องเที่ยวมาเลเซีย (ตอนที่ 1) • นวัตกรรมการท่องเที่ยว

e TAT Tourism Journal 2551


สรุปสถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาประเทศไทย ป 2550 สิรินาถ นุชัยเหล็ก1

ภาพรวมสถานการณการทองเที่ยวทั่วโลก

1

ld

or

W

ro pe

s

ica

er

Eu

a

Am

Af r ic

ic

c if

Pa

ia

As

M

i dd

le

Ea st

Million Persons

ในป 2550 สถานการณนักทองเที่ยวระหวางประเทศเดินทางทั่วโลก จํานวน 898 ลานคน มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น รอยละ 6 ซึ่งสูงกวาปที่ผานมา (รอยละ 5.5) จากการขับ เคลื่อนของประเทศเกิดใหม ในภูมิ ภาคเอเชี ยแปซิฟค อัฟ ริก า และตะวันออกกลาง แมวาจะมีปจจั ย หลายประการที่เ ปนอุปสรรคตอการเดินทางระหวางประเทศ ซึ่ง ประกอบไปดวย การปรับราคาคา โดยสาร ซึ่งเปนผลจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ความไมเชื่อ มั่นในเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การกอการราย สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน และการเกิดโรคระบาด เมื่อพิจารณาสถานการณรายภูมิ International Tourist Arrivals by Region ภาค พบวา ตะวันออกกลาง เปนผูนําการ 1000 ขยายตั วทางด า นจํา นวน ด ว ยอั ต ราการ 6 900 เติบโตมากที่สุด เพิ่มขึ้นรอยละ 13 หรือมี 800 2007 2006 700 จํา นวนนั ก ทอ งเที่ ย ว 46 ล านคน อั นเกิ ด 600 4 จากการขยายตัวของนักทองเที่ย วในกลุม 500 400 ตลาดตะวั น ออกกลางที่ กํ า ลั ง เพิ่ ม ขึ้ น สู ง 300 10 ตามมาดว ย เอเชีย แปซิ ฟ ค มีก ารขยาย 5 200 13 8 100 ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 10 หรื อ มี จํ า นวนนั ก 0 ทองเที่ยว 185 ลานคน เกิดจากแรงผลัก ดันของตลาดจีน และอินเดียที่กําลัง มีการ ขยายตั ว ทางด า นเศรษฐกิ จ ในระดั บ สู ง อัฟริกาขยายตัวเพิ่มขึ้น รอยละ 8 หรือมี จํานวนนักทองเที่ยว 44 ลานคน ซึ่งเปนการขยายตัวตอเนื่องจากปที่ผานมา อเมริกา มีการขยายตัว เพิ่มขึ้น รอยละ 5 โดยเปนอัตราการขยายตัวที่ไมแตกตางจากปที่ผานมามากนัก ซึ่งเปนผลจากการ ขยายตัวของนักทองเที่ยวสหรัฐที่นิยมเดินทางทองเที่ยวภายในภูมิภาคเพิม่ ขึน้ เกือบเทาตัว สงผลใหมี จํานวนนักทองเที่ยว 142 ลานคน และ ยุโรป มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น รอยละ 4 หรือมีจํานวนนักทอง เที่ยว 480 ลานคน เปนผลจากสภาพเศรษฐกิจที่เติบโตอยางแข็งแกรง การเติบโตของสายการบินตน ทุนต่ํา และการเขารวมกลุมประเทศประชาคมยุโรปอีก 9 ประเทศ ในป 2550 คือ เอสโทเนีย ลัทเวีย

หัวหนางานวิเคราะหตลาดตางประเทศ กองกลยุทธการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


ลิตทูเนีย โปแลนด สโลวาเกีย ฮังการี สาธารณรัฐเชค สโลวีเนีย และ มัลตา ซึ่งสงผลใหนักทองเที่ยว ยุโรปสามารถเดินทางภายในภูมิภาคไดโดยสะดวกมากขึ้น

ภาพรวมสถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเขาไทย สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาประเทศไทย ป 2550 มีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ใน ระดับปานกลาง ดวยอัตรารอยละ 4.65 หรือมีจํานวนนักทองเที่ยว ทั้งสิ้น 14,464,228 คน โดย เปนผลจากปญหาทางการเมืองและการกอความวุนวายในประเทศ ตั้งแตการลอบวางระเบิดหลายจุด ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ในชวงของการเฉลิมฉลองเทศกาลสงทายปเกาตอนรับปใหม สงผล ใหนักทองเที่ยวขาดความเชื่อมั่นในการเดินทาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาดกลุมเอเชียตะวันออก แม วาผลกระทบดังกลาวจะไมสงผลตอกลุมตลาดอื่น แตยังมีปจจัย อื่นที่ขัดขวางการเดินทางระหวาง ประเทศจากภายนอก อาทิ ปญ หาเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐตกต่ํา สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน รวมทั้งปญหาการกอการรายในภูมิภาคยุโรป สงผลใหจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทยใน ชวงไตรมาส 1-3 มีการเติบโตต่ํากวาคาดการณ แมวาจะมีการปรับตัวไปในทิศทางที่ดขี นึ้ ในชวงไตร มาส 4 โดยกลับมามีอัต ราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูง สง ผลใหจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติเขาไทยเมื่อ สิ้นป 2550 กลับมามีอัตราการขยายตัวใกลเคียงกับเปาหมายที่กําหนด โดยมีอัตราการขยายตัวใน แตละกลุมตลาด ดังนี้ โอเชียเนีย เพิ่มขึ้นรอยละ 16.57 เอเชีย ใต เพิ่มขึ้นรอยละ 13.27 ตะวันออก กลาง เพิ่มขึ้นรอยละ 11.83 อัฟริกา เพิ่มขึ้นรอยละ 11.16 ยุโรป เพิ่มขึ้นรอยละ 11.08 เอเชียตะวัน ออก เพิ่มขึ้นรอยละ 0.49 และอเมริกา ติดลบรอยละ 0.92 ทั้งนี้คาดการณรายไดจากนักทองเที่ยว ต างชาติ ประมาณ 535,000 ล านบาท1/ สามารถขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้น ประมาณ ร อยละ 10.9 เมื่ อ เปรียบเทียบกับปที่ผานมา Internation Tourist Arrival to Thailand 16

4.65

14 Persons

12 10 8 6 4

5.76

0.44

2.69

8.84

2 Q1

Q2

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

Q3

Q4

Total

หนาที่ 2


ความเคลื่อนไหวสถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเขาไทยรายไตรมาส สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทย ในชวงไตรมาสแรก ของป 2550

มี จํา นวน 3,831,089 คน เป นอั ต ราการขยายตั ว ที่ ถ ดถอยกว าไตรมาสสุ ด ท า ยของป 2549 (รอยละ 11.97) โดยมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 5.76 ซึ่งเปนผลจากเหตุการณ ลอบวางระเบิดในพื้นที่เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลหลายจุดในชวงสิ้นป 2549 สงผลใหกลุม ตลาดเอ เชีย ตะวันออก ซึ่งเปนกลุมตลาดค อนขางออนไหวตอสถานการณที่ เปนวิก ฤตและมีมาตรฐานด าน ความปลอดภัยสูง ขาดความเชื่อมั่นในการเดินทาง สงผลใหกลุมตลาดนี้อัตรามีการขยายตัวติดลบ รอยละ 4.17 แมวากลุมตลาดอื่นจะไมไดรับผลกระทบจากเหตุการณดังกลาวก็ตาม สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทย ในชวงไตรมาส 2 ของป 2550 มีจํานวน 3,123,663 คน เปนอัตราการขยายตัวต่ําที่สุด โดยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเพียง รอยละ 0.44 อันเปนผลจากสถานการณความขัดแยงทางการเมืองและความไมสงบภายในประเทศ ไทยที่ยังไมคลี่คลาย จึงยังทําใหกลุมตลาดเอเชียตะวันออก มีอตั ราขยายตัวติดลบ รอยละ 3.06 นอก จากนี้ ยัง เกิดสถานการณความผันผวนในตางประเทศทั้งสภาพภูมิอากาศแปรปรวนที่สง ผลใหภูมิ ภาคยุโรปมีภูมิอากาศอบอุนขึ้น จึงทําใหนักทองเที่ยวยุโรปเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศเพิ่มขึ้น ผนวกกับกระแสความกังวลในเรื่องภาวะโลกรอนที่สงผลใหนักทองเที่ยวยุโรปชะลอการเดินทางทอง เที่ยวในระยะไกล จากการเชื่อวาการเผาผลาญน้ํามันจํานวนมากของสายการบินเปนการเพิม่ มลภาวะ แกสิ่งแวดลอมที่สําคัญอยางหนึ่ง และยังมีสาเหตุที่สําคัญอีกประการ คือ การกอการราย โดยมีการ ลอบวางระเบิดที่สนามบินฮีทโธรวและกลาสโกว ในประเทศสหราชอาณาจักร ในชวงปลายไตรมาส 2 ยิ่งสงผลใหนักทองเที่ยวยุโรปชะลอการเดินทางในตางประเทศ นอกจากนี้ ปญหาทางดานเศรษฐกิจ ของประเทศสหรัฐที่เริ่มตกต่ําไดสงสัญญาณใหเห็นอยางชัดเจน พรอมทั้งคาเงินดอลลารสหรัฐออน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


คาลงอยางตอเนื่องสงผลใหนักทองเที่ยวสหรัฐเกิดความวิตกกังวลในสภาพเศรษฐกิจ ทําใหมีการ เดินทางเขาไทยลดลง รอยละ 5.76 ในขณะที่กลุมตลาดอื่น ๆ ยังมีการขยายตัวเปนปกติ สถานการณนักทองเที่ยวตา งชาติเดินทางเขาไทย ในชวงไตรมาส 3 ของป 2550 มีจํานวน 3,450,768 คน นับเปนการขยายตัวที่ ปรับตัว ดีขึ้นเล็กนอยเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา โดยมี อัตราการเติ บโตที่รอยละ 2.69 ซึ่งเปนผลจากการฟนตั ว ของกลุม ตลาดเอเชียตะวันออกที่ กลับมาเติ บโตอยูในแดน บวก ดวยอัตราเพิ่ม รอยละ 1.77 แมวาสถานการณทอง เที่ยวของกลุมตลาดยุโรป และอเมริกา จะยังคงชะลอตัวตอ เนื่ องจากไตรมาส 2 และยั ง มี ก ลุ ม ตลาดอื่ น ๆ ที่ เ ริ่ ม ส ง สัญญาณการขยายตัวแผวลงเล็กนอย คือ ตะวันออกกลาง และอัฟริกา จากปญหาการสูรบภายในภูมิภาค และการกอ ความวุนวายภายในประเทศ สวนกลุมตลาดที่เหลือยังคงมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นเปนปกติ สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทย ในชวงไตรมาส 4 ของป 2550 มีจํานวน 4,058,708 คน มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงที่สุด รอยละ 8.84 โดยเกือบทุก กลุ ม ตลาดกลับมาขยายตั ว เปนปกติ ยกเว น กลุ ม ตลาดตะวั นออกกลางที่ ยั งมีก ารชะลอตั ว จาก ปญหาความไมสงบภายในภูมิภาคที่ยังไมคลี่คลาย ตลอดจนมีการชะลอตัวของตลาดอิสราเอลเพิ่ม เติม ในชวงไตรมาส 4 ซึ่งคาดวาเปนผลจากการเผยแพรขาวนักทองเที่ยวอิสราเอลเสียชีวิต จากเหตุ การณเรือลม บริเวณอาวมาหยา เกาะพีพี จ.กระบี่ ในชวงเดือนกันยายน

สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทยรายกลุมตลาด กลุมตลาดเอเชียตะวันออก มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 7,981,205 คน ดวยอัตราการขยายตัวเพียงรอยละ 0.49 ซึง่ นับเปนอัตราการขยายตัวที่ต่ํามากเปนรองเพียงกลุมตลาดอเมริกาเทานั้น เนื่องจากเปนตลาดที่คอ น ขา งอ อ นไหวในสถานการณ ที่ เป นวิ ก ฤต ดั ง นั้น เหตุ ก ารณ ล อบวางระเบิ ด ในพื้ นที่ก รุ ง เทพ ฯ และ ปริมณฑลหลายจุด ในชวงของการเฉลิมฉลองเทศกาลสงทายปเกาตอนรับปใหม จึงสงผลใหตลาด ชะลอการเดินทางลงอีกหลังจากที่ไดกลับสูภาวะปกติ ในชวงไตรมาส 4 ของป 2549 สงผลใหในชวง ครึ่ง ป แรก ของป 2550 มีจํ านวนนัก ทองเที่ ยวเดินทางลดลง รอยละ 3.63 โดยตลาดที่ไดรั บผล กระทบ คื อ จี น ญี่ ปุน ฮองกง เกาหลีใต ไต ห วัน มาเลเซีย สิง คโปร และ เวีย ดนาม อยางไรก็ ตาม ตลาดเริ่มมีการปรับตัวไปในทิศทางที่ดีขึ้น ในชวงครึ่ง หลัง ของป 2550 จากสถานการณทางการ เมืองที่มีความชัดเจนขึ้น และการเรงสงเสริมตลาดเชิงรุกในหลายพื้นที่ ทําใหเกือบทุกตลาดสามารถ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


กลับมาขยายตัวอยูในแดนบวก มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 4.47 ยกเวน ตลาดไตหวันทีย่ งั มี อัตราการเติบโตลดลงอยางตอเนื่อง จากการปรับเพิ่มคาธรรมเนียมขออนุญ าตทําวีซาเขาประเทศ ไทยจาก 850 เหรียญไตหวัน เปน 1,100 เหรียญไตหวัน ตั้งแตเดือนกรกฎาคม เปนตนมา และการ ปรับราคาแพกเก็จทัวรที่สูงขึ้น สําหรับ กลุมตลาดอาเซียน ซึ่งสวนใหญจะมีสถานการณทองเที่ยวไป ในทิศทางเดียวกับกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ยกเวนตลาดสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาวที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดถึงรอยละ 84.6 ซึ่งคาดวาเปนผลจากการเปดเสนทางสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 2 จ.มุกดาหาร ทําใหนักทองเที่ ยวลาวสามารถเดินทางเขาไทยผานดาน พรมแดนไดสะดวกขึ้น กลุมตลาดยุโรป มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 3,689,770 คน ดวยอัตราการขยายตัวที่คอนขางสูง รอยละ 11.08 แมวาสถานการณ ทองเที่ย วจะชะลอตั ว ในช วงไตรมาส 2-3 จากความวิตกกัง วลในเรื่อง ความปลอดภัย จากเหตุการณ ลอบวางระเบิดในประเทศสหราชอาณาจักร และ สภาพภูมิอากาศที่ แปรปรวนสงผลใหภูมิภาคยุโรปมีสภาพอากาศอบอุนขึ้น จึงสงผลใหนักทองเที่ยวหันมาเดินทางทอง เที่ยวภายในภูมิภาคมากขึ้น และชะลอการเดินทางทองเที่ยวในระยะไกล แมวา สถานการณทอ งเทีย่ วจะ ปรับตัว ดี ขึ้น ในชวงไตรมาส 4 จากการผอ นคลายความกั งวลทางดานความปลอดภั ยและกระแส ความหวงใยในภาวะโลกรอน โดยกลับมาขยายตัวเปนปกติ ทั้งนี้ตลาดที่ยัง มีอัตราการขยายตัวเพิ่ม ขึ้นอยางโดดเดนตอเนื่องจากปทผี่ านมา คือ รัสเซีย ยุโรปตะวันออก และสแกนดิเนเวีย สําหรับตลาด หลักที่สําคัญของไทย ทั้งเยอรมนี และฝรั่งเศส ยัง คงรักษาระดับอัตราการขยายตัวไดดีตอเนื่อง ยก เวน ตลาดสหราชอาณาจักรที่มีอัตราการขยายตัวคอนขางคงที่เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา กลุมตลาดอเมริกา มีจํานวนนัก ทองเที่ยวทั้ง สิ้น 817,564 คน ดวย อัต ราการขยายตัวติดลบ รอยละ 0.92 อันเกิดจากวิกฤต เศรษฐกิจ ของประเทศสหรัฐที่ตกต่ําอยางหนักในชว งไตร มาส 2 -3 พรอมทั้งคาเงินดอลลารสหรัฐทีอ่ อ นคาลงอยาง ตอเนื่อง สงผลใหตลาดอเมริกาเหนือ ซึ่งเปนตลาดหลักของ กลุม ประกอบดวย สหรัฐอเมริกา และแคนาดา มีการเดิน ทางลดลงรอยละ 2.66 และรอยละ 0.10 ตามลําดับ อยาง ไรก็ต ามสถานการณ ทองเที่ยวไดกลั บมาเปนปกติ ในชว ง ไตรมาส 4 จากการคลายความวิ ต กกั ง วลของประชาชน และรัฐบาลสหรัฐไดออกมาตราการรองรับวิกฤตเศรษฐกิจ ของประเทศ และยั ง สามารถตอกย้ํ า ความเข ม แข็ง ของ ประเทศไทย ดว ยการไดรับรางวัล Readers’ Choice Award 2007 ประเภทแหล ง ท อ งเที่ ย วอั นดั บหนึ่ ง ในเอเชีย ของ นิตยสาร Conde Nast Traveller ติด ตอกันเปนปที่ 3 ในชวง เดือนธันวาคม สวนกลุมตลาดอเมริกาใต ซึ่งประกอบดวย อารเจนตินา และบราซิล กลับมีอัตราการ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางนาสังเกตและตอเนื่องตลอดทั้งป โดยเปนผลจากการขยายตัวทางดานการคา และการลงทุน นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุมประเทศอเมริกาใตจดั ตัง้ กองทุนพัฒนาเศรษฐกิจของกลุม ประเทศอเมริกาใต จึง ทําใหระบบเศรษฐกิจของกลุมประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว และสง ผลใหนัก ทองเที่ยวตองการเดินทางออกนอกประเทศมากขึ้น กลุมตลาดเอเชียใต มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 685,574 คน โดยเปนการขยายตัวในระดับสูงอยางตอเนื่อง ดวยอัตราการเติบโตรอยละ 13.27 อันเกิดจากแรงผลักดันของตลาดอินเดีย ซึง่ เปนตลาดสําคัญของ ภูมิภาคที่กําลัง มีการขยายตัวสูงทางดานเศรษฐกิจ และมีปจจัยสนับสนุนทางดานการขยายเสนทาง บินทั้ง สายการบินประจํา และสายการบินต นทุนต่ําไปยัง เมื องหลักตาง ๆ ของอินเดีย จึงสงผลให ตลาดอินเดียมีการขยายตัว เพิ่มขึ้นมากถึงรอยละ 17.8 แมวาตลาดอื่น ๆ ในกลุม จะมีสถานการณ ทองเที่ยวผันผวน จากเหตุการณความวุนวายทางการเมือง และการกอการรายในภูมิภาค แตก็ไมได สงผลกระทบตอภาพรวมของกลุมตลาดเทาใดนัก กลุมตลาดโอเชียเนีย มี จํ านวนนั ก ท อ งเที่ ย วทั้ ง สิ้ น 731,283 คน มี อั ต ราการขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น สูง ถึ ง ร อยละ 16.58 ซึ่งเปนผลจากการขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงของตลาดออสเตรเลียที่มีสวนแบง ตลาดของกลุมมาก กวารอยละ 80 ปจจัยสําคัญที่ทําใหตลาดออสเตรเลียขยายตัว คือ การขยายความถี่และการเปดให บริการเสนทางบินใหมของสายการบินไทย ในเสนทางซิดนีย-บริสเบน-กรุงเทพฯ จํานวน 7 เทีย่ วบิน /สัปดาห สวนเหตุการณรายที่เกิดขึ้นในประเทศไทยทั้งการลอบวางระเบิดกรุงเทพฯและปริมณฑล หลายจุด ในชวงเทศกาลปใหม และเหตุการณความไมสงบภายในประเทศอีกหลายครั้ง แมวารัฐบาล ของประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนดจะประกาศเตือนนักทองเที่ยวใหระมัดระวังการเดินทางเขาไทย อยูบอยครั้ง แตก็ไมไดสงผลกระทบตอตลาดแตอยางใด ทั้ง นี้ประเทศคูแขงที่กําลัง มาแรงมีการสง เสริมตลาดอยางหนักเพื่อฟนฟูการทองเที่ยวใหกลับมาไดรับความนิยมเหมือนเดิม คือ บาหลี ซึง่ มีนกั ทองเที่ยวออสเตรเลียเดินทางเขาบาหลี ขยายตัวมากถึงรอยละ 54 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา กลุมตลาดตะวันออกกลาง มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 453,891 คน ขยายตัวเพิ่มขึ้น รอยละ 11.84 เปนอัตราการ เติบโตที่ชะลอความรอนแรงลงจากปที่ผานมา ทั้ง ๆ ที่เปนกลุมตลาดที่มีสภาพเศรษฐกิจเขมแข็ง จาก การเปนประเทศสง ออกน้ํามัน และมีการขยายเสนทางการบินจํานวนมาก สาเหตุเปนเพราะปญ หา ความขัดแยงและการเกิดสงครามภายในภูมิภาคอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเกิดสงคราม ระหวางสหรัฐ อเมริกาและอิหรานที่มีความตึงเครียดมากขึ้น และปญหาการสูรบการลอบวางระเบิด ระหวางอิสราเอลกับซีเรีย สงผลใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมาก ในชวงเดือนกันยายน ซึง่ เปนเดือนแหงเทศ กาลการถือศีลอด หรือรอมฎอน ทําใหสูญเสีย บรรยากาศทางการทองเที่ยวในตางประเทศนัก ทอง เที่ยวชาวอาหรับจึงหันไปเดินทางทองเที่ยวในภูมิภาค และมีการเดินทางเพือ่ ประกอบพิธที างศาสนาใน ประเทศซาอุดีอาระเบียเปนจํานวนมาก ปจจัยที่มีสวนผลักดันใหมีการเดินทางทองเทีย่ วในภูมภิ าค คือ การกีดกันนักทองเที่ยวชาวอาหรับของตางประเทศ และสายการบินเอทิฮัดขยายความถี่เที่ยวบินใน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


กลุมประเทศอาหรับ เชน อาบูดาบีสูเมืองเจดดาหมีความถี่เพิ่มขึ้นเปนสองเทา และเสนทางอาบูดาบีไป ยังเมืองเมดินาเพิ่มอีก 2 เที่ยวบิน/สัปดาห ในชวงไตรมาส 4 เปนตน นอกจากนี้ ตลาดอิสราเอลยัง ชะลอการเดินทางเขาไทยเพิ่มเติม ในชวงไตรมาส 4 ซึ่งคาดวาเกิดจากการเผยแพรขาวนักทองเที่ยว อิสราเอลเสีย ชีวิต จากเหตุการณเรือลม ที่อาวมาหยา เกาะพีพี จ.กระบี่ จึงสงผลตลาดอิสราเอลมี การขยายตัวติดลบกวารอยละ 20 กลุมตลาดอัฟริกา มีจํานวนนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 104,941 คน ดวยอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น รอยละ 11.15 จากปจจัยสนับสนุนทางดานสภาพเศรษฐกิจที่กําลัง ขยายตัว และการเปดเสรีทางการบิน จึง ทําให ชว งครึ่ง ป แรก ของป 2550 นัก ทองเที่ ยวมี การเดิ นทางเขาไทยเพิ่ มขึ้นสูง ถึ งรอยละ 17.97 เป น อัตราการขยายตัวที่รอนแรงตอเนื่องจากปที่ผามา แตสถานการณทองเที่ย วกลับมีการชะลอตัว ใน ชวงครึ่งหลัง ของป 2550 โดยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 6.02 จากเหตุการณความไมสงบ ในภูมิภาค เกิดเหตุการณชุมนุมและประทวงของประชาชนจํานวนมากในตลาดอัฟริกาใตซึ่งเปนตลาด ที่สําคัญ อันเนื่องจากการไมพอใจการแกไขปญหาที่พักอาศัยและสาธารณูปโภคของรัฐบาล

คาดการณสถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทย ป 2551 สถานการณนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางเขาไทย ในป 2551 ทามกลางปญหาเดิมที่ยังคงยืดเยื้ออยูทั้งวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐ คาเงินดอลลาร สหรัฐที่ออนคาลงอยางตอเนื่อง ทําใหนานาชาติหวั่นวิตกถึงการเกิดปญหาภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย เหมือนเชนอดีต นอกจากนี้ยังมีปญ หาราคาน้ํามันที่ขยับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหสายการบิน ปรับขึ้นคาโดยสารเครื่องบินจากอัตราคาธรรมเนียมน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้นและปญหาราคาน้าํ มันแพง ยังสงผลตอระบบเศรษฐกิจของหลายประเทศใหชะลอการเติบโตและลดความเชือ่ มัน่ ในการบริโภคของ ประชาชน ซึ่งอาจจะสงผลใหนักทองเที่ยวชะลอการเดินทาง หรือเลือกใชจายดวยความระมัดระวังและ คุมคามากขึ้น คาดการณสถานการณนักทองเที่ยวตางชาติ ป 2551 หากสถานการณของประเทศไทยมีความสงบสุขไมประสบปญ หาวุนวายและความขัดแยง ทางการเมืองเหมือนเชนปที่ผานมา การดําเนินการสงเสริมตลาดตางประเทศ ในป 2551 คาดวาจะ บรรลุผลตามเปาหมายที่กําหนด โดยมีรายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติเพิ่มขึ้น ในอัตรารอยละ 10 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา หรือมีจํานวนรายไดประมาณ 589,000 ลานบาท และคาดวาจะมีจํานวนนัก ท องเที่ ย ว ประมาณ 15.37 ล านคน เนื่ องจากศั ก ยภาพที่โดดเด นของประเทศไทยทางด า นภาพ ลักษณความคุ มคาเงิน (Value for Money) ผูคนเปนมิตร วิถีชีวิต ไทย ทรัพ ยากรธรรมชาติ และกิ จ กรรมทองเที่ยวที่หลากหลาย ซึ่งนาจะเปนความไดเปรียบของประเทศไทยในสายตาของนักทองเทีย่ ว ตางชาติ แมวาอัตราคาเงินบาทของไทยจะแข็งคาขึ้นมากและเปนเวลานานกวา 2 ป แตก็ยังไมสงผล กระทบทางลบตอการเดินทางของนักทองเที่ยวตางชาติเขาไทย e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 7


จากภาวะเสี่ยงทางดานปญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่อาจจะถดถอย และราคาน้ํามันทีอ่ ยูร ะดับสูง ดังนั้น กลุมตลาดที่อาจจะตองใหความสําคัญมากขึ้น คือ การสงเสริมตลาดในระยะใกล โดยเฉพาะ อยางยิ่งตลาดใน กลุมอาเซียน จากความไดเปรียบทางดานระยะทางและการมีพรมแดนที่ตดิ กัน การ อาศัยความสัมพันธของการรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน อีกทั้งยัง เปนกลุมประเทศโลกที่ส ามที่ กําลังมีก ารขยายตัวทางเศรษฐกิจ สูง การสงเสริมการตลาดนาจะทําไดงายและรวดเร็วกวาตลาด ระยะไกล รองลงมาคือ กลุมเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เริ่มมีแนวโนมปรับตัว ดีขึ้นมาก ในชวงไตร มาสสุดทายของป 2550 โดยเฉพาะในชวงของการจัดการแขงขันกีฬาโอลิมปคในประเทศจีนทีจ่ ะมีนกั ทองเที่ยวตางชาติเดินทางจํานวนมากทั้งในประเทศจีนและประเทศใกลเคียง จึงทําใหอตั ราคาทีพ่ กั และ คาใชจายในประเทศเหลานั้นปรับตัว ขึ้นสูง ซึ่งอาจเปนหนทางหนึ่ง ในการนําเสนอประเทศไทยใหเปน ทางเลือกของตลาดที่ตองการเดินทางออกนอกประเทศในชวงที่มีนักทองเที่ยวแออัด สําหรับในกลุม ตลาดอื่นทั้งยุโรป โอเชียเนีย เอเชียใต และตะวันออกกลาง ซึ่งลวนแตมีสภาพเศรษฐกิจที่เขมแข็ง และ คาเงินที่แข็งแกรง จึงนาจะไดรับผลกระทบไมมากนัก และสําหรับประเทศไทยที่มีศักยภาพสูงทางดาน ทองเที่ยว หากมีการปรับกลยุทธการตลาดใหเหมาะสมตามกลุมตลาดและชวงเวลา สถานการณทอ ง เที่ยวของไทยนาจะผานพนวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ไปไดโดยไมยาก

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 8


International Tourist Arrivals to Thailand by Country of Residence January - December 2007 Q1 Q2 Q3 D% D% Country of Residence 1,925,359 -4.17 1,833,655 -3.06 2,044,618 East Asia 822,077 2.55 875,218 -0.56 942,178 ASEAN 2,994 3.03 2,652 -11.63 2,965 Brunei Cambodia 30,722 8.38 30,904 -0.19 23,217 46,890 3.45 50,901 2.79 54,707 Indonesia Laos 115,481 143.30 123,166 103.39 143,414 343,755 -8.81 344,035 -13.61 382,568 Malaysia Myanmar 17,091 27.54 21,685 27.85 18,179 45,324 -4.74 52,334 -6.06 46,080 Philippines 168,805 -7.84 188,759 -6.64 203,095 Singapore Vietnam 51,015 -9.69 60,782 -3.61 67,953 244,518 -12.15 239,027 -8.34 245,923 China Hong Kong 92,586 -18.13 103,625 -5.21 143,957 344,413 -5.35 262,497 -6.57 333,535 Japan 306,466 -8.08 232,878 -1.86 257,040 Korea Taiwan 110,634 -2.54 114,897 -0.98 114,143 4,665 -12.21 5,513 -20.50 7,842 Others 1,237,840 20.56 626,285 3.17 692,320 Europe 28,346 15.89 11,006 -15.04 14,842 Austria Belgium 18,508 13.62 12,672 1.58 16,634 53,958 14.51 20,782 -0.69 24,372 Denmark 59,992 39.97 15,381 4.55 10,664 Finland France 107,724 13.77 67,975 9.82 82,846 181,593 12.02 98,686 -5.31 98,151 Germany 50,796 36.08 21,939 -4.85 45,557 Italy 45,508 10.47 33,710 7.93 52,831 Netherlands Norway 42,501 9.01 17,346 5.40 17,302 111,184 53.73 27,907 33.58 25,688 Russia Spain 15,908 35.43 15,127 -2.46 30,951 160,472 29.00 44,243 7.66 28,272 Sweden Switzerland 48,797 10.40 30,331 -0.95 25,950 217,122 12.30 160,666 -1.56 155,212 U.K. 50,983 30.03 17,562 35.70 21,037 East Europe Others 44,448 21.90 30,952 24.62 42,011 228,983 4.20 179,157 -5.76 169,927 The Americas 1,573 80.39 1,251 10.61 1,093 Argentina 2,665 41.76 2,392 5.84 2,548 Brazil Canada 46,144 4.67 30,566 -3.64 27,472 173,240 2.65 137,770 -7.43 131,245 U.S.A. Others 5,361 29.59 7,178 16.49 7,569 140,652 10.81 195,001 10.94 175,267 South Asia Bangladesh 11,706 2.90 11,439 14.53 12,955 98,315 12.93 152,924 16.32 124,868 India Nepal 5,849 10.23 4,373 -8.32 5,171 10,574 10.39 10,254 -8.87 16,272 Pakistan 9,974 2.43 11,506 -22.85 11,274 Sri Lanka Others 4,234 9.15 4,505 33.01 4,727 167,148 23.83 175,831 20.33 186,457 Oceania 148,270 25.36 151,883 22.61 160,353 Australia 18,156 12.96 23,257 6.60 25,452 New Zealand Others 722 12.64 691 59.22 652 107,592 25.89 89,411 14.45 155,201 Middle East 3,056 29.88 3,294 24.91 3,303 Egypt 41,315 34.55 17,697 -8.85 33,599 Israel Kuwait 6,511 7.82 8,669 18.93 13,625 3,410 8.60 4,942 42.83 12,343 Saudi Arabia U.A.E. 15,934 7.28 20,505 14.67 42,140 37,366 31.70 34,304 25.03 50,191 Others 23,515 21.56 24,323 14.71 26,978 Africa 10,795 26.39 11,230 13.66 10,359 S. Africa Others 12,720 17.73 13,093 15.62 16,619 3,831,089 5.76 3,123,663 0.44 3,450,768 Grand Total Source of Data: Immigration Bureau, Police Department. Note : International Tourist Arrivals Excluded Overseas Thai

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

D%

Q4

1.77 2,177,573 5.32 1,116,081 5.22 3,819 -28.70 23,933 -5.28 81,421 86.96 139,001 -3.61 481,601 6.12 18,228 -7.79 55,135 9.68 238,441 -10.07 74,502 -8.64 273,673 16.32 107,889 0.15 308,255 2.88 279,132 -15.95 87,359 181.68 5,184 2.07 1,133,325 -22.95 19,956 -8.04 21,228 -3.56 35,894 -9.69 52,295 6.01 93,106 8.27 158,770 -1.84 40,631 7.30 51,298 2.46 32,927 51.12 114,992 10.72 22,728 3.54 141,333 -1.89 46,944 -10.59 213,422 56.55 41,756 14.29 46,045 -7.66 239,497

D%

Total

D%

Jan-Dec

Jan-Dec

7.14 13.88 -3.00 -28.48 24.18 42.55 18.46 -6.81 12.42 -3.71 31.35 21.63 -7.93 -2.27 -0.66 -18.73 -18.77 12.24 -0.32 6.24 16.41 22.68 9.31 5.17 11.18 -2.47 11.29 42.63 22.12 23.45 5.79 -0.91 40.49 20.40 3.57

3,755,554 12,430 108,776 233,919 521,062 1,551,959 75,183 198,873 799,100 254,252 1,003,141 448,057 1,248,700 1,075,516 427,033 23,204 3,689,770 74,150 69,042 135,006 138,332 351,651 537,200 158,923 183,347 110,076 279,771 84,714 374,320 152,022 746,422 131,338 163,456 817,564

7,981,205

0.49 5.60 -1.83 -13.21 7.22 84.62 -1.69 12.12 -1.70 -2.33 0.96 -2.92 -3.30 -3.45 -2.36 -9.69 8.35 11.08 -3.32 3.30 8.74 23.50 9.92 5.76 10.87 5.21 8.00 46.60 14.76 21.82 4.38 0.12 37.80 19.92 -0.92

42.88 14.83 -14.49 -8.40 34.61 13.28

1,694 3,421 45,581 181,383 7,418 174,654

61.95 33.27 8.56 0.89 26.63 18.17

5,611 11,026 149,763 623,638 27,526 685,574

47.12 23.53 -0.11 -2.66 26.38 13.27

8.69 17.77 -28.73 10.09 3.78 21.89 13.75

11,899 130,130 5,145 10,661 11,485 5,334 201,847

10.20 23.72 -12.41 12.09 -3.77 18.43 10.78

47,999 506,237 20,538 47,761 44,239 18,800 731,283

8.89 17.80 -11.49 5.85 -6.76 20.14 16.59

17.19 -4.99 115.89 7.41

177,620 23,063 1,164 101,687

11.35 4.72 72.19 3.99

638,126 89,928 3,229 453,891

-23.28 2,615 14.96 30,401 -27.99 6,278 -4.35 3,551 7.71 19,543 25.45 39,299 3.41 30,125 -9.34 13,885 13.35 16,240 2.69 4,058,708

16.17 -20.63 -5.41 -18.67 29.01 26.44 8.48 2.12 14.58 8.84

12,268 123,012 35,083 24,246 98,122 161,160 104,941 46,269 58,672 14,464,228

18.50 3.72 57.28 11.84 6.25 4.56 -9.78 1.58 12.78 27.00 11.16 6.50 15.12 4.65

หนาที่ 9


International Tourist Arrivals to Thailand by Country of Residence January - December 2007 Country of 2007 Residence Number % Share East Asia 7,981,205 55.18 ASEAN 3,755,554 25.96 Brunei 12,430 0.09 Cambodia 108,776 0.75 Indonesia 233,919 1.62 Laos 521,062 3.60 Malaysia 1,551,959 10.73 Myanmar 75,183 0.52 Philippines 198,873 1.37 Singapore 799,100 5.52 Vietnam 254,252 1.76 China 1,003,141 6.94 Hong Kong 448,057 3.10 Japan 1,248,700 8.63 Korea 1,075,516 7.44 Taiwan 427,033 2.95 Others 23,204 0.16 Europe 3,689,770 25.51 Austria 74,150 0.51 Belgium 69,042 0.48 Denmark 135,006 0.93 Finland 138,332 0.96 France 351,651 2.43 Germany 537,200 3.71 Ireland 68,219 0.47 Italy 158,923 1.10 Netherlands 183,347 1.27 Norway 110,076 0.76 Russia 279,771 1.93 Spain 84,714 0.59 Sweden 374,320 2.59 Switzerland 152,022 1.05 United Kingdom 746,422 5.16 East Europe 131,338 0.91 Others 95,237 0.66 The Americas 817,564 5.65 Argentina 5,611 0.04 Brazil 11,026 0.08 Canada 149,763 1.04 USA 623,638 4.31 Others 27,526 0.19 South Asia 685,574 4.74 Bangladesh 47,999 0.33 India 506,237 3.50 Nepal 20,538 0.14 Pakistan 47,761 0.33 Sri Lanka 44,239 0.31 Others 18,800 0.13 Oceania 731,283 5.06 Australia 638,126 4.41 New Zealand 89,928 0.62 Others 3,229 0.02 Middle East 453,891 3.14 Egypt 12,268 0.08 Israel 123,012 0.85 Kuwait 35,083 0.24 Saudi Arabia 24,246 0.17 U.A.E. 98,122 0.68 Others 161,160 1.11 Africa 104,941 0.73 South Africa 46,269 0.32 Others 58,672 0.41 Grand Total 14,464,228 100.00 Source of Data: Immigration Bureau, Police Department. Note : International Tourist Arrivals Excluded Overseas Thai

2006 Number 7,942,143 3,556,395 12,662 125,336 218,167 282,239 1,578,632 67,054 202,305 818,162 251,838 1,033,305 463,339 1,293,313 1,101,525 472,851 21,415 3,321,795 76,698 66,835 124,151 112,006 319,910 507,942 56,994 143,343 174,266 101,920 190,834 73,820 307,284 145,647 745,525 95,312 79,308 825,118 3,814 8,926 149,924 640,674 21,780 605,236 44,081 429,732 23,205 45,122 47,448 15,648 627,246 538,490 86,703 2,053 405,856 11,546 117,649 38,885 23,870 87,006 126,900 94,408 43,444 50,964 13,821,802

%D % Share 57.46 25.73 0.09 0.91 1.58 2.04 11.42 0.49 1.46 5.92 1.82 7.48 3.35 9.36 7.97 3.42 0.15 24.03 0.55 0.48 0.90 0.81 2.31 3.67 0.41 1.04 1.26 0.74 1.38 0.53 2.22 1.05 5.39 0.69 0.57 5.97 0.03 0.06 1.08 4.64 0.16 4.38 0.32 3.11 0.17 0.33 0.34 0.11 4.54 3.90 0.63 0.01 2.94 0.08 0.85 0.28 0.17 0.63 0.92 0.68 0.31 0.37 100.00

+ 0.49 + 5.60 - 1.83 - 13.21 + 7.22 + 84.62 - 1.69 + 12.12 - 1.70 - 2.33 + 0.96 - 2.92 - 3.30 - 3.45 - 2.36 - 9.69 + 8.35 + 11.08 - 3.32 + 3.30 + 8.74 + 23.50 + 9.92 + 5.76 + 19.70 + 10.87 + 5.21 + 8.00 + 46.60 + 14.76 + 21.82 + 4.38 + 0.12 + 37.80 + 20.08 - 0.92 + 47.12 + 23.53 - 0.11 - 2.66 + 26.38 + 13.27 + 8.89 + 17.80 - 11.49 + 5.85 - 6.76 + 20.14 + 16.59 + 18.50 + 3.72 + 57.28 + 11.84 + 6.25 + 4.56 - 9.78 + 1.58 + 12.78 + 27.00 + 11.16 + 6.50 + 15.12 + 4.65

«««««««««««« e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 10


สถานการณทองเที่ยวโลก ITB Berlin Convention Market Trends & Innovations 2008 ณัฏฐิรา อําพลพรรณ1

ในการประชุ ม วิ ช าการระหว า งการจั ด งาน International Tourismus Borse 2008 (ITB 2008) ณ กรุงเบอรลิน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน บริษัท IPK International ซึ่งทํางานรวมกับ The European Travel Commission ได นํ า เสนอรายงานสถานการณ ท อ งเที่ ย วโลกในป 2007 และคาด การณป 2008 โดยมีสาระสําคัญที่นาสนใจดังนี้ ปจจัยที่สงผลกระทบตอสถานการณการทองเที่ยวของโลกในป 2007 ไดแก การเพิ่มขึ้น ของราคาน้ํามัน ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม สําหรับการเดิน ทางทางอากาศ ผลกระทบจากปญหาดานการรักษาความปลอดภัย และขาวการแพรระบาดของโรค ภัยตางๆ ในชวง 8 เดือนแรกของป 2007 มีการเดินทางออกทองเที่ยวในตางประเทศเพิ่มขึ้นรอย ละ 5.6 ซึ่งนับเปนการเติบโตอยางตอเนื่องเปนปที่ 4 และคาดวาจะมีการเติบโตอยางตอเนื่องสําหรับป 2008 ทั้งนี้ อัตราการเติบโตจะลดลงที่ระดับรอยละ 4-5 โดย Mr. Rolf Freitag ประธานและซีอีโอของ บริษัท IPK International กลาววา อัตราการเติบโตเฉลี่ยของการเดินทางทองเที่ยวโลกป 2007 สูง กวาคาดการณของ Pisa Forum ซึ่งผลจากการที่ภาวะเศรษฐกิจมีการปรับตัวดีขึ้น การเติบโตของ ธุรกิจสายการบิน และการฟนตัวจากวิกฤติไดอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม การออนคาลงของเงิน ดอลลารส หรัฐไดสงผลกระทบตอตลาดการเดินทางออกทองเที่ยวของนัก ทองเที่ยวสหรัฐฯ และ ตลาดอื่นๆ ที่ใชเงินเหรียญดอลลารสหรัฐเปนสกุลเงินหลัก ซึ่งเหตุการณดังกลาวไมไดสงผลกระทบ ตอภาพรวมของธุรกิจทองเที่ยว Pisa Forum ชี้วา ปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งที่สงผลกระทบดานบวกตออุตสาหกรรม ทองเที่ยว ไดแก การขยายตัวของธุรกิจสายการบินตนทุนต่ําในทุกภูมิภาคของโลก ซึ่งเห็นไดชัดใน กลุ ม ตลาดใหม (Emerging Market) และส ง ผลกระทบเล็ ก น อ ยสํ าหรั บ กลุ ม ตลาดเก า (Traditional Market) ในยุโรป ตลาดการเดินทางทองเที่ยวในยุโรปเติบโตเพียงรอยละ 3 (ม.ค. - ส.ค. 07) โดยประเทศ สเปนเติบโตรอยละ 11 รัสเซียรอยละ 10 และอิตาลีรอยละ 7 สําหรับตลาดการเดินทางที่สําคัญใน ยุโรปมีการเติบโตต่ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งตลาดเยอรมันซึ่งเปนผลมาจากความไมแนนอนของการจาง งาน และการเพิ่มภาษีมูลคาเพิ่มอีกรอยละ 3 ตั้งแตตนป สวนตลาดนัก ทองเที่ยวจากสหราชอาณา จักรไดรับผลกระทบจากการตัดสินใจเพิ่มภาษีสําหรับผูโดยสารทางอากาศประกอบกับการอิ่มตัวของ

1

พนักงานวางแผน 5 งานวิชาการ กองวิจัยการตลาด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


ตลาดในการเดินทางระยะสั้นโดยสายการบินตนทุนต่ํา และการเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยใน บริเวณทาอากาศยาน อยางไรก็ตาม ผูแทนจากสหรัฐอเมริกา แคนาดา ในที่ประชุม Pisa Forum เห็น วาความตองการในการเดินทางทองเที่ยวระยะไกลยังคงมีแนวโนมการเติบโตที่ดี การเดินทางออกทองเที่ยวจากตลาดนัก ทองเที่ยวสหรัฐอเมริก าเติบโตเพียงรอยละ 1 (ม.ค-ส.ค07) ซึ่งเปนผลโดยตรงจากการออนคาลงของเงินดอลลารสหรัฐ ในขณะที่ตลาดเอเชีย และ ละตินอเมริกาเติบโตมากกวารอยละ 20 ทั้งในดานคาใชจายและจํานวนครั้งของการเดินทาง ตลาดเกาหลีใต อินเดีย บราซิล และจีน เปนผูนําดานอัตราการเติบโตในกลุม ตลาดใหม (Emerging Market) โดยกลุมตลาดที่นาจับตามองดานอัตราการเติบโตซึ่งเสนอโดย WTO ไดแก สหรัฐ อาหรับ-เอมิเรตส อารเจนตินา มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เมื่อพิจารณาถึงการเติบโตของอุตสาหกรรมสายการบินตนทุนต่ํา พบวาความตองการ ในการใชบริการของสายการบินตนทุนต่ําเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด เฉพาะในภูมิภาคยุโรปเพิ่มขึ้นรอยละ 15 ในป 2006 และเพิ่ม ขึ้นรอยละ 39 ในชวง 8 เดือนแรกของป 2007 ซึ่งสามารถอธิบายไดเปน อยางดีถึ งความนิ ยมเปนอยางมากในแหลงทองเที่ยวระยะสั้น (Short Break) ในภู มิภาคยุโรปในป 2007 ตลาดนัก ทองเที่ยวยุโรปมีสัดสว นการจองผานทางสื่อออนไลนถึงรอยละ 40 (เพิ่มขึ้น รอยละ 13 จากป 2006) ในขณะที่การจองผานบริษัทนําเที่ยวมีเพียงรอยละ 25 และเกือบรอยละ 60 ของการจองเปนการจองแบบ Package โดยรวมคาการเดินทางและที่พัก แมวาจะเปนการจอง ออนไลนก็ตาม โดยที่ประชุม Pisa Forum เห็นวาผูบริโภคมีแนวโนมที่จะเขามามีสวนรวมในการจัดราย การนําเที่ยวดวยตัวเองมากขึ้น และจะทําใหการจองผานสื่อออนไลนไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น สถานการณทองเที่ยวป 2008 คาดวายังคงจะเติบโตอยางตอเนื่องตอไป โดยที่ประชุม Pisa Forum เห็นวาตลาดนักทองเที่ยวสหรัฐอเมริกาจะมีความตองการในการเดินทางลดลงอันเปนผล มาจากวิกฤต Sub-prime และสภาพทางเศรษฐกิจที่ถดตัวลงของยุโรปก็จะสงผลกระทบดานลบตอ การตัดสินใจเดินทางทองเที่ยวจากตลาดดังกลาว สว นแนวโนมสําหรับการทองเที่ยวใหมๆ ไดแ ก Hospitality, Authenticity และ Tradition ซึ่งจะทําใหความตองการสําหรับสินคาที่มีลักษณะ Uniqueness, Individuality, Nature-Based Tourism และ Sustainability นอกจากนี้ ป จจั ย ด า นคุ ณ ภาพจะเข ามาแทน สินคาที่ขายในรูปแบบ “Cheap & Chic” Climate Change จะกลายเป น ประเด็ น ร อนสํา หรั บ อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย ว แม ว าใน ปจจุบันจะยังไมมีผลการศึกษาใดๆ ที่ชี้ชัดวา Climate Change จะสงผลดานลบตอการเติบโตของการ ทองเที่ยว อยางไรก็ตาม ปจจัยดังกลาวอาจจะสงผลกระทบไดในอนาคต เนื่องจากธุรกิจทองเที่ยว เป น ตั ว การสํ า คั ญ ที่ จะส ง ผลกระทบต อ สภาพแวดล อ มของโลก รวมทั้ ง จะเป น ผู นํ า ในการออก มาตรการเพื่อผอนคลายผลกระทบที่เกิดขึ้น ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


ประมวลขาวสารการทองเที่ยวจากงาน ITB Berlin 2008 ณัฏฐิรา อําพลพรรณ 1

ในการส งเสริม การขายดานการท องเที่ ยว Internationale Tourismus Borse 2008 (ITB 2008) ที่จัดขึ้นระหวางวันที่ 6-9 มีนาคม 2551 ณ กรุงเบอรลิน สห พันธสาธารณรัฐเยอรมัน มีการนําเสนอขอมูลขาวสารดานการทองเที่ยวขององคกร ดานการทองเที่ยว และหนวยงานสงเสริมการทองเที่ยวของประเทศตางๆ ที่นาสนใจ ดังนี้

ภูมิภาคยุโรป การรณรงคดานการทองเที่ยว รั ฐ มนตรี ก ระทรวงการคลั ง ของฝรั่ ง เศส Christine Albanel ได แ ถลงว า ตั้ ง แต เดื อ น มกราคมที่ผานมามีการจัดเก็บภาษีสําหรับโรงแรมหรูในประเทศฝรั่งเศสโดยกําหนดเปนอัตราตายตัว ที่ 2 ยูโร ตอคนตอคืน: ซึ่งจะทําใหรัฐบาลมีรายไดมากกวา 50 ลานยูโร นอกจากนี้ รัฐบาลมีโครงการ ที่จะใชเงินดังกลาวในการจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษสถาปตยกรรมของฝรั่งเศส ซึ่งผูเชี่ยวชาญ คาดวากองทุนขางตนจะตองใชเงินมากกวา 10,000 ลานยูโร The French Federation for E-commerce เผยว ามี ผู ใ ช อิ น เตอร เนตในการซื้ อ ขายสิ น ค า ออนไลนในฝรั่งเศสเปนมูลคาทั้งหมด 16.1 พันลานยูโร เพิ่มขึ้นจากป 2006 กวารอยละ 35 ทั้งนี้ มี การคาดการณวาตัวเลขดังกลาวจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาในอีก 2 ปขางหนา โดยความสําเร็จดานธุรกิจ ออนไลนเปนผลมาจากฐานกลุมผูบริโภคใหม เชน กลุมผูหญิง กลุมวัยทํางานตอนตนอายุ 25-34 ป และชนชั้นกลาง สําหรับป 2007 การซื้อขายสินคาทองเที่ยวผานทางอินเตอรเน็ตเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 24 เนื่องจากการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ทําใหประชาชนไมนิยมออกไปเที่ยวชวงระยะเวลานี้ สวน เว็ บ ไซต ก ารท อ งเที่ ย วที่ มี ผู ค นเข า ชมมากที่ สุ ด ในฝรั่ ง เศส ได แ ก Voyages-sncf.com (5 ล านคน) Lastminute.com (1.4 ลานคน) Expedia (1.3 ลานคน) Promo-vacances (1.1 ลานคน) และ Nouvelles Frontieres (1.04 ล า นคน) นอกจากนี้ ยั ง มี เว็ บ ไซต ที่ ได รั บ ความนิ ย มได แ ก Opodo และ Accorhotels.com

1

พนักงานวางแผน 5 งานวิชาการ กองวิจัยการตลาด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


The German Travel Agents association (DRV) กลาวในการประชุม ITB ณ กรุงเบอรลนิ วา ชาวเยอรมันซึ่งถือวามีคาใชจายในการเดินทางทองเที่ยวมากที่สุดจะเดินทางทองเที่ยวมากขึ้นปนี้โดย ไดรับปจจัยสนับสนุนจากการฟนฟูทางเศรษฐกิจในประเทศ ทั้งนี้ แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ ไดแก เมดิ เตอรเรเนียนตะวันออก และเอเชีย Berlin ไดประกาศแคมเปญใหมสําหรับการทองเที่ยว “Berlin, Berlin, we’re off to Berlin”: โดยเนนภาพลักษณ Trendy City, Entertainment, Opera/Classical Music, Art และ History ซึ่งจะทําใหสิน คาที่เสนอขายมีค วามหลากหลาย ทั้งนี้ แคมเปญดังกลาวมาจากผลการวิจัยเกี่ยวกับ Brand ของ Berlin ในตลาดเปาหมายหลัก 6 ตลาดที่ชี้ชัดวาสินคาดานประวัติศาสตร คือ ตัวแทนสินคาของBerlin นอกจากนี้ วัฒนธรรม, สถาปตยกรรม และ Creativity ก็เปนสินคาหลักเชนกัน โดยในป 2008 เมือง Berlin จะเฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปของการทลายกําแพง Berlin และมีการจัดเสนทางและรายการนํา เที่ ยวที่ใช กําแพงเบอรลิน เปน Theme นอกจากนี้ Berlin ยังเป นเจาภาพในการจั ดการแขงขัน The Athletics World Championship–IAAF อีกดวย ประเทศเยอรมนี ประกาศส ง เสริ ม การขายสิ น ค า “Cities, Culture และ Health” ในป 2008-13: DZT- German National Tourism Board ไดประกาศ Theme สําหรับการสงเสริมการขาย ดังนี้ ·

ป 2008 - “Palaces, Parks and Garden-Romanticism in Germany” ซึ่งจะสงเสริมทั้ง City Breaks และ Event ตางๆ ตลอดจนวันหยุดเพื่อสุขภาพ (Health and Fitness Holidays)

·

ป 2009 - “Active Lifestyle Holidays-Walking and Cycling in Germany”

·

ป 2010 - “European Capital of Culture 2010”

·

ป 2012 - “Health and Wellness”

·

ป 2013 - “Business Travel in Germany”

NTO ของประเทศสวิสเซอรแลนดใช Reality Show เปนเครื่องมือสงเสริมการทองเที่ยว โด ย อ อ ก อ า ก า ศ ร า ย ก า ร “The most attractive instructor in Switzerland ผ า น ท า ง เว็ บ ไซ ต My Switzerland .com ตั้งแตเดือนตุลาคมที่ผานมา โดยมีผูเขาชมเว็บไซตดังกลาวมากกวา 400,000 ราย เพื่อโหวตใหนัก สกี 37 ราย โดยแตละสัปดาหนักสกีที่มีค ะแนนนอยที่สุดจะถูกคัดออก ทั้งนี้ ผู โหวตสวนใหญ มาจากสวิสเซอรแ ลนดรอยละ 49 เนเธอรแลนดแ ละสหราชอาณาจัก ร รอยละ 12 เยอรมนีและสหรัฐอเมริการอยละ 10

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


การคมนาคม รถไฟความเร็วสูง TGV จาก Paris -Alsace ที่ใหบริการตั้งแตเดือนมิถุนายน 2007 ทําให อัตราการเติบโตของนักทองเที่ยวใน Alsace เพิ่มขึ้นโดยสถิติการทองเที่ยวภายในประเทศเพิ่มขึ้นรอย ละ 11 และการทองเที่ยวระหวางประเทศเพิ่มขึน้ รอยละ 8 เมื่ อ ฤดู ใ บไม ร ว งที่ ผ านมา Hungarian Railway-MAV ได อ อกตั๋ ว ราคาถู ก (Low – Fare Ticket) เพื่อแขงขันกับสายการบินตนทุนต่ํา โดยเปดใหบริการในเสนทางไปยัง Venice, Zurich และเมือง ตางๆ ในเยอรมันอีก 14 แหง และมีการขยายเสนทางไปยังเมืองอื่นๆ ในเยอรมัน และโปแลนด ภาย ในสิ้นปนี้ โฆษกประจําสายการบินตนทุนต่ํา Lufthansa เผยในการประชุม ITB วาทางสายการบินจะ ขยายเสนทางไปยังยุโรปกลาง และยุโรปตะวันออก ตารางเสนทางการบินใหมชวงฤดูรอน ไดแก เมือง Cluj (โรมาเนีย) Katowice (โปแลนด) Skopje (มาซิโดเนีย), Osijek และ Pula (โครเอเชีย) โดยออกเดิน ทางจากเมือง Cologne นอกจากนี้ ยังมีเสนทางจาก Berlin เและ Stuttgart สู Bucharest ประเทศโรมา เนีย และอีกหนึ่งเสนทางจากกรุงเบอรลินสูทะเลสาบ Balaton ประเทศฮังการี ทั้งนี้ สายการบินยังคง ตรึงราคาตั๋วโดยสารไวแมวาจะมีการแขงขันสูงขึ้น นอกจากนี้ สายการบินยังไดลดราคาตั๋วเครื่องบิน รอยละ 33 แกเด็กที่อายุ 2-12 ป สถานการณทองเที่ยว จํานวนนักทองเที่ยวจากรัสเซีย และ CIS ที่เดินทางทองเที่ยวโปแลนดในฤดูหนาวจะชะลอ ตัวลงรอยละ 20 โดยเปนผลจากการประกาศใชวีซา Schengen: เปนที่คาดการณวาภายหลังจากการ ใช Schengen จะสงผลกระทบตอจํานวนนักทองเที่ยวของโปแลนดที่เพิ่มขึ้นรอยละ 6 ในชวง 9 เดือน แรกของป 2007 เนื่องจากคาธรรมเนียมและความยากลําบากในการขอรับการตรวจลงตราที่เพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ สินคาทางการทองเที่ยวหลักของโปแลนด ไดแก ปาเขาที่มีลักษณะคลายเทือกเขา Alps แต ราคาถูกกวา สถิตินักทองเที่ยวที่ทาอากาศยานนานาชาติใน Spain เพิ่มขึ้นจาก Low-cost Airline: โดย ทาอากาศยาน Madrid ไดรับนัก ทองเที่ยวมากกวา 50 ลานคน เปนครั้งแรก เพิ่ม ขึ้นรอยละ 13.8 Barcelona มีจํานวนผูโดยสาร 32.8 ลานคน (เพิ่มขึ้นรอยละ 9.3) และสนามบินขนาดเล็กอื่นๆ ที่ให บริการสายการบินตนทุนต่ํา เชน Granada, Girona, Murcia, Valencia, Vigo, และ Seville ในขณะที่สนาม บินในแหลงทองเที่ยวแบบ Traditional มีสถิติจํานวนผูโดยสารลดลง

ภูมิภาคอเมริกา การรณรงคดานการทองเที่ยว รัฐบาลของสหรัฐอเมริการวมกับ Walt Disney Park and Resort เพื่อปรับปรุงภาพลักษณ ของสหรัฐฯในตางประเทศ ตลอดจนสรางภาพลักษณการเปนแหลงทองเที่ยวที่ยินดีตอนรับนักทอง e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


เที่ยวตางชาติ ทั้งนี้ Walt Disney ไดเผยแพรวีดีโอ และภาพถายเกี่ยวกับความเปนมิตรของชาวอเมริกนั ความสวยงามของประเทศ และการตอนรับนักทองเที่ยวตางชาติในบริเวณหองผูโดยสารขาเขาของ ทาอากาศยานนานาชาติ และ ports ตางๆ ของสหรัฐฯ สถานทูต และสถานกงสุลทั่วโลก ทั้งนี้ ภาพ ถ ายและวี ดี โอดั งกล า วสามารถรั บ ชมได ผ านทางเว็ บ ไซต Discover America.com ภายในสิ้ น เดื อ น มีนาคมนี้ มาตรการรักษาสิ่งแวดลอมฟลอริดาใต: ในป 2008 คาดวาโรงแรมมากกวา 50 แหงใน Florida Keys และ Key West จะไดรับ Green Lodge Certificate ซึ่งจะทําใหที่พักเหลานี้ประหยัดพลังงาน และน้ํา รวมทั้งมีมาตรการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังมีโครงการจมเรือบรรทุกเครื่องบิน รบเกาในฤดูรอนที่กําลังจะมาถึงเพื่อเปนที่อาศัยของสัตวน้ํา สินคาทางการทองเที่ยว Luxury Hotel Trend ในสหรัฐอเมริกา: จากผลการวิจัยของ PriceWaterHouseCoopers พบ วา ในบรรดาโรงแรม 34 แหงที่เปดใหบริการในชวง 10 เดือนแรกของป 2007 มีถึง 18 แหง ที่เปน โรงแรมหรู เชน Baccarat และ Le Crillon โดยกลุม Starwood , SLS โดยกลุม SBE Entertainment, The Rocco Forte Collection โดยกลุม Rocco Forte และ Waldorf – Astoria Collection ของกลุม Hilton การบิน US Department of Civil Aviation ไดอนุญ าตเสน ทางการ บินระหวางฟลาเดลเฟย-ปกกิ่ง สําหรับสายการบิน US Airways ซึ่ง นับวาเปนสายการบินสายที่ 6 ของสหรัฐฯ ที่ใหบริการสูประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีเสนทางอื่นๆ เชน ชิคาโก–ปกกิ่ง สําหรับสายการบิน American Airlines, นวร ก –เซี่ ย งไฮ สํ าหรั บ สายการบิ น Continental และดีทรอยท–เซี่ยงไฮ สําหรับสายการบิน Northwest โดยทุกเสนทาง จะเปดใหบริการในฤดูใบไมผลิป 2009 ความลาชาของเที่ยวบินสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของนิวยอรก: จากผลการศึกษาของ New York City Comptroller พบวา ความลาชาของเที่ยวบินเขา-ออกจากนิวยอรกสงผลกระทบทาง เศรษฐกิจ โดยกอนหนานี้จุดแข็งที่สําคัญประการหนึ่งของนิวยอรก คือ การเปนจุดเชื่อมตอของเที่ยว บินระหวางประเทศที่สําคัญของโลก แตในปจจุบันพบวาเที่ยวบินที่ใหบริการในทาอากาศยาน 3 แหง ไดแก JFK, LaGuardia และ Newark มีอัตราการใหบริการที่ตรงตอเวลาต่ํากวาคาเฉลี่ยของทั้งประเทศ ถึงรอยละ 13 และมีสัดสวนของการยกเลิกเที่ยวบินสูงที่สุดในประเทศ นอกจากนี้ ผลการศึกษาของ Economists ยังพบอีกวา ผูโดยสารตองเสียเวลาเพิ่มขึ้น 3.9 ลานชั่วโมงจากที่วางแผนไวที่บริเวณรอ ขึ้นเครื่อง (Gate) ซึ่งคิดเปนมูลคาสูงถึง 187 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ สายการบิน Varig ของ Brazil ไดเปดใหบริการเที่ยวบินไปยังยุโรปอีกครั้งในชวงปลายปที่ ผานมา: ภายหลังจากที่ประสบปญ หาทางการเงินเมื่อ 2 ปกอน โดยในปจจุบันเปดใหบริการไปยัง เมือง Madrid และ Paris ดวยความรวมมือกับพันธมิตร เชน Air France/KLM, Air Europa และIberia e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก สถานการณทองเที่ยว ผลการศึกษาของ MasterCard Worldwide Index of Travel คาดวา สถิติการเดินทางออก ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวจากเอเชียแปซิฟกยังคงมีแนวโนมเติบโตถึง 79.5 ลานคนในชวงครึ่งปแรก ของป 2008 ขณะที่สภาวะเศรษฐกิจโลกไมแนนอน: โดยตลาดนักทองเที่ยวจีนจะมีการเติบโตรอยละ 12.4 ออสเตรเลียรอยละ 12 เกาหลีใตรอยละ 10.8 มาเลเซียรอยละ 6.8 นิวซีแลนดรอยละ 6.5 และ ฟลิปปนสรอยละ 5.9 สําหรับนักทองเที่ยวจีนซึ่งมีจํานวนประมาณ 21.6 ลานคนจาก 17.2 ลานคน ในชวงระยะเวลาเดียวกันของป 2007 โดยสวนใหญเปนการเดินทางเพื่อพักผอนและธุรกิจ และสวน ใหญเปนชนชั้นกลางที่ขยายจํานวนประชากรที่มีจํานวนถึง 35 ลานคนในป 2006 และคาดวาจะมี จํานวน 100 ลานคน ในเมืองใหญของจีน เชน ปกกิ่ง เซี่ยงไฮ และกวางโจว จากรายงานของ PATA ระบุวาการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอินเดียทําใหตลาดการทอง เที่ยวตางประเทศอินเดียขยายตัวขึ้นอยางรวดเร็ว โดยคาใชจายในการทองเที่ยวของคนอินเดียเพิ่มขึ้น จาก 1 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐเมื่อ 10 ปที่แลว เปน 7.4 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ ทั้งนี้ นักทองเที่ยวชาวอินเดียมีระยะเวลาทองเที่ยวในอังกฤษนานขึ้น และมีการกระจายรายไดดานสินคา และบริการมากกวานักทองเที่ยวชาวญี่ปุนรอยละ 40 นัก ทองเที่ยวอินเดียเปนกลุม นักทองเที่ยวมากเปนอันดับ 4 ในสิงคโปร มีสัดสว นรอยละ 55 ของนัก ทองเที่ยวในมาเกา และรอยละ 25 ของนัก ทองเที่ยวในฟลิปปนส สําหรับประเทศไทย ตลาดนักทองเที่ยวอินเดียเติบโตเพิ่มขึ้นรอยละ 14.2 ระหวางเดือนมกราคม-กรกฏาคม 2007 เมื่อ เทียบกับชวงเวลาเดียวกันของป 2006 นอกจากนี้ มีนักทองเที่ยวจากอินเดียเดินทางทองเที่ยวใน ฮองกงจํานวน 268, 393 คน สูงสุดในรอบ 10 เดือนของป สถิตินักทองเที่ยวชาวอินเดียพักคางคืนในอียิปตเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 50เมื่อเทียบกับปที่ แลว มีนักทองเที่ยวชาวอินเดียในสเปนเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 10-15 อิตาลีรอยละ 25-30 และส วิตเซอรแลนดรอยละ 15 เมืองมิวนิค เยอรมัน เพิ่มขึ้นจากปที่แลวรอยละ 66.8 และออสเตรเลียรอย ละ 10 สินคาทางการทองเที่ยว สินคาดานการ Shopping กลายเปนสินคาอันดับหนึ่งสําหรับญี่ปุน: ในป 2007 ที่นักทอง เที่ยวชาวตางชาติรอยละ 35 เดินทางทองเที่ยวในญี่ปุนเพื่อการ Shopping ซึ่งสูงกวาแหลงทองเที่ยว ทาง Traditional Cultural/Historic ซึ่งมีอัตรารอยละ 31 แหลงทองเที่ยวแบบ Onsen ซึ่งเปนการอาบน้าํ แรและการผอนคลายที่รอยละ 32 โดย JNTO แถลงวา เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยว ชาวเอเชียตะวันออก เชน นักทองเที่ยวจากฮองกงรอยละ 70.5 และนักทองเที่ยวจากไตหวันรอยละ 40 เดินทางมาที่ญี่ปุนเพื่อ shopping นอกจากนี้ ยังไดรับปจจัยเสริมจากการออนคาลงของเงินเยนอีก ดวย e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


กรุ ง โซลได รั บ การยกอั น ดั บ ให เป น เมื อ งใหญ อั น ดั บ ที่ 7 สํ า หรั บ การประชุ ม และ นิ ท รรศการนานาชาติ โดย ICCA–International Congress & Convention: โดยในป 2006 โซลจั ด ประชุมนานาชาติถึง 85 ครั้ง จาก 57 ครั้ง ในป 2005 ทั้งนี้ เทศมนตรีกรุงโซลประกาศเปาหมายใน การเปน 1 ใน 5 ของมหานครแหงการประชุมและนิทรรศการ KTO (Korean Tourism Organization) และ Hyundai Asan ได รว มกั น จัด Day-Tour ไปยั ง Gaeseong ในเกาหลีเหนือ: ซึ่งอยูในบริเวณใกลเคียงกับเขตปลอดทหารของทั้ง 2 ประเทศ โดยสินคาที่ เสนอขายคือวัฒนธรรม ทั้งนี้ การเดินทางไปยัง Gaeseong ไมตองใชวีซาและใชระยะเวลาเพียง 90 นาทีจากกรุงโซล นอกจากนี้ ในอนาคตยังมีแผนที่จะเปดเสนทางไปยังกรุงเปยงยาง เมืองหลวงของ เกาหลีเหนือ และ Mount Baekdu ซึ่งอยูติดกับชายแดนจีน Maldives เตรียมสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวรองรับความตองการของนัก ทองเที่ยวในป 2008: อัตราการเติบโตของจํานวนนัก ทองเที่ยวระหวางประเทศรอยละ 8.5 ในป 2007 และตลาดนักทองเที่ยวสวนใหญจากยุโรป เชน สหราชอาณาจักร อิตาลี เยอรมนี และฝรั่งเศส และ 2 ตลาดหลัก ในเอเชีย ไดแ ก จีนและญี่ ปุน ทั้ งนี้ เปนที่ค าดการณ วาจํานวนนั ก ทองเที่ยวในป 2008 จะเพิ่มสูงขึ้นโดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากการเปดใหบริการของทาอากาศยานนานาชาติแหงที่ 2 ใน Addu Atoll เมื่อเดือนมกราคมที่ผานมา ตลอดจนโครงการการเปดใหบริการของรีส อรทหรู ขนาด 142 หองในบริเวณดังกลาวดัวย Singapore Flyer แหลงทองเที่ยวใหมของสิงคโปร นับวาเปน Observation Wheel ที่ใหญที่ สุดในโลก ดวยความสูง 165 เมตร และสามารถรองรับผูโดยสารได 784 คน ทั้งนี้ รัฐบาลสิงคโปร ลงทุนประมาณ 160 ลานเหรียญดอลลารส หรัฐ และคาดวา Singapore Flyer จะไดรับนักทองเที่ยว มากกวา 2.5 ลานคนตอป โดยตั๋วสําหรับการขึ้นชมระยะเวลา 37 นาทีมีราคา 20 เหรียญดอลลาร สหรัฐ กลุมทุนโรงแรมเครือ Premier Inn จากอังกฤษ เปดตัวโรงแรมดูไบ อินเวสเมนท พารค ซึง่ ใหบริการหองพักจํานวน 308 หอง ใกลกับทาเรือเจเบล อาลี และฟรีโซน โดยถือเปนโรงแรมในเครือ แหงแรกในภูมิภาคตะวันออกกลาง ทั้งนี้จะมีขยายการลงทุนในโดฮา อาบูดาบี โอมานและโซฮา โดยอยู ในขั้นตอนการเจรจา สําหรับในอินเดียจะมีโรงแรมในเครือ Premier Inn ประมาณ 80 แหงโดยเปนผล จากความรว มมือกั บบริษั ทพั ฒ นาอสังหาริม ทรัพ ย Emaar MGF และใชเงินลงทุน กวา 595 ลาน ดอลลารสหรัฐ ผูวาการ CNTA แถลงถึงการเตรียมการจัดระดับโรงแรมกวา 10,000 แหง โดยตั้งเปา เพิ่มโรงแรมระดับ 5 ดาวจาก 361 เปน 500 แหง นอกจากนี้ ยังคาดการณวา ระหวางป 20062010 จะเกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมโรงแรม ทั้งจากในและตางประเทศโดยมีเม็ดเงินลงทุนกวา 340 พันลานหยวนหรือประมาณ 47.14 พันลานดอลลารสหรัฐ เมืองชายทะเลสีหนุวิลลไดกลายเปนแหลงทองเที่ยวยอดนิยมของกัมพูชา ทั้งนี้ โครงการ ขยายและปรับปรุงสนามบินซึ่งใชงบประมาณการกอสราง 200 ลานดอลลารสหรัฐจะเสร็จสมบูรณ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


ภายในเดือนนี้ นอกจากนี้ รัฐบาลกัมพูชาคาดวาจะสามารถเปดเสนทางกรุงเทพฯ พนมเปญ และ เสียมเรียบ-เมืองทาสีหนุวิลล ประกอบกับการเปดตัวรีสอรท 1,000 หอง พรอมสนามกอลฟของโรง แรมในเครือ Cambodia’s Sokha Hotel group โรงแรมรามาดา โรงแรม The Independence Hotel (รัฐบาลกัมพูชาตั้งเปาวาป 2015 จะมีนักทองเที่ยวเขามายังสีหนุวิลล 1 ลานคนตอป) โรงแรมโรสการเดน เสนอขายกิจกรรมใหมสําหรับ ป 2008 ไดแก สปาแนวใหม เปนการ ปรนนิบัติจากภายในสูภายนอกโดยการรับประทานผักปลอดสารพิษ คลาสโยคะ และ Workshop ทํา เครื่องดื่มและยาจากสมุนไพรไทย นอกเหนือไปจากการนําเสนอวิถีชีวิตที่เรียบงายของคนไทยในอดีต เชน การทองเที่ยวเชิงนิเวศ การทําอาหารไทย การแกะสลักผัก ผลไม การทําบุญตักบาตรพระ ที่มีอยู เดิม การรณรงคดานการทองเที่ยว ITB Asia จัดขึ้นเปนครั้งแรกที่ประเทศสิงคโปรระหวางวันที่ 22-24 ตุลาคม 2551 โดย งานแสดงสินคา และการประชุมแบบ B2B จัดขึ้น เพื่อใหเปนงาน Event สําคัญสําหรับภาคอุตสาห กรรมการทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยมีผูเขารวมงานจํานวน 180 บริษัท ทั้งสายการบิน หลัก กลุมธุรกิจโรงแรมเครือขาย ตัวแทนทองเที่ยวออนไลน รัฐบาลไตหวันไดยกเลิก มาตรการหามการเดิน ทางโดยทางเรือของนัก ทองเที่ยวจาก ประเทศจีน ทั้งนี้ นักทองเที่ยวจากจีนจะสามารถเดินทางผานทาเรือ Keelung และ Kaohsiung ซึ่งผล จากขอตกลงดังกลาวจะทําใหนักทองเที่ยวจีนมากกวาวันละ 1,000 คนเดินทางมายังไตห วัน เชน เดียวกับ การเปดใหบริการ Charter Flight ในชวงวันหยุด โดย Economists คาดการณวา ขอตกลงทั้ง 2 ประการขางตนจะชวยทําให GDP ของไตหวันเพิ่มขึ้นรอยละ 0.2

แคมเปญ “Incredible India” ทําใหมีนักทองเทีย่ วตางชาติมากกวา 5 ลานคนเดินทางมายัง ประเทศอินเดีย และสรางรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 33.8 จาก 8.93 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ ในป 2006 เปน 11.96 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ สําหรับสถานการณดานที่พักแรม พบวายังคงไม เพียงพอกับความตองการของลูกคา ทําใหราคาหองพักแพงขึ้น โดยสวนหนึ่งเปนผลมาจากคาเงิน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 7


ดอลลารสหรัฐออนตัว และราคาน้ํามันที่ไตระดับสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหผูประกอบการโรงแรม สูญเสียรายไดถึงรอยละ 14 และชารเตอรไฟลทจากอังกฤษลดลงประมาณรอยละ 30 เนื่องจากวีซา และแพคเกจทัวรที่แพงขึ้น อยางไรก็ตาม อัตราการเติบโตของธุรกิจโรงแรมในอินเดียเห็นไดชัดจาก รายไดและจํานวนแขกที่เขาพักทางผูประกอบการคาดการณวาธุรกิจโรงแรมในปหนายังคงมีแนวโนม ที่ดี เปนที่คาดการณวากีฬาโอลิมปก 2008 ที่กรุงปกกิ่งจะชวยเพิ่มยอดนักทองเที่ยวใหมา ชมสถานที่ทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรซึ่งตั้งอยูใจกลางกรุงปกกิ่ง และเปนที่มาของรายไดหลักทาง การทองเที่ยวกวา 130 ลานดอลลารส หรัฐ เชน วัด กําแพงเมืองจีน พระราชวัง และสถานที่เชิง ประวัติศาตรเหลานี้กวา 140 แหง รวมไปถึงประตูยงติงเหมิน พระราชวังฤดูรอน หอฟาเทียนถาน และสุสานขงจื้อ นอกจากนี้ยังมีสถานที่ทองเที่ยวในชุมชนเกาแก เชน เมืองเกาปกกิ่งหูถง ถนนเชียน เหมิน และพระราชวังชั้นนอกไทเหอเตี้ยนในพระราชวังตองหาม ซึ่งจะเริ่มเปดใหนักทองเที่ยวเขาชมใน เดือนมิถุนายน งาน World Expo 2010 หรือ งานแสดงพัฒนาการทางเทคโนโลยี วัฒนธรรม และสังคม ของประเทศตางๆ ที่มหานครเซี่ยงไฮเปนเจาภาพ จะชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจีนใหกาวหนาตอไป โดยงานดังกลาวใชเม็ดเงินลงทุนกวา 3 พันลานดอลลารสหรัฐ โดยกําหนดของงานมีตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม จนถึง 31 ตุลาคม 2010 คาดวาจะมีผูเขาชมราว 70 ลานคน

มีโรงแรมมากกวา 12 แหงกําหนดเปดใหบริการในชวงป 2008 และ 2010 เพื่อรองรับนัก ทองเที่ยว เชน ไฮแอท จูมีเรีย เพนนินซูลา แฟรมองต แลงแฮม บันยันทรี ดับบลิว โฮเต็ล ซิกซเซนส อนันตรา คอนราด ริทซ คารลตัน และเชอราตัน ตางเปดตัวใหบริการในมหานครเซี่ยงไฮเปนครั้งแรก นอกจากนี้ บูติกโฮเต็ล ยังไดรับความนิยมมีการปรับปรุงตึกเกาเปนโรงแรมหรู เชน ซินเทียนตี้ และ แมนชั่น อินโดนีเซียไดเริ่มโครงการ “Visit Indonesia Year 2008” โดยคาดการณวาจะใชเงินกวา 25 ลานดอลลารสหรัฐในการประชาสัมพันธ โดยกลุมเปาหมายหลักเปนประเทศเพื่อนบาน เชน มาเล เซีย สิงคโปรและจีน ซึ่งมีนักทองเที่ยวจากประเทศเหลานี้เดินทางมาอินโดนีเซียมากกวา 50% เมื่อ ตนปนี้ทางการอินโดนีเซียไดรวมมือกับสายการบินการูดาประชาสัมพันธการทองเที่ยวในตลาดตาง ประเทศ มีการจัดตั้งศูนยขอมูลการทองเที่ยวจํานวน 21 แหงตามสถานที่ตางๆในอินโดนีเซียและ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 8


ทางกระทรวงยังมีความตองการสงผูเชี่ยวชาญในการดําเนินธุรกิจรานคา นอกจากนี้ยังมีเว็บไซต ประชาสัมพันธการทองเที่ยวโฉมใหมซึ่งมีใหเลือกหลายภาษาไวบริการ

เปนที่คาดการณวางาน ‘Visit Indonesia Year 2008’ จะดึงดูดนักทองเที่ยวประมาณ 7 ลาน คน และมีเงินสะพัดกวา 6.4 พันลานเหรียญดอลลารสหรัฐ นอกจากนี้ อินโดนีเซียตั้งความหวังวาสห ภาพยุโรป จะประกาศยกเลิกการหามบินเขากลุมประเทศสหภาพยุโรปของสายการบินอินโดนีเซีย และ จะสามารถเปดใหบริการในเสนทางจาการตา-อัมเตอรดมั อีกครั้ง หลังจากที่ถูกระงับเสนทางการบิน เมื่อป 2003 ศรีลังกาประกาศความรวมมือทางการดานการทองเที่ยวในตลาดตะวันออกกลางกับ สถานีโทรทัศนอัลจาซีรา นโยบายความรวมมือนี้ไดรับการสนับสนุนจากองคการการทองเที่ยวศรี ลังกาและสายการบินศรีลังกา จากสถิตินักทองเที่ยวชาวตางประเทศที่เดินทางมายังศรีลังกาพบวา ภาพรวมลดลงในขณะที่นักทองเที่ยวจากตะวันออกกลางเพิ่มขึ้นรอยละ 31 (ในป 2007 มีนักทองเที่ยว 494, 008 คน ซึ่งลดลงจากป 2006 รอยละ 11.7) กรุงเทพมหานครเลือกใชสโลแกน “สเนหบางกอก” (Bangkok Saneh) เพื่อสงเสริมการ ทองเที่ยวตั้งแตปที่ผานมา และตั้งเปาหมายที่จะทําใหกรุงเทพฯกลายเปนเมืองที่นาอยูที่สุดภายในป พ.ศ. 2555 โดยมีการวางแผนจัดผังเมือง เปนพื้นที่พักอาศัย พื้นที่การศึกษาและวัฒนธรรม พื้นที่สี เขียว ฯลฯ อีก ทั้งตั้งเปาลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในกรุงเทพฯ ลงรอยละ 15 ภายในป 2555 ดวย นายวีรศักดิ์ โควสุรัตน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาของไทยไดแถลง ขาวการเปลี่ยนแปลงพื้นที่โครงการ Thailand Riviera จากพื้นที่จังหวัดชุมพรและภาคใตตอนบนฝง ตะวันออก มาเปนพื้นที่ชายฝงตะวันออกของอาวไทยจากจังหวัดจันทบุรีถึงพัทยาและหัวหิน โดยโครง การดังกลาวจะชวยกระตุนการลงทุนของนักลงทุนตางชาติและมุงเนนการทองเที่ยวเชิงคุณภาพ มาเลเซียมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธเพื่อเจาะตลาดเฉพาะกลุม โดยเสนอ The time is now, The place is Malaysia โดยเนนสถานที่ทองเที่ยวในมาเลเซียมากขึ้น ทั้งนี้ มีการขยายเวลาปทองเที่ยว มาเลเซีย 2007 ไปจนถึงเดือนกรกฎาคม 2008 e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 9


นอกจากนี้ รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายสงเสริม การทองเที่ยวในทองถิ่นโดยสงเสริม การจัด เทศกาล และรายการนําเที่ยวการทองเที่ยวพิเศษในรัฐ Kedah และ Kelantan ทั้งนี้ เปนที่คาดการณวา เกาะลังกาวีในรัฐ Kedah จะมีนักทองเที่ยวตลาดกลุมเปาหมายระยะไกลเพิ่มขึ้นรอยละ 10-20 จาก สถิตินักทองเที่ยวโดยรวม เกาะลั งกาวีเคยไดรั บรางวัล จากองค ก รยูเนสโกในสาขาอุท ยานทางธรณี วิทยา และรั ฐ Kelantan ถือเปนมรดกทางวัฒนธรรมของมาเลเซีย ในป 2007 มีนักทองเที่ยวตางประเทศที่เดินทางมายังมาเลเซียประมาณ 20.5 ลานคนเพิ่ม ขึ้นรอยละ 19 เมื่อเทียบกับป 2006 โดยตัวเลขนักทองเที่ยวตางชาติคาดวาจะเพิ่มขึ้นเปน 21.5 ลาน คน ในป 2551 นอกจากนี้ ทางการทองเที่ยวมาเลเซียมีก ารใชงบประมาณการทองเที่ยวเพิ่ม ขึ้น 260 ลานดอลลารสหรัฐ รวมไปถึงการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกดานการทองเที่ยวตางๆ โดยมีแผนที่จะเปดบริการสํานักงานการทองเที่ยวในตางประเทศ 8 แหง รวมไปถึงสํานักงานในกรุง อัมสเตอรดัม เมื่อป 2003 หลังจากที่ไดเปดตัวแคมเปญ ‘Yokoso Japan’ ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวเพิม่ ขึ้นรอยละ 13.8 หรือ 8.3 ลานคน โดยทางการญี่ปุนคาดวาจะมีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ เพิ่ ม ขึ้ นเปน 10 ล านคน ภายในป 2010 โดยนั ก ทอ งเที่ ยวจาก 62 ประเทศสามารถเดิน ทางเข า ประเทศญี่ปุนโดยไมตองใชวีซา ดว ยเหตุนี้นักทองเที่ยวจากเอเชียตะวันออก (เกาหลีใต จีน ฮองกง ไตหวันและมาเกา) จึงเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เมื่อเดือนพฤษภาคม ป 2007 ญี่ปุนไดดําเนินการโครง การ ‘Asian Gateway Initiative’ มีเปาหมายใหญี่ปุนเปนศูนยกลางการทองเที่ยวในเอเซีย โดยมีนโยบาย เปดเสนทางการบินทั่วโลกสูญี่ปุน

ในป 2006 ญี่ปุนและจีนไดบรรลุขอตกลงการเปดเสนทางการบินจาก โตเกียว/ฮาเนดะ สู เซี่ยงไฮ และปกกิ่ง ตามลําดับ หลังจากที่ทางการญี่ปุนตกลงเปดเสนทาง ฮองกง-ญี่ปุน โดยบินตรงสู 12 เมือง ในญี่ปุน สนามบินฮาเนดะเปนสนามบินในประเทศ นอกจากนี้ ญี่ปุนยังใหสิทธิกับสายการ บินที่ตองการจะเปดเสนทางการบินสูเมืองอื่นๆ นอกเหนือจากเมืองโอซากา คันไซ และนาโกยา คาด การณวาการเปดใชรันเวยที่ 4 ในสนามบินฮาเนดะ และรันเวยที่ 2 ในสนามบินนาริตะจะสามารถรอง รับสายการบินไดมากขึ้น การคมนาคม รัฐบาลลาวไดทําการปรับปรุงทาอากาศยานนานาชาติ 3 แหง ในหลวงพระบาง, หลวง น้ําทา และปากเซ เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการรองรับ เครื่องบินโดยสารขนาดใหญ และจํานวนผู e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 10


โดยสารที่เพิ่มขึ้น โดยในป 2007 คาดวาลาวไดรับนักทองเที่ยวจํานวน 1.7 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 35 จากป 2006 เมื่อเดือนกุมภาพันธที่ผานมาประเทศออสเตรเลีย และสหรัฐฯ ไดลงนามในความตกลงวา ดวยการเปดเสรีทางการบินซึ่งจะทําใหระดับการแขงขันของสายการบินของทั้ง 2 ประเทศเพิ่มขึ้น โดยขอตกลงดังกลาวไดเปดโอกาสให Virgin Blue ซึ่งเปนสายการบินตนทุน ต่ําจากออสเตรเลียให บริการไปยัง West Coast ภายในสิ้นปนี้ ทั้งนี้ สายการบินขางตนยังจะเปดใหบริการในเสนทางญี่ปุน และทางตอนเหนือของจีนในเดือนสิงหาคมนี้ พรอมกับกําหนดการสงมอบเครื่องบินโบอิ้ง 777-300 ER เกาะสมุยไดรับปจจัยสนับสนุนดานบวกจากธุรกิจดานการบริการสายการบินที่เพิ่มขึ้น โดยการบินไทยไดเปดใหบริการในเสนทางกรุงเทพฯ - เกาะสมุย ดวยความถี่ วันละ 2 เที่ยวบิน โดย เที่ยวบินในตอนเชาจะตอบสนองความตองการของผูโดยสารจากยุโรป ทั้งนี้ มีการคาดการณวาจะมีผู โดยสารเพิ่มขึ้นกวา 150,000 ตอป โดยรอยละ 75 เปนเสนทางการบินระหวางประเทศ นอกจากนี้ ยังมีตั๋วเครื่องบินราคาพิเศษสําหรับนักทองเที่ยวชาวไทย (ป 2007 เกาะสมุยมีนักทองเที่ยวประมาณ 1.03 ลานคน เปนนักทองเที่ยวชาวไทยนอย กวารอยละ 15)

ภูมิภาคแอฟริกาและตะวันออกกลาง ตูนิเซีย ประกาศ “Cultural City of Islam 2009”: โดย ได รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น จ าก ISESCO Islamic Organization far Education, Culture and Science โดยสินคาที่เสนอขาย ไดแก เมือง Kairouan และมัส ยิดในบริเวณดังกลาวซึ่งเปนสถานที่ศัก ดิ์สิทธิ์ ของศาสนาอิสลาม นอกจากนี้ ยังมีสิ่งอํานวยความสะดวกดาน การประชุมสัมมนา นิทรรศการและคอนเสิรตซึ่งจะชวยสงเสริม ภาพลักษณของ Kairouan ใหเปนเมืองอาหรับ-อิสลามที่ทันสมัย กาตารแอรเวยจะมีก ารเปลี่ยนแปลงกลยุทธโดยจะ เพิ่มเที่ยวบินรายวันมากขึ้นแตจะไมขยายเสนทางการบินใหม โดย จะเพิ่ม เที่ยวบินในยุโรป ทั้งลอนดอน (4 เที่ยวบินตอวัน) มิลาน (จากสั ป ดาห ล ะ 4 เที่ ย วบิ น เป น ทุ ก วั น ) อิ ส ตั น บู ล และเจนี ว า (สัป ดาห ล ะ 5 เที่ ย วบิ น เป น 6 เที่ ย วบิ น ) สํ าหรับ เบรุต (เลบา นอน) โจฮันเนสเบิรก (แอฟริกาใต) ลากอส(ไนจีเรีย) โซล และนิว ยอรคเปนอีกเสนทางสําหรับไฟลทเสริม โดยสายการบินยังไดสั่งซื้อเครื่องบินลําใหมทั้งหมด 10 ลําในปนี้ รวมไปถึงเครื่องบินรุน ใหมลาสุด โบอิ้ง 777-200 แอลอาร ซึ่งจะใชในเสนทางการบินใหมไปยังเมืองฮุสตัน และเสนทางบิน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 11


ไปยังเมืองกวางโจว ประเทศจีนสัปดาหละ 4 เที่ยวบิน ตั้งแต 31 มีนาคมเปนตนไป และจะเพิ่มเปน สัปดาหละ 5 เที่ยวบินในเดือนพฤษภาคม ทางสายการบินยังปรับปรุงการบริการภาคพื้นดินและกําลังปรับปรุงกอสรางสนามบินโด ฮา โดยจะเปดบริการ Terminal ใหมกลางป 2010 นอกจากนี้ สายการบินการตาแอรเวยเปนสายการ บินแหงแรกที่มีการทดลองใชพลังงานทดแทน GPL โดยจะนําสวนผสมระหวาง GPL และ Kerosene มา ใชกับเครื่องบินในปหนา

ประเด็นที่นาสนใจอื่น ๆ Geoffrey Lipman, Assistant Secretary ของ UNWTO ได กล าวถึ งการ จั ด ทํ า Travel & Tourism Competitiveness Index วาจะเปน เครื่องมือ ที่สําคัญ สําหรับประเทศกําลังพัฒ นาในการลด ความยากจน ทั้งนี้ การจัดทําดัชนีดังกลาวอยางถูกตองจะชวยในการออกมาตรการเพื่อลดภาวะโลก รอน รวมถึงแผนการพัฒนาประเทศอยางมีประสิทธิภาพและเทาเทียม การวิจัยของ Hogg Robinson Group (HRG) พบวา มุมไบมีอัตราการเติบโตของหองพัก สูงสุ ด โดยได รับ อิท ธิ พ ลจากชาวต างชาติ ที่เดิ น ทางเขาไปทํ างานในอุ ต สาหกรรมสารสนเทศและ ธนาคาร ประกอบกั บ นโยบายเป ด เสรีท างการบิ น ในขณะที่ จํ านวนห องพั ก ที่ มีอ ยู ต่ํ ากว าความ ตองการ สวนเมืองอื่นๆ ที่มีอัตราการเติบโตของหองพักสูงไดแก บารเซโลนา ซึ่งไดรับปจจัยบวกจาก การจัดการแขงขันกีฬา กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมและธุรกิจตลอดป 2007 ที่ผานมา เชนเดียวกัน กับมิวนิกที่ไดรับผลบวกจากการจัดงานนิทรรศการขนาดใหญหลายครั้ง UNWTO ไดกลาวถึงความสําคัญของอุตสาหกรรมทองเที่ยววาเปนกลไกสําคัญในการ พัฒนาเศรษฐกิจในประเทศยากจน โดยอัตราการเติบโตเฉลี่ยของอุตสาหกรรมทองเที่ยวโลกตั้งแตป 1990 ถึง 2007 อยูที่รอยละ 4 และการเติบโตของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอยูที่รอยละ 3 ในชวง เวลาดังกลาว ในขณะที่ต ลาดใหม มีก ารเติบโตของเศรษฐกิจรอยละ 7 ตอป สว นประเด็นอื่นๆ ที่ สําคัญไดแก การลดภาวะโลกรอน โดย UNWTO ไมเห็นดวยกับแนวทางการลดภาวะโลกรอนดวยการ ลดการเดินทางทางอากาศในเสนทางระยะไกล (Long-Haul) โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาดใหม ทั้งนี้ UNWTO เรียกรองใหธุรกิจอื่นๆ ในอุตสาหกรรมทองเที่ยวรวมกันกําหนดมาตรการในการลดกาซ คารบอนไดออกไซดมากกวาการเก็บภาษีเพิ่มขึ้น หรือมาตรการอื่นๆ ที่สงผลกระทบดานลบตอการ เติบโตของอุตสาหกรรมการบิน นอกจากนี้ ยังไมเห็นดวยกับแนวคิดที่วาแนวโนมของการเดินทาง ทองเที่ยวจะลดลง หรือการที่นักทองเที่ยวจะเปลี่ยนพฤติกรรมทองเที่ยวมาทองเที่ยวในระยะใกลแทน เนื่องจากตระหนักในเรื่องภาวะโลกรอน โดยในปจจุบันยังไมมีผลการวิจัยที่เชื่อถือไดเกี่ยวกับเรื่องดัง กลาว WTTC แถลงวา กระแสโลกาภิวัฒนชวยลดผลกระทบจากการกอการรายและราคาตนทุน น้ํามันที่แ พงขึ้น และการเพิ่ม ขึ้นของรายไดตอครัว เรือนในประเทศกําลังพัฒ นาทําใหค นเที่ยวตาง ประเทศมากขึ้น e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 12


อุตสาหกรรมการทองเที่ยวขยายตัวรอยละ 9.9 จากอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวม ในป 2007 คาใชจายของนักทองเที่ยวระหวางประเทศเพิ่มขึ้นรอยละ 13 หรือคิดเปนมูลคามากกวา 1 ลานลานเหรียญดอลลารสหรัฐ โดยนักทองเที่ยวสวนใหญมีจุดมุงหมายเพื่อการพักผอน ธุรกิจ ทั้งนี้ มีการคาดการณวาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวจะชะลอตัวในป 2008 เนื่องมาจากการ ถดถอยทางเศรษฐกิจในประเทศที่พัฒนาแลว โดยเฉพาะวิกฤต Subprime ของสหรัฐอเมริกาจะสงผล ตอตลาดการเงิน สงผลทําใหการทองเที่ยวเชิงธุรกิจลดลง ราคาน้ํามันที่แพงขึ้นทําใหครัวเรือนมีเงิน เก็บนอยลง และทําใหตนทุนในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวสูงขึ้น WTTC และ Oxford Economics คาดการณวา อุตสาหกรรมการทองเที่ยวของโลกจะเติบโต เพิ่ม ขึ้นรอยละ 3 ในปนี้ และมีอัตราการจางงาน 6 ลานงานทั่วโลก การลงทุนและการคาระหวาง ประเทศยังคงขยายตัว โดยเฉพาะตลาดจีนและอินเดียมีแนวโนมขยายตัวเพิ่มขึ้น ความตองการทอง เที่ยวที่มากขึ้น โดยเฉพาะแถบตะวันออกกลางและรัสเซียจะชวยกระตุนเศรษฐกิจใหขยายตัวมากขึน้ ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 13


สรุปขอมูล การประชุมวิชาการ ASEAN Tourism Conference (ATC 2008) Dynamics of ASEAN Tourism โศรยา หอมชื่น 1 ณัฏฐิรา อําพลพรรณ 2 ณัฐดร หัสวาที 3

การท องเที่ ย วแห ง ประเทศไทย (ททท.) ได เป น เจ าภาพจั ด การประชุ ม วิ ชาการ ASEAN Tourism Conference (ATC 2008) ภายใต Theme “Dynamics of ASEAN Tourism เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 23 มกราคม 2551 ณ หองจูปเตอร 4-7 อาคารชาเลนเจอร เมืองทองธานี ในระหวางทีม่ กี ารจัดงานสง เสริม การขายดานการทองเที่ยวอาเซียน ASEAN Tourism Forum 2008 โดยในการประชุมเชิงวิช า การครั้งนี้มีผูเขารวมประชุม 411 ราย ประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานภาครัฐ ผูประกอบการทอง เที่ ย วในกลุ ม ประเทศอาเซีย น ผู ประกอบการท องเที่ ย วในประเทศไทย อาจารย และนั ก ศึ ก ษาจาก สถาบั นการศึ ก ษาที่ เปด สอนสาขาการท อ งเที่ ย ว สื่อ มวลชนในประเทศและต า งประเทศ รวมทั้ ง พนักงานการทองเที่ย วแหงประเทศไทย โดยผูวาการ ททท. เปนประธานเปดการประชุม ซึ่งมีส าระ สําคัญ จากการบรรยายของผูแสดงปาฐกถาพิเ ศษ และ วิทยากรผูท รงคุณ วุฒิ ในประเด็นตาง ๆ สรุปไดดังนี้

1

หัวหนางานวิชาการ กองวิจัยการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

2

พนักงานวางแผน 5 งานวิชาการ กองวิจัยการตลาด

3

พนักงานวางแผน 5 งานกลยุทธตลาดในประเทศ กองกลยุทธการตลาด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


1) Sustainable Tourism, Combating Climate Change, and Sufficiency Economy (การทองเที่ยวแบบยั่งยืน การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง ) โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา (รท.ดร. สุวิทย ยอดมณี) แนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หมายถึ ง การเดิ น ตามสายกลาง มี เ หตุ ผ ล และต อ งสรา ง ภูมิ คุม กันจากป จ จั ยต างๆที่ อาจจะสง ผลกระทบ การดํ าเนินตามแนวคิ ดนี้ ต องอาศั ยความอดทน ความพากเพียร และปญญาเพื่อสรางสมดุลและสามารถรับมือกับวิกฤตตางๆในโลกที่เกิดขึ้นไดจาก การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมและเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ทัง้ นี้ ภาคอุตสาห กรรมการทองเที่ยวสามารถปรับตัวใหเขากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งยังเปนแนวทางที่นํา ไปสู ก ารเตรี ย มรั บมื อกั บการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อากาศโลก จากแนวคิด ดั ง กล าวจึ ง มี ความ พยายามในการสรางแนวทางในการลดผลกระทบของภาวะโลกรอนของภาคการทองเทีย่ ว โดยใชแนว ทาง Low–Emission: Tourism Thai ซึ่งอาจขยายสูความรว มมือในกรอบอาเซีย นไดตอไป โดยจั ดทํ า โครงการและรณรงครวมกันเพื่อใหทุกภาคสวนในอุตสาหกรรมทองเที่ยวของภูมภิ าคอาเซียนเขามามี ส ว นร ว ม โดยการท อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพซึ่ ง นํ า ไปสู ก ารท องเที่ ย วที่ ยั่ ง ยื น เช น การท อ งเที่ ย วแบบ Community Based มาตรการสงเสริมสินคาและบริก ารทางการทองเที่ยวที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม การกําหนดมาตรการทางการทองเที่ยวรวมกันระหวางชาติ ASEAN และการจัดทํามาตรฐานการลด ผลกระทบด านสิ่ ง แวดล อมในอุ ต สาหกรรมท องเที่ ย วอาเซี ย น เช น มาตรฐาน Green Leaf หรื อ Smoke-Free สําหรับโรงแรม

2) ASEAN Tourism Trend (แนวโนมการทองเที่ยวอาเซียน) By Mr.Oscar P.Palabyab, Esq.Undersecretary of Tourism Republic of The Philippines โดย Mr.Oscar P.Palabyab, Esq.รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการทองเที่ยวแหงสาธารณรัฐฟลปิ ปนส ในป 2006 มีนักทองเที่ยวเดินทางเขาประเทศในกลุมอาเซียนกวา 56 ลานคน โดยมีอัตรา การขยายตัว ราวรอยละ 7.2 เมื่อเปรี ยบเทีย บกับป 2005 ซึ่ง จากรวบรวมสถิติ ตั้ ง แต ป 20022006 พบวากวารอยละ 46 เปนการเดินทางทองเที่ยวภายในภูมิภาคเดียวกันเองของนักทองเที่ยว ในกลุมอาเซียน โดยกลุมหลักไดแก มาเลเซีย ไทยและสิงคโปร ในขณะที่นักทองเที่ยวหลักจากประเทศ นอกกลุมอาเซียนไดแก เยอรมนี ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร ญี่ปุน จีน เกาหลี สหรัฐอเมริกา ออสเตร เลีย ไตหวัน อินเดีย และฮองกง หากพิจารณาเฉพาะประเทศในกลุมสมาชิกอาเซียน จะพบวา ในป 2006 มาเลเซีย สิงคโปร ไทยและอินโดนีเซีย เปนประเทศกลุ มหลักที่ เปน ผูสงออกนั กทองเที่ยวไปยังประเทศสมาชิกกลุม อา เซียน โดยปจจัยที่กระตุนใหเกิดการเดินทาง ไดแก การเพิ่มขึ้นของรายไดของประชาชน การขยายตัว ของธุรกิจสายการบินตนทุนต่ํา การเติบโตของสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ การขยายตัวของโรงแรมที่ พัก และโครงสรางพื้นฐาน รวมไปถึงความมีอัธยาศัยไมตรีในการตอนรับนักทองเที่ยวที่คลายๆ กัน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


ในทุกประเทศ นอกจากนี้ ปจจัยดานการผอนคลายการขอ Visa และการเปดเสรีทางการบินมากขึ้นก็ ชวยสนับสนุนใหการเดินทางเขาสูอาเซียนเปนไปไดอยางสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม สิ่งทาทายในอนาคตสําหรับการสงเสริมความรวมมือเปนหนึ่งเดียวดานการ ทองเที่ยวของสมาชิกอาเซียน ไดแก การแปรนโยบาย Single visa ไปปฏิบัติใหสําเร็จเปนรูปธรรมชัด เจน รวมไปถึงการขยายผลไปยังนักทองเที่ย วนอกกลุม อาเซียนใหไดรับความสะดวกเชนเดียวกั น นอกจากนี้ ความสะดวกในการเดินทางของนักทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นดังกลาวจะมาพรอมกับปญหาการ ควบคุมกลุมผูกอการรายไมใหไดรับประโยชนจ ากชองทางดังกลาว รวมไปถึง การควบคุม การแพร กระจายของโรคระบาดตางๆ เชน โรคไขหวัดนก ซึ่งประเทศสมาชิกจะตองรวมกันกําหนดมาตรการ หรือสรางกลไกในการควบคุมปญหาดังกลาวขางตน

3) Building a Tourism Earth Lung Community: Climate Change & Tourism (การสรางชุมชนการทองเที่ยว Earth Lung) By Mr.Renton de Alwis , Sri Lanka Tourism Board มหั น ตภั ย สําคั ญ ที่ โลกกํ าลัง เผชิญ อยู ใ น ขณะนี้ คื อ วิ ก ฤตการเปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ อากาศของโลก โดยในอดีตที่ผานมาเริ่มเห็นถึงผล การเปลี่ย นแปลงทางสภาพภูมิอากาศของโลก ตั้ ง แตอ ากาศเริ่ม รอนขึ้นในชว งฤดู ห นาวในขณะที่ ฤ ดู รอนอากาศจะแหงและรอนมากขึ้น เกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ รุน แรงขึ้ นและถี่ ขึ้น ตลอดจนระดั บ น้ํ า ทะเลเพิ่มสูงขึ้น โดยมหันตภัยการเปลี่ยนแปลงทาง สภาพภู มิอากาศดั ง กลาวส วนหนึ่ง เปนผลจากกิจ กรรมดานการทองเที่ยว ทั้งนี้ การใชรถยนตขนาด ใหญ ในการเดินทางทองเที่ยวและการเดินทางทาง อากาศถูกมองวาเปนตนเหตุสําคัญในการกอใหเกิด ปญ หาดังกลาว ทั้งที่ความจริง แลวภาคการขนสง ทางอากาศเป นสาเหตุให เกิด การเปลี่ยนแปลงทาง สภาพภูมิอากาศเพียงรอยละ 2 อยางไรก็ต าม อุตสาหกรรมทองเที่ยวตองมีสวนรับผิดชอบในวิก ฤตการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศดังกลาวเชนกัน และเพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจึงจําเปนตองสรางความรับผิดชอบ ตอมลพิษจากการเดินทางของนักทองเที่ยว เชนเดียวกันกับการเปนผูนําในการลดวิกฤตการเปลี่ยน แปลงสภาพภูมิอากาศของภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เชน การสงเสริมการทําธุรกิจขนาดเล็ก และลดการใหความสําคัญ ในดานปริมาณซึ่งจะชวยลดการใชพลังงานและปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


รวมทั้ง ตองดําเนินการภายใตมาตรฐานดานสิ่งแวดลอมตางๆ เชน Ecolef, Energy star, Green Globes นอกจากนี้ มาตรฐานดังกลาวยังสามารถนํามาเปนจุดแข็งในการทําการตลาดตามแนวโนมอนาคตได ตัว อยางกิ จ กรรมที่แสดงถึ งความรับผิ ด ชอบต อป ญ หาการเปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ อากาศในศรี ลั ง กา เช น การกํ าหนดพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ ป า ไม ก ว า ร อ ยละ 30 สํ าหรั บ เป น แหล ง ดู ด ซั บ คารบอนไดออกไซด การสรางขบวนการเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอมที่เขมแข็ง การกําหนดแนวทาง พัฒนาอุตสาหกรรมทองเที่ยวใหอยูภายใตพื้นฐานทางธรรมชาติและวัฒนธรรมเปนสําคัญ รวมไปถึง การเขารวมเปนสวนหนึ่งของ global tourism community

4) ASEAN Tourism Image (ภาพลักษณ กษณการทองเที่ยวอาเซียน) By Dr. Therdchai Choibamroong, Thailand Tourism Development Research Institute โดย ดร.เทิดชาย ชวยบํารุง ผูอํานวยการสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาการทองเที่ยวไทย วิทยากรไดแสดงขอคิดเห็นจากการบรรยายในหัว ขอ “ASEAN Tourism Image” โดยเนื้อหา จากการบรรยายในครั้งนี้มาจากการวิจัยในหัวขอ “Image Positioning of ASEAN” ซึ่งไดมีขอเสนอแนะ ให นําเสนอภาพลั ก ษณ ท างการตลาดของ ASEAN ในรู ปแบบ ASEAN: Cultural Diversity and Warm Hospitality โดยนํามาจากจุดแข็งของสินคาและบริการทางการทองเที่ยวดานวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย ของ ASEAN ตลอดจนความเปนมิตรไมตรีของคนในทองถิ่น ทั้งนี้ ควรมีการสงเสริมการตลาดอยาง เปนรูปธรรมไปยังนักทองเที่ยวกลุมเปาหมายเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวของ ASEAN ฐานะแหลงทอง เที่ ยวรว ม (Single Destination) ในตลาดโลก ตั วอยางของสิ นค าและบริ ก ารทางการทองเที่ ยวของ ASEAN ไดแก การผสมผสานทางวัฒนธรรมและภาษาที่หลากหลายของมาเลเซียที่ปจจุบันมีการสง เสริมการตลาดผานแคมเปญ “Malaysia Truly Asia” ความเปนมิตรไมตรีและความหลากหลายของสิน คาและบริการทางการทองเที่ยวของประเทศไทยตาม แคมเปญ “Amazing Thailand” และการนําเสนอ สินคาและบริการที่ยัง บริสุทธิ์ของสาธารณรัฐประชาชนลาว ภายใตแคมเปญ Hidden Heart of Asia เปนตน

5) Trends of Low-Cost Carriers Industry in Asia (แนวโนมอุตสาหกรรมสายการบินตน ทุนต่ําในเอเชีย) By Dr.Kaye Chon, the Hong Kong Polytechnic University Dr.Kaye Chon ไดแสดงขอคิดเห็นจากการบรรยายในหัวขอ “Trends of Low-Cost Carriers in Asia” โดยกลาวถึงแนวโนมของการพัฒ นาของสายการบินตนทุนต่ําในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกวา สาย การบินตนทุนต่ํามีแนวโนมที่จะเปดใหบริการในแหลงทองเที่ยวระยะไกล รวมทั้งเทีย่ วบินระหวางทวีป นอกจากนี้ ส ายการบิ นต าง ๆ ยั ง นิย มเป ด ให บริ ก ารสายการบิ นต นทุ นต่ํ า ตลอดจนมีก ารขยาย จํานวนเครื่องบินของสายการบินตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนจํานวน มาก ทําใหมีการกอสรางสนามบินขึ้นมารองรับสายการบินตนทุนต่ําโดยเฉพาะ ทั้งนี้ มีการรว มเปน พันธมิตรของสายการบินตนทุนต่ําทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ซึ่งทําใหมีความสามารถในการ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


เชื่อมต อเที่ย วบิน โดยกลุม เปาหมายของสายการบินตนทุนต่ํ า ไดแก การเดินทางของธุรกิจขนาด กลางและขนาดยอม (SME) และเมื่อวิเคราะหจุดออนและจุดแข็งของการพัฒนาของสายการบินตนทุน ต่ําในภู มิ ภาคเอเชี ย แปซิ ฟ ก พบวา โอกาสทางการตลาดที่ สํ า คัญ ของสายการบิ นต นทุ นต่ํ า ได แก นโยบายเปดเสรีทางการบิน อยางไรก็ดี ยังคงมีอุปสรรคที่สําคัญ ซึ่งไดแก การขาดแคลนบุคลากร และแนวโนมการเพิ่มราคาของน้ํามันเชื้อเพลิง

6) Understanding Chinese Traveler’s Behavior and Expectation (ความเขาใจในพฤติกรรมและความคาดหวังของนักเดินทางชาวจีน) By Dr. Grace Pan ตลาดนักทองเที่ยวจีนซึ่งเปนนักทองเที่ยวขาออกที่สําคัญ รัฐบาลจีนไดใหความสนใจในการ จัด การนัก ทองเที่ยวขาออกโดยเฉพาะในเรื่องคุณ ภาพการบริก ารและการรับเรื่องรองเรียนจากผู บริโภค จากการศึกษาเรื่อง China Outbound Travel Monitor ของบริษัทนีลสันเมื่อป 2007 ทราบวา การเดินทางเพื่อพักผอนเปนวัตถุประสงคหลักในการเดินทางออกของนักทองเที่ยวจากจีน และการ เดินทางเพื่อธุรกิจเปนลําดับที่ 2 ซึ่งมักจะผนวกการพักผอนไวดว ย โดยสวนใหญนิยมเดินทางทอง เที่ยวในเอเชีย รองลงมาคือยุโรป สําหรับแรงจูงใจในการเดินทางเพื่อพักผอน ประเด็นสําคัญเปนการผอนคลายความเครียด หลีกหนีจากความกดดัน และการเปลี่ยนบรรยากาศจากชีวิตประจําวัน การคนหาขอมูลแหลงทองเที่ยวจากอินเตอรเน็ตไดรับความนิยมสูงถึง 70% และยังมีการ ใชเวทีการอภิปรายทางอินเตอรเน็ตออนไลนถึง 62% ในขณะที่นิยมการรับขอมูลจากบริษัทนําเที่ยว ถึง 39% อยางไรก็ดี ชองทางในการจองการเดินทางยัง คงผานบริษัทนําเที่ยวเปนหลัก คือประมาณ 58% และการจองผานระบบออนไลนไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นโดยมีการจองออนไลนกบั บริษทั นําเทีย่ ว และจองจากเว็บไซตของโรงแรมหรือสายการบิน ที่พั กที่นักเดินทางชาวจีนนิยมมากที่สุด คือ โรงแรมระดับ 4 ดาว ทั้งการเดินทางเพื่ อพั ก ผอนหรือเพื่อทําธุรกิจ รองลงมาคือโรงแรมระดับ 3 ดาว การใชจายเงินในการเดินทางแตละครั้งเฉลี่ยประมาณคนละ 3,000 เหรียญสหรัฐ ขึน้ อยูก บั จุดหมายที่เดินทางโดยการเดินทางไปยุโรปจะมีคาใชจายสูงที่สุด รองลงมาคือ โอเชียเนีย และอเมริกา เหนือ สวนการเดินทางในเอเชียการใชจายอยูในระดับต่ําที่สุดหากไมรวมคาใชจายกอนการเดินทาง โดยนักเดินทางชาวจีนสว นใหญนั้นนิยมชําระคาใชจายดวยเงินสด (83%) แมวาการจายดว ยบัตร เครดิตจะไดรับความนิยมสูงขึ้น (74%)

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


สําหรับจุดหมายปลายทางยอดนิยมที่ว างแผนวาจะเดินทางในชวง 12 เดือนขางหนา 10 แหงของนักทองเที่ยวจีนคือ ฮองกง ฝรั่งเศส มาเกา สิงคโปร สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย อิตาลี มาเลเซีย เกาหลีใต ญี่ปุนและเยอรมนี ตามลําดับ จากการสังเกตพบวามีการพัฒนาการเดินทางทองเที่ยวจากการเปนประสบการณครัง้ หนึง่ ในชีวิตกลายเปนการเดินทางที่เปนปกติ มีความสนใจในเครื่องมือใหมๆเพื่อการคนหาขอมูลการเดิน ทาง และตลาดนักทองเที่ยวขาออกของจีนมีวิวัฒนาการเร็วกวานักทองเทีย่ วขาออกของประเทศอืน่ ๆ ในเอเชีย ทั้งนี้จุดหมายปลายทางยอดนิยมของนักทองเที่ยวจีนยังคงอยูในเอเชียดวยปจจัยดานระยะ ทาง แตปริมาณการเดินทางไปยังยุโรปและอเมริกาเหนือก็เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วโดยเฉพาะการเดินทาง เพื่อธุรกิจ ในขณะที่นักทองเที่ยวกลุม Mass-market เนนการเดินทางในงบประมาณทีจ่ าํ กัด แตนกั ทอง เที่ยวกลุมตลาดบนก็เริ่มสนใจการเดินทางที่หรูหราสะดวกสบาย โดยพฤติกรรมของนักเดินทางที่มี เปาหมายทางธุรกิจจะแตกตางจากผูที่เดินทางเพื่อทองเที่ยว

กลุมตลาดนักเดินทางขาออกของจีนที่สําคัญ 3 กลุม คือ คูแตงงานที่อายุเกิน 35 ป ครอบ ครัวที่เดินทางพรอมเด็ก คนหนุมสาวทั้งที่แตงงานแลวและโสด แหลงขอมูลแบบเดิมๆ ถูกทาทายโดย แหล งขอมู ลบนอินเตอรเน็ตและมีแนวโนมที่ Online travel agents จะแยงชิงลูก คาจากบริษัทนําเที่ย ว แบบเดิมๆ นักทองเที่ยวชาวจีนมีการใชจายสูงในระหวางการเดินทางทองเที่ยว ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


แนวโนมการทองเที่ยวโลกที่โดดเดนในป 2550 กิตติพันธุ ภิญโญ1

บริษัทยูโรมอนิเตอร อินเตอรเนชั่นแนล ไดจัดทํารายงานแนวโนมการทองเที่ยวของโลกในป 2550 (WTM Global Trends Report 2007) เผยแพรงาน World Travel Market (WTM 2007) ซึ่งจัด ขึ้นระหวางวันที่ 12 -15 พฤศจิกายน 2550 ณ ศูนยประชุม ExCeL กรุงลอนดอน สหราชอาณา จักร โดยรายงานดังกลาวเปนการนําเสนอผลจากการศึกษาวิจัย และการวิเคราะหขอมูลของบริษัท ยูโรมอนิเตอรฯ ในป 2550 เพื่อใหเห็นทิศ ทางของการทองเที่ยวในอนาคต ซึ่งรายงานดังกลาวมี สาระสําคัญที่นาสนใจดังนี้

1. ตลาดสหราชอาณาจักร: เดินทางทองเที่ยวพรอมสัตวเลี้ยง The UK: Have Pet, Will Travel สหราชอาณาจักร มีจํานวนสัตวเลี้ยงถึง 49 ลานตัว มี ก ารใชจายทางดานอาหาร และผลิ ตภัณ ฑใ น การดูแลสัตวเลี้ยงสูงถึง 2.7 พันลานปอนด สัตวเลี้ยง เป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต และมี แ นวโน ม ความ ตองการเลี้ ยงสัต วไวในครอบครัว สูงขึ้น ทํ าใหนัก ทอ ง เที่ ย วต อ งพาสั ต ว เลี้ ย งไปด ว ยในการเดิ น ทาง มี ค วาม ตองการดานที่พักอาศัยและการบริการตอสัตวเลี้ยงที่สูง ขึ้น นับเปนโอกาสทองในการเพิ่มรายไดทางการทองเที่ยว ในประเทศ ในปจจุบันผูใหบริก ารสินคาและบริก ารทาง ดานการทองเที่ยวที่มีสัตวเลี้ยงไปดว ย แตมีไมเพียงพอ ตอความตองการของตลาด มีเพียงอุตสาหกรรมทางดานโรงแรมเทานั้นที่เจาะกลุมลูกคาเปาหมายที่ เปนเจาของสัตวเลี้ยง โดยโรงแรมที่มีผูประกอบการอิสระจะมีการตื่นตัวมากที่สุด ซึ่งจากการประสบ ความสําเร็จของโรงแรมเครือขายระหวางประเทศชั้นนําของประเทศสหรัฐฯ ที่มีการจัดสรางโครงการ รองรับที่พักสําหรับสัตวเลี้ยง ซึ่งทางโรงแรมในสหราชอาณาจักรควรจะนําไปเปนตัวอยาง อยางไรก็ตามความทาทายของการจัดเตรียมการใหบริการสัตวเลี้ยงของผูประกอบการ ทัวร คือ การพัฒนาศักยภาพการบริการใหมีมาตรฐานเพิ่มขึ้น แลกกับการที่เจาของสัตวเลี้ยงจะตอง

1

งานวิเคราะหตลาดตางประเทศ กองกลยุทธการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


จายคาทัวรในราคาที่สูงขึ้น การประกันสุขภาพและการเดินทางของสัตวเลี้ยงเพื่อสรางความมั่นใจตอ นักทองเที่ยวมากขึ้น

2. ตลาดอเมริกาเหนือ: การทองเที่ยวแบบเสเพลสําหรับกลุมทํางานหนัก North America: Debaucherists work hard and play harder วัยรุนผูแสวงหาชีวิตวัยรุนที่ยาวนานกําลังนิยมเลี้ยงฉลองตามแบบของนิตยสารวงการ บันเทิงตางๆ และการทองเที่ยวที่มีอิสระจากขอบเขตขอกําหนดของงานเลี้ยงทั่วไป ซึ่งเปนเทรนดที่ เรียกวาการทองเที่ยวแบบเสเพล (Debaucherism Tourism) ลาสเวกัส เปนเมืองที่ก ลุม นัก ทองเที่ยวเสเพลนิยมที่ จะเดินทาง เนื่องจากมีโรงแรมซึ่ง สามารถจัดปารตี้สระน้ําไดตั้งแตเชา อนุญาตใหนักทองเที่ยวมีปารตี้ไดตลอด 24 ชั่วโมง สําหรับการ ทองเที่ยวบนเรือสําราญก็บริการเครื่องดื่มและจัดใหเลนการพนันอยางเต็มที่ อีกทั้งมีการแสดงดนตรี แบบตางๆ ในขณะที่รีสอรทบางแหงในแถบทะเลแคริบเบียนไดมีการเจาะกลุมตลาดแบบ Eroticism

สําหรับนักทองเที่ยวที่สูงอายุ พวกเขาจะถือวาการทองเที่ยวเหลานั้นเปนโอกาสที่จะกลับ ไปสูชีวิตวัยรุนที่มีความเพลิดเพลินสุขสบาย และการใชจายอยางฟุมเฟอยทําใหพวกเขามีความสุขที่ สุดกับปารตี้ในตางแดน โดยแหลงทองเที่ยวที่มีเอกลักษณ (Exotic destinations) นาจะมีผลกําไรจาก นักทองเที่ยวกลุมนี้ที่มักคนหาแหลงทองเที่ยวใหมๆอยูเสมอ ซึ่งพวกเขาจะจัดทําเว็บไซตตางๆ เพื่อ แสดงรูปภาพเกี่ยวกับกิจกรรมปารตี้ที่ผานมา เพื่อใหคนอื่นที่อยากทํากิจกรรมคลายกันดูเปนแบบ อยาง

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


3. ตลาดยุโรปตะวันตก: การทองเที่ยวที่เรียบงายเพื่อสรางชวงเวลาที่สําคัญของชีวิต Western Europe: Slow travel builds momentum การทองเที่ยวแบบเรียบงาย หรือที่เรียกวา Slow Travel เปนการทองเที่ยวแบบตานยาพิษ ที่เกิดขึ้นจากความเครียดของชีวิต เพื่อใหผูบริโภคมีโอกาสที่จะตัดขาดจากวิถีชีวิตที่วุนวาย มีประสบ การณตรงกับธรรมชาติและเพลิดเพลินไปกับความยินดีในชีวิตแบบเรียบงายที่มีจุดมุงหมายสูงสุด คือ การเรียกเวลากลับคืน การมีชีวิตที่หรูหราอยางแทจริงในโลกปจจุบันที่มีการเคลื่อนไหวอยางรวด เร็ว บอยครั้งที่นักทองเที่ยวแบบเรียบงายเลือกที่จะพักอยูในฟารมหรือในพื้นที่หางไกล และ ชื่นชอบที่จะเดินทางโดยรถไฟ แรงจูงใจสําหรับการทองเที่ยวแบบนี้จะสอดคลองกับความรับผิดชอบ ในการทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางยิ่งนัก ทองเที่ยวชาวอังกฤษ นอกจากนี้ยังครอบคลุม ไปถึงทวีป อเมริก า ซึ่งสว นหนึ่งไดรับผลกระทบจากภาพยนตรเรื่อง An Inconvenient Truth ที่นําเสนอโดย Al Gore นั ก อนุ รั ก ษ สิ่ งแวดล อม ชาว สห รั ฐ ฯ ที่ ได รั บ ร างวั ลโน เบ ลส าขาสั น ติ ภ าพ ร ว ม กั บ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) จากการรณรงคเรื่องภาวะโลกรอน การทองเที่ยวแบบเรียบงายถูกคาดหวังใหกลายมาเปนการทองเที่ยวทางเลือกใหมของ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับการทองเที่ยวชายหาด เปลี่ยนแปลงจากการทองเที่ยวแบบเฉพาะมา สู ก ระแสหลั ก (mainstream) ดั ง นั้ น “slow hotels” หรื อ “slow packages” จึ ง ได ถู ก ยอมรั บ จากผู ประกอบการทัว รของการขยายตัวการทองเที่ยวเทรนดนี้ ซึ่งนักทองเที่ยวไมเพียงแตไดรับประสบ การณเดินทางที่แทจริง (authentic) มากขึ้น แตยังชวยกระตุนเศรษฐกิจของทองถิ่นอีกดวย

4. ตลาดตะวันออกกลาง: การทองเที่ยวแบบฮาลาลนําเสนอโอกาสอันซอนเรน Middle East: Halal Tourism offers great potential

ในความพยายามที่จะเดินตามความสําเร็จของดูไบ ประเทศในกลุมตะวันออกกลางกําลัง อาศัยการทองเที่ยวไปสูแหลงทํารายไดอีกทางเลือกหนึ่ง ในปจจุบันมีความแตกตางในการทองเที่ยว ของตะวันออกกลางทางดานสินคาและบริก ารสําหรับชาวมุสลิม และไมใชมุสลิม ซึ่งแสดงใหเห็นถึง โอกาสที่สําคัญสําหรับการทองเที่ยวแบบฮาลาล และรูปแบบของการทองเที่ยวเชิงศาสนาไดถูกจํากัด ความวาเปนกิจกรรมที่ไดรับการอนุญาตภายใตกฎหมายอิสลาม สิ่งสําคัญก็คือการทองเที่ยวแบบฮาลาลไดรับการพัฒนาควบคูไปกับสิ่งจําเปนพื้นฐาน ของการทองเที่ยวในประเทศ ทําใหเกิดโครงสรางที่ดีขึ้นเชนเดียวกับการประยุกตสินคาและบริการที่ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


สอดคลองกับนักทองเที่ยวชาวตะวันออกกลาง และเปนการดึงดูดนักทองเที่ยวฮาลาล จากประชากร ชาวมุสลิมทั่วโลก จากยุโรปถึงสหรัฐอเมริกา นอกเหนือจากนักทองเที่ยวในภูมิภาคตะวันออกกลาง แพ็ ค เกจทั ว รสําหรับการจาริก แสวงบุญ ในพิ ธีฮัจญ (Haj) และ อุม เราะห (Umrah) นํ า เสนอศักยภาพทางดานสินคาและบริการของการทองเที่ยวแบบฮาลาล โดยกลุม niche market กลุมนี้ ไดแสดงถึงความตองการทองเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อแสวงบุญและแสดงความศรัทธา แมแตในสภาว การณที่ไมปลอดภัย

5.ตลาดแอฟริกา: การทองเที่ยวแอฟริกาเหนือมีหนทางสูความสําเร็จ Africa: North Africa tourism is poised for success

จากนโยบายความชวยเหลือของทางรัฐบาลและการเขามาของสายการบินตนทุนต่ํา ทํา ใหโมร็อกโกเปนประเทศที่โดดเดนในการทองเที่ยวของภูมิภาคแอฟริกาเหนือ โดยมีตูนีเซียและอียิปต เดินตามการประสบความสําเร็จของโมร็อคโกในทางกลับกันแอลจีเรียกับลิเบียมีสถานการณการทอง เที่ยวชะลอตัว จากความตึงเครียดทางการเมืองและการขาดแคลนดานโครงสรางจําเปนพื้นฐาน โมร็อกโก มีแหลงทองเที่ยวแบบ exotic อยูม าก จากการที่รัฐบาลไดสงเสริม แหลงทอง เที่ยวและกระตุนการลงทุนจากตางประเทศ สายการบินตนทุนต่ําชวยเพิ่มความตองการของนักทอง เที่ยวชาวยุโรปโดยเฉพาะประเทศใกลเคียง สวนตูนิเซียและอียิปตมีแรงเสริมจากรูปแบบการทองเที่ยว แบบ sun and sea ประกอบกับรูปแบบของวัฒนธรรมที่ชวยดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ สถานการณทางการเมืองของแอลจีเรียกับลิเบียเริ่มปรับตัวดีขึ้น รัฐบาลยอมรับวาการ พัฒนาดานทองเที่ยวเปนปจจัยสําคัญตอการเติบโตของเศรษฐกิจและเริ่มวางโครงสรางจําเปนขั้นพื้น ฐาน นอกจากนี้รัฐบาลก็กําลังตอนรับนักลงทุนตางชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากประเทศในตะวันออก กลาง

6. ตลาดอเมริกาใต: ความสนใจทองเที่ยวจุดปลายสุดของโลก South America: the exotic lure of End of the World จากการใหความสนใจของสื่อในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลและความโดงดังของ ภาพยนตเรื่อง “The march of the Penguins “ทําใหเมือง Ushuaia ในอารเจนตินา ซึ่งเปนเมืองที่อยูตอน ใตสุดของโลกกลายเปนแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


กลุม Baby boomers จากอเมริกาเหนือและยุโรปมีการเดินทางมา Ushuaia มากขึ้น ซึง่ กลุม นักทองเที่ยวเหลานี้ชอบการผจญภัย และตองการประสบการณทองเที่ยวแบบ exotic ซึ่งทางโรงแรม ที่มีเครือขายระหวางประเทศ และการทองเที่ยวแบบเรือสําราญกําลังขยายความจุและสรางความ หรูหราแบบสบายๆ เพื่อรองรับความตองการในภูมิภาคของนักทองเที่ยวกลุมนี้ โดยขยายตารางเดิน เรือสําราญในเสนทางชายฝงอเมริกาใต ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางดวยเรือสําราญมีมากขึ้น ในขณะที่ Ushuaia ประสบกับความทาทายตางๆ เชน ผลกระทบจากฤดูกาลและสิ่งแวด ลอมจากการทองเที่ยวที่ขยายตัว ขึ้น แตค วามตองการของนักทองเที่ยวที่จะเดินทางมาแหลงทอง เที่ยวนี้คาดวานาจะคงความแข็งแกรงไวได จากการเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวกลุม baby boomers และ เรือสําราญ

7. ตลาดยุโรปตะวันออก: การจัดการทองเที่ยวกลุมเฉพาะเพื่อสนองตอบนักทองเที่ยว เคลื่อนยายถิ่น Eastern Europe: niche operators benefit from Diaspora tourism จากการรวมกลุมสหภาพยุโรปของกลุมตลาดยุโรปตะวันออกนําไปสูการอพยพยายถิ่นที่ เพิ่ม ขึ้นไปสูยุโรปตะวันตก ดวยเหตุผ ลทั้งทางดานมนุษยธรรมและดานเศรษฐกิจ และการขยายตัว ของสายการบินตนทุนต่ําชวยเสริมใหผูอพยพเหลานี้กลับสูบานเกิดมากขึ้น การทองเที่ยวของกลุมคนที่อพยพ (Diaspora) นี้สามารถแบงไดเปน 3 แบบ คือ 1. การทองเที่ยวเชิงมรดกและวัฒนธรรม เปนการเดินทางกลับไปบานเกิดเพื่อศึกษาทําความเขาใจเกี่ยวกับบรรพบุรุษของเขา และเขา รวมในดานการเรียนวัฒนธรรมดั้งเดิมของตน เชน ภาษา และการทําอาหาร 2. การทองเทีย่ วที่มีจุดประสงคเพื่อเยี่ยมเยียนถิ่นเกิด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


เปนการเดินทางเพื่อไปซื้อทรัพยสิน ที่ดิน บาน และเพื่อการลงทุน เนื่องจากสวนใหญชวงวัย ผูใหญตอนตนจะยายถิ่นเพื่อเหตุผลทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งการมีรายไดที่มากกวาในประเทศใหมจะชวย ใหพวกเขาสามารถเดินทางไปเยี่ยมเยียนบานเกิดหรือเพื่อลงทุนในประเทศของเขาไดมากขึ้น

3. การเดินทางทองเที่ยวไปเทศกาลและงานประเพณีตางๆในประเทศบานเกิด โดยมีแรงผลัก ดันจากกลุมที่ตองการเดินทางกลับไปเยี่ยมบานเกิดในชวงเทศกาลและงาน ประเพณีสําคัญ การเพิ่ม ขึ้นของผูยายถิ่นฐานชาวยุโรปตะวันออกมีผ ลตอบริษัทจัดการทองเที่ยวแบบ เฉพาะ (Niche travel agencies) โดยสวนใหญจะเนนการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การเดินทางกลับไป พบทันตแพทยหรือแพทย เพื่อการใชจายที่คุมคาและราคาถูกกวา นับเปนโอกาสทองของผูใหบริการ ดานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ยิ่งไปกวานั้นองคกรการทองเที่ยวของยุโรปตะวันออกไดหันมาทําการ ตลาดการทองเที่ยวมากขึ้น เพื่อกระตุนใหเกิดการเดินทางซ้ํา

8. ตลาดเอเชีย: ความสําคัญของโทรศัพทเคลื่อนที่ Asia: Asians Go Mobile โทรศัพทเคลื่อนที่ไดกลายมาเปนจอสกรีนอันดับสาม ตอจากทีวีและอินเตอรเน็ตภูมิภาค เอเชียแปซิฟกเปนภูมิภาคที่มีจํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่มากที่สุดเกือบหนึ่งพันลานคน ซึ่งตางกับ การทําตลาดทองเที่ยวแบบออนไลนที่จํากัดอยูในกลุม ระดับกลางและกลุมที่มีระดับสูงกวา ในทาง กลับกันโทรศัพทเคลื่อนที่เขาถึงทุกกลุมในระดับกวางและเสนอชองทางใหผลกําไรตอผูประกอบการ ดานทองเที่ยวในการติดตอกับลูกคา ดวยภาษีบางอยางในการใหบริการสงขอความ (SMS) ไดถูกที่สุดในโลก ภูมิภาคเอเชียได เขาสูยุควิวัฒนาการของการสงขอความและผูประกอบการทองเที่ยวหลายรายยอมรับวา SMS เปน e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


เครื่องมือในการติดตอสื่อสารที่สําคัญในการใหบริก ารตางๆ เชน การใหบริการดานบัตรโดยสาร การสงเสริมการขาย และจากความนิยมอยางมากในโทรศัพทเคลื่อนที่ทําให moblog (mobile blogging) กลายเปนสินคายอดนิยมลาสุดของลูกคาในภูมิภาค ภูมิภาคเอเชียมีเทคโนโลยีดาน Mobile TV และ Mobile Internet ที่ล้ํา หนากวาภูมิภาคอื่นๆ ดวยการพัฒนาที่ตื่นตาตื่นใจทางดาน m-commerce ใน เทคโนโลยีข องการชําระค าบริก ารโทรศั พ ท ซึ่ง ในอีก 5 ป ข างหนาโทรศัพ ท เคลื่อนที่จะไมเพียงแตเปนประตูของผูประกอบการทองเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค ทางดานการตลาดและการโฆษณา แตจะเปนชองทางหลัก ในการกระจายและ การจัดจําหนายดวย ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 7


กลุมนักทองเที่ยวเอเชียที่นาจับตามองภายในป 2012 โศรยา หอมชื่น1

บริษัทยูโรมอนิเตอรอินเตอรเนชั่นแนล ไดนําเสนอผลการศึกษาวิจัยตลาดนักทองเที่ยวในเอ เชียกลุมที่มีศักยภาพสูงในการเดินทางทองเที่ยว ไดแก กลุมคนจีนวัยหนุมสาวและวัยทํางาน กลุมคู แตงงานใหมชาวอินเดีย กลุมนักธุรกิจชาวสิงคโปร กลุมคนวัยทํางานในสิงคโปร และกลุมสตรีในฮอง กง ทั้งนี้บริษัทยูโรมอนิเตอรไดใหขอมูลสนับสนุนสําหรับนักทองเที่ยวศักยภาพแตละกลุมไวในการนํา เสนอผลการศึ ก ษาวิ จั ย ภายใต หั ว ข อ who will be the biggest outbound Travel consumer in Asia in 2012 ดังนี้ 1. กลุมชาวจีนวัยหนุมสาว (China’s little emperors) กลุมชาวจีนที่เกิดในชวงปลายทศวรรษ 1970 ซึ่งเปนชวงที่รฐั บาลสาธารณรัฐประชาชนจีน มีนโยบายใหคนจีนมีบุตรไดเพียงคนเดียว ยกเวนคนที่อยูในชนบทและชนเผาที่เปนคนกลุม นอย ดังนัน้ ประชากรในจี นที่ มี อ ายุ 0-14 ป จึ ง ลดลงจาก 324 ล านคนในป 1996 เหลื อ 238 ล านคนในป 2007 และประชากรที่เกิดในชวงเวลาดังกลาวจะไดรับการเอาใจจากทัง้ พอแมและปูย า ตายายอยางลน เหลือ เนื่องจากเปนลูกหลานคนเดียวของครอบครัว ทําใหมีความเสี่ยงเพิ่มขึน้ ทีป่ ระชากรกลุม นี้จะถูก เลี้ยงดูมาอยางผิด ๆ จนเห็นแตความสําคัญของตนเองเปนหลัก จึงมีการเปรียบเทียบคนกลุมนี้เปน จักรพรรดินอย (little emperor)

ประชากรในกลุมจักรพรรดินอยเกิดขึ้นจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในจีน โดย ในชว งป 2001-2006 มี การเติบโตของจํานวนครัว เรื อนที่มี รายไดเกิน 7,500 เหรียญสหรัฐถึ ง 184% แสดงใหเห็นวาครอบครัวมีความพรอมและเต็มใจที่จะใชจายเงินเพื่อบุตรหลานของตนมากขึน้ และถึงแมอัตราการเกิดจะต่ําแตก็มีเด็กแรกเกิดถึงปละ 16 ลานคน 1

หัวหนางานวิชาการ กองวิจัยการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


เศรษฐกิจของจีนที่เติบโตสูงกวา 10% ตอปตั้งแตป 2003 สงผลใหความมั่งคั่งกระจุกตัว อยูในเมือง ซึ่งประชากรในเมืองตางมีบุตรคนเดียว เปนชนชั้นกลางที่มีฐานะและเต็มใจที่จะใชจายเพื่อ บุตร คาเฉลี่ยของรายไดตอครัวเรือนเพิ่มขึ้นถึง 50% ระหวางป 2001-2006 โดยมีพอแมในกลุม ชนชั้นกลางถึงชนชั้นสูงใชจายเงินรายไดสวนนี้เพื่อจักรพรรดินอยของครอบครัว

จากการวิจัยของสถาบันวิจัยทางสังคมศาสตรของจีนในป 2004 พอแมชาวจีนใชจายเงิน เพื่อบุตรสูงถึง 50% ของรายไดตอครัว เรือน ทําใหโอกาสของบริษัทตางชาติรายใหญซึ่ง มุงเขาสู ตลาดผู บริ โภคที่เป นเด็ก เปด กวางขึ้ น โดยสิ นคาจะต องมีคุณ ภาพ สว นราคาเป นเรื่องรองในการ พิจารณา คนที่อ ยู ในกลุ ม ของจั ก รพรรดิ นอ ยรุ นแรก ป จ จุ บันอยู ในช ว งอายุ 20-30 ป เป นกลุ ม บริโภคนิยมที่ตามใจตนเอง และขยายความสนใจจากสินคาสําหรับเด็กมาสูสินคาฟุม เฟอยโดยเปนแรง ขับเคลื่อนการขยายตัวอยางรวดเร็วของอุตสาหกรรมสินคาฟุมเฟอยในชว งหลายปที่ผานมา ในป 2007 คนจีนในชวงอายุ 20-29 ป กลายเปนกลุมอายุที่มีรายไดสูงสุดของจีน ซึง่ มีแรงบันดาลใจและ สามารถใชจายเพื่อไลฟสไตลแบบตะวันตกที่มีราคาแพง รวมถึงการทองเที่ยว สินคาเสริมความงาม เสื้อผาและกระเปาที่มีรสนิยมทันสมัย ตารางที่ 1 การเติบโตของรายไดรวมโดยเฉลี่ยจําแนกตามกลุมอายุของชาวจีน Growth of average gross income by age (US$) 2002-07 2002-07 2002-07 % CAGR% Absolute 20-24 48.2 8.2 490.0 25-29 53.6 9.0 629.3 40-44 63.7 10.4 651.5 45-49 67.2 10.8 673.6 50-54 63.2 10.3 635.5 55-59 63.8 10.4 624.8 ที่มา ยูโรมอนิเตอร อินเตอรเนชั่นแนล e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


2. กลุมชาวอินเดียที่เพิ่งแตงงาน (India’s newlyweds)

กลุมนี้จะเปนตัวขับเคลื่อนการเดินทางทองเที่ยวขาออกที่สําคัญ โดยชวงอายุเฉลีย่ ทีช่ ายชาว อินเดียจะแตงงานคือ 24.7 ปและหญิง 20.3 ป สําหรับชวงอายุที่มีรายไดสูง สุดประมาณ 29.3 ป ชาวอินเดียกลุมนี้มีความคุนเคยกับภาษาและวัฒนธรรมตะวันตก และมีระดับการศึกษาสูงกวาคนรุน กอนหนาและมีแนวโนมการไดทํางานเร็วทําใหมีรายไดเร็ว นอกจากนี้ชาวอินเดียยังชื่นชอบผูม ชี อื่ เสียง และดารา โดยนักทองเที่ยวจะนิยมเดินทางไปยังสถานที่ที่ใชถายทําภาพยนตร Bollywood เชนสิงคโปร สวิตเซอรแลนด และออสเตรีย ทั้งนี้ยิ่งแหลงทองเที่ยวอยูหางไกลก็ยิ่งมีความนาดึงดูดใจ 3. กลุมชาวสิงคโปรที่ทํางานหนักและใชจายสูง (Singaporeans work longest but are big spenders) สิงคโปรเปนประเทศที่มี GDP และอัตราการเติบโตของรายไดตอปสูงซึ่ง หมายถึงความเชื่อ มั่นของผูบริโภคยอมสูงดวย การใชจายของครอบครัวใหญในดานการพักผอนหยอนใจโดยรวมสูง จึงเปนตลาดเปาหมายที่นาสนใจ โดยรูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับกลุมนักทองเที่ยวสิงคโปรที่ ทํางานหนักก็คือ การเดินทางระยะสั้นที่มีความหรูหรา หรือการเดินทางพักผอนของครอบครัวใน ชวงสั้น ๆ 4. กลุมชาวญี่ปุนชวงอายุ 40-49 ป เปนกลุมที่มีรายไดสูงในอนาคต ภายในป 2012 ประชากรญี่ปุนชวงอายุ 20-29 ปจะมีรายไดเปน 18.8% ของรายไดรวม ของประเทศ โดยในป 2007 ที่ผานมาประชากรกลุม นี้มี ร ายได เป น 16.7% ของรายได ร วมของ ประเทศ เหตุผ ลที่ บริษัทยู โรมอนิเตอร เล็ งเห็ นศั กยภาพของกลุม ตลาดนี้ ก็คือ เปนกลุม ที่ไมคอยมี ปญหาดานภาษา มีแนวโนมที่จะใชจายเงินเพื่อตนเองเพิ่มขึ้น มีความคลองตัวในการเดินทางและเปน อิสระมากกวากลุมที่มีอายุเกิน 60 ป (วัยเกษียณ) ทัศนคติในเรื่องการทํางานหนักแบบ “มนุษยเงิน เดือน” ลดลงทําให มีเวลาเพื่อการเดินทางเพิ่มขึ้น มีเงินออมมากกวากลุมประชากรที่อายุนอยกวา การพึ่ ง พาแพคเกจทั ว ร ล ดน อ ยลง นิ ย มใช อี เมล ม ากกว า โทรศั พ ท และมี ค วามรอบรู ในการใช อินเตอรเน็ตมากกวากลุมเกษียณ 5. กลุมสตรีที่มีอํานาจในฮองกง (Hong Kong-home of female power) จํานวนของผูหญิงในฮองกงที่มีฐานะเปนผูนําครอบครัวมีสูงกวาผูชายที่เปนผูนําครอบครัว และในป 2007 ที่ผานมา รายไดตอหัว(percapita annual disposable income) ของผูหญิ งฮองกงสูงที่ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


สุด ในภู มิ ภ าคเอเชี ย คือ 19,245.7 เหรี ยญสหรั ฐ ตามด ว ยญี่ ปุน (17,890 เหรี ย ญฯ) สิง คโปร (14,674.5 เหรียญฯ) และเกาหลีใต (10,645.4 เหรียญฯ) ผูหญิงฮองกงมีการศึกษาดีกวาและมีความเปนตัวของตัวเองสูง กวาผูหญิ งในประเทศสา ธารณรัฐประชาชนจีน รูปแบบการทองเที่ย วที่เหมาะสมกับกลุมตลาดนี้คือ การทองเที่ยวแบบ city break หรือการทองเที่ยวในเมืองใหญ โดยจุดหมายปลายทางที่จะไดรับนักทองเที่ยวกลุมนี้เพิ่มขึ้น ได แก ไตหวัน ญี่ ปุน และเกาหลีใต เนื่องจากกระแสความนิย มดานแฟชั่นและวัฒ นธรรมมวลชน (pop culture) จากประเทศเหลานี้ นอกจากนี้นิวยอรก ปารีส และมิลาน ก็เปนจุดหมายปลายทางทีเ่ หมาะสม สําหรับประสบการณดานวัฒนธรรมและการจับจายซื้อสินคาฟุมเฟอยตาง ๆ ตารางที่ 2 รายไดตอหัวตอปของประชากรหญิงในป 2007 Female per capita annual disposable income (US$) in 2007 1 Hong Kong, China 19,245.7 2 Japan 17,890.0 3 Singapore 14,674.5 4 South Korea 10,645.4 5 Taiwan 10,168.7 6 Malaysia 2,060.4 7 Thailand 1,704.9 8 China 862.0 9 Philippines 678.5 10 India 273.3 ที่มา ยูโรมอนิเตอร อินเตอรเนชั่นแนล ขอมูลจากการศึกษาของบริษัท ยูโรมอนิเตอรฯ จะเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับหนวยงาน สงเสริมการทองเที่ย ว และผูประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวกับการเดินทางและการทองเที่ยว ในการ กําหนดแผนการตลาดภายในป 2012 ใหเหมาะสมสําหรับดึงดูดกลุมนักทองเที่ยวเอเชียที่มศี กั ยภาพ เหลานี้ โดยเนนการตลาดแบบเจาะกลุมเปาหมาย (target marketing) ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


นักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ กิตติพันธุ ภิญโญ1

ความสําคัญของนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ 1. หลายประเทศมองวาตลาดนักทองเที่ยวชาวอินเดียนาสนใจมากกวาตลาดจีน ศัก ยภาพของตลาดนักทองเที่ยวอินเดีย มัก จะมีการนํามาเปรียบเทียบกับตลาดนัก ทอง เที่ยวจีน ซึ่งเปนตลาดที่ไดรับความสนใจมากที่สุดในชวงไมกี่ปที่ผานมา แตในปจจุบันตลาดอินเดียเริ่ม ไดรับความสนใจจากหลายประเทศทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศระยะไกลที่เล็งเห็นวาตลาดนักทองเที่ยว อินเดียนาจะมีศักยภาพมากกวาจีนในชวงระยะสั้นและระยะกลาง เนื่องจากเหตุผลดังตอไปนี้ 1. รัฐบาลจีนยังมีกฎระเบียบและขอจํากัดในการเดินทางไปประเทศตางๆ 2. นักทองเที่ยวอินเดียมีอิสระในการเดินทางออกนอกประเทศมากกวา 3. นักทองเที่ยวชาวอินเดียมีประสบการณในการทองเที่ยวและสามารถพูดภาษาอังกฤษไดดี กวา ซึ่งพบวามีชาวอินเดีย 180 ลานคน ซึ่งสามารถพูดภาษาอังกฤษได มีจํานวนถึง 3 เทา ของ ประชากรอังกฤษ 4. การเพิ่มขึ้นของกลุมตลาดนักทองเที่ยวที่เดินทางซ้ําของตลาดอินเดียที่เปลี่ยนไปเปนกลุม ตลาดเฉพาะมากขึ้น แสดงเห็นถึงการเปนตลาดแบบ Mature Market

1

งานวิเคราะหตลาดตางประเทศ กองกลยุทธการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


2. การขยายตัวของชนชั้นกลางและการเพิ่มขึ้นของรายได ปจจัยที่สนับสนุนความตองการเดินทางออกนอกประเทศของชาวอินเดีย คือ 1. สภาพเศรษฐกิจมีความเขมแข็ง ดวยอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมภายใน ประเทศ (GDP) ที่เพิ่มขึ้นรอยละ 8 ตอป 2. รายไดเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว 3. การผอนปรนขอกําหนดการนําเงินออกนอกประเทศ ในปจจุบันชาวอินเดียสามารถนํา เงินออกไปไดถึง US $10,000 ตอป สําหรับการเดินทางออกนอกประเทศ 4. คานิยมในการใชจายเงินมากขึ้นแทนที่จะเก็บเงินเหมือนอยางแตกอน และมีทัศนคติใน การใชชีวิตเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินมากขึ้น โดยเฉพาะการใชจายเพื่อการทองเที่ยว 5. การเพิ่มขึ้นของชาวอินเดียในกลุมคนรุนใหมที่นิยมศึกษาตอในตางประเทศ 6. การทําตลาดเชิงรุกและการโฆษณาประชาสัมพันธอยางกวางขวางของประเทศตางๆ 7. การขยายตัวอยางตอเนื่องของสายการบินราคาถูก 8. ผลจากอุตสาหกรรมภาพยนตร (Bollywood) ที่มีการไปถายทําในตางประเทศ ทําใหชาว อินเดียตองการเดินทางทองเที่ยวไปยังประเทศตาง ๆ เพื่อไปเห็นสถานที่ถายทําจริงมากขึ้น 9. การขยายตัวอยางรวดเร็วของกลุมคนชั้นกลาง ซึ่งคาดวามีกวา 350 ลานคน และจะ ขยายตัวอีก 40-50 ลานคนตอป 3. นักทองเที่ยวอินเดียมีการใชเทคโนโลยีทางดานทองเที่ยวมากขึ้น โลกในป จ จุ บั น มี ก ารเติ บ โตอย างรวดเร็ ว ของผู ใ ช อิ น เตอร เน็ ต จากขอ มู ล ของสมาคม อินเตอรเน็ตและโทรศัพทเคลื่อนที่ของอินเดีย พบวามีชาวอินเดียแค 39 ลานคนที่ใชอินเตอรเน็ตในป 2005 และคาดวาจะมีผูใชอินเตอรเน็ตชาวอินเดียเพิ่มสูงขึ้นถึง 120 ลานคน ภายในป 2010 ในขณะ ที่มีผูใชโทรศัพทมือถือ 60 ลานคน ในประเทศ และจะเพิ่มขึ้น 5 ลานคน ในทุกๆ เดือน เทคโนโลยีจึงไดสรางโอกาสที่สําคัญตอการทองเที่ยวของชาวอินเดียมากขึ้น เชน ทําใหเกิด การจองทัวรผานระบบออนไลน และถาหากวาพวกเขาไมตองการที่จะใชบัตรเครดิตในการชําระเงิน พวกเขาก็ส ามารถชําระเงินผานระบบ Holiday Financing จากธนาคารของอินเดียได ซึ่งในปจจุบันมี ชาวอินเดียจํานวน 43 ลานคน ใชบริการบัตรเครดิต 4. แนวโนมการเดินทางออกนอกประเทศของนักทองเที่ยวอินเดีย ในป 2006 นักทองเทีย่ วอินเดียเดินทางออกนอกประเทศ เติบโตเพิ่มขึ้น รอยละ 16 และตั้ง แตป 2000-2006 มีการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 11 ตอป ซึ่งสูงกวาอัตราเฉลี่ยของภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


ตาราง 1 จํานวนนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ Year

Trips ('000)

% Annual Change

1991

1.94

N/A

1995

3.06

12.1

2000

4.42

7.5

2001

4.56

3.2

2002

4.94

8.3

2003

5.35

8.3

2004

6.21

16.1

2005

7.18

15.6

2006a

8.33

16.0

a = ประมาณการณ แหลงที่มา : กระทรวงการทองเที่ยวอินเดีย 5. การใชจายในการเดินทางทองเที่ยวในตางประเทศ นักทองเที่ยวอินเดียมีอัตราการใชจายในตางประเทศเพิ่มขึ้นอยางนาประทับใจ จากขอมูล ของ World Tourism Barometer ในเดือนมกราคม 2007 อินเดียเปนประเทศที่มีการใชจายเพื่อการ ทองเที่ยวตางประเทศ อยูในอันดับที่ 24 ของโลก แตมีอัตราการขยายตัวที่สูงเฉลี่ยเปนอันดับ 1 ใน 25 ตลาดหลักของโลก ดวยอัตราการเติบโตเฉลี่ยรอยละ 19 และมีคาใชจายเฉลี่ยตอคนตอครั้ง ประมาณ US$ 904 ตาราง 2 คาใชจายระหวางประเทศ 1995 และ 2000-06 Year

Spend (US$ billion)

% Annual Change

1995

1.00

N/A

2000

2.70

N/A

2001

2.90

2.4

2002

2.99

3.1

2003

3.59

20.1

2004

4.80

33.7

2005

5.90

22.9

2006a

7.56

28.0

a = ประมาณการณ แหลงที่มา: WTO e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


6. มูลเหตุของการใชจายเฉลี่ยที่ลดลงมาจากสัดสวนการเดินทางไปเยี่ยมเพื่อนและญาติที่ เพิ่มสูงขึ้น องคกรทองเที่ยวของหลายประเทศในยุโรปไดรายงานวาการใชจายของชาวอินเดียอยูใน อัตราที่สูงมาก ทั้งนี้อาจจะมาจากอัตราคาที่พักเฉลี่ยของนักทองเที่ยวอินเดียที่ประเทศในยุโรปนั้นสูง และสูงกวาหลายประเทศในเอเชีย แตการที่ประเทศสหราชอาณาจักรมีนักทองเที่ยวอินเดียจํานวน มากนิยมพักที่บานของเพื่อนและญาติ (VFR travelers) ทําใหมีคาใชจายเฉลี่ยลดลง โดยนักทองเที่ยว แบบ VFR จะมีระยะเวลาพํานักเฉลี่ย 39 วัน ซึ่งมีจํานวนมากกวานักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางดวย เหตุผลทางธุรกิจที่โดยเฉลี่ยจะพํานัก 20 วัน และการเดินทางเพื่อพักผอนหยอนใจจะพํานักโดยเฉลี่ย อยูที่ 10 วัน แตในมุมกลับกันการพักอาศัยนานวันขึ้นอาจสงผลใหคาใชจายโดยรวมเพิ่มขึ้นไดเชนกัน 7. จุดหมายปลายทางที่สําคัญของนักทองเที่ยวอินเดียในเอเชียแปซิฟค คือ 1. สิงคโปร 2. จีน 3. ไทย 4. ฮองกง ตาราง 3 จํานวนนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางไปยังจุดหมายปลายทางตางๆ ทั่วโลก Destination Singapore

1990

1995

2000

2001

2002

2003

2004

2005

216,527 188,494 346,356 339,813 375,659 309,466 471,196 583,543

Saudi Arabia

N/A

N/A

293,944 313,131 373,636 362,609 474,467

N/A

Bahrain

N/A

N/A

213,509 247,358 312,975 350,996 418,767

N/A

Kuwait

N/A

N/A

225,642 270,619 314,054 363,724 413,109

N/A

Thailand

138,415 138,447 224,104 229,751 280,641 253,725 332,387 381,471

United Arab Emirates

N/A

China

14,271

USA

N/A

235,493 246,335 336,046 357,941

N/A

N/A

44,984 120,930 159,361 213,611 219,097 309,411 356,460

110,087 123,499 274,202 269,674 257,271 271,161 308,845 344,926

Hong Kong SAR

78,488

UK

N/A

Malaysia

N/A

Sri Lanka

86,151 131,368 161,752 193,705 178,130 244,364 273,487 N/A

206,000 189,000 205,000 199,000 255,000 269,000

27,701 132,127 143,513 183,360 145,153 172,966 225,789 13

47,448

31,860

33,924

69,960

90,603 105,151 113,323

Nepal

59,764 117,260

95,915

64,320

66,777

86,363

90,326

96,434

Switzerland

N/A

N/A

71,912

72,291

80,430

84,685

N/A

93,472

Oman

N/A

N/A

52,313

61,891

57,212

83,065

N/A

N/A

Bangladesh

29,145

74,268

78,090

80,415

84,704

80,469

86,231

46,015

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


Destination

1990

1995

2000

2001

2002

2003

2004

2005

Italy

N/A

N/A

58,079

49,131

65,839

48,807

77,134

N/A

Canada

46,266

51,090

52,071

54,742

55,492

57,010

68,315

77,849

Australia

11,000

17,100

41,500

48,200

45,000

45,700

55,500

67,951

Pakistan

138,600

31,600

66,061

58,378

2,618

7,096

19,658

59,560

Japan

27,878

24,452

38,767

40,345

45,394

47,520

53,000

58,572

Korea (ROK)

23,228

35,668

51,369

47,657

52,725

50,212

56,964

58,545

Egypt

N/A

N/A

34,277

28,498

31,834

34,941

45,313

N/A

Russia

N/A

N/A

23,476

27,576

33,546

32,954

36,755

42,184

South Africa

N/A

N/A

25,951

29,759

35,623

41,978

36,172

36,045

34,221

34,962

35,063

29,895

36,169

35,354

17,241

18,890

20,898

25,367

24,716

29,755

Indonesia Mauritius

9,348 N/A

31,968 N/A

แหลงที่มา: NTOs, PATA, UNWTO

การสํ า รวจพ ฤ ติ ก รรม การเดิ น ทางท อ งเที่ ย วของนั ก ท อ งเที่ ย วอิ น เดี ย โดย Thomas Cook ในป 2006 Thomas Cook ไดสํารวจพฤติกรรมและความตองการเดินทางทองเที่ยวของนัก ทองเที่ยวอินเดีย ในกลุมตัวอยาง 1,500 คน พบวา 1. จุดหมายปลายทาง 6 อัน ดับ แรกที่นักทองเที่ย วอิน เดีย เดิน ทางเยี่ย มเยือน เรีย งตาม ลําดับ คือ 1. สิงคโปร 2. สหราชอาณาจักร 3. มาเลเซีย 4. ดูไบ 5. ไทย 6. สหรัฐอเมริกา 2. จุดหมายปลายทางที่ผูตอบแบบสอบถามวางแผนที่จะเดิน ทางทองเที่ยวในเร็วๆ นี้ 6 อันดับแรก คือ 1. สิงคโปร 2. สหรัฐอเมริกา e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


3. ออสเตรเลีย 4. มาเลเซีย 5. สวิตเซอรแลนด 6. สหราชอาณาจักร / ลอนดอน ซึ่งประเทศไทยไมไดติดอันดับ 1 ใน 10 แสดงใหเห็นวานักทองเที่ยวอินเดียคอนขางมีก าร เปลี่ยนแปลงจุดหมายปลายทางในการเดินทางทองเที่ยวกันบอย 3. สวนใหญยังคงเดินทางทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชีย จากขอมูลการสํารวจของ AC Nielsen 2005 พบวานักทองเที่ยวอินเดียมีความตองการเดิน ทางทองเที่ยวในแตละภูมิภาคมีสัดสวน ดังนี้ 1. เอเชีย ประมาณ 1 ใน 3 หรือถือสัดสวนรอยละ 34 2. ยุโรป สัดสวนรอยละ 28 3. อเมริกา สัดสวนรอยละ 20 4. ออสเตรเลีย/แปซิฟก สัดสวนรอยละ 14 5. แอฟริกา สัดสวนรอยละ 4 หรื อ จากข อ มู ล การสํ า รวจของ Munich-based IPK International’s Indian Outbound Travel Monitor แบงสัดสวนความตองการเดินทางของนักทองเที่ยวอินเดีย ดังนี้ 1. เอเชียและตะวันออกกลาง สัดสวนรอยละ 67 2. ยุโรป สัดสวนรอยละ 19 3. อเมริกา สัดสวนรอยละ 9 4. แอฟริกา สัดสวนรอยละ 3 5. ออสเตรเลีย สัดสวนรอยละ 2 4. เมืองสําคัญที่สงออกนักทองเที่ยวอินเดียไปยังตางประเทศ จากการสํารวจทั้งของ AC Nielsen,TNS และ Synovate พบวา เมืองสําคัญที่สงออกนักทอง เที่ยวอินเดียไปยังตางประเทศ คือ 1. มุมไบ สัดสวนรอยละ 33 2. เดลี สัดสวนรอยละ 26 3. บังกาลอร สัดสวนรอยละ 17 4. กัลกัตตา สัดสวนรอยละ 15 e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


5. เชนไน สัดสวนรอยละ 9 สวนเมือง Kerala ที่มีสนามบินนานาชาติ ยังไมมีขอมูลนัก ทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออก นอกประเทศ 5. จุดหมายปลายทางที่นักทองเที่ยวชาวอินเดียปรารถนาตองการเดินทางทองเที่ยวมากที่ สุด 20 อันดับแรก จากการสํารวจของ Thomas Cook ตาราง 4 จุดหมายปลายทาง 20 อันดับแรกที่นักทองเที่ยวอินเดียปรารถนาตองการเดิน ทางทองเที่ยว Rank

Destinations

Weighted scores

1

USA/New York/other US destinations

2,044

2

Singapore

1,946

3

UK/London/Scotland

1,801

4

Switzerland

1,278

5

Australia

1,242

6

Malaysia

1,128

7

Europe

957

8

Mauritius/Seychelles

807

9

Dubai

639

10

Thailand

619

11

Hong Kong SAR

479

12

France/Paris

447

13

New Zealand

276

14

South Africa

269

15

Canada

204

16

Italy/Greece

202

17

Egypt/Cairo

164

18

Sri Lanka

143

19

Nepal

114

20

Germany

107

แหลงที่มา: Thomas Cook Travel Survey, 2006 จากการวิเคราะหขอมูลจุดหมายปลายทางที่นักทองเที่ยวอินเดียปรารถนาที่จะเดินทางทอง เที่ยว แมวาสวนใหญจะเปนประเทศจุดหมายปลายทางระยะไกล แตหลาย ๆ ประเทศในเอเชียก็ยัง สามารถครองใจนัก ทองเที่ยวอินเดียอยู เชน สิงคโปร มาเลเซีย ดูไบ หรือแมแตประเทศไทยก็ตาม e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 7


และยังมีแหลงทองเที่ยวระยะไกลใหม ๆ หลายแหงที่นักทองเที่ยวอินเดียเริ่มใหความสนใจมากขึ้น คือ มอริเชียส แอฟริกา และอียิปต แตหากพิจารณาทั้งในประเด็นจุดหมายปลายทางที่นักทองเที่ยวอินเดียเคยเดินทางเยี่ยม เยือน จุดหมายปลายทางที่จะวางแผนเดินทางทองเที่ยวในระยะใกลนี้ และจุดหมายปลายทางที่นัก ทองเที่ยวอินเดียปรารถนาตองการเดินทางทองเที่ยวครั้งหนึ่งในชีวิต พบวา ประเทศไทยยังเปนแหลง ทองเที่ยวที่นักทองเที่ยวอินเดียปรารถนาที่จะเดินทางทองเที่ยวติดอันดับ 1 ใน 10 โดยเปนรองเพียง สิงคโปร มาเลเซีย ดูไบ เชนเดิม แตมีประเด็นที่นาสังเกต คือ ประเทศไทยไมติดอันดับ 1 ใน 10 ของ การวางแผนเดินทางทองเที่ยวของตลาดอินเดียในระยะอันสั้น ซึ่งอาจเปนเพราะการเติบโตของสภาพ เศรษฐกิ จของประเทศอิน เดี ย ทําใหป ระชาชนอิน เดี ย มีร ายไดเพิ่ ม ขึ้ น สูง นั ก ท องเที่ย วอิ น เดีย จึ ง ตองการที่จะเดินทางทองเที่ยวในระยะไกลซึ่งเปนจุดหมายปลายทางในฝนมากขึ้น นอกจากนี้ จะเห็น ไดวาจากการที่อินเดียเปนประเทศที่กําลังเกิดใหมและมีการขยายตัวอยางสูง สงผลใหหลายประเทศ ให ค วามสนใจในการสงเสริม ตลาดการทอ งเที่ ยวในตลาดอิน เดี ย จนทํ าให นัก ท องเที่ ยวอิน เดี ย สามารถเลือกจุดหมายปลายทางของการเดินทางทองเที่ยวไดก วางขึ้น และนัก ทองเที่ยวอินเดีย สามารถเปลี่ยนแปลงความสนใจจุดหมายปลายทางในการทองเที่ยวไดโดยงาย

6. สาเหตุที่นักทองเที่ยวอินเดียตองการเดินทางทองเที่ยวยุโรป คือ 1. ความหลากหลายทางการทองเที่ยว 2. ความสามารถในการหารานอาหารอินเดียที่ดี เชน ประเทศสหราชอาณาจัก รที่มีค น อินเดียอาศัยอยูเปนจํานวนมาก 3. เมืองยอดนิยมที่สุดของจุดหมายปลายทางในยุโรป เชน สวิตเซอรแลนด e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 8


4. ความตองการเดินทางไปชมสถานที่ที่ถายทําภาพยนตรของ Bollywood 7. ประเทศที่ชาวอินเดียนิยมเดินทางไปศึกษาตอเพิ่มขึ้น คือ 1. ออสเตรเลีย 2. นิวซีแลนด 3. จีน 8. วัตถุประสงคของการเดินทาง จากการสํารวจของ Mercury Travels พบวา 1. การเดินทางดวยเหตุผลทางธุรกิจยังคงเปนสัดสวนมากที่สุด รอยละ 40 2. เยี่ยมเพื่อน ญาติ สัดสวนรอยละ 20 3. พักผอน สัดสวนรอยละ 20 4. อื่นๆ สั ดสว นรอ ยละ 20 (หมายถึ ง การเดิน ทางเพื่ อการศึก ษา สุข ภาพ และศาสนา เปนตน) และจากการสํารวจของ ACNielsen พบวาวัตถุประสงคแรกของการเดินทางเพื่อ 1. เหตุผลทางธุรกิจ ยังคงมีสัดสวนสูงสุด รอยละ 57 2. การทองเที่ยวพักผอนหยอนใจ สัดสวนรอยละ 22 ตาราง 5 วัตถุประสงคในการเดินทางของนักทองเที่ยวป 2005 (รอยละ) Purpose of trips

Primary

Secondary

Business

57

3

Travel & sightseeing

22

52

Visits to relatives

9

10

Entertainment

6

36

Study & training

3

2

Shopping

2

71

Honeymoon

1

1

None

0

8

แหลงที่มา: Indian Outbound Traveler’s Study 2005 (%) ACNielsen

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 9


9. นักทองเที่ยวอินเดียที่มีความตองการเดินทางเพื่อการพักผอนหยอนใจมากขึ้น จากการสํารวจของ Thomas Cook พบวา กิจกรรมหลักที่นักทองเที่ยวชาวอินเดียชอบทําใน การทองเที่ยวตางประเทศ คือ 1. Sightseeing สัดสวนรอยละ 70 2. Shopping สัดสวนรอยละ 61 3. กิจกรรมอื่นๆ เชน Adventure Travel สัดสวนรอยละ 39 กิจกรรมทางน้ํา สัดสวนรอยละ 26 เกมสและกีฬาตางๆ สัดสวนรอยละ 23 มีแนวโนมทองเที่ยวแบบผจญภัยลดลง (Adventure Tourism) แตจะเพิ่มขึ้นในดานการชอปปง และเริ่มสนใจแหลงทองเที่ยวใหม ๆ เชน เกาะสมุย เชียงใหม 10. ผูประกอบการทองเที่ยวของอินเดีย ผูประกอบการทองเที่ยวของตลาดอินเดีย มีจํานวนกวา 20,000 แหงทั่วประเทศ แตบริษัท เอเยนตขายตั๋วสวนใหญจะเปนในสวนของตลาดทองเที่ยวในประเทศ และมีการขายทัวรแบบแพ็คเกจ สวนบริษัทที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับทัวรตางประเทศสวนใหญอยูในเมืองหลักๆ เชน เดลี มุมไบ เชนไน บังกาลอร และกัลกัตตา เชน Cox&Kings, Dewan Holidays, International Travel House, JTB Travels, Le Passage to India / TUI, Mercury Travels, Orbit, Sahara / Globol, SOTC / Kuoni and Raj Travel ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใน ก ลุ ม ต ล า ด MICE ทั้ ง ด า น inbound แ ล ะ outbound คื อ Abercrombie&Kent, Alpcord Network, Creative Travels and Thomas Cook / TCI สวนบริษัทผูนําในดานการจัดการทองเที่ยวที่ดูแลทัว รแบบหมูค ณะขนาดใหญในการเดิน ทางเพื่อการพักผอนหยอนใจ และเหตุผลดานธุรกิจ คือ BTI, Amex, FCM และ Carlson Wagonlit 11. จุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยวที่แตกตางกันระหวาง FIT และ Package จากการศึก ษาของ ACNielsen ได ทําการเปรี ยบเทีย บระหวางการเดิน ทางแบบ FIT และ Package Tour พบวา 1. นัก ทองเที่ยวอินเดียแบบ FIT สว นใหญ จะเดินทางไปยุโรปและอเมริก ามากกวา โดย เฉพาะอเมริกาเหนือ เนื่องจากการมีสมาชิกของคนในครอบครัว และเพื่อนที่อาศัยอยูเปนจํานวนมาก 2. สว นการท องเที่ ยวในภู มิภ าคเอเชีย มัก จะเดินทางแบบ FIT แตสํ าหรับ นัก ทอ งเที่ย ว อิน เดี ยที่เดินทางเปนครั้งแรกจะเลือกทองเที่ยวแบบแพ็ ค เกจทัว ร จากความกังวลในการสรรหา อาหารอินเดีย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 10


ตาราง 6 FIT trips VS package tours (%) Destination region

Package tour

FIT trip

Asia

41

59

Australia

58

42

Europe

33

67

Americas

32

68

Africa

57

43

12. กลุมประชากรอินเดียที่ไมเคยเดินทางออกนอกประเทศ จากการสํารวจของ ACNielsen พบวา 1. ไมเคยเดินทางไปตางประเทศ มีสัดสวนสูงถึงรอยละ 67 2. เดินทางไปตางประเทศโดยเฉลี่ย 2 ครั้งตอป สัดสวนรอยละ 8 3. เดินทางไปตางประเทศ 3 ครั้งหรือมากกวาในรอบ 2 ป สัดสวนรอยละ 4 ตาราง 7 ขนาดตลาดนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศและความถี่ในการเดิน ทางทองเที่ยว Propensity Never travel abroad

% 66.5

Travel abroad: Once every two years

21

Twice every two years

8

Three times every two years

2

More than four times every two years

2

No response

0.5

แหลงที่มา : Indian Outbound Traveler’s Study 2005, ACNielsen 13. นักทองเที่ยวอินเดียเดินทางออกนอกประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นสูง ในป 2007 จากขอมูล News Release ในงาน ITB2008 ณ ประเทศเยอรมนี นักทองเที่ยวอินเดียเดินทาง ออกนอกประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงและรวดเร็ว ในป 2007 มาจากปจจัยหลักทางดานการขยายตัว ทางดานเศรษฐกิจและความเจริญของประเทศ และพบวารายจายของนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางไป ภูมิภาคตางๆ ทั่วโลกเพิ่มขึ้นจาก 1 พันลานดอลลารสหรัฐ เมื่อทศวรรษที่แลว มาเปน 7.4 พันลาน ดอลลารสหรัฐ ในป 2007 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในดานจํานวน และการใชจายหากเปรียบเทียบ กับป 2006 โดยมีการนําเสนอขอมูลเบื้องตนของป 2007 สรุปไดดังนี้ e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 11


ยุโรป นักทองเที่ยวอินเดียเดินทางไปสหราชอาณาจักรมีจํานวนมากขึ้น และมีระยะเวลา พํานัก ที่นานขึ้น มีก ารใชจายมากกวานัก ทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางในประเทศญี่ปุนถึงรอยละ 40 นอกจากนี้ยังมีการขยายตัวดานจํานวนเพิ่มขึ้นในอีกหลายประเทศ เชน สเปน เพิ่มขึ้นรอยละ 1015 อิตาลี เพิ่มขึ้นรอยละ 25-30 สวิตเซอรแลนด เพิ่มขึ้นรอยละ 15 อียิปต เพิ่มขึ้นรอยละ 50 เยอรมัน เพิ่มขึ้นมากสูงโดยเฉพาะที่เมืองมิวนิคถึงรอยละ 66.8 เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา เอเชียและโอเชียเนีย นักทองเที่ยวอินเดียเดินทางเขาสิงคโปรมากเปนอันดับ 4 ของนักทอง เที่ยวตางชาติที่เขาสิงคโปรทั้งหมด และยังขยายตัวเพิ่มขึ้นในอีกหลายแหง เชน มาเกา เพิ่มขึ้นรอยละ 55 ฟลิปปนส เพิ่ม ขึ้น รอยละ 25 ประเทศไทย เพิ่ม ขึ้นรอยละ 14.2 ในชวง 7 เดือนของป 2007 ฮองกง มีจํานวน 268,393 คน ในชวง 10 เดือนของป 2007 และออสเตรเลีย เพิ่มขึ้นรอยละ 10 ในชวง 11 เดือนแรกของป 2007 เปนตน ซึ่งนาจะเปนไปตามแนวโนมการคาดการณนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ ของ PATA Forecast 2007-2009 รายละเอียดดังตาราง 8 ตาราง 8 ประมาณการณจํานวนนักทองเที่ยวอินเดียที่เดินทางออกนอกประเทศ ป 20072009 Market

2005

2007

2008

2009

Americas Canada

156,000

184,162

201,327

217,442

USA

618,000

824,311

870,216

901,602

774,000

1,008,473

1,071,543

1,119,044

Total Americas

Europe Austria

27,187

35,709

36,614

39,813

Belgium

25,596

28,714

30,412

33,715

Denmark

20,170

24,396

26,916

28,974

France

151,000

193,641

194,213

198,611

Germany

129,000

172,384

183,910

194,644

Italy

70,112

85,211

94,102

101,213

Spain

45,247

52,588

56,417

60,371

Sweden

28,799

39,455

44,832

49,164

Switzerland

34,311

42,605

44,813

47,520

647,000

774,136

836,919

892,813

1,178,422

1,448,839

1,549,148

1,646,838

UK Total Europe

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 12


Market

2005

2007

2008

2009

Asia Pacific Australia

96,000

118,321

122,614

126,911

102,000

123,644

135,014

141,720

Korea (ROK)

49,895

69,211

75,479

83,266

Malaysia

98,000

119,533

126,422

132,714

Nepal

77,024

90,326

94,650

97,311

New Zealand

20,463

25,842

27,651

29,322

Singapore

71,000

98,452

112,930

118,520

Sri Lanka

137,000

155,213

163,096

170,294

Thailand

41,978

60,271

68,391

71,073

693,360

860,813

926,247

971,131

1,269,063

1,427,310

1,521,697

1,622,374

3,914,845

4,745,435

5,068,635

5,359,387

Japan

Total Asia Pacific Other Countries TOTAL

WINNING OVER THE INDIAN CONSUMER จากการศึกษาในตลาดทองเที่ยวของอินเดีย และศักยภาพของตลาดพบวาตลาดอินเดียมี แนวโนมที่จะเติบโตดีขึ้นมาก ถึงแมวาจะมีความแตกตาง กันของตัวเลขที่แทจริงและที่คาดการณ ในแหลงขอมูลที่ ตางกันบอยครั้ง ซึ่งสิ่งนี้ทําใหเปนการยากที่จะรูถึงความ ตองการของตลาดและกลยุทธที่จะตองใชกับนักทองเที่ยว ตลาดนี้ ในอนาคต แตค วามต องการของนั ก ทอ งเที่ ย ว อินเดียมักจะไมไดรับผลกระทบจากปจจัยลบภายนอกที่ อยูนอกเหนือจากการควบคุมของอุตสาหกรรมทองเที่ยว สวนการจองทัวรผานระบบออนไลนที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นสูง มากนั้นจะได รับสว นแบงตลาดเท ากั บรายไดของระบบ ชองทางจําหนายแบบเกา แตผูประกอบการจําเปนที่จะ ตองรูเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของตลาด นอกจากนี้นัก ทองเที่ยวอินเดียเปนคนที่ละเอียดละออและอาจจะจูจี้เกิน ไปในบางครั้ง รวมทั้ งพิ ถีพิ ถันเกี่ยวกั บการโภชนาการ และเปนคนที่มีความเชื่อมั่นวาเขาตองไดในสิ่งที่พวกเขา ตองการ จึงทําใหผูประกอบการบางแหงไมเปดรับตลาด นี้ดวยดีเทาที่ควร

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 13


Source: · · · · ·

Tourism India by PATA 2007 UNWTO Barometer, January 2007 PATA Forecast 2007-2009 News Release -India Outbound 2008 at ITB Germany โครงการศึกษาพฤติกรรมนักทองเที่ยวอินเดีย ป 2549 ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 14


การทองเที่ยวมาเลเซีย (ตอนที่ 1) โศรยา หอมชื่น1 นางสาวพรพิมล เห็นแกว2

“Malaysia Truly Asia“ กลายเปนสโลแกนที่ใคร ๆก็รูจัก และนับวาประเทศมาเลเซียประสบ ความสําเร็จคอนขางมากในการรณรงคสงเสริมการทองเที่ยว ในป 2550 ที่ผานมารัฐบาลมาเลเซีย ก็กําหนดใหเปนปการทองเที่ยวมาเลเซียเพื่อรวมเฉลิมฉลองการไดรับเอกราชครบ 50 ปของประเทศ และยังขยายระยะเวลาของปทองเที่ยวมาเลเซียมาจนถึงเดือนกรกฎาคม 2551 อีกดวย ความสําเร็จ ของการทองเที่ยวมาเลเซียในป 2551 ที่ผานมาเห็นไดจากจํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศที่เดินทาง เขาประเทศมาเลเซียถึงประมาณ 20.5 ลานคน เพิ่มขึ้นถึง 19 % เมื่อเทียบกับป 2549 สรางรายได เขาประเทศถึง 46.7 พันลานริงกิต โดยนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาเลเซียสูงที่สุด 5 อันดับแรกไดแก สิงคโปร อินโดนีเซีย ไทย บรูไน และจีน ความสําเร็จของการทองเที่ยวมาเลเซียในชวงที่ผานมาจึงเปน สิ่งที่นาศึกษา และขอมูลที่จะนําเสนอตอไปนี้เปนสาระสําคัญที่สรุปจากแผนการสงเสริมการทองเที่ยว ของประเทศมาเลเซียในชวงป 2548 – 2550

การทองเที่ยวโลก หลังจากการเติบโตดานการทองเที่ยวระหวางประเทศชะลอตัวเปนเวลา 3 ป ก็เริ่มฟนตัวใน ป 2547 จากขอมูลของ UNWTO-องคการทองเที่ยวโลก (World Tourism Organization) นักทองเทีย่ ว ระหวางประเทศมีจํานวนประมาณ 760 ลานคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2003 ถึง 20 % ภูมิภาคที่เติบโต มากที่สุดคือ เอเชียและแปซิฟก (+29%) มีนักทองเที่ยวเดินทางเขาประมาณ 154 ลานคน รองลงมา คือ เอเชียตะวันตก (+20%) อเมริกา (+10%) แอฟริกา (+7%) และยุโรป (+4%) ป 2004 เปนเวลา ที่ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟกฟนตัวจากผลกระทบของโรคซาร โดยแหลงทองเที่ยวในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงเหนือและเอเชียแปซิฟกฟนตัวอยางแข็งแกรง สงผลใหมีนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นประมาณ 30% 1

หัวหนางานวิชาการ กองวิจัยการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

2

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร ป4 วิชาเอกภาษาอังกฤษ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางรวดเร็วทั้งในตลาดการทองเที่ยวและสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของ เชน เศรษฐกิจ การรักษาความปลอดภัย สุขภาพและการอนุรักษทรัพยากร มีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ของสายการบินตนทุนต่ํา และแพ็คเก็จแบบ “do-it-yourself” ซึ่งจัดในระบบของอินเตอรเน็ต การเติบโตในระยะยาวของความตองการที่เฉพาะเจาะจงสําหรับสินคาที่เนนสรางประสบ การณที่นาประทับใจแกนักทองเที่ยว และการแขงขัน โดยเฉพาะการทองเที่ยวตากอากาศ (หาดทราย สายลม แสงแดด) ซึ่ ง คาดว า ในป 2010 จะมี ป ริ ม าณนั ก ท อ งเที่ ย วที่ เพิ่ ม ขึ้ น DMO (Destination Management / Marketing Organizations - หนวยงานดานการทองเที่ยว) ของแตละภูมิภาคจําเปนตอง สรางโครงสรางและวิธีการดําเนินการใหม ทั้งนี้ DMO ควรมีความเขาใจตลาดและวิถีทางในการวาง เปามาย, จุดขายที่มีความพิเศษ (Unique Selling Points), กลุมตลาดเปาหมาย และกระบวนการใชจาย ของนักทองเที่ยวตลอดจนวิธีการจูงใจนักทองเที่ยว

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวมาเลเซีย

ในป 2004 นัก ทองเที่ยวเดินทางเขาประเทศมาเลเซียเดือนละไมต่ํากวา 1.2 ลานคน และ ตลอดทั้งปมีนักทองเที่ยวเดินทางเขาประเทศมาเลเซีย 15.7 ลานคน สูงสุดเปนประวัติการณและสูง กวาเปาหมายที่กําหนดไว ในปจจุบันอุตสาหกรรมการทองเที่ยวขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ มาเลเซีย ซึ่งรายไดจากการทองเที่ยวสูงเปนอันดับที่ 2 รัฐบาลเห็นความสําคัญของอุตสาหกรรมทอง เที่ย วจึ งได จัด ตั้ง กระทรวงใหม เพื่ อดู แ ลดานอุต สาหกรรมการทอ งเที่ ยวในเดื อนมีน าคม 2004 สําหรับการจัดการอุตสาหกรรมนี้ คณะรัฐมนตรีตองใหความเห็นชอบนโยบายดานการทองเที่ยว และแยกวัฒนธรรมและศิลปะออกจากการทองเที่ยวสงผลใหความพยายามในการสงเสริมการทอง เที่ยวจะมีแนวโนมการจัดกิจกรรมดานแฟชั่นเปนสําคัญ

คาดการณในอนาคต ในอนาคต องคการทองเที่ยวโลกคาดการณวา การเติบโตของการทองเที่ยวระหวางประเทศจะเพิ่มขึ้น 4 %ตอป โดยการทองเที่ยวเพื่อพักผอนหยอนใจจะยังคงเติบโตอยางตอเนื่องตอไปและการทองเที่ยว เพื่อธุรกิจจะฟนตัว ทั้งนี้ตั้งอยูบนพื้นฐานการเติบโตทางเศรษฐกิจที่เขมแข็งทั้งในตลาดเกาและตลาด ใหม โดยอั ต ราเงิน เฟ ออยูใ นระดั บ ที่ค วบคุ ม ได ส ว นราคาน้ํามั นที่ ป รับ ตั ว สูง ขึ้น เปน ป จจัย ที่ค วร ตระหนัก แต ณ ขณะนี้ยังไมเกิดผลกระทบตอการทองเที่ยวที่เดนชัด ปจจุบันการทองเที่ยวระหวาง ประเทศทั่วโลกเติบโตขึ้นตามเปาหมายทีU่ NWTO คาดการณหรือดีกวานั้นเล็กนอยคือประมาณ 4% e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


ตอป ทั้งนี้ผลกระทบจากสถานการณตางๆทั่วโลกนั้นมีผลตอความกาวหนาและการเติบโตของธุรกิจ ทองเที่ยว

ดานการเมือง การสรางความวุนวายของกลุมกอการรายและการสูรบในประเทศอิรักมีผลตอการเปลี่ยน แปลงของโลก การเปลี่ยนแปลงผูนําทางการเมืองและเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้น รวมทั้งเหตุก ารณ ความขัดแยงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทยที่ยืดเยื้อเปนเวลามากวา 10 ปและรุนแรง ขึ้นในระยะหลังนี้ก็สรางผลกระทบตอการทองเที่ยวของประเทศมาเลเซีย

เศรษฐกิจ นับตั้งแตประเทศจีนนําผลิตภัณฑเขาสูร ะบบเศรษฐกิจโลกและกลายเปนผูมีอิทธิพลทางดาน เศรษฐกิจ ในปจจุบัน จีนเป นผูสงออกอันดับ 4 และผูนําเขาที่ใหญ ที่สุดของโลก การที่ จีนเขาเป น สมาชิกองคการการคาโลก (WTO) เปนเรื่องสําคัญเชิงยุทธศาสตร ในป 2004 เศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตเติบโตมากขึ้น เชน ประเทศสิงคโปร 7.5% ประเทศมาเลเซีย 6.8% ประเทศฟ ลิปปนส 6.6% ประเทศไทย 6.0% และประเทศอินโดนีเซีย 5.0% มุม มองทางเศรษฐกิจดานบวก สะทอนสภาพเศรษฐกิจทั่วโลกที่นาพอใจ โดยมีการขยายตัว ของจีนและการเติบโตของเศรษฐกิจใน สหรัฐอเมริกาและญี่ปุนเปนเครื่องสนับสนุนรวมทั้งสถานการณทางการเงินและสถานการณภายใน ประเทศที่อยูในภูมิภาคซึ่งปรับตัวดีขึ้น

สุขภาพ สถานการณโรคไขหวัดนก โรคซาร และมลพิษกอใหเกิดความเสียหายตอการทองเที่ยว การ ตอบสนองตอการเกิดโรคระบาดเมื่อครั้งลาสุดนี้แสดงใหเห็นวาผูมีอํานาจหนาที่ทําการแกไขปญหา อยางฉับไวและมีการรวมมือระหวางรัฐบาลภายในภูมิภาค

การเขาถึงทางอากาศ การโจมตีตึก World Trade Centre, สงครามในอัฟ กานิสถานและอิรัก , การระบาดของโรค ซาร, Avian Flu และราคาน้ํามันที่เพิ่มสูงขึ้น ลวนเปนเหตุใหสายการบินขาดทุนสะสมสุทธิในชวง 3 ป แตมีการคาดการณวาการเดินทางทางอากาศจะไดรับความนิยมมากขึ้นโดยเฉพาะในเอเชีย การเดิน ทางของผูโดยสารในสายการบินของเอเชียตะวันตกซึ่งสรางกําไรมากที่สุดเติบโตถึง 29.1% อันดับ รองลงมาคือ เอเชีย-แปซิฟก (25.3%) อเมริกาเหนือ (16.6%) และยุโรป (11.3%) ในชวง 9 เดือน แรกของป 2004 การเดินทางทางอากาศในประเทศมาเลเซียเพิ่ม ขึ้นจากการที่สายการบินหลัก ๆ รวมทั้ ง สายการบิ น ต น ทุ น ต่ํ าเป ด ให บ ริ ก ารทั้ ง ระยะไกลและภายในภู มิ ภ าค อาทิ Lufthansa,Qatar Airways, Air Asia และ Value Air แตราคาก็คอนขางสูง e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


สายการบินตนทุนต่ํา (LCC) ในชวงหลายปที่ผานมา ภูมิภาคเอเชียเติบโตมากขณะที่สายการบินตนทุนต่ําแขงขันเพื่อเปด บริการและการกําหนดเสนทางใหม สายการบินตนทุนต่ํานี้ใหบริการในภูมิภาคเอเชีย แตขณะนี้มาเล เซียมีกระบวนการขนสงตนทุนต่ําและพยายามเดินทางขามแปซิฟก โดยสงเสริมตลาดเอเชียตะวันออก อเมริกาเหนือและการเขาสูพื้นแผนดินหลังฝงทะเลของประเทศจีน ซึ่งเปนความทาทายสําหรับสาย การบินใหญ ๆ เชน แควนตัส และคาเธย แตก็ยังคงเปนปญ หาของบางตลาด จีนกําลังเปนตลาด สําหรับการพัฒนาสายการบินตนทุนต่ําภายใน 2 ป ในขณะที่กฎเกณฑการบินผอนปรนมากขึ้นและ ความตองการใชสายการบินนั้นสูงขึ้น โดยที่สายการบินหลักใหบริการอยางเต็มรูปแบบก็ตอสูดาน แผนการตัดราคาและนวัตกรรมใหมๆบนเครื่องบิน เชน การเสี่ยงโชคและบริก ารอินเตอรเน็ตบน เครื่องบิน

การแขงขันที่สูงขึ้น มีการแขงขันของประเทศตางๆที่เปนจุดหมายปลายทางเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวเขาประเทศ มากขึ้น กลุมประเทศ GCC ลดการผลิตน้ํามันเพื่อสรางความหลากหลายทางเศรษฐกิจผานการทอง เที่ยว ดิสนียแ ลนดในเกาะฮองกง คาสิโนและการลองเรือในประเทศสิงคโปร คือ ตัวอยางของสิ่งที่ กําลังเขามาแขงขัน จุดหมายปลายทางที่แขงขันเพื่อดึงดูดตลาดยุโรปคือ มัลดีฟ, ไซปรัส อียิปต และ แอฟริกาเหนือ กิจกรรมระดับโลก เชน World Expo 2005ที่ประเทศญี่ปุน, World cup Soccer 2006 ที่ เยอรมนีลวนเปนกิจกรรมที่ดึงนักทองเที่ยวไปจากมาเลเซีย

ภายในประเทศมาเลเซีย มาตรฐานในการกําหนดราคาแพ็คเก็จทัวรยังคงสูงและการบริการทองเที่ยวยังไมเพียงพอ ทั้งเรื่องที่นั่งบนเครื่องบินไมเพียงพอและการขาดแคลนหองพัก ในชว งวันหยุดในแหลงทองเที่ยว มาตรการลดขอจํากัดควรประกอบดวยการลงทุนในผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเพื่อใหอุตสาหกรรมทอง เที่ยวขับเคลื่อนไปในระดับสูงขึ้น

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


แนวทางและความเขาใจในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม

การเปลี่ยนความนิยมของตลาดเอเชียตะวันตกนั้นเนื่องมาจากความนาสนใจในการเดินทาง ทองเที่ยวในทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาลดลงเพราะความรูสึกเปนปฏิปกษตอโลกอาหรับ นอกจากนี้ คนในอเมริกาเหนือเคยประสบกับภาวะการทองเที่ยวเปนอัมพาตและความกลัวอีกทั้งความมั่นใจใน การเดินทางลดลง หรือที่เรียกวา “wait-and-see travelers” อีกทั้งการตรวจสอบกระเปาเดินทางเพิ่ม ความยุงยากมากขึ้น แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของนักทองเที่ยวที่จัดการเดินทางเอง (FITs) ในญี่ปุน เพิ่มสูงขึ้น บริษัทนําเที่ยวรายใหญมีสวนสําคัญและนักทองเที่ยวมีความตองการที่เฉพาะตัวมากขึ้น ซึ่งเปนการพัฒนาที่สมเหตุสมผลสําหรับสังคมที่มีความซับซอนเพิ่มขึ้น

ตลาดชาวมุสลิม หลังเหตุการณ 9/11 ทําใหมองเห็นศักยภาพของตลาดมุสลิมมากยิ่งขึ้น ชาวมุสลิมทั่วโลก ประมาณกวา 1 พันลานคนมิไดจํากัดอยูในพื้นที่ทางภูมิศาสตรเพียงจุดเดียว ความตองการของนัก ทองเที่ยวมิใชเพื่อคนหาแหลงทองเที่ยวที่ผอนคลายและเปนมิตรแตยังตองการประสบการณที่ศาสนา เปนเหมือนรูปแบบการดําเนินชีวิต

การสรางเครือขาย ปจจุบันนี้ความกดดันในการสรางเครือขายมาตรฐานเพิ่มมากขึ้นซึ่งเราไมมีทางเลือกนอก จากตองปฏิบัติตาม จํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาในอาเซียนเพิ่มมากขึ้น ทําใหความจําเปนที่จะ ทําใหระบบเครือขายอาเซียนเปนไปไดจริง ซึ่งจะทําใหประเทศตางๆในภูมิภาคเชื่อมโยงและกําหนดสิน คาและบริการเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว มีความจําเปนที่ตองศึกษาวิจัยกําหนดกรอบการพัฒนามาตร ฐานรวมกัน โดยนอกจากกรอบอาเซียนแลวมาเลเซียยังมีความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ไดแก สิงคโปรและไทยดวย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


เหตุการณวิกฤต เห็นไดชัดวาเหตุวิกฤตมักเกิดขึ้นในชวงปลายปของทุกป เชนเมื่อปลายป 2004 เปลือกโลก เคลื่อนตัว ทําใหเกิดสึนามิมีผูเสียชีวิตกวา 227,000 คน เปนหายนะครั้งสําคัญ อุตสาหกรรมทอง เที่ยวเปนเพียงสวนหนึ่งที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณนี้และมีการตอบสนองตอเหตุการณชา ดังนั้น จึงจําเปนตองมีระบบการจัดการกับวิกฤตและมีการฝกเพื่อประเมินมาตรการและระยะเวลาการตอบ สนองเพื่อเตรียมพรอมในการรับมือกับวิกฤตทีอ่ าจเกิดขึ้นในอนาคต

ประเด็นที่เกี่ยวของกับการเติบโตของอุตสาหกรรมทองเที่ยวของมาเลเซีย 1. การยอมรับความสําคัญ ของอุ ตสาหกรรมทอ งเที่ ยวที่มี ผ ลตอการเจริญ เติ บโตด าน เศรษฐกิจของประเทศผานเงินตราตางประเทศจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติและโอกาสในการจางงาน 2. การจัดการความเติบโตของการทองเที่ยวอยางเปนระบบ พิจารณาจากความตองการ และความพึงพอใจของนักทองเที่ยว 3. การสรางแบรนดของประเทศมาเลเซียโดยมุงสงเสริมตลาดตางประเทศเปนหลัก 4. การเจรจาและขยายชองทางการบินระหวางประเทศสูม าเลเซียผานศูนยกลางการบิน ตางๆ 5. การเพิ่มการใชเทคโนโลยีใหมๆใหเปนประโยชนในธุรกิจทองเที่ยว 6. การอนุรักษสิ่งแวดลอมผานการทองเที่ยวเชิงนิเวศและการพัฒนาอยางยั่งยืน 7. ยุทธวิธีการสรางสัมพันธไมตรีระหวางกลุมพันธมิตรทางการคาและกลุมการทองเที่ยว ในภูมิภาค เพื่อสรางผลกําไรรวมกัน 8. การพัฒนาแนวความคิดที่เปนประโยชนตอวัฒนธรรมมาเลเซียสําหรับนักทองเที่ยวใน ประเทศ ประเด็นเหลานี้มีผลกระทบตอยุทธวิธีของการทองเที่ยวมาเลเซียทั้งตลาดในประเทศและตาง ประเทศ ในการจัดลําดับความสําคัญสําหรับการทองเที่ยวมาเลเซียในอีก 3 ปขางหนา ดังนี้ 1. การกระตุนใหนักทองเที่ยวจากตลาดหลักขยายระยะพํานักในมาเลเซีย 2. การสรางความหลากหลายของตลาดนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาเลเซียโดยเพิ่ม สว น แบงของตลาดยุโรปและออสเตรเลีย ลดการพึ่งพาตลาดในภูมิภาค เชน สิงคโปรและประเทศไทย 3. ใชประโยชนจากความสําเร็จในการรณรงค “Malaysia Truly Asia (MTA)” เพื่อสราง subbrands สงเสริมตลาดตางประเทศและขยายภาพลักษณประเทศมาเลเซียใหเปนจุดหมายปลายทางที่ นักทองเที่ยวนึกถึงอันดับแรก ขณะเดียวกันการสรางความแข็งแกรงของแบรนดสําหรับตลาดภายใน ประเทศก็เปนสิ่งตองทําเพื่อใหมีการยอมรับมากขึ้น

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 6


4. การเปลี่ยนแปลงความสนใจในการทองเที่ยวมาเลเซียใหเปนการเดินทางจริงผานกลวิธี การโฆษณาโปรแกรมตางๆ โดยรวมมือกับอุตสาหกรรมทองเที่ยวเพื่อสนับสนุนขอมูลใหแกผูบริโภค 5. การเพิ่มความแข็งแกรงในการมีสวนรวมในตลาดใหมที่เติบโต ตลาดใหม – อินโดจีน, อิหราน, กลุมประเทศ CIS (Common of Independent States) และอาฟริกาเหนือ สินคาทางการทองเที่ยวใหม – การทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงเกษตร, การลองเรือ, กีฬา, การศึกษา, การผจญภัย, วัฒนธรรม, lifestyle, การทองเที่ยวเชิงสุขภาพและการบําบัดโรค กลุมตลาดใหม – ผูพํานักระยะยาวในมาเลเซีย, นักศึกษา, คูฮันนีมูน 6. กิจกรรมเดน เชน F1 Grand Prix Le Tour de Langkawi, Formula One Powerboat, World Championship และเหตุการณสําคัญระดับโลกที่เสริมภาพลักษณของมาเลเซียในฐานะที่เปนเปาหมายที่ นาพึงพอใจในชวงวันหยุด 7. การกําหนดและการสงเสริม ประเทศมาเลเซียใหเปนสถานที่พ บปะทางธุรกิจ การทอง เที่ยวเพื่อเปนรางวัล การประชุมและนิทรรศการ โดยมีกลุมเปาหมาย คือ สมาคมและบริษัทขามชาติที่ สนใจจัดประชุมในมาเลเซีย (MICE) 8. พัฒนายุทธวิธีในการสรางพันธมิตรใหสงผลดีกับหุนสวนอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เพื่อเพิ่มการสงเสริมประเทศมาเลเซียในระดับนานาชาติ 9. สรางความมั่นใจวาผลประโยชนดานเศรษฐกิจและรายไดที่มาจากการทองเที่ยวระหวาง ประเทศกระจายไปอยางทั่วถึง โดยสงเสริมการทองเที่ยวนอกเหนือจากเมืองสําคัญและภูมิภาคที่นัก ทองเที่ยวนิยม

วัตถุประสงคของคณะกรรมการสงเสริมการทองเที่ยวมาเลเซีย (MTPB) มีดังนี้ 1. เพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ 2. เพิ่มวันพักเฉลี่ยของนักทองเที่ยวและเพิ่มรายไดจากการทองเที่ยว 3. สงเสริมการเติบโตของการทองเที่ยวในประเทศ 4. เพิ่มสวนแบงการตลาดดานการประชุม

หนาที่ของคณะกรรมการสงเสริมการทองเที่ยวมาเลเซีย 1. กระตุนและสงเสริมการทองเที่ยวทั้งจากตางประเทศและภายในประเทศ 2. กระตุน สงเสริมและทําการตลาดใหกับประเทศมาเลเซียทั้งในฐานะของการเปนแหลงทอง เที่ยวของนักทองเที่ยวภายในประเทศและตางประเทศ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 7


3. ประสานงานดานการตลาดและกิจกรรมสงเสริม การทองเที่ยวที่ดําเนินการโดยรัฐบาล และเอกชน 4. ใหคําแนะนําตอรัฐมนตรีในสว นของมาตรการหรือวิธีการเพื่ออํานวยความสะดวกและ ประเมินความกาวหนาในการสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของประเทศมาเลเซีย พันธกิจของการทองเที่ยวมาเลเซียคือ “ดําเนินการทางการตลาดใหประเทศมาเลเซีย เปนจุดหมายปลายทางชั้นนําและทําใหอุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนสวนสําคัญในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ” พันธกิจดังกลาวทําใหสามารถกําหนดแนวทางที่จะบรรลุวัตถุ ประสงค ดังนี้ 1. เพื่อกําหนดกลยุทธขอบขายงานสําหรับการทองเที่ยวมาเลเซียในการดําเนินโครงการ ตางๆทั้งในประเทศและตางประเทศ 2. เพื่อสื่อสารแผนกลยุทธไปยังพันธมิตรที่สนใจ เชน รัฐบาลกลาง รัฐบาลและหนวยราช การของแตละรัฐ ผูประกอบการในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและประชาชนทั่วไป

วิเคราะหความสําเร็จ ในป 2004 มีนักทองเที่ยวเดินทางเขามาเลเซีย 15.70 ลานคน นักทองเที่ยวภายในภูมิภาค (สิงคโปร, ไทย, อินโดนีเซีย, บรูไน) มีจํานวนเพิ่มขึ้น โดยสิงคโปรเปนอันดับ 1 คือ 9.5 ลานคน และ ตลาดจีนเปนตลาดใหมที่กําลังพัฒนาเปนตลาดหลักของมาเลเซีย และในปเดียวกันนักทองเที่ยวจาก ภูมิภาคเอเชียมีสัดสวน 89.7% ยุโรป 3.4% อเมริกา 1.7% หมูเกาะแปซิฟก 1.7% แอฟริกา 0.9% ทั้งนี้ตลาดจีนมีการเติบโตถึง 56.9%

จุดมุงหมาย เปาหมายในป 2007 คาดวานักทองเที่ยวจะเดินทางทองเที่ยวในมาเลเซีย จํานวน 19.09 ลานคน ป 2008 จํานวน 20.27 ลานคน ป 2009 จํานวน 21.67 ลานคน และป 2010 จํานวน 23 ลานคนมีอัตราการเติบโตในชวง 3.4% - 4.2% นักทองเที่ยวในภูมิภาคมีสัดสวนที่สูงกวานักทอง เที่ยวระยะไกลโดยมีสัดสว นถึง 80:20 ทั้งนี้ก ารสงเสริม นัก ท องเที่ยวในภูมิ ภาคนั้น นัก ทองเที่ย ว คุณภาพ มีระยะพํานักนานขึ้น และมีความจําเปนที่จะตองฟนฟูตลาดระยะไกลใหมีจํานวนเพิ่มขึน้ เพือ่ ให เกิดรายไดสูงขึ้น

ปจจัยในการตัดสินใจ 1. ความปลอดภัยดานสุขภาพ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงดานธุรกิจทองเที่ยว 2. ผลกระทบจากการใชเวลาพักผอนอยางมีความสุขกับครอบครัวที่บาน เนื่องจากความ วิตกเรื่องการกอการราย และเศรษฐกิจที่ชะลอตัวรวมทั้งการเพิ่มจํานวนสายการบินตนทุนต่ํา e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 8


3. ปจจัยการเปนพลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและเปนจุดหมายปลายทางการทองเที่ยวที่ โดดเดนของจีน โดยมีอินเดียเปนอันดับตอมา ภูมิภาคใหมที่นาจับตามอง คือ เอเชียตะวันตกและอินโด จีน 4. การทองเที่ยวทางบกโดยรถยนตและรถไฟเริ่มมีความสําคัญเพิ่ม ขึ้นเปนสวนเสริม การ เดิ นทางทางอากาศ ซึ่งเป นผลจากการพัฒ นาโครงสรางพื้น ฐานเพื่ อประโยชน ทางเศรษฐกิ จและ อํานวยความสะดวกในการเดินทาง 5. ความมั่นใจในการเดินทางถูกคุกคามจากการกอการรายและโรคระบาด แตใชเวลาในการ ฟนตัวไมนานนัก เนื่องจากนักเดินทางเริ่มคุนเคยกับโลกที่ไมปลอดภัย 6. การสรางแบรนดเปนสิ่งสําคัญและควรเนนการยอมรับของคนในองคกรเปนหลัก 7. การเติบโตของเศรษฐกิจอาเซียนขึ้นอยูกับประเทศจีนและอินเดีย ซึ่งในอนาคตการเติบโต ของจีนลดลงแตอินเดียเพิ่มขึ้น 8. สายการบินตนทุนต่ํามีจํานวนเพิ่ มขึ้น อีกทั้งการแขงขันจะรุนแรงขึ้น ระยะเวลาบินจะ ขยายจาก 3 ชั่วโมงในหลายเสนทาง อีกทั้งบริการการบินและผลิตภัณฑอื่นๆจะขยายวงกวางมากขึ้น 9. เงินดอลลารจะออนคาแตเงินยูโรแข็งคา เงินบางสกุล จะถูกกระตุนใหกลับมาแข็งคาอีก ครั้ง 10. ปญหาวีซายังคงมีอยู ซึ่งปญหานี้เปนปญหาในทุกระดับ 11. ในดานเทคโนโลยีที่มีความสะดวกมากขึ้น เชน การจองบริการตางๆโดยใชอินเตอรเน็ต และการใช Smart card ในการเดินทางผานดานชายแดน 12. ราคาเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นทําใหผลกําไรลดลง ซึ่งผลกระทบจะเกิดกับภาคการขนสงทาง อากาศเปนหลักหากราคาน้ํามันดิบยังสูงขึ้น

«««««««««««« *** ที่มาจาก Tourism Malaysia Promotional plan

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 9


นวัตกรรมการทองเที่ยว ดร.วไลลัก ษณ นอ ยพยัคฆ1

คนไทยสวนใหญอาจยังไมคอยคุนเคยกับเรื่องนวัตกรรม หลายคนคิดวาเปนเรื่องไกลตัวไม เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน บางคนคิดวาจะเกี่ยวกับเทคโนโลยีดานการสื่อสารหรืออาจเกี่ยวกับพันธุ วิศวกรรมมากกวาเพราะเปนเรื่องใหมทางวิทยาศาสตรการแพทย ความจริงแลวนวัตกรรมมีความ หมายมากกว านั้ น นวั ต กรรมในนิ ย ามทางเศรษฐศาสตร ห มายรวมไปถึ ง รูปแบบหรื อสิ น ค า 5 ประการ ไดแก สินคาใหม วิธีการใหมในการผลิตสินคา การเปดตลาดสินคาใหม การไดมาเพื่อแหลง วัตถุดิบใหม และการดําเนินการองคกรในรูปแบบใหม (Schumpeter, 1934) นวัตกรรมยังเปนเรื่อง เกี่ ยวกั บการนําความคิ ดใหม มาแปลงเปนสินคา กระบวนการ หรือ การบริการที่ส รางมู ล คาเพิ่ ม อยางไรก็ตามนวัตกรรมเกี่ยวของโดยตรงกับความคิดสรางสรรค แตความคิดสร างสรรค อยาง เดียวไมสามารถแปลงมาเปนนวัตกรรมได นวัตกรรมยัง ตองอาศัยสวนประกอบอื่นๆ เพื่อทําความ คิดนั้นใหเป นสินคา กระบวนการผลิ ต และการบริการรูปแบบใหม (Amabile et al., 1996) รวมทั้ ง การสรางองคความรูใหม และการเผยแพรความรูอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงไมจําเปนเสมอไปที่ นวัตกรรมเปนเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพราะสวนมากแลวนวัตกรรมเปนการสรางกระบวนการแบบ ใหมหรือพัฒนาใหดีขึ้น

นวัตกรรม แบงเปน 2 ประเภท (Tuschman and Anderson, 1986) ไดแก 1. นวัตกรรมที่สรางความเปลี่ยนแปลงจากเดิมโดยสิ้นเชิง (Breakthrough Innovation) สวนใหญนวัตกรรมประเภทนี้จะใชเทคโนโลยีแบบใหมและสรางตลาดใหม ซึ่งเปนผลจากการ ทํางานของนักวิจัยหรือหนวยงานวิจัยและพัฒนา (R & D) อาทิ ประดิษฐกรรมรถยนตไดสรางตลาด ผูใชรถยนต ในชวงตนศตวรรษที่ 20 รถยนตไดเขามาแทนที่ตลาดผูใชรถไฟหรือรถมา โธมัส เอดิสนั

1

ผูอํานวยการสํานักงาน กรุงโซล การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 1


ไดประดิษฐหลอดไฟฟาขึ้นมาเพื่อใชแทนตะเกียงน้ํามัน กลองถายรูปดิจติ ลั ไดทาํ ใหตลาดฟลม ถายรูปมี มูลคาลดลงอยางรวดเร็ว 2. นวัตกรรมสวนเพิ่ม (Incremental Innovation) เปนการพัฒนาตอยอดจากนวัตกรรมที่มีอยูแลว และมีการเปลี่ยนแปลงเล็กนอยแบบคอย เปนคอยไปเพื่อเพิ่มมูลคาของสินคา ตัวอยางเชน บริษัท ยิลเลตต ผลิตใบมีดโกนหนวด 3 ใบ แทนใบ มีดโกนหนวดแบบเดิมที่มี 2 ใบ หรือ สายการบิน ลุฟทแฮนซา ใหบริการน้ําสมคัน้ สดแกผโู ดยสารสาย การบินชั้นธุรกิจ หลอดไฟฟาหลายชนิดพัฒนาจากหลอดไฟฟาดั้งเดิมของเอดิสัน เชน หลอดตะเกียบ หลอดนีออน เปนตน นวัตกรรมเกิดมาจากสิ่งแวดลอมที่ทาทายที่ชวนใหมนุษ ยสรางสมมุติฐานใหมๆ กระตุนให อยากแกไขป ญหา หาแนวทางใหมและรวบรวมความคิดใหมๆ จากหลายๆ แหลง ซึ่งได แก ผูเชี่ย ว ชาญนอกวงการ (External Contributors) ถื อ เป น จุ ด กํ า เนิ ด ความคิ ด ดี ๆ ได ม ากมาย ผู บ ริ โภค (Consumers as contributors) มี ความต องการที่เปลี่ ย นแปลงและเป นแรงบั นดาลให ส รา งสรรค เพื่ อ สนองตอความตองการ 3. ผู เ ชี่ ย วชาญ หรื อ พนั ก งานภายในองค ก รหรื อ อุ ต สาหกรรมนั้ น ๆ (Employees as Contributors) เมื่อเราทราบถึงความหมาย ประเภท และแหลงที่มาของนวัตกรรม คงจะทําใหเราพอเขาใจ นวัตกรรมไดดียิ่งขึ้น มีนักวิชาการบางทานกลาววาอุตสาหกรรมการทองเทีย่ วมีการสรางนวัตกรรม นอยมาก แมวานวัตกรรมจะมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มความสามารถในการแขงขันไดก็ตาม (Poon, 1993) นวัตกรรมไดสรางสินคาใหมใหกับวงการทองเที่ยว เชน แหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร แหลง ทองเที่ยวเชิงนิเวศ นวัตกรรมยังเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใหบริการ และลดตนทุนในการใหบริการ เชน การขายบัตรของขวัญรายการนําเที่ยวผาน ทางระบบออนไลนของบริษัทนําเที่ยว นวัตกรรม ยังเปลี่ยนรูปแบบการดําเนินงานการตลาดทอง เที่ ย ว อาทิ การดํ า เนิ น แคมเปญ Visit Thailand Year 1987 ทํา ให ชาวไทยเห็ นความสํ าคั ญ ของ การท อ งเที่ ย วมากยิ่ ง ขึ้ น การท อ งเที่ ย วของ ประเทศสเปนสรางนวัตกรรมใหมในการเสนอสิน ค าที่ ห ลากหลายซึ่ ง แตกต า งกว าเดิ ม ที่ เคยเน น เฉพาะ หาดทราย ชายทะเล มาเปนการใช แบรนด “Everything under the Sun” ทํ าใหนัก ทองเที่ ยวได รูจักกิจกรรมอื่นๆ เชน ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดประชุม เปนตน ปญหาสําคัญในวงการทองเที่ยวไมสามารถสรางนวัตกรรมไดมากก็เพราะวา ประการแรก รัฐบาลสวนใหญไมไดใหความสนใจเทาที่ควรจึงจัดงบประมาณใหนอยมากเมื่อเทียบกับการลงทุน นวัตกรรมในอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ อาทิ การบิน การแพทย จึงทําใหขาดเงินทุนเพือ่ ทําการวิจยั e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 2


นวั ต กรรมด านท อ งเที่ ย วโดยเฉพาะ ประการที่ ส อง คื อ อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วประกอบด ว ยผู ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง เปนสวนใหญ และมีหวงโซธุร กิจ (Supply Chain) สัมพันธกัน หลายธุรกิจ เชน การขนสง โรงแรมที่พัก รานอาหาร เปนตน เมื่อเปนเชนนี้ธุรกิจทองเที่ยวจึง มักจะ ตัดราคากันเองแตก็ยังตองพึ่งพิงกันและกัน เพราะแตละธุรกิจเปนสวนประกอบของการเดินทางทอง เที่ยว ปญหาการตัดราคาทําใหสินคาทองเที่ยวสวนมากดอยคุณภาพเนือ่ งจากไมมที นุ พอทีจ่ ะสงเสริม ผลิตภาพการบริการได (Keller, 2003)

นวัตกรรมการทองเที่ยวจึงเปนการใชประโยชนจากนวัตกรรมทางอุตสาหกรรมอื่นๆ อาทิ นวัตกรรมการคมนาคมขนสงไดกอใหเกิดรูปแบบการทองเที่ยวตางๆ นานา อาทิ การทองเที่ยวโดย รถไฟ รถยนต และเครื่องบิน โดยเฉพาะนวัตกรรมสายการบินตนทุนต่ําไดเปดโอกาสใหนกั ทองเที่ยวที่ มีรายไดระดับกลางสามารถเดินทางทองเที่ยวโดยเครื่องบินไปยังตางประเทศไดมากยิ่ง ขึ้นและบอย ครั้ง ขึ้น การพัฒ นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไดเปลี่ยนแปลงระบบพาณิชยทางการทองเที่ย วเปน อยางมากโดยไดลดบทบาทของผูคาคนกลาง เชน บริษัทนําเที่ยว เปนตน และไดเพิ่มอํานาจในการซื้อ ขายรายการทองเที่ยวหรือบริการที่เกี่ยวของใหกับนักทองเที่ยวมากขึ้น การสงเสริมนวัตกรรมการทองเที่ยวจึงตองอาศัยความรวมมือระหวางธุรกิจอุตสาหกรรม ทองเที่ยวใหมากที่สุด รัฐบาลตองจัด สรรเงินทุนสนับสนุนใหกับอุตสาหกรรมทองเที่ยวโดยเฉพาะ ความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนจะเปนสิ่งสําคัญในการผลักดันใหเกิดนวัตกรรมทางการ ทองเที่ยวโดยที่แหลงของความคิดสรางสรรคมาจาก 3 แหลง ไดแก นัก ทองเที่ยว (Tourist Focus) บุคคลในอุตสาหกรรมทองเที่ยว (Tourism Industry Focus) และบุคคลจากอุตสาหกรรมที่ไมเกี่ยวของ กับอุตสาหกรรมทองเที่ยว (Outside Industry Focus) ดังนั้น ภาครัฐจึงตองปรับปรุงโครงสรางอุตสาห กรรมทองเที่ยวใหมีเครือขายและความเชื่อมโยงระหวางกลุมธุรกิจเพื่อกอใหเกิดการประสานงานให มากขึ้น การใหรางวัลจะสรางแรงจูงใจไดเปนอยางดีจะเห็นไดจากสหราชอาณาจักรมีการใหรางวัลที่ เรีย กวา Tourism Innovation Development Award (TIDA) การทองเที่ยวของไอรแลนด จัดตั้งกองทุน Failte Ireland Tourism Innovation Funds สก็ อตแลนดได ส ร างเครื อ ข ายนํ าโดยภาคเอกชนที่ เรีย กว า Tourism Innovation Group (TIG) ประกอบดว ย 50 หนว ยธุ รกิจ เพื่อผลัก ดันให เกิด นวัต กรรมใน 2 e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 3


ดาน ไดแก การตลาดทองเที่ยวอิเล็กทรอนิกส และการทองเที่ยวอยางยั่งยืน พนักงานหรือ ลูกจางใน อุตสาหกรรมจะตองสง เสริมใหมีความรูจากการเรียนรูในระบบและการเรียนรูจากการทํางานเพื่อ ผลักดันแนวคิดเชิงนวัตกรรม(Innovative thinking) การแลกเปลี่ยนขอมูลความรูโดยการจัดการประ ชุมสัมนาวิชาการและสรางเครือขายกับผูวิจัยในดานอื่นๆ จะทําใหไดรับความรู และความคิดสราง สรรคจากคนนอกวงการไดมากขึ้น หากประเทศไทยตองการเปนผูนําในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเอเชียอยางแทจริงแลว จะตอง เริ่มวางรากฐานการสรางอุตสาหกรรมการทองเที่ยวโดยสงเสริมแนวความคิดเชิงนวัตกรรมมาก กวานี้ ควรเริ่มจากการประสานความรวมมือระหวางภายในธุร กิจทองเที่ยวทุกระดับและจัดตั้งกอง ทุนสนันสนุนพรอมทั้งใหรางวัลแนวคิดสรางสรรคซึ่งถือเปนแรงจูงใจที่สําคัญ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 4


Reference: ·

·

·

· ·

·

Amabile, T. , Conti, R., Coon, H., Lazenby, J. and Herron, M. (1996). "Assessing the work environment for creativity". Academy of Management Journal, 39 (5): 11541184. Poon, A. (1993). Tourism, Technology and Competitive Strategies. Wallingford: Cab International. Keller, P. (2003). “Conclusions of the Conference on Innovation and Growth in Tourism,” Conference Papers, <http://www.oecd.org/document/38/0,3343,en_2649_ 34389_3426864_1_1_1_1,00.html> (accessed March 17, 2008). Schumpeter, J. (1934). The Theory of Economic Development. Cambridge, MA: Harvard University Press. Tuschman, M., and Anderson, P. (1986), "Technological discontinuities and organizational environments", Administrative Science Quarterly, 31: 439-65. ««««««««««««

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หนาที่ 5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.