3/2553 eTAT Tourism Journal

Page 1

e TAT

TOURISM JOURNAL 2010 vol 3

สาระสำคัญจากการประชุม International Medical Tourism & Travel 2010 สรุปสัมมนาเปิดมุมมองท่องเที่ยวไทยปี 2553 ท่องเที่ยวไร้กรอบและขอบเขต (Tourism Unbound : The Road to Nowhere) ทัศนคติและแรงจูงใจ ด้านการท่องเที่ยวของคนกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประเด็นสำคัญจากการเข้าร่วม ประชุมสัมมนาด้านการท่องเที่ยว ITB Berlin Convention 2010 Mass Mingling : เมื่อชาวออนไลน์พร้อมใจกันปาร์ตี้

eTATjournal.com


พบกองบรรณาธิ การ ประจำไตรมาสที่ 3/2553 (กรกฎาคม - กันยายน 2553)

“ประเทศที่น่าอยู่สำหรับพลเมืองในประเทศนั้นๆ มันย่อมเป็นประเทศที่น่าท่องเที่ยว” มันยังเป็นจริงตามนั้น ขอยืนยัน การบริหารจัดการความสัมพันธ์ของคนในสังคม ซึ่งเป็นคนธรรมดาสามัญ มันไม่ง่าย เพราะแต่ละคนล้วนคิดเห็นไม่ตรงกันในเรื่องผลประโยชน์ รวมถึงความดีงาม (ที่ไม่น่าจะมีใครผูกขาดความดีงาม ไว้เพียงกลุ่มเดียว) และหลักศีลธรรม (ที่ไม่ควรมีใครยัดเยียดหลักศีลธรรมของตนเองให้กับผู้อื่น) ดังนั้น พื้นที่ที่น่าอยู่ สำหรับพลเมืองในประเทศนั้นๆ คือ พื้นที่ที่เปิดโอกาสให้มีการแสดงความเห็นที่แตกต่างกันในเรื่องความดี ความงาม และความจริง ถ้าเป็นดั่งนี้แล้ว ย่อมไม่เป็นที่น่าสงสัยว่า ประเทศนั้น ย่อมเป็นประเทศที่น่าท่องเที่ยว โดยไม่ต้องรอให้องค์กร ท่องเที่ยว หรือสำนักการตลาดใดมาป่าวประกาศ ไม่ต้องกังวลว่า ปีนี้ จะติดอันดับ “น่าท่องเที่ยวโลก” หรือไม่ ไม่ต้องทุ่มงบประมาณมหาศาลเพื่อแข่งขันกับใคร ไม่ต้องวนเวียนอยู่กับถ้อยคำที่สวยงาม จริงๆ แล้ว การส่งเสริม การท่องเที่ยวมันง่ายดายขนาดนี้เชียวหรือ ลองค่อยๆ ใช้หัวใจที่เปิดกว้าง และอ่อนน้อมถ่อมตน มองข้ามเรื่องช่องว่าง ทางรายได้ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ แต่ให้ลองถามใจตนเอง เรื่องความเท่าเทียมในศักดิ์ศรี และการได้รับ ความเคารพจากคนอื่น ลองดู และจะรู้ว่า มันง่าย หรือ ยาก

e TAT พบกันใหม่ ขอให้ ไทยนี้รักสงบ

ยุวดี นิรัตน์ตระกูล บรรณาธิการ Yuvadee.nirattakun@tat.or.th

สารบั ญ สถานการณ์ท่องเที่ยว

eTAT Tourism Journal จุลสาร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 1600 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 0 2250 5500 ต่อ 2620-2 โทรสาร: 0 2253 7468 email: etatjournal@tat.or.th etatjournal@hotmail.com website: http://www.etatjournal.com

• สรุปสาระสำคัญจากยูโรมอนิเตอร์เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2553 การประชุมสัมมนา • สรุปสาระสำคัญจากการประชุม International Medical Tourism & Travel 2010 • สรุปประเด็นสำคัญจากการเข้าร่วมประชุมสัมมนาด้านการท่องเที่ยว ITB Berlin Convention 2010, Germany (ตอนที่ 1) • รายงานการเดินทางเข้าร่วมงาน Mekong Tourism Forum 2010 (MTF) ณ เมืองเสียมราฐราชอาณาจักรกัมพูชา บทความด้านการท่องเที่ยว • สรุปผลการสำรวจข้อมูลโครงการสำรวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย พ.ศ.2552 • ทัศนคติ และแรงจูงใจด้านการท่องเที่ยวของคนกรุงเทพฯ และปริมณฑล สรุปสัมมนาเปิดมุมมองท่องเที่ยวไทยปี 2553 • ท่องเที่ยวไร้กรอบและขอบเขต (Tourism Unbound : The Road to Nowhere) • การตลาด ว่าด้วย อารมณ์ มนตรา และอุปาทาน • ค้นหาตัวตนบนเส้นทาง • นักท่องเที่ยวขั้นกว่าในอนาคต • นิดหนึ่ง คือ พอดี นานาสาระน่ารู้ • Mass Mingling : เมื่อชาวออนไลน์พร้อมใจกันปาร์ตี้

e TAT Tourism Journal 2553


สร ุปสาระสาคัญจากยูโรมอนิเตอร์ เดือนมิถ ุนายน - กรกฎาคม 2553 โศรยา หอมชื่น1 สาหรับไตรมาสนี้มีบทความที่นา่ สนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทัว่ โลก ซึ่งเผยแพร่ใน เว็บไซต์ของยูโรมอนิเตอร์ จานวน 7 เรื่อง ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

แอฟริกาใต้ และทัว่ โลกต่างคลัง่ ไคล้ฟุตบอล การรวมตัวของบริษทั Avianca และ Taca สร้างรูปแบบใหม่ของการบินในละตินอเมริกา การประท้วงทางการเมืองในไทยส่งผลกระทบทางลบต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว โค้ชด้านการเดินทาง ส่วนแบ่งตลาด (Niche) ที่มีโอกาสเติบโต กาตาร์มง่ ุ พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ยุโรปเสนอข้อตกลงเปิ ดน่านฟ้ าเสรีกบั บราซิล ปรากฏการณ์รถไฟความเร็วสูงในยุโรป

1. แอฟริกาใต้ และทัว่ โลกต่างคลัง่ ไคล้ฟตุ บอล การแข่งขันฟุตบอลโลกครัง้ นีไ้ ม่เพียงเป็ นที่คาดหมายว่าจะดึงดูดนักท่องเที่ยวจานวนมาก แต่ ยังจะฝากมรดกที่ถาวรไว้ให้แก่ ค น รุ่ น ต่ อ ไ ป ส า ธ า ร ณ รั ฐ แอฟริ ก าใต้ล งทุน มหาศาลใน การจัดงานครั้งนี้ และมัน่ ใจว่ า ประเทศจะเป็ นที่จับตามองของ นานาชาติ จากการประมาณ การของ Grant Thornton ระบุ ว่ า จะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ เดิ น ทางมาเยื อ นแอฟริ ก าใต้ 373,000 คน ในระหว่ า งที่ มี การแข่งขันฟุ ตบอลโลก ซึ่ งเริ่ม ตั้ง แต่วั น ที่ 11 มิ ถ นุ ายน โดย เฉลี่ ย นัก ท่ อ งเที่ ย วจะพัก อยู่ใ น ประเทศ 18 วั น เข้า ชมการ แข่งขัน 5 นัด และใช้จ่ายเงินประมาณ 4,000 เหรี ยญสหรัฐต่อคน เกิดค่าใช้จ่า ยโดยรวมทั้งสิ้น ประมาณ 9,000 ล้านเหรียญสหรัฐ

1

หัวหน้างานวิชาการ กองวิจยั การตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 1


- แฟนบอลชาวอเมริกนั จะมีจานวนมาก อังกฤษเป็ นทีมที่มียอดขายตัว๋ สูงเป็ นอันดับสองตามหลังสหรัฐ โดยมี ออสเตรเลีย เม็กซิโก เยอรมนี และบราซิล ตามมาเป็ นลาดับ วิกฤตเศรษฐกิจโลกบีบให้แอฟริกาใต้ซึ่งเป็ นเจ้าภาพต้องลด ความคาดหวัง เรื่องจานวนนักท่องเที่ยวจาก 450,000 คนเหลือเพียง 300,000 คน ข้อมูลจาก สมาคมฟุ ตบอลระหว่างประเทศ (FIFA) และ คณะกรรมการจัด งานจากแอฟริ ก าใต้ระบุว่ า บัตรเข้าชมกว่า 130,000 ใบจาก 2.8 ล้านใบ ถูกซื้อโดยผูท้ ี่มีถิ่นพานักอยู่ในสหรัฐอเมริกา ซึ่ง เป็ นประเทศที่มียอดจาหน่ายบัตรสูงสุดหากไม่ นับแอฟริกาใต้เอง นายโดนั ล ด์ กิ ป ส์ เอกอั ค รราชทู ต สหรัฐฯ ประจาแอฟริกาใต้ ประมาณการว่าจะมี ชาวอเมริกันประมาณ 25,000-40,000 คน เข้าชมการแข่งขันใน 64 นัดที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ไม่ จาเป็ นว่านักท่องเที่ยวชาวอเมริกนั จะมาชมทีมของตนเองเท่านัน้ อย่างไรก็ดีแม้ว่าจะไม่มีทางตัดสินได้ จากยอดจาหน่ายบัตร แต่ความหลากหลายด้านเผ่าพันธุข์ องคนในสหรัฐอเมริกาเป็ นเครื่องบ่งชี้ว่ามี คนจานวนมากที่จะเชียร์ทีม เม็กซิโก ฮอนดูรสั และทีมอื่นๆ จากละตินอเมริกา - โครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวได้ประโยชน์จากฟุตบอล เช่นเดียวกับประโยชน์โดยตรงเรื่องจานวนนักท่องเที่ยวที่หลัง่ ไหลเข้ามา การท่องเที่ยวเชิง กีฬามักจะเอื้อประโยชน์ทางอ้อมแก่ประเทศจากการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว เช่ น ที่ พั ก และการคมนาคม ข น ส่ ง แ อ ฟ ริ ก า ใ ต้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์เรียบร้อยแล้วจากการ เปิ ดตัว ของ Gautrain ซึ่ งเป็ น รถไฟความเร็ ว สู ง สายแรก แม้ว่ามันจะไม่ได้ถกู สร้างขึ้นเพื่อ รองรั บ มหกรรมฟุ ต บอลโลก โดยตรง ถนน และเส้น ทาง เชื่อมโยงโดยรถบัสก็ได้ถกู สร้าง ขึน้ เช่นกัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ลว้ นเกิด ประโยชน์กบั นักเดินทาง แม้เมื่อ การแข่งขันสิ้นสุดลงแล้ว มหกรรมฟุตบอลโลกยังถูกคาดหมายว่าจะ เกิดประโยชน์ตอ่ บริษทั ค้าปลีก ทัว่ ทัง้ ทวีปที่ให้บริการแก่นกั เดินทางแอฟริกนั ไปเข้าชมการแข่งขัน นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศส่วน ใหญ่จะใช้บ ริ ก ารของบริ ษัท ตัวแทนท่องเที่ ยวในต่า งประเทศ แต่อ าจจะใช้ผปู้ ระกอบการนาเที่ ยว ท้องถิ่นในการจัดนาเที่ยวระหว่างวัน และการจัดการบริการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือลูกค้า ตลอด 24 ชม.

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 2


- โอกาสในตลาดใหม่ แม้ว่าจะมีความพยายามของหน่วยงานส่งเสริมการท่องเที่ยวทัว่ ทั้งทวีป แต่การกระจายตัว ของนักท่องเที่ยวจากประเทศแอฟริกาใต้ มิได้ถกู คาดหมายว่าจะเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญใน ระยะสั้นถึงระยะกลาง แต่ก็คาดหวังว่าการแข่งขันฟุตบอลโลกจะเปิ ดตัวภูมิภาคนี้ส่โู ลก อย่างไรก็ดี การคาดการณ์แสดงให้เห็นเพียงการเพิ่มขึน้ เล็กน้อยของจานวนนักท่องเที่ยวจากเอเชีย อย่างไรก็ตาม ตลาดหลักเช่น จีน และอินเดียมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้น แต่เริ่มต้นจากฐาน จานวนนักท่องเที่ยวที่ตา่ อเมริกาใต้ก็มีความสาคัญมากขึ้นโดยเฉพาะบราซิ ลและอาร์เจนตินา การ เชื่อมโยงของธุรกิจกับบราซิลเกิดขึ้นในแอฟริกาใต้ เนื่องจากการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งต่อไป จะจัด ขึน้ ที่บราซิลในปี 2014 ทีมของประเทศต่าง ๆ ในเอเชียที่ได้เข้ารอบ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และเกาหลี เหนือ เสนอโอกาสที่ยิ่งใหญ่ในการเพิ่ มจานวนนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคนี้ และเพิ่มการรับรูเ้ กี่ยวกับ แอฟริกา ประเทศในแอฟริกาเองก็มีโอกาสที่จะเรียนรูเ้ กี่ยวกับความชื่นชอบและสิ่งที่จาเป็ นสาหรับนัก เดินทางจากเอเชีย - การซื้อขายออนไลน์เติบโต การซื้อขายออนไลน์ยงั ไม่ได้สร้างผลกระทบต่อการท่องเที่ยวและการเดินทางในแอฟริกามาก นัก และเป็ นที่ประจักษ์ชดั จากการที่ยอดจาหน่ายบัตรเข้าชมการแข่งขันจากประเทศต่างๆ ในแอฟริกา ตา่ กว่าที่คาดการณ์ไว้ 75% เนื่องจากเป็ นการจาหน่ายบัตรออนไลน์เท่านัน้ อย่างไรก็ดีฟุตบอลโลก ครั้งนี้จะช่วยกระตุน้ การใช้กิจกรรมออนไลน์ของนักโฆษณา นักการตลาด และธุรกิจท่องเที่ยวที่มี กลุม่ เป้าหมายในสภาพแวดล้อมที่เป็ นมวลชน ในแอฟริกาใต้อินเตอร์เน็ตกลายเป็ นอานาจที่แข่งขันได้ สาหรับผูป้ ระกอบการท่องเที่ยวรายย่อย ที่มีจานวนลูกค้าเลือกทาการจองออนไลน์เพิ่มขึ้น ด้วย อานาจการเข้าถึงของอินเตอร์เน็ตที่เติบโตขึ้น คาดว่าจะมีบริษัทที่ได้รับประโยชน์จากการใช้ธรุ กิจ ออนไลน์ที่ซับซ้อนมากขึน้ เช่น การจ่ายเงินออนไลน์และการพัฒนาของเว็บ 2.0 - ความปลอดภัยและความมัน่ คงสาคัญสาหรับความสาเร็จ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ ต้ อ ง กั ง ว ล ส า ห รั บ นั ก ท่ อ งเ ที่ ยวจ า นวนมา กที่ เ ดิ น ท า ง ม า ยั ง แ อ ฟ ริ ก า เ นื่ อ ง จ า ก ภู มิ ภ า ค นี้ มี ภ า พ ความจ าเกี่ ย วกั บ ความอ่ อ น ด้อ ยด้า นสวั ส ดิ ภ าพและความ ป ล อ ด ภั ย แ อ ฟ ริ ก า ใ ต้ มี สถานภาพที่ยา่ แย่ในสายตาของ น า น า ช า ติ ใ น ด้ า น ค ว า ม ปลอดภัยในปี 2008 ประเทศนี้ มีส ถิ ติอ ยู่อัน ดับ 4 ของโลกใน

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 3


เรื่องการโจรกรรมอันดับ 2 ในเรื่องฆาตกรรม และเป็ นอันดับ 1 ในเรื่องการข่มขืนตามข้อมูลของ สภาที่ปรึกษาด้านความมัน่ คงในต่างประเทศของสหรัฐ การโจมตีทีมฟุตบอลโตโกเมื่อครั้งมีการแข่งขัน African Cup of Nation 2010 ที่จัดขึ้นที่ อังโกลา เป็ นสัญญาณแสดงถึงความสาคัญของการรักษาความปลอดภัยในการแข่งขันฟุตบอลโลกที่ แอฟริกาใต้ ผูส้ งั เกตการณ์หลายท่านระบุว่าเหตุการณ์ในอังโกลาแสดงถึงสิ่งที่หลายคนคิดว่าอังโกลา ยังไม่พร้อมในการเป็ นเจ้าภาพการแข่งขันระดับนี้ แม้จะมีข่าวในด้านลบแต่แอฟริกาใต้ก็มีแผนการ รักษาความปลอดภัยที่เข้มแข็ง ซึ่งรวมถึงกาลังตารวจ 140,000 นาย เพิ่มเข้ามา ซึ่งได้ถกู คัดเลือก มาพร้อมกับกาลังสารองอีก 100,000 นาย ซึ่ งคาดว่าจะเพียงพอ ประกอบกับความรูส้ ึกเป็ นนา้ หนึง่ ใ จเดียวกัน และความภาคภูมิใจที่การแข่งขันครั้งนี้นามาสู่ประเทศ จานวนผูช้ มทางโทรทัศน์คาด ว่าจะมีมากกว่า 26,000 ล้านคน ดังนัน้ จึงจาเป็ นสาหรับผลประโยชน์อื่นๆ ในอนาคตที่เกิดขึ้นเมื่อ การแข่งขันดาเนินผ่านไป โดยปราศจากเหตุการณ์รา้ ยแรงในด้านความปลอดภัย อย่างไรก็ดี เหตุการณ์ล่าสุดที่เกิดขึ้น 1 สัปดาห์ก่อนเริ่มการแข่งขันนัดกระชับมิตรระหว่าง ไนจีเรียกับเกาหลีเหนือที่เมืองโยฮันเนสเบิรก์ เพิ่มความหวาดกลัวเกี่ยวกับความปลอดภัยของแฟน บอลในช่วงฟุตบอลโลก ฟี ฟ่ ายังยื นยันว่ามิได้มีขอ้ กังวลเรื่องความปลอดภัยของผูช้ มที่ สนามแข่งขัน แม้ว่าจะมีการหลัง่ ไหลของผูค้ นก่อนการแข่งขันอุ่นเครื่อง ที่มีคนถูกนาส่งโรงพยาบาล 16 ราย ฟี ฟ่ า และคณะกรรมการจัดงานกล่าวย้าว่าจะไม่รับผิดชอบต่อองค์กร การจัดการของผูส้ นับสนุน หรือ การออกบัตรสาหรับการแข่งขันนัดกระชับมิตรครั้งนี้ และองค์กรเหล่านัน้ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดใดกับ การปฏิบตั กิ ารขององค์กรในการจัดแข่งขันฟุตบอลโลก - แอฟริกาใต้ได้มากกว่าฟุตบอลโลก ประเทศต่างๆ ทัว่ ทวีปแอฟริกาต่าง ก็คาดหวังว่ามหกรรมกีฬาครั้งนี้จะเปลี่ยน ภาพลักษณ์ของภูมิภาค การแข่งขันฟุตบอล โลก 2010 จะมี ผ ลกระทบที่ ส าคั ญ ต่ อ ภูมิ ภ าค เป็ นความท้า ทายอุต สาหกรรม ท่ อ งเที่ ย วของแอฟริ ก าที่ จ ะพั ฒ นา brand identity ของตนเองให้มัน่ คง แอฟริกาทั้ง ทวี ป โดยเฉพาะประเทศเพื่ อ นบ้า นจะได้รับ ประโยชน์จากการเป็ นเจ้า ภาพการแข่ง ขัน ฟุ ต บอลระดับ นานาชาติข องแอฟริ ก าใต้ที่ เป็ นรายการแข่งขันสาคัญที่มีแฟนบอลจาก นานาประเทศซึ่ ง มี แ นวโน้ม ที่ จ ะขยายการ เยี่ ย มเยื อ นไปยั ง พื้ น ที่ อื่ น ๆ อย่ า งไม่ ต อ้ ง สงสัย

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 4


- การเติบโตเชิงบวกในอนาคตสาหรับการท่องเที่ยวขาเข้าของแอฟริกาใต้ ฟุตบอลโลกเป็ นโอกาสสาคัญสาหรับแอฟริกาใต้ที่จะลดบทบาทของผลกระทบของการชะลอ ตัวทางเศรษฐกิจทัว่ โลกต่อเศรษฐกิจ ของประเทศ และพยายามที่จะนาสิ่งที่สญ ู เสียไปอย่างต่อเนื่อง เมื่อปี 2008-2009 กลับคืนมา แต่ความสามารถของประเทศที่จะรับรองความต่อเนื่ องหลังจาก มหกรรมกีฬาครั้งนี้จบลงยังเป็ นที่เคลือบแคลงสงสัย หลังจากปี 2010 ที่ย่งุ เหยิง คาดว่าปี 2011 จะมีจานวนนักท่องเที่ยวขาเข้าลดลงเล็กน้อยตามข้อมูลของยูโรมอนิเตอร์อินเตอร์เนชัน่ แนล ซึ่งเป็ น แนวโน้มตามปกติเนื่องจากเป็ นเรื่องยากที่จะรักษาจานวนนักท่องเที่ยวให้เท่าเดิมได้ ภายหลังจากที่ มหกรรมกีฬาอย่างฟุตบอลโลกจบลง แม้ว่าการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจจะช่วยแอฟริกาใต้ในปี 2011 และยังคงเป็ นช่วงที่มีความสุขหลังจากที่มหกรรมนี้ทาให้การชักนานักท่องเที่ยวนานาชาติเข้ามาง่าย ขึน้ หากความพยายามในการสื่อสารยังคงอยู่ตอ่ ไป ในภาพรวมจานวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศขาเข้าจะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 5 ระหว่างปี 2010 และ 2014 โดยจะมีนกั ท่องเที่ยวรวม 14 ล้านคน จากบรรยากาศทางเศรษฐกิจในปั จจุบัน นับเป็ นการเติบโตที่แข็งแรงมาก ซึ่ ง ขัดแย้งกับแนวโน้มของโลก และชี้ให้เห็ น ความน่าดึงดูดใจของ แอฟริกาใต้ตอ่ ไปในฐานะของจุดหมายปลายทางท่องเที่ยว โดยเฉพาะในขณะที่คา่ เงินแรนด์อ่อนลง 2. การรวมตัวของบริษทั Avianca และ Taca สร้างร ูปแบบใหม่ของการบินในละตินอเมริกา เมื่อเดือนธันวาคมปี 2009 กลุ่มบริษทั Grupo Taca Holdings และ Synergy Group ได้ ประกาศแผนการที่จะควบรวมกิจการ และสร้างบริษัทใหม่ในชื่อ “Avianca-Taca Ltd.” ในเดือน กุมภาพันธ์ 2010 บริษัททั้งสองได้รับระเบียบ และการอนุมัติการต่อต้านการผูกขาดให้ควบรวม กิจการได้โดย Grupo Synergy เป็ นเจ้าของ 67% และ Group Taca Holding เป็ นเจ้าของ 33% ของ บริษทั ใหม่ สายการบินที่ควบรวมกิจการให้บริการสู่ 100 จุดหมายปลายทางโดย 75 จุดอยู่ในละติน อเมริกามีรายได้จานวน 3,000 ล้านเหรียญสหรัฐ สายการบินนี้บรรทุกผูโ้ ดยสารประมาณ 15.4 ล้านคน โดยมีศนู ย์กลางการบินอยู่ที่ เอลซัลวาดอร์, คอสตาริกา, โคลัมเบีย และเปรู บริษทั ใหม่ได้รับ ประโยชน์จากความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ และเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งให้โอกาสใหม่ดา้ นรายได้ ผูน้ าของบริษทั เหล่านีไ้ ด้ระบุว่าการเติบโตของการจราจรในเส้นทางเหนือ –ใต้ และเที่ยวบินสู่ยโุ รปถือ เป็ นโอกาส และมันยังให้อานาจเพิ่มผลทางการเงินเพื่อตัดค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งจ่ายแก่ซัพพลายเออร์ และ ยังมีการใช้ประโยชน์ร่ว มกันในฝูงบินที่จะนามาใช้ขนส่ง เนื่องจากทั้งสองบริษัทใช้เครื่องบิน A319 และ A320 เป็ นหลัก ในปี 2007 Grupo Synergy ได้สงั ่ ซื้อเครื่องบิน 100 ลา ซึ่งขณะนี้สามารถ กระจายเครือข่ายไปกว้างขวางขึน้ เมื่อเครื่องบินเหล่านีไ้ ด้ถกู ส่งมอบ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 5


แบรนด์ต่างๆ ของกลมุ่ บริษทั Grupo Synergy Brands AVIANCA SAM TAMPA(cargo) AEROGAL AVIANCA (formerly OCEANAIR

Location Colombia Colombia Colombia Ecuador Brazil

TACA Brands TACA LACSA TACA Peru AVIATECA SANSA LA COSTENA AEROPERLAS ISLENA

Location EI Salvador Costa Rica Peru Guatemala Costa Rica Nicaragua Panama Honduras

ที่มา : รายงานของบริษทั แม้ว่าผูน้ าของ Avianca –Taca Ltd. จะระบุว่ามิได้ตอ้ งการสูก้ บั สายการบินหลักของ ละติน อเมริกา แต่การควบรวมกิจการของพวกเขาก็ได้สร้างคูแ่ ข่งขันที่แข็งแกร่งมากขึ้น ที่อาจมีผลกับการ แย่งชิงส่วนแบ่งตลาดหากความสามารถในการรองรับแซงหน้าการเติบโตของอุปสงค์ไปมาก โดยยูโร มอนิเตอร์ได้ศึกษาข้อมูลในตลาดต่างๆ ที่การควบรวมกิจการของสองบริษทั นีม้ ีนยั สาคัญ ปานามา: สายการบิน Cope ยังเป็นผูค้ รองตลาดหลักในเส้นทางระหว่างประเทศ ในปานามา แบรนด์ Taca แบ่ ง ตลาดภายในประเทศร่วมกับ Air Panama การควบรวมกิจการจึงไม่กระทบกับตลาด นี้มากนัก อย่า งไรก็ ดีมันอาจสร้า งความ เสี่ยงแก่สายการบิน Copa Airlines ซึ่งใช้ สนามบิน Tocumen ในปานามาเป็ น “ฐาน การบินของภูมิภาคอเมริกา” สายการบินนี้ มีสว่ นแบ่ง 56% ในการขนส่งผูโ้ ดยสารขา เข้าและขาออกจากสนามบิน Tocumen แต่ที่ สาคัญกว่านัน้ คือมันได้บรรทุกผูโ้ ดยสารที่ เป็ น transit passenger ถึง 1.7 ล้านคน หรือคิดเป็ น 96% ของผูโ้ ดยสารเปลี่ยน เครื่ อ งทั้ ง หมดในปี 2009 สายการบิ น Avianca –Taca ได้ประมูลเพื่อให้ได้เส้นทาง การบิ น เหนือ – ใต้ เพิ่ ม ขึ้น โดยอาจลด ราคาในการใช้ฐานการบินที่เป็ นคู่แข่งขัน เช่น ซานซัลวาดอร์ และโบโกตา และต้องขึ้นอยู่กบั ความ แปรปรวนของอากาศ ในขณะที่ สนามบิ น Tocumen ตั้งอยู่ใ นระดับ น ้า ทะเลและมีตาแหน่งทาง

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 6


ภูมิศาสตร์ที่ดีกว่า ทั้งยังเพิ่ งมีการบูรณะเมื่อไม่นานมานี้ การลดค่าโดยสารอาจจะไม่ทาให้ผโู้ ดยสาร เปลี่ยนเส้นทาง ทั้งนี้ Avianca – Taca จะต้องพึ่งพาเส้นทางใหม่เพื่อกระตุน้ การเติบโตแทน สายการ บิน Copa จึ งยังคงเป็ นคู่แ ข่ง ที่แ ข็ง แกร่งในเส้นทางบิน เหนือ -ใต้ เนื่องจากการขยายสนามบิ น Tocumen จะเสร็ จสิ้นลงในช่ว งต้นฤดูรอ้ นปี 2011 ซึ่ งจะมีช่องทางระหว่ างประเทศเพิ่ มขึ้น 12 ช่องทาง จากจานวนทัง้ สิ้น 34 ช่องทางโดย Copa จะสามารถเพิ่มจุดหมายปลายทางได้มากขึน้ โคลัมเบีย : ตลาดที่มีการแข่งขันสงู ในโคลัมเบีย สายการบิน Avianca –Taca จะยังคงแข่งขันกับสายการบิน Copa Airlines โดยตรงผ่านผูค้ า้ รายย่อย บริษทั Avianca-Taca เป็ นเจ้าของสายการบิน Avianca ในขณะที่ Aero Republica เป็ นเจ้าของบริษัทสาขาทั้งหมดของ Copa การควบรวมกิจการมิได้ถกู คาดหมายว่าจะ เปลี่ยนแปลงพลวัตของตลาดการเดินทางทางอากาศของโคลัมเบียอย่างมีนยั สาคัญ อย่างไรก็ดีการ ประหยัด ค่าใช้จ่า ยอาจท าให้ Avianca เข้าถึงจุดคุม้ ทุน และสายการบินสามารถปรับเส้นทางบิ น ระหว่างประเทศจากโบโกตา ให้เข้ากับบริษทั ลูกในประเทศอื่นๆ ซึ่งเหมาะสมกับ กลยุทธ์โดยรวม ที่จะทาให้โบโกตาเป็ นฐานการบินระหว่างประเทศ อย่างไรก็ดีสายการบินทั้งสองจะต้องต่อสูก้ บั การ เข้าสู่ตลาดของสายการบินต้นทุนตา่ เช่น Aires ของโคลัมเบีย ที่ให้บริการในเส้นทางบินระยะใกล้ที่ ได้รบั ความนิยมมากที่สดุ ในช่วงต้นปี 2009 ซึ่งสายการบินที่ทาให้ค่าบัตรโดยสารลดลงไปถึง 20% ในบางกรณี ซึ่งเป็ นตัวขับเคลื่อนสาคัญที่ทาให้การเติบโตของจานวนผูโ้ ดยสารภายในประเทศสูงถึง 13% ในปี 2009 สายการบิน Aero Republica ก็ได้ดาเนินกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับค่าบัตรโดยสารที่ ตา่ ลง ในขณะที่ Avianca ยังรักษาระดับราคาของตน สาหรับสายการบิน Aires ได้ให้บริการใน เส้น ทางระหว่ า งประเทศด้ว ยและมี เ ป้ าหมายจะขยายตั ว ต่ อ ไป โดยปั จ จุบั น มี เ ที่ ย วบิ น ไปยั ง สหรัฐอเมริกา ปานามา และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน แม้ว่าจะมีส่วนแบ่งผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศ เพียง 1.4% ในปี 2009 สายการบินนี้ได้ร่วมมือกับสายการบิน Jet Blue และ Spirit Airlines ซึ่งเป็ น สายการบินต้นทุนตา่ ที่มีฐานอยู่ในสหรัฐ การรวมตัวของสายการบิน ต้นทุนตา่ 3 รายนี้กินส่วนแบ่ง ผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าสหรัฐ 13% ซึ่งมีนยั สาคัญ และมีผลกระทบกับ Avianca เพียง รายเดียว เนือ่ งจาก Aero Republica มิได้บินสูส่ หรัฐฯ นอกจากนี้ LAN Airlines ยังได้ประกาศเมื่อเดือนพฤษภาคม 2010 ว่าได้ทาข้อตกลงร่วมกับ สายการบิน Aeroasis ของโคลัมเบียเพื่อช่วยให้ Aeroasis ได้รับใบอนุญาตทาการบินจากองค์กรการ บิ น พลเรื อ นแห่ ง โคลั ม เบี ย เมื่ อ ได้รั บ อนุญ าตแล้ว Aeroasis จะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของ LAN Airlines การมี ผูเ้ ข้าแข่งขันในตลาดการบินของโคลัมเบียเพิ่มขึน้ จะทาให้ ราคาบัตรโดยสารตา่ ลง สายการบิน Aires ซึ่งมีทนุ ไม่ มากนัก อาจต้องถอนตัว จากการแข่งขันก่อนที่ LAN จะ เข้าสูต่ ลาด ไม่ว่าจะเป็ นอย่างไรตลาดการบินในโคลัมเบีย โดยเฉพาะตลาดภายในประเทศจะมีการแข่งขันสูงมาก ในช่ ว ง 3-5 ปี ข้า งหน้า ส่ ง ผลต่อ ความสามารถที่ จ ะ เติบโตยิ่งขึ้น ราคาที่ตา่ และการเติบโตของผูโ้ ดยสารที่ เข้มแข็ง

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 7


เปร ู : ฐานที่มนั่ ของ LAN Airlines จากการควบรวมกิจการทาให้ Avianca มีโอกาสเปิ ดบริการเส้นทางบินภายในประเทศของเปรู ผ่านบริษทั ลูกของ Taca-Peru อย่างไรก็ดี LAN Airlines ที่เริ่มเปิ ดดาเนินการในตลาดนีเ้ มื่อปี 1999 ก็ ยังเป็ นผูน้ าในตลาด โดยมีผโู้ ดยสารมากกว่า 90% ของผูโ้ ดยสารภายในประเทศเมื่อปี 2009 ในขณะ ที่สายการบิน Taca จะยังคงขยายตลาดภายในประเทศโดยเฉพาะเมื่อ Avianca ได้สงั ่ จองเครื่องบิน จานวนมาก แต่มนั ก็จะมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยต่อ LAN การใช้กลยุทธ์ตดั ราคาไม่ใช่กลยุทธ์ที่ฉลาด เนื่องจากบริ ษัท จะต้อ งปกป้องเขตอิ ทธิพลของตนโดยการกระตุน้ สงครามราคา และนี่ อ าจสร้า ง สถานการณ์เหมือนที่โคลัมเบียซึ่งจานวนผูโ้ ดยสารที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ชดเชยราคาที่ลดลง และรายได้ที่ เข้าเนือ้ ผูบ้ ริโภคคือผูไ้ ด้รบั ประโยชน์หลักของยุทธศาสตร์นี้ ในด้า นการบิ น ระหว่ า งประเทศ LAN ยั ง คงสร้า ง ลิ ม าให้เ ป็ นฐานการบิ น และควบคุม การจราจรของผูโ้ ดยสารกว่า 40% และอาจยากสาหรับ Avianca-Taca ที่จะหยุดยั้งการควบคุมนี้ได้ อย่างมีนัยสาคัญ แต่บ ริษัทจะได้รับ ประโยชน์จากความสามารถในการประสานความร่วมมือ กับ เที่ยวบินระหว่างประเทศของบริษทั ลูก แม้ว่า LANจะเป็ นผูค้ รองตลาดหลักในเปรูแต่มนั ก็เป็ นตลาดที่ สาคัญสาหรับ Avianca-Taca เนื่องจากมันมีความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ อีกทั้ง เปรูเป็ นตลาด การบินที่เติบโตเร็วเนื่องจากการเติบโตที่แข็งแกร่งของเศรษฐกิจในประเทศ และการส่งเสริมระหว่าง ประเทศ จึงยังมีพื้นที่ในสายการบิน Avianca-Taca เติบโตได้โดยไม่ทับเส้นของ LAN อย่างไรก็ดีหาก บริษทั ตัดสินใจดาเนินกลยุทธ์เชิงรุกการแข่งขันในตลาดก็อาจร้อนแรงมากขึน้ เอกวาดอร์ : การต่อสูก้ บั LAN ในเอกวาดอร์ สายการบิน Avianca-Taca ได้ร่วมกิจการกับ Aerogal อย่างเป็ นทางการในเดือนกุมภาพันธ์ 2010 และเริ่มใช้ codeshare ระหว่าง Avianca กับ Aerogal ในเดือนมีนาคม 2010 ทั้ง นี้ Aerogal เป็ นสายการบิ นอัน ดับ 2 ในตลาดการบิ น ภายในประเทศที่มีผโู้ ดยสารประมาณ 3.3 ล้านคน โดยมี TAME เป็ นสายการบินอันดับ 1 อย่างไรก็ดีการเข้ามาของ LAN Airlines ในการบินภายในประเทศเมื่อเดือน เมษายน 2009 ทาให้ตลาดมี การแข่งขันอย่างสูงภายในเดือน พฤศจิกายน 2009 LAN Airlines มีสว่ นแบ่งตลาด 16% ของผูโ้ ดยสารภายในประเทศ จึงอาจเป็ นการยากมากขึ้นที่จะเติบโตในตลาดนี้ แต่คณ ุ ค่าของมันอยู่ที่ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ และการเติบโตขององค์กรใน ระยะยาวของ ตลาดนี้ การประสานระหว่าง Aerogal และ Avianca-Taca นาไปสู่ผเู้ ข้าแข่งขันที่มีความแข็งแกร่งเป็ น อันดับ 2 มาสูก้ บั LAN ซึ่งเป็ นผูน้ าในตลาดการบินระหว่างประเทศของเอกวาดอร์แม้ว่าจะมีผโู้ ดยสาร ถึง 2.6 ล้านคนแต่ก็ยังน้อยกว่าในโคลัมเบียและเปรู ดังนั้นนอกจากการสร้างเครือข่ายแล้วโอกาส อาจมีจากัด บราซิล : เป็นการรบที่ยากลาบากหรือดินแดนแห่งโอกาส ในเดือนเมษายน 2010 Avianca-Taca ได้เปลี่ยนชื่อบริษทั ลูกในบราซิล จาก Oceanair เป็ น Avianca เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งแก่ความสัมพันธ์ระหว่างสายการบินของโคลัมเบีย และบราซิ ล

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 8


โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับสายการบินระหว่างประเทศแม้ว่า บริษทั จะอยู่ในกระบวนการปรับปรุงฝูงบินของบราซิ ลให้ทันสมัย ก็ยัง ต้องเผชิญกับการต่อสูท้ ี่ยากลาบากในบราซิล เนื่องจากสายการ บิน TAM และ GOL เป็ นผูค้ รองตลาดหลัก สนามบินหลักของ บราซิลต่างดาเนินการตามขีดความสามารถ และผูม้ าใหม่ในตลาด คือ สายการบิ นต้นทุน ตา่ ชื่ อ AZUL ที่ เ ป็ นตัว กระตุน้ สงคราม โดยเฉพาะในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 2009 อย่างไรก็ดีการปรากฏอยู่ ในตลาดที่ใหญ่ที่สดุ ในอเมริกาใต้ เป็ นกุญแจสาคัญแม้ว่าจะมีส่วนแบ่งตลาดเล็กน้อยแต่ก็หมายถึง จานวนที่มากสาหรับ Avianca-Taca โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเที ยบกับการปฏิบัติการในประเทศอื่นๆ ของละตินอเมริกา บริษทั วางแผนจะเพิ่มจานวนเครื่องบินเป็ น 18 ลาในสิ้นปี 2010 และเพิ่มที่นงั ่ บน เครื่องบินอีก 37% จากปี 2009 แต่ไม่คิดว่าจะกระตุน้ ให้เกิดสงครามราคาอีก โดยหวังว่าการเติบโต ที่แข็งแกร่งในตลาดภายในประเทศจะไม่นาไปสู่การแย่งชิงส่วนแบ่งตลาด อย่างไรก็ดี สายการบิน TAM และ GOL อาจตอบโต้อย่างเข้มข้น เพื่อให้เกิดความยากลาบากแก่ Avianca ในการที่จะได้ส่วน แบ่งผูโ้ ดยสารอย่างมีนยั สาคัญ บริษัทต้องการจะสร้างความแตกต่างของตนเอง โดยให้บริการที่ ดีก ว่ า เช่น อาหารร้อ น จอโทรทัศ น์ส่ว นตัว พื้ น ที่ กว้า งขึ้น และบริ ษัท ยังได้ขออนุญาตท าการบิ น ระหว่างประเทศในเส้นทางไปยัง ลิมา โคลัมเบีย และเอกวาดอร์ ที่เป็ นจุดหมายที่มีศักยภาพ ซึ่งบริษทั มีเที่ยวบินภายในประเทศไปยังจุดหมายปลายทางต่างๆ อีกมาก หากรัฐบาลรักษาสัญญาที่จะขยายสนามบินต่างๆ ก่อนการเป็ นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอล โลกในปี 2014 และโอลิมปิ กปี 2016 จะถือว่าเป็ นโอกาสที่ยิ่งใหญ่ในการขยายสายการบินทางเลือก อีกประการหนึ่งอาจเป็ นการรับผูเ้ ล่นรายใหม่ในภูมิภาคเพื่อขยายตัว และได้รับสล็อตการบินที่มีค่า ซึ่งเป็ นกลยุทธ์ที่ TAM นามาใช้กบั สายการบิน Pantanal ชิลี : เขตแดนต่อไปสาหรับ Avianca-Taca ในงาน ILA Berlin Air Show เดือนมิถนุ ายน ปี 2010 German Efromovich หนึ่งในผูน้ าของ สายการบิน Avianca-Taca เปิ ดเผยว่าทางบริษทั กาลังประเมินว่าจะเข้าสู่ตลาดการบินของชิลีอย่างไร ซึ่งรวมถึงการเปิ ดบินภายในประเทศด้วย ทัง้ นีป้ ระเทศชิลีอนุญาตให้ชาวต่างชาติเป็ นเจ้าของสายการ บินได้ 100% ตราบใดที่สายการบินนัน้ ผ่านการทดสอบบางประการ ดังนัน้ Avianca –Taca อาจจะ สามารถสร้างบริษทั ลูกได้งา่ ยขึน้

ในปั จจุบัน Avianca –Taca มีส่วนแบ่งในตลาดชิลีเพียงเล็กน้อย โดยมีผโู้ ดยสารระหว่าง ประเทศกลุม่ หลัก ๆ ในขณะที่สายการบิน LAN เข้าสูต่ ลาดในโคลัมเบียการนา Avianca –Taca เคลื่อน e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 9


เข้า สู่ชิ ลี ก็ ย ตุ ิธ รรมดี แม้ว่ า มัน จะเป็ นตลาดที่ เ ล็ กกว่ า อย่ า งเห็ น ได้ชัด แต่ค งจะมีโ อกาสมากกว่ า เนื่องจากตลาดชิลีมิได้ถกู รบกวนด้วยการตัดราคา และการบรรทุกเกินขี ดความสามารถเหมือนใน ตลาดโคลัมเบีย สายการบิน Aerolineas del sur ที่บรรทุกผูโ้ ดยสาร 374,000 คนในปี 2008 ประสบ ความล้มเหลว ทาให้ผโู้ ดยสารหันมาหา LAN และ Sky มากขึ้น Avianca –Taca อาจช่วงชิงผูโ้ ดยสาร มาได้ ยิ่งกว่านัน้ สายการบินอาจสามารถช่วงชิงส่วนแบ่งจาก Sky ซึ่งเป็ นคู่แข่งขันที่อ่อนแอกว่า และ ไม่ได้มีปริมาณทรัพยากรเท่าเทียมกับ Avianca –Taca อย่างไรก็ดี Sky เป็ นสายการบินที่เข้มแข็งที่สดุ ในเส้นทางจาก ซานติยาโก และภูมิภาคที่ ห่างไกลของประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองทางด้านใต้ เส้นทางเหล่านีแ้ คบมาก และ Avianca –Taca อาจหลีกเลี่ยงการบินในเส้นทางที่เสี่ยงภัยนี้ เป็ นไปได้ว่า Avianca –Taca จะแข่งขันกับ LAN โดยตรง และอาจนาไปสู่ค่าโดยสารที่ตา่ ลง LAN ประสบ ความสาเร็จอย่างสูงในการปฏิ บัติการอย่างมีประสิทธิภาพ และกระตุน้ การจราจรด้วยราคาที่ตา่ ลง (เป็ นกลยุทธ์ที่นามาใช้ในปี 2007) นอกเหนือจากส่วนแบ่งตลาด 80% ของผูโ้ ดยสารภายในประเทศ และยังสามารถรองรับผูโ้ ดยสารระหว่างประเทศถึง 63% ในปี 2009 ผลก็คือเป็ นสายการบินที่มี เครือข่ายในชิลีโดยไม่มีค่แู ข่ง รวมทั้งยัง เป็ นสมาชิก One world ด้วย จึงจะเป็ นความท้าทายที่จะปลด LAN จากตาแหน่งที่แข็งแกร่ง แต่ Avianca –Taca เป็ นสายการบินที่มีการจัดการที่ดี และสามารถ เพิ่มความร้อนแรงให้การแข่งขันในตลาด แม้ว่าจะสัญญาว่าจะไปทาการบินร่วมกับสายสารบินอื่น แต่ ดูเหมือนว่า Avianca –Taca มุ่งหวังจะร่วมบินกับ LAN ซึ่งมีศักยภาพที่แข็งแกร่งในการเคลื่อนเข้าสู่ เปรู และชิลี 3. การประท้วงทางการเมืองในไทยส่งผลกระทบทางลบต่ออ ุตสาหกรรมท่องเที่ยว การประท้ว งของกลุ่มคนเสื้ อ แดงที่ เ ริ่ มขึ้นในเดือ นมีน าคม 2553 จบลงเมื่อ วั นที่ 19 พฤษภาคม เมื่ อ กองทหารได้ใ ช้ก าลั ง สลายการชุม นุม ในบริ เ วณราชประสงค์ แ ละสี ล มใน กรุง เทพมหานคร ผูน้ ากลุ่มชุมนุมเข้ามอบตั ว กับ รัฐบาล แต่มีผชู้ มุ นุมจานวนหนึ่งบุกเผาท าลาย อาคารสถานที่สาคัญหลายแห่ง (รวมทั้งศูนย์การค้าขนาดใหญ่ที่สดุ ในประเทศ) ในการชุมนุมครั้งนี้ มีผเู้ สียชีวิตทัง้ สิ้นราว 70 คน ในระยะเริ่ ม ต้น ประเทศต่ า งๆ ออก ประกาศคาเตือนนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับเหตุการณ์ ประท้วงในครัง้ นี้ อย่างไรก็ตาม เมื่อเหตุการณ์ทวี ความรุน แรงขึ้ น ในเดื อ นพฤษภาคม หลายๆ ประเทศ เช่น จีน เยอรมัน เวียดนาม ได้ปรับระดับ ค าเตื อ นไปถึ ง ขั้ น สูง สุด ส่ ว นสหรั ฐ อเมริ ก าได้ ประกาศคาเตือน การเดินทางมาประเทศไทยขัน้ สูงสุดในวันที่ 16 พฤษภาคม การประท้วงส่ง ผลให้บ ริษัทนาเที่ย วต่า งๆหยุดให้บ ริการนาเที่ยวมายังประเทศไทย อาทิ บริษทั JTB ซึ่งเป็ นบริษทั นาเที่ยวขนาดใหญ่ที่สดุ ของญี่ปุ่น หยุดการเดินทางมาประเทศไทยระหว่าง วันที่ 24 เมษายน ถึง 31 พฤษภาคม ทั้งหมด สายการบินต่างๆ ก็ยินยอมให้นกั ท่องเที่ยวยกเลิก

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 10


การบินหรือปรับเปลี่ยนเส้นทาง อาทิ สายการบินสิงคโปร์ ซึ่ งคืนเงินชดเชยทั้งหมดให้กบั ผูโ้ ดยสารที่ จองเที่ยวบินมากรุงเทพฯ ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2553 เหต ุการณ์ความไม่สงบในกร ุงเทพฯส่งผลต่อพื้นที่อื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่ชมุ นุม โรงแรมต่างหยุดดาเนินการตลอดช่วงกลางเดือน พฤษภาคม และโรงแรมในกรุงเทพฯโดยรวม มีอัตราการเข้าพักตา่ กว่า 30% รายงานของภาคอุตสาหกรรม ท่อ งเที่ ยวคาดการณ์ว่ า ผูป้ ระกอบการโรงแรมในกรุงเทพฯ สูญเสียรายได้วั นละ 75,000 – 110,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อวันตลอดช่วงเหตุการณ์ความไม่สงบ และความเสียหายโดยรวมอาจสูง ถึง 450 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาของประเทศไทย รายงานว่า ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2553 จานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยลดลงราว 50% แม้ว่าเหตุการณ์ความไม่สงบจะเกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพฯ เป็ นส่วนใหญ่ แต่แหล่งท่องเที่ยว อื่นๆ ก็ได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกัน จากรายงานของการท่อ งเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานภูเก็ต อัตราการเข้าพักตามโรงแรมในจังหวัดภูเก็ ตลดลงตา่ กว่า 40% ในขณะที่ อาเภอเขาหลัก และ จังหวัดกระบี่ มีอตั ราการเข้าพัก 10 และ 30% ตามลาดับ หนทางสูก่ ารฟ้ ื นฟู ประเทศไทยเผชิญกับความไม่สงบทางการเมืองอย่างต่อเนื่องหลังเหตุการณ์รั ฐประหารในปี 2549 ในเดือนธันวาคม 2551 กลุ่มคนเสื้อเหลือง ซึ่งเป็ นฝ่ ายตรงข้ามกับกลุ่มคนเสื้อแดง ได้ปิด สนามบินในกรุงเทพฯ ทั้ง 2 แห่งเป็ นเวลามากกว่า 1 สัปดาห์ ในปี ต่อมา การประท้วงของกลุ่มคน เสื้อแดงในเดือนเมษายนทาให้การประชุมสุดยอด ASEAN ที่พทั ยาต้องล้มเลิกไป รัฐบาลไทยได้ออกมาตรการ ต่า งๆ เพื่ อ เยี ย วยาความเสี ย หายที่ เกิ ด ขึ้ น ต่อ ภาคการท่ อ งเที่ ย ว อาทิ มอบเงินชดเชยแก่นกั ท่องเที่ยวที่ได้รับ ผลกระทบจากการปิ ดสนามบิน, เพิ่ม งบประมาณเพื่ อ ฟื้ นฟู ภ าพลั ก ษณ์ ทางการท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทย, ลดค่ า ธรรมเนีย มลงจอดเครื่ อ งบิ น (Landing fee) ให้สายการบินลดภาษี ให้ผปู้ ระกอบการด้า นการท่อ งเที่ ยว และงดค่าธรรมเนียมวีซ่านักท่องเที่ยว เป็ นเวลา 1 ปี ภายหลังเหตุการณ์เดือ นพฤษภาคม 2553 มีแนวโน้มว่ารัฐบาลไทยจะดาเนินการตาม มาตรการเดิมของปี ที่ผ่านมา โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้เตรียมเงินกูส้ าหรับธุรกิ จด้าน

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 11


การท่องเที่ยว และเพิ่มงบให้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 31 ล้านดอลลาร์สหรัฐสาหรับการฟื้ นฟู ภาพลักษณ์ในต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Council of Thailand) คาดการณ์ว่า ในปี 2553 จานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาไทยจะลดลง 11% และรายได้จากการ ท่องเที่ยวจะลด 20% ตามการคาดการณ์อย่างเลวร้ายที่สดุ (Worst case scenario) อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวไทยจะใช้เวลาประมาณ 8 เดือนก่อนจะฟื้ นคืนสู่ปกติ ดังเช่นกรณีของประเทศเม็กซิโก ซึ่งประสบวิกฤต H1N1 ในเดือน พ.ค.- มิ.ย. 52 โดยเหตุการณ์ครัง้ นัน้ ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเม็กซิโก ในปี 2552 มีนกั ท่องเที่ยวเดินทางเข้าเม็กซิโกลดลง 4.6% และรายได้จากการท่องเที่ยวลดลง 9.5% ความแตกต่า งระหว่ า งเม็ ก ซิ โ กกับ ประเทศไทย คื อ ความแน่น อนของการฟื้ นฟู ในอนาคต สาหรับเม็กซิโก หลังเดือนมิถนุ ายน 2552 เมื่อสามารถควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของ H1N1 ได้ นักท่องเที่ยวก็มีความมัน่ ใจในการกลับเข้าไปเดินทางท่องเที่ยวในเม็กซิ โกอีกครั้ง แต่ สาหรับสถานการณ์ในประเทศไทย แม้ว่าแกนนาการชุมนุมจะอยู่ในการควบคุมตัวของทางการแล้ว แต่ความไม่สงบทางการเมืองก็ยงั สามารถเกิดขึ้นได้อีก เหตุการณ์สาคัญๆในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาอาจ ส่งผลกระทบทางลบต่อประเทศไทย ซึ่งไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะสัน้ แม้จะทาการตลาดเพียงใดก็ ตาม 4. โค้ชด้านการเดินทาง ส่วนแบ่งตลาด (Niche) ที่มีโอกาสเติบโต ชาวอเมริกนั ในปั จจุบนั เริ่มหันไปสูก่ ารเดินทางท่องเที่ยวเพื่อหลีกหนีความเบื่อหน่ายจาเจ และ เพิ่มความหมายให้กับชีวิต และเริ่มแสวงหาคาแนะนาจากผูใ้ ห้คาปรึกษาด้านการเดินทาง หรือ โค้ช ด้านการเดินทาง Euromonitor International มองว่าส่วนแบ่งตลาด (Niche) เล็กๆ นี้ ซึ่งมีบริษทั Three Month Visa เป็ นผูน้ า เป็ นส่วนแบ่งตลาดที่มีโอกาสในการเติบโตสูง การท่องเที่ยวและโค้ชการเดินทางเปลี่ยนชีวิตค ุณได้ ผู้ ใ ห้ ค า ป รึ ก ษ า ด้ า น ก า ร เดินทางและการท่ อ งเที่ ยว หรื อ โค้ช การเดินทาง (Travel coach) แต่เดิมจะ มีหน้าที่เพียงให้คาปรึกษาในการวาง แผนการเดิ น ทางกั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว อย่ า งไรก็ ต าม ปั จจุบั น มี โ ค้ช การ เดิ น ทางรูป แบบใหม่ เ กิ ด ขึ้ น ภายใต้ การนาของ Tara Russell ผูก้ ่อตั้ง บริษทั Three Month Visa โค้ชด้านการ เดินทางและท่องเที่ยวแบบใหม่จะช่วย นักท่องเที่ยวในการค้นหาแรงบันดาล ใจในการเดิ น ทาง และสิ่ ง ที่ ต อ้ งการ e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 12


บรรลุจากการเดินทาง หลังจากนัน้ โค้ชจะช่วยนักท่องเที่ยวค้นหาแหล่ง ท่องเที่ยวและกิจกรรมที่ เหมาะสมกับเป้าหมาย โค้ชจะให้คาแนะนา แต่นกั ท่องเที่ยวจะเป็ นผูต้ ดั สินใจเลือกสิ่งต่างๆด้วยตัวเอง นอกจากนี้ โค้ชยังมีบทบาทสาคัญในกระบวนการภายหลังการเดินทาง ซึ่งเป็ นกระบวนการ สาคัญที่จะทาให้นกั ท่องเที่ยวสามารถนาประสบการณ์ที่ได้รับมาเป็ นบทเรียน และนาไปปรับปรุงชีวิต ให้ดีขึ้น สาหรับผูท้ ี่เดินทางท่องเที่ยวระยะยาว โค้ชจะช่วยในกระบวนการกลับเข้าสู่สภาวะเดิมของ นักท่องเที่ยว การทบทวนการจัดลาดับความสาคัญของสิ่งต่างๆและการบรรล ุเป้าหมายส่วนตัว การท างานและการใช้ชีวิ ตประจาวั นอันแสนวุ่นวาย ในสถานการณ์ที่ ไม่มัน่ คง ท าให้ผคู้ น จานวนมากเริ่มทบทวนว่าอะไรคือสิ่งที่ สาคัญที่สดุ สาหรับพวกเขา และทบทวนการใช้ชีวิตตนเอง สาหรับคนจานวนนี้ การท่องเที่ยวเป็ นวิ ธีการหนึ่งในการค้นหาประสบการณ์ใหม่ๆ พบคนใหม่ๆ เรียนรูว้ ัฒนธรรมใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงของผูบ้ ริโภคที่กล่าวมานี้ทาให้เกิดแนวโน้มการแสวงหา คาแนะนาและคาปรึกษาจากโค้ชด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว สาเหตุอื่นที่ส่งผลให้นกั ท่องเที่ยว หันมาใช้บริการจากโค้ชด้านการเดินทางมากขึ้น ได้แก่ การเปลี่ยนสถานที่ทางาน, การเดินทางระยะ ยาวภายหลังการเกษียณอายุ, การหย่าร้าง เป็ นต้น นักท่องเที่ยวอาจต้องการคาปรึกษาสาหรับ โอกาสพิเศษ เช่นการท่องเที่ยวบวกกิจกรรมอาสาสมัคร, การท่องเที่ยวฮันนีมนู , การท่องเที่ยวไป ทางานไป มีผคู้ นจานวนมากที่ไม่เลือกการเดินทาง ระยะยาวเนื่ อ งจากมี ค วามเป็ นห่ ว งเรื่ อ ง ค่าใช้จ่าย และ/หรือครอบครัว โค้ชการเดินทาง จะช่วยนักท่องเที่ยวในการวางแผนด้านการเงิน และหาวิ ธี ก ารรั ก ษาดุล ยภาพระหว่ า งการ ท่องเที่ยวและความสัมพันธ์กบั ครอบครัว นัก ท่อ งเที่ ยวจะมีความพอใจเนื่อ งจาก สามารถเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเป้าหมายตามที่ ตนเองต้อ งการ เมื่ อ การเดิ น ทางสิ้ น สุด ลง นั ก ท่ อ งเที่ ย วจะสามารถใช้ ป ร ะโยชน์ จ าก ประสบการณ์ ที่ ไ ด้รั บ ระหว่ า งการเดิ น ทาง ท่องเที่ยวในการทางานหรือชีวิตประจาวัน โดย มีโค้ชคอยให้คาแนะนาและคาปรึกษา บริ ษัท ใหญ่ ๆ เริ่ ม ให้ค วามส าคัญ กับ นโยบายการลาเพื่ อ เพิ่ ม พูน ความร ข้ ู องพนัก งาน (Sabbatical) สิ่งที่ช่วยเพิ่มความต้องการใช้บริการโค้ชด้านการท่องเที่ยวคือนโยบายอนุญาตให้พนักงาน ลาเพื่อหาความรูเ้ พิ่มเติม ซึ่ งบริษัทต่างๆเริ่มให้ความสาคัญกับเรื่องนี้ โดยกาหนดการลาเพื่อหา ความรูเ้ พิ่มเติม หรือ Sabbatical leave เป็ นนโยบายเพื่อรักษาพนักงานไว้ในระยะยาว นโยบาย

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 13


Sabbatical แสดงให้เห็นว่าบริษทั ให้คณ ุ ค่ากับความทุ่มเทของพนักงาน นอกจากนี้ การวิจัยยังพบว่า การท่องเที่ยวบ่อยๆ ลดโอกาสการเป็ นโรคหัวใจในผูช้ ายถึงร้อยละ 50 การทางานร่วมกับโค้ชการเดินทาง ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ จะได้รับผลประโยชน์ จากการร่ ว มงานกับ โค้ช การเดิ นทางและท่ อ งเที่ ย ว แม้ว่ า โค้ช จะไม่เ ป็ นผูก้ าหนดเส้น ทาง แหล่ง ท่องเที่ยว หรือกิจการ (Supplier) โดยตรง แต่โค้ชจะเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนาต่างๆกับนักท่องเที่ยว ผู้ป ระกอบการด้า นการ ท่องเที่ยวควรส่งข้อ มูลผลิตภัณ ฑ์ ของตนให้กบั โค้ชด้านการท่องเที่ยว อย่ า งสม่ า เสมอ โค้ช จะได้เ สนอ ข้อ มู ล เหล่ า นี้ ใ ห้กั บ ลู ก ค้า ต่ อ ไป เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว (Destinations) ที่สามารถส่งข้อมูล เ กี่ ย ว กั บ เ มื อ ง ภู มิ ภ า ค ห รื อ กิ จ กรรมที่ น่ า สนใจและต้อ งการ นาเสนอ ให้กบั โค้ชการเดินทาง การจ้างโค้ชการเดินทางและการท่องเที่ยว บริษทั ขนาดใหญ่ที่มีนโยบาย Sabbatical ควรมีโค้ชการเดินทางเป็ นเจ้าหน้าที่ประจา เพื่อจะได้ ทางานร่วมกับพนักงานและบริษทั ให้การเดินทางมีคณ ุ ค่ามากขึน้ บริษัทการท่องเที่ยวระดับบนจะได้รับประโยชน์จากการมีพนักงานเป็ นโค้ชด้านการเดินทาง ท่องเที่ยว เพื่อให้คาปรึกษาแก่นกั ท่องเที่ยวที่ตอ้ งการประสบการณ์ในการท่องเที่ยวเชิงลึก โค้ชการเดินทางและท่องเที่ยวในระดับโลก การให้คาปรึกษาด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว หรือโค้ชการเดินทาง ไม่จากัดเฉพาะใน สหรัฐเท่านัน้ ประเทศอื่นๆก็สามารถมีโค้ชการเดินทางได้เช่นกัน ยุโรปตะวันตกเป็ นภูมิภาคที่มีโอกาส เติบโตสูง เนื่องจากพนักงานบริษทั มีจานวนวั นหยุดสูง นอกจากนี้ยังมีกลุ่มนักท่องเที่ยว Gap year จานวนมาก พื้ น ที่ ที่ เ ป็ นศูน ย์ก ลางเศรษฐกิ จ การเงิน เช่น ดูไ บ ก็ ส ามารถมี โค้ช การเดิน ทางที่ ท างาน ร่วมกับบริษทั ขนาดใหญ่ในพื้นที่ เพื่อให้คาปรึกษาแก่พนักงาน ซึ่งจะเพิ่มผลประโยชน์แก่บริษทั ในระยะ ยาว

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 14


5. กาตาร์ม่งุ พัฒนาอ ุตสาหกรรมการท่องเที่ยว นับตัง้ แต่ปี 2551 เป็ นต้นมา รัฐบาลกาตาร์ได้เพิ่มงบลงทุนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจและส่งเสริมภาพลักษณ์ของกาตาร์ในระดับโลก แม้ว่าจะมี การเสนอขายการท่องเที่ยวชายทะเลสาหรับนักท่องเที่ยวระดับกลางอยู่บา้ ง แต่กาตาร์ได้ม่งุ เน้นการ สร้างรีสอร์ทและแหล่งท่องเที่ยวระดับหลายพันล้านเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุม่ High-end ระหว่างปี 2547 และ 2552 รัฐกาตาร์มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเฉลี่ย 13.4% ด้วยเหตุนี้ ทาให้รัฐบาลสามารถเพิ่มงบประมาณด้านการท่องเที่ยวได้ โดยระหว่างปี 2551 ถึง 2557 รัฐบาลได้แ บ่ ง งบประมาณเพื่ อ สร้า งสิ่งอ านวยความสะดวกขั้นพื้ นฐาน (Infrastructure), โรงแรม และสถานที่จดั งานต่างๆ เป็ นมูลค่า 20,000 ล้านเหรียญสหรัฐ

ปั จจุบัน อุตสาหกรรมการท่อ งเที่ ยวยังไม่ได้เ ป็ นภาคเศรษฐกิจที่ สาคัญของกาตาร์ ในปี 2552 กาตาร์มีรายได้จากการท่องเที่ยว 700 ล้านเหรียญสหรัฐ ตา่ กว่า 1,100 ล้านเหรียญของ บาห์เรน 7,200 ล้านเหรียญของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อย่างไรก็ตาม การใช้จ่ายงบประมาณเพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในกาตาร์ได้เพิ่มขึ้น และกาตาร์ก็เริ่มได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวตลาด MICE โดยในปี 2552 กาตาร์ได้จดั งานต่างๆ จานวน 80 งาน มีการลงทุนขนาดใหญ่เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวระดับบน เช่น Qatar Entertainment City และ Lusail City นอกจากนี้ มีโครงการ Pearl มูลค่า 20,000 ล้านเหรียญ ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2556 ซึ่งจะเพิ่มปริมาณที่พกั รวมทัง้ บริเวณชายหาดอีก 32 กิโลเมตร บนเกาะที่สร้างโดยมนุษย์ซึ่ง มีรปู ร่างคล้ายสร้อยไข่มกุ นอกจากนี้ รัฐบาลกาตาร์ได้พยายามพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงกี ฬา โดยกาตาร์ได้เป็ นเจ้าภาพ เอเชี่ยนเกมส์ในปี 2549 และจะเป็ นเจ้าภาพฟุตบอล Asian Cup ในปี 2554 นอกจากนี้ กาตาร์ยังได้ ยื่นคาขอเป็ นเจ้าภาพจัดงานฟุตบอลโลกในปี 2565 และงานโอลิมปิ กฤดูรอ้ นปี 2563 อีกด้วย

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 15


รายได้จากนักท่องเที่ยวและมูลค่าจริงของการค้าปลีก ( Real retail value) ที่พกั ในกาตาร์ ปี 2552-2557 Retail value RRP in QR billion at constant 2009 prices

Chart 1

Real retail value of travel accommodation and incoming tourist receipts in Qatar: 2009-2014 ที่มา : ยูโรมอนิเตอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล นัยยะทางการท่องเที่ยว แผนการของรัฐ บาลกาตาร์เ พื่ อ ปรั บ ปรุง โครงสร้า งพื้ น ฐานต่ า งๆจะกระตุน้ การเดิ น ทาง ท่องเที่ยวเข้ามาในพื้นที่ สนามบินนานาชาติโดฮาแห่ง ใหม่ มูลค่า 14,500 ล้านเหรียญสหรัฐ และสามารถ รองรับ ผูโ้ ดยสารได้ 25 ล้า นคน จะเปิ ดขึ้นในปี 2555 โดยมีแผนการขยับขยายไปจนถึงปี 2558 นอกจากนี้ ยังมีแผนการสร้างรถไฟใต้ดินในกรุงโด ฮาอีกด้วย แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจโลกจะส่งผลให้จานวนวันพักของนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศโดยรวม ลดลงจาก 1.2 ล้านไปเป็ น 952,000 คนระหว่างปี 2550 ถึง 2552 แต่กาตาร์กลับได้รับ นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น จาก 964,000 คน ไปเป็ น 1.1 ล้านคนในช่วงเวลาเดียวกัน โดยนักท่องเที่ยวที่ เพิ่มขึน้ ส่วนใหญ่เป็ นนักท่องเที่ยวภายนอกภูมิภาคตะวันออกกลาง โดยมีตลาดนักท่องเที่ยวยุโรปเป็ น ตลาดที่สาคัญ นักท่องเที่ยวยุโรปซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 16.3 ของนักท่องเที่ยวทั้งหมดในปี 2547 และ เพิ่มขึน้ เป็ นร้อยละ 33.1 ภายในปี 2552 e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 16


จานวนนักธุรกิจที่ เดินทางมากาตาร์เ พิ่มขึ้นระหว่า งปี 2551-2 แม้ว่า ทัว่ โลกจะมีภาวะ เศรษฐกิจซบเซา การลงทุนขนาดใหญ่ในอนาคต เช่น Doha Convention Centre and Towers ซึ่งมี กาหนดเปิ ดในปี 2555 จะเพิ่มความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ซึ่ งคาดว่าจะเติบโต จาก 9 แสนคนไปเป็ น 1.6 ล้านคนในปี 2557 จานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ากาตาร์ ปี พ.ศ. 2552-2557 จาแนกโดยวัตถ ุประสงค์

Chart 2 Tourist arrivals to Qatar by purpose: 2004-2014 ที่มา : ยูโรมอนิเตอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล การคาดการณ์แนวโน้ม ในปี 2557 คาดว่าจานวนนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ากาตาร์จะถึง 1.8 ล้านคน โดยมีการ เพิ่มขึน้ ของนักท่องเที่ยวธุรกิจในอัตราร้อยละ 11.9 ต่อปี ระหว่าง 2552 - 2557 องค์การส่งเสริม การท่องเที่ยวกาตาร์คาดว่าระหว่างปี 2553 ถึง 2554 จะมีโรงแรมที่พักเปิ ดใหม่ 40 แห่ง คิดเป็ น ห้องพัก 7,000 ห้อง การคาดการณ์มลู ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว มูลค่าการใช้จ่ายขึ้นอยู่กบั ภาวะเศรษฐกิจโลก ขณะที่นกั ท่องเที่ยวยุโรปเป็ นตลาดที่เติบโต แต่สภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาในยุโรปอาจส่งผลในทางลบ ต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในกาตาร์ ธุรกิจและสถาบันการเงินขนาดใหญ่จานวนมาก กาลังหาวิถีทางลงทุนในภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ซึ่งจะสามารถทาให้ธรุ กิจเหล่านีเ้ ติบโตขึน้ ได้ในอนาคต อาทิ สายการบินกาตาร์แอร์ เวย์ ซึ่งวางแผนเปิ ดโรงแรมแอร์พอร์ตแห่งแรกในเดือนมิถนุ ายน 2553 นอกจากนี้ เมื่อต้นปี รัฐบาลกาตาร์ได้ยกเลิกกฎหมายซึ่งบังคับให้ธรุ กิจต่างชาติตอ้ งมีสดั ส่วน หุน้ ในประเทศร้อยละ 49 ส่งผลให้ธรุ กิจที่มีหนุ้ ต่างชาติรอ้ ยเปอร์เซ็นต์ สามารถเข้ามาลงทุนในภาค การท่องเที่ยวและธุรกิจอื่นๆ ในกาตาร์ได้ และในเดือนเมษายน 2553 รัฐบาลได้เลิกล้มแผนการ บังคับให้ประเทศต่างๆ 33 ประเทศต้องมีวีซ่าเข้ากาตาร์ หลังถูกคัดค้านจากสายการบินและธุรกิจ ท่องเที่ยวต่างๆ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 17


6. ย ุโรปเสนอข้อตกลงเปิดน่านฟ้าเสรีกบั บราซิล ในเดื อ นพฤษภาคม 2553 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ห ภ า พ ยุ โ ร ป (European Commission) ได้เสนอการ จัดทาข้อตกลงเปิ ดน่านฟ้ าเสรี (Open skies agreement) กับประเทศบราซิล ข้อ เสนอดัง กล่า วเกิ ด ขึ้น จากความ พยายามฟื้ นตั ว ของภูมิ ภ าคยุโ รป ภายหลังได้รับ ผลกระทบจากวิ กฤต เศรษฐกิจและการระเบิดของภูเขาไฟ ในประเทศไอซ์แลนด์ การรวมตัวกัน มากขึ้นของอุตสาหกรรมการบิ นใน ยุ โ รป และกา รพ ยา ยา มเ พิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่งขันให้กบั ภูมิภาค เป็ นอีกปั จจัยที่ผลักดันไปสูก่ ารเปิ ดเสรี สายการบินในยุโรปล้วนได้รับผลประโยชน์ภายหลังการก่อตัง้ สหภาพยุโรป (European Union หรือ EU) อย่างไรก็ตาม สายการบินยุโรปก็ยงั ถูกจากัดเมื่อทาการบินภายนอกเขตของสหภาพฯ จาก ข้อตกลงทวิภาคีระหว่างประเทศ (Bilateral agreement) ซึ่งมักมีขอ้ จากัดในเรื่องจานวนเครื่อง จานวน เที่ยวบิน และเส้นทางบิน ด้วยเหตุนี้ EU จึงเริ่มพยายามหามาตรการเพื่อก้าวข้ามข้อจากัดดังกล่าว เพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต หนึ่งในมาตรการเหล่านัน้ คือการจัดตัง้ เขตการบินร่วม (Common aviation area) ในแถบเมดิ เตอร์เรเนียนและแถบยุโรปตะวันออก โดยมีจดุ ประสงค์คือการสร้างตลาดการคมนาคมทางอากาศ ยุโรปที่เป็ นหนึ่งเดียว นอกจากนี้ ยุโรปยังเริ่มโครงการ SESAR (Single European Sky Air Traffic Management Research หรือโครงการวิจัยการบริหารจัดการการคมนาคมทางอากาศที่รวมตัวกัน ของยุโรป) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การเติบโตของการคมนาคมทางอากาศของยุโรปในอนาคตเป็ นไป อย่างปลอดภัย, สะดวก ประหยัด และเป็ นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อ มมากที่ สดุ โดย EU คาดว่ าการ คมนาคมทางอากาศของยุโรปจะเพิ่มขึ้นเป็ น 3 เท่าภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) และหนึ่งใน มาตรการที่สาคัญก็คือการลงนามในข้อตกลงเปิ ดน่านฟ้ าเสรีกบั ประเทศสาคัญๆ เช่น สหรัฐอเมริกา และบราซิล ทาไมถึงเป็นบราซิล ? คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป หรือ EC คาดว่าการลงนามในข้อตกลงดังกล่าวจะส่งผลให้มี ผูโ้ ดยสารระหว่างบราซิลและประเทศในสหภาพยุโรป 335,000 คนภายในปี แรก สร้างรายได้สงู ถึง 460 ล้านยูโรต่อปี นอกจากบราซิลจะเป็ นตลาดการคมนาคมทางอากาศที่ใหญ่ที่สดุ ในอเมริกาใต้ บราซิลยังมีความโดดเด่นเนื่องจากมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง ไม่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากวิกฤต เศรษฐกิจ นอกจากนี้บราซิลยังได้รับเลือกให้เป็ นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลกในปี 2557 (ค.ศ. 2014) และการแข่งขันโอลิมปิ กในปี 2559 (ค.ศ. 2016) ด้วยเหตุเหล่านีท้ าให้บราซิลมีแนวโน้มที่จะ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 18


ลงทุนพัฒนาโครงสร้า งพื้ นฐานส าหรับ การท่อ งเที่ ยวเพิ่ มขึ้น , มี ชนชั้นกลางที่ เ พิ่ มขึ้น และมีการ คมนาคมทางอากาศเพิ่มขึน้ ด้วย จากการคาดการณ์ของ Euro monitor การคมนาคมทางอากาศของบราซิ ลมีแนวโน้มจะ เพิ่มขึน้ ในอัตราที่รวดเร็วกว่ายุโรป ในปี 2553 การขายที่นงั ่ บนเครื่องบินในบราซิลคาดว่าจะเพิ่มขึ้น 21% ในขณะที่ยโุ รปตะวันออกมีการเพิ่มขึน้ เพียง 3% และยุโรปตะวันตกมีการลดลง 3% แนวโน้มการคมนาคมทางอากาศ อัตรามูลค่าเพิ่ม (%) มูลค่าการขายการคมนาคมทางอากาศ 2552 2553 บราซิล 4.5 21.3 ยุโรปตะวันออก -6 3.4 ยุโรปตะวันตก -7.5 -3.1

2554 9 5.5 1

2555 7.5 5.8 3

2556 8.7 5.9 3.2

2557 7.4 6.3 3

สิ่งที่คาดหวังว่าจะได้รบั ภายหลังการลงนามข้อตกลงน่านฟ้ าเสรีระหว่าง EU กับบราซิล คาดว่าผูโ้ ดยสารและการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศจะเพิ่มมากขึ้ น ซึ่งจะส่งเสริมการท่องเที่ยว การค้า และส่งผลดีต่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ การลงนามดังกล่าวจะช่วยลดการแทรกแซงในกิจการของบริษัท ขนส่งเอกชนโดยรัฐบาล ซึ่งจะส่งผลให้มีการบริการที่สะดวก รวดเร็ว และคุม้ ค่าคุม้ ราคามากขึน้ อ ุปสรรคที่อาจพบในภายหน้า บราซิ ล มี เ ศรษฐกิ จ ที่ ค่ อ นข้า งปิ ดเมื่ อ เที ย บกั บ สหรัฐ แม้ว่าจะมีการยกเลิกราคาขัน้ ตา่ สาหรับสายการบิน ทั้งบราซิลและต่างประเทศในเดือนพฤษภาคม 2552 แต่ก็ ยัง มี ก ารจ ากัด เส้นทางและเครื่ อ งบิ นที่ เ ดิ น ทางเข้า ออก บราซิ ล ซึ่งเพิ่มผลประโยชน์ให้กับสายการบินท้องถิ่นเช่น TAM นอกจากนี้ บราซิลอาจจะยังไม่พร้อมสาหรับการ เปิ ดน่านฟ้ าเสรี ท่า อากาศยานของบราซิ ลยังต้องมีการ ปรับปรุงอีกมากเพื่อรองรับผูโ้ ดยสารที่จะเพิ่มขึ้นในปี ที่มี การแข่ง ขันฟุ ตบอลโลกและโอลิมปิ ก ปั จจุบันท่า อากาศ ยานทุกแห่งในบราซิลรองรับผูโ้ ดยสารเกินขีดการรองรับ ถึง 36% และแม้ว่าจะมีการจัดสรรงบประมาณ 3 พันล้าน เหรี ย ญสหรัฐเพื่ อ ปรับ ปรุง โครงสร้า งสนามบิ น ปั ญหา ต่างๆอาจไม่ได้รบั การแก้ไขภายใน 4 ถึง 6 ปี ข้างหน้า ไม่ ว่ า จะมี ก ารลงนามในข้อ ตกลงน่ า นฟ้ าเสรี ระหว่าง EU กับบราซิลหรือไม่ก็ตาม สิ่งที่สาคัญที่สดุ คือ กา รท า งา น ร่ ว มกั น ระ ห ว่ า งพั น ธมิ ต รแ ละ ภ า ย ใ น

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 19


อุตสาหกรรมเพื่อปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยสาหรับการคมนาคมทางอากาศ และการดูแล ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากอุตสาหกรรมนี้ 7. ปรากฏการณ์รถไฟความเร็วสูงในย ุโรป รถไฟความเร็วสูง (High speed rail) กาลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในภูมิภาคยุโรป เนื่องจากมี ความสะดวกและรวดเร็ ว มากกว่ า การบิ นระยะใกล้ ท าให้รถไฟความเร็ ว สูงได้รับความนิยมจาก นักท่องเที่ยวเป็ นจานวนมาก ส่งผลกระทบต่อสายการบินในเส้นทางสาคัญๆ ในยุโรป Euro monitor International คาดการณ์ว่า จะมีการพัฒนาระบบคมนาคมทางอากาศและรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อมโยง กัน ในภูมิ ภ าคยุโ รป โดยรถไฟความเร็ ว สูง จะได้รับ ส่ว นแบ่ ง มากกว่ า ในเส้น ทางระยะสั้น และใน ขณะเดียวกัน ก็ จะมีบทบาทช่วยเชื่อ มโยงสถานีรถไฟท้อ งถิ่นและท่า อากาศยานนานาชาติสาหรับ เส้นทางระยะไกล ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีการขยายตัวขึ้นเรือ่ ยๆ ในปั จจุบัน เครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในยุโรปมีระยะทางเกือบ 7,000 กิโลเมตร เครือข่าย ขนาดใหญ่ที่สดุ คือที่ฝรัง่ เศส ซึ่งมีระยะทาง 1,700 กิโลเมตร ฝรัง่ เศสเป็ นหนึง่ ในประเทศแรกของโลก ที่สร้างระบบรถไฟความเร็วสูงในปี พ.ศ. 2524 ซึ่งเชื่อมต่อนครปารีสกับลียอง ประเทศอื่นๆ ใน ยุโรปที่มีระบบรถไฟ high speed ได้แก่ เยอรมัน (1,290 กม.), สเปน (1,272 กม.) และอิตาลี (814 กม.) หนึ่ง ในโครงการที่ ส าคัญ ที่ ส ดุ ในช่ว งเวลาที่ ผ่า นมา คื อ โครงการก่อ สร้า งเส้ น ทางรถไฟ ความเร็วสูงระหว่างบาร์เซโลนากับมาดริดในปี 2551 และระหว่างอิตาลีตอนเหนือกับตอนใต้ ใน ปี 2552 ในบรรดาเส้นทางรถไฟความเร็ วสูงระหว่างประเทศสายต่างๆ สายที่สาคัญๆได้แก่ สาย Eurostar ซึ่ งเชื่ อมต่อลอนดอน ปารีส กับบรัสเซลส์, สาย Thalys ซึ่ งเชื่อ มต่อ ปารี ส บรัสเซล กับ อัมสเตอร์ดมั , บรัสเซลกับโคโลญ, บรัสเซลส์ แฟรงก์เฟิ ร์ต กับยุโรปตะวันออก, ปารีสกับลักซัมเบิรก์ และ แฟรงก์เฟิ ร์ตกับซูริค สหราชอาณาจัก รเป็ นประเทศขนาดใหญ่ ในยุโรปประเทศเดียวที่ ยังไม่พัฒนาระบบรถไฟ ความเร็ ว สูง แม้ว่ า จะมี ก ารถกเถี ย งกั น ถึ ง การสร้า งเส้น ทางที่ จ ะเชื่ อ มโยงลอนดอนเข้า กั บ เบิ ร์มมิง แฮม แมนเชสเตอร์ เอดิ นเบิ ร์ก กับ กลาสโกว แต่ ณ ปั จ จุบัน ก็ ยัง ไม่มี การตัด สิ นใจใดๆ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลใหม่ของสหราชอาณาจักรได้หยุดโครงการสร้างรันเวย์เส้นที่ 3 ที่สนามบินฮีท โธรว์ ซึ่งการตัดสินใจดังกล่าวอาจส่งผลกระทบทางบวกต่อการลงทุนในรถไฟความเร็วสูงในอนาคต การรวมตัวของเครือข่ายระหว่างประเทศ เครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในยุโรปมีแนวโน้มว่าจะเติบโตอย่างรวดเร็วภายใน 10 ปี ข้างหน้า โครงการสาคัญๆ ที่อยู่ระหว่างการดาเนินการได้แก่ เส้นทางเชื่อมต่อระหว่างเมืองเฮลซิงกิกบั เซนต์ปี เตอร์สเบิรก์ , เส้นทางเชื่อมต่อเมืองปาตรัสกับเทสซาโลนิกิ โดยผ่านกรุงเอเธนส์ , ทางเชื่อมระหว่างตู รินกับลียอง, วาร์ซอว์ กับคาโทวิช (Katowice) และปอซนัน (Poznan), ลิสบอนกับมาดริด, ลิสบอนกับ ปอร์โต, ปารีสกับมาดริด, ซูริคกับมาดริด, บูดาเปสต์และบูคาเรสต์ หลาย ๆโครงการเหล่านี้ได้รับ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 20


การสนับสนุนจาก EU ภายใต้โครงการ TEN-R (Trans-European high-speed rail network) ซึ่งมี เป้าหมายคือการรวมตัวของเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงสายต่างๆ ในยุโรป เครือข่าย Railway Alliance (RA) มีบทบาทอย่างมากในการรวมตัวของสายรถไฟความเร็วสูง ในยุโรป RA เป็ นการรวมตัวกันของผูป้ ระกอบการรถไฟความเร็ วสูง ซึ่ งประกอบไปด้วย TGV (ฝรัง่ เศส), Deutsche Bahn/ICE (เยอรมัน), SNCB (เบลเยี่ยม), Eurostar, NS Hispeed (เนเธอร์แลนด์), OBB (ออสเตรีย), SBB (สวิตเซอร์แลนด์) และ Thalys (เบลเยี่ยม) วัตถุประสงค์ของ RA คือประสานงานกิจกรรมต่างๆของเหล่าสมาชิกเพื่อให้การบริการ รถไฟความเร็วสูงมีการเชื่อมโยงกันมากที่สดุ ซึ่งทาโดยการจัดตารางเวลาให้สอดคล้องกัน , การให้ ข้อมูลและการให้คาปรึกษากับนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการใช้บริการรถไฟความเร็วสูง RA ตัง้ ขึ้นโดยใช้ การรวมตัวของสายการบินเป็ นตัวอย่าง และได้เลียนแบบศัพท์และบริการบางอย่าง เช่น ศูนย์กลาง คมนาคม (Hub), โครงการ Frequent flyer, เลานจ์สาหรับนักเดินทางชัน้ ธุรกิจ ปั จจุบันมีศนู ย์กลาง ของ RA อยู่ 5 แห่งซึ่งเป็ นจุดเชื่อมต่อรถไฟความเร็วสูงภายในประเทศ ได้แก่ บรัสเซลส์, ลิลล์, โคโลญ ,แฟรงก์เฟิ ร์ต และสตุตการ์ต การขายเที่ยวบินในย ุโรป ปี 2552 – 2557 ราคาปลีกRSP–ล้านยูโร–อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ปี 2552

สหราชอาณาจักร เยอรมัน สเปน ฝรัง่ เศส อิตาลี ประเทศยุโรปอื่นๆ รวม

25,938 16,273 16,286 13,192 9, 821 56,328 137,837

ปี 2557

24,918 16,960 15,938 19,343 10,798 62,672 150,629

อัตราเติบโต

-3.9 4.2 -2.1 46.6 9.9 11.3 9.3

คแู่ ข่งสาคัญของสายการบิน รถไฟความเร็วสูงประสบความสาเร็จ อย่ า งมากในยุโ รปเนื่ อ งจากมี ค วามสะดวก สามารถเชื่ อ มต่อ จุด ใจกลางเมื อ งต่า งๆได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ รถไฟยัง เป็ นทางเลือ กที่ เป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม โดย ปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดอ๊ อ กไซด์ น ้อ ยกว่ า เครื่องบิน ซึ่งเป็ นเหตุผลหนึ่งที่รัฐบาลและ EU ให้การสนับสนุนการสร้างรถไฟความเร็วสูง ในปั จ จุบัน เครื อ ข่า ยรถไฟความเร็ ว สูง ได้รั บ ส่ ว นแบ่ ง ตลาดขนาดใหญ่ ใ นแต่ล ะ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 21


เส้นทางที่ดาเนินการอยู่ สายรถไฟ Eurostar มีส่วนแบ่งตลาดราว 70-80% สาหรับเส้นทางจาก ลอนดอนไปปารีส และเส้นทางลอนดอน – บรัสเซลส์ รถไฟ AVE ระหว่างมาดริดและบาร์เซโลนาได้ ส่วนแบ่ง ตลาด 50% สาหรับเส้นทางดังกล่าว Air France ได้ยกเลิกเที่ยวบิน ปารีส – บรัสเซลส์ เนือ่ งจากมีการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูงในเส้นทางดังกล่าว สายการบินลุฟต์ฮันซาได้ยกเลิก เที่ยวบินปารีส-สตุตการ์ต ในขณะที่สายการบินไอบีเรีย , อลิตาเลีย และอื่นๆ พบว่าส่วนแบ่งตลาด ของตนได้ลดลงในเส้นทางที่มีรถไฟความเร็วสูง การขายรถไฟในย ุโรป ปี 2552 – 2557 ราคาปลีกRSP–ล้านยูโร–อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ปี 2552

ฝรัง่ เศส เยอรมัน สหราชอาณาจักร อิตาลี สเปน

11,950 9,875 3,359 2,213 1,823

ปี 2557

อัตราเติบโต

14,095 9,966 4,018 2,245 2,735

17.9 0.9 19.6 1.4 50.0

การมุ่งสูร่ ะบบขนส่งที่รวมเป็นหนึ่งเดียว มีแนวโน้มว่า ความสะดวกและรวดเร็วของรถไฟความเร็วสูงในการเชื่อมต่อจุดใจกลางเมือง ต่างๆ จะเป็ นปั จจัยเสี่ยงต่อเส้นทางบินในประเทศ รวมทัง้ เส้นทางระหว่างประเทศระยะใกล้ ในภูมิภาค ยุโรปในอีก 5 ถึง 10 ปี ข้างหน้า มีการคาดการณ์ว่ารถไฟความเร็ วสูงจะรวดเร็วและสะดวกมากกว่า สาหรับนักเดินทางที่เดินทางระหว่างเมืองที่มีระยะทางไม่เกิน 700 กม. ซึ่งในอนาคต ระยะทางอาจ เพิ่มขึน้ มากกว่านี้ หากรถไฟสามารถพัฒนาความเร็วได้มากขึน้ มีสายการบินจานวนหนึ่งที่กาลังศึกษาความเป็ นไปได้ในการร่วมมือกับรถไฟความเร็วสูง เนือ่ งจากไม่สามารถดาเนินการแข่งขันได้ในบางเส้นทาง อาทิเช่น สายการบิน Air France ซึ่งกาลังคิด จะตัง้ แผนกรถไฟความเร็วสูงร่วมกับบริษทั Veolia แม้ว่ายังไม่ประสบความสาเร็จ แต่มีแนวโน้มว่า Air France จะเข้าไปลงทุนทางด้านรถไฟความเร็วสูงอย่างแน่นอน สายการบินลุฟต์ฮันซาได้ร่วมมือกับ บริษทั Deutsche Bahn/ICE จัดทาโครงการ เที่ยวบินต่อรถไฟ (AIRail) ระบบ AIRail ทา ให้ผ ู้โ ดยสารของสายการบิ น ลุฟ ต์ฮั น ซา ส า ม า ร ถ เ ดิ น ท า ง จ า ก เ มื อ ง ต่ า ง ๆ สู่ ศูนย์กลางการบิน (Hub) ของลุฟต์ฮันซาใน แฟรงก์เ ฟิ ร์ต ได้ใ นระยะเวลารวดเร็ ว กว่ า เที่ยวบิน อาทิ 60 นาทีจากโคโลญ และ 70 นาที จ ากสตุต การ์ ต ด้ว ยระบบ AIRail ผูโ้ ดยสารจะสามารถจองเที่ยวบินและรถไฟ ได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถเช็คอินเที่ยวบินได้ตงั้ แต่ที่สถานีรถไฟ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 22


Euromonitor คาดการณ์ว่ายุโรปจะก้าวไปสู่ระบบคมนาคมที่ผสมผสานระบบรถไฟกับระบบ เดินอากาศ โดยรถไฟความเร็วสูงจะได้รับส่วนแบ่งสาคัญในเส้นทางระยะใกล้ ในขณะที่สายการบินจะ สามารถรักษาส่วนแบ่งได้ในเส้นทางระยะกลางและระยะยาว รถไฟความเร็วสูงจะเป็ นคู่แข่งสาคัญ ของสายการบินสาหรับระยะใกล้ แต่จะช่วยเสริมการเดินทางระยะไกลโดยการเชื่อมเมืองต่างๆ เข้าสู่ ศูนย์กลางการบิน นอกจากนี้ เที่ยวบิน low cost ก็คาดว่าจะรักษาส่วนแบ่งตลาดระยะใกล้จากรถไฟ ความเร็ ว สูง ได้เ นื่อ งจากมี ราคาตา่ กว่ า และจะไม่ได้รับ ผลกระทบสาหรับ เส้นทางระยะกลางและ ระยะไกล

*****************************************************************

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 23


สรุปสาระสําคัญจากการประชุม International Medical Tourism & Travel 2010 ระหวางวันที่ 1-2 มีนาคม 2553 ณ โรงแรม Singapore Mariott ประเทศสิงคโปร ณัฏฐิรา อําพลพรรณ1

สาระสําคัญจากการประชุม International Medical Tourism & Travel 2010 แบงออกได 3 สวน ไดแก การบริหารจัดการสถานพยาบาลเพื่อรองรับ Medical Tourism การทําตลาด Medical Tourism สําหรับสถานพยาบาล รวมทั้งสินคาและบริการใหมในตลาด Medical Tourism ทั้งนี้ วิ ทยากรส วนใหญ เป นบุ คลากรในวงการแพทย เนื้ อหาการสั มมนาจึ งเนนหนั กไปที่ การบริหารจัดการ ตลอดจนการทําการตลาดสําหรับสถานพยาบาล นอกจากนี้ ยังมีการพูดถึง ประเด็นดานความเหมาะสมที่จะเสนอขายสินคาและบริการดาน Medical ควบคูไปกับการทองเที่ยว เนื่องจากบริการดานการแพทยมีประเด็นเรื่องจรรยาบรรณแพทยเขามาเกี่ยวของดวย โดยแพทย จํ าเป นต องใหบริ การที่ มุ งเน นความปลอดภัย สุขภาพที่ ดี และความพึงพอใจของผู เขารั บบริ การ เป นหลั ก อย างไรก็ ตาม ความพึ งพอใจของผู เข ารั บ บริ การโดยเฉพาะอย างยิ่ งกรณี บ ริ การทาง การแพทยที่เกี่ยวของกับการเสริมความงามเปนเรื่องเฉพาะของแตละบุคคล (subjective) ทําใหอาจเกิด กรณีฟองรองเรียกคาเสียหาย นอกจากนี้ การเขารับบริการทางการแพทยจําเปนตองมีการติดตาม อาการ ระยะเวลาการพักฟน ซึ่งอาจไมเหมาะสมสําหรับผูเขารับบริการที่เปนนักทองเที่ยวที่มีเวลา จํากัด การบริหารจัดการสถานพยาบาลเพื่อรองรับ Medical Tourism วิทยากรหลายทานไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานพยาบาลเพื่อรองรับ Medical Tourism ในดานตางๆ เชน การจัดการดานมาตรฐานสถานพยาบาล การจัดการเรื่อง กฎระเบียบและกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสําหรับชาวตางชาติ ระบบการตรวจวิเคราะห 1

พนักงานวางแผน 5 งานวิชาการ กองวิจัยการตลาด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


กลุมตัวอยางทางการแพทย การจัดซื้ออุปกรณทางการแพทย และการบริหารทรัพยากรบุคคลใน อุตสาหกรรมบริการสุขภาพ นอกจากนี้ ยังมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความพยายามที่จะ รวมการรักษาแบบอายุรเวชเขาไวกับการรักษาแบบการแพทยทางเลือก (Alternative Medicine) ใน ระบบโรงพยาบาลปจจุบันของสิงคโปร Dr.Paul Chang, Joint Commission International, Singapore ชี้ ใ ห เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของมาตรฐานสถานบริ ก ารสุ ข ภาพ โดย สถานพยาบาลที่ ต อ งการเสนอสิ น ค า และบริ ก ารด า น Medical Tourism จําเปนตองไดรับมาตรฐานที่ไดรับการยอมรับในระดับ นานาชาติ เชน Joint Commission International Accreditation USA หรือ JCIA เปนระบบมาตรฐานของโรงพยาบาลโดยเฉพาะจาก ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนที่รูจักและยอมรับกันทั่วโลกวาเปน ระบบมาตรฐานที่เขมงวดและมุงเนนถึงความปลอดภัยของผูปวย เปนสําคัญทั้งดานการรักษาพยาบาลและดานสิ่งแวดลอม Dr.Bu Castro, Private Hospitals Association of the Philippines ยกตัวอยางแบบฟอรมที่ผูเขารับ บริการชาวตางชาติตองลงนามยินยอมเขารับการรักษาซึ่งมีพื้นฐานจากกฎหมายระหวางประเทศและ สนธิสัญญาขององคการสหประชาชาติ ทั้งนี้ สัญญาและแบบฟอรมทุกประเภทควรมีขอมูลที่เกี่ยวกับ การรักษาทั้งหมดแกคนไขเพื่อปองกันการฟองรองเรียกคาเสียหายภายหลัง Prof. Dr. Aw Tar Choon, Changi General Hospital, Singapore นําเสนอกระบวนการตรวจและ วิเคราะหกลุมตัวอยางของโรงพยาบาล Changi General ซึ่งครอบคลุมตั้งแตการขนสงหลอดตัวอยาง การวิเคราะห และการสงผลการวิเคราะหกลับไปยังโรงพยาบาลตนทางที่มีความรวดเร็วและแมนยําสูง ทั้งนี้ สิงคโปรถือไดวาเปนเจาตลาดการวิเคราะหกลุมตัวอยางทางการแพทยในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต Dato’ Dr.Jacob Thomas, Sime Darby Medical Centre, Malaysia ไดใชความสําเร็จของ Sime Darby Medical Centre ประเทศมาเลเซียในการบริหารจัดการอุปกรณไฮเทคทางการแพทยซึ่งมีราคา แพงเปนกรณีตัวอยาง โดยการพิจารณาดานความตองการ ความสามารถในการบริการของอุปกรณ ทางการแพทย ชิ้นนั้นๆ สถานที่ตั้งสําหรับอุปกรณ ความสามารถในการคืนทุน ตลอดจนการสราง ความเชื่อมั่นแกผูรับบริการทางการแพทย Datuk Mohd Radzif Yuzus, IJN Holdings, Malaysia นําเสนอถึงการพัฒนาบุคลากรดาน การแพทยเพื่อรองรับ Medical Tourism วาควรมีคุณสมบัติเชนเดียวกันกับบุคลากรในอุตสาหกรรม

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 2


การทองเที่ยว ทั้งนี้ บุคลากรทางการแพทยของประเทศไทยเปนที่ยอมรับแกนานาชาติวาเปนบุคลากร ทางการแพทยที่สามารถสรางความพึงพอใจแกผูเขารับการบริการ ทั้งนี้ สถานบริการดานสุขภาพใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมักจัดโปรแกรมแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการแพทยกับประเทศไทย เพื่อ เรียนรูและพัฒนาทักษะการใหบริการจากโรงพยาบาลในประเทศไทย Ms.Vasanthi Pillay, Ayurveda Association of Singapore นําเสนอความพยายามของ Ayurveda Association of Singapore ในการที่จะรวมการรักษาแบบอายุรเวชเขาไวกับการรักษาแบบ การแพทยทางเลือก (Alternative Medicine) ในระบบ โรงพยาบาลป จ จุ บั น ของสิ ง คโปร นอกจากนี้ ยั ง ได แ สดง ความเห็นตอ Medical Tourism หรือการเขารับบริการทาง การแพทย ค วบคู ไ ปกั บ การท อ งเที่ ย วว า อาจจะไม ส ามารถ ประยุกตใชกับการรักษาแบบอายุรเวชได เนื่องจากการรักษา แบบอายุ ร เวชเป น การรั ก ษาแบบองค ร วมที่ ต อ งใช รั ก ษา แบบต อเนื่องและเหมาะสมกั บการรั กษาสํ าหรั บคนในชุ มชน มากกวา

การทําตลาด Medical Tourism สําหรับสถานพยาบาล สําหรับประเด็นการสงเสริมตลาด Medical Tourism นั้น มีการสนทนาและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นเกี่ยวกับ การผนวกเอาสินคาทางการทองเที่ยวของประเทศอินเดียที่โดดเดนจากแคมเปญ Incredible India เขากับการรักษาทางทันตกรรม การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการสงเสริม ตลาดบริการทางการแพทยเพื่อเสริมความงามซึ่งแพทยผูเชี่ยวชาญมักไมแนะนําใหผูปวยทํากิจกรรม ทางการทองเที่ยวทุกประเภทภายหลังเขารับบริการ การเสนอขาย Medical Safari ซึ่งเปนการรวมเอา การผาตัดเพื่อเสริมความงามและการทองเที่ยวปาซาฟารีในแอฟริกาใตไวดวยกัน และบริการพิเศษที่ เรียกวา Shopping Guru สําหรับผูเขารับบริการเสริมความงาม ในโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต Dr. Balvinder S Thakkar, Jaipur Dental Hospital and Orthodcntic Centre นําเสนอสินคาและบริการเกี่ยวกับ ทั น ตกรรม โดยชู จุ ด ขายที่ เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และการดู แ ล รักษาที่ดีเยี่ยม ตลอดจนการเสนอรายการทองเที่ยวควบคูกัน ไปดวย ทั้งนี้ อินเดียยังมีบริการที่เกี่ยวกับสุขภาพซึ่งจะทําให

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


ไดเปรียบคูแขงขัน คือ โยคะ การนั่งสมาธิ และการบําบัดแบบอายุรเวช นอกจากนี้ ประเทศอินเดียยังมี ปญหาเรื่องกฎระเบียบ และกฎหมายทางการแพทยไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ สําหรับสินคาที่เรียกวา Dental Holiday ในประเทศอินเดียจะประกอบดวย 2 สวนหลัก คือ การ รักษาทางทันตกรรม และรายการนําเที่ยว ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบราคาแลวจะเห็นวา Dental Holiday ของ อินเดียจะมีราคาถูกกวาราคาคาบริการดานทันตกรรมเพียงอยางเดียวในประเทศอื่นๆ นอกจากนี้ รายการดังกลาวยังสามารถออกแบบใหเหมาะสมสําหรับนักทองเที่ยวแตละคน (Tailor-made) ไดอีก ดวย เมื่อเปรียบเทียบราคาคารักษาดานทันตกรรมจะพบวาบริการดานทันตกรรมของอินเดียมีราคา ต่ํากวาในประเทศสหรัฐอเมริกาถึงรอยละ 75 โดยลูกคากลุมเปาหมาย ไดแก ลูกคาที่ไมไดรับความ พึงพอใจจากบริการทันตกรรมในระบบสาธารณสุขพื้นฐาน ตลอดจนขาดแคลนบริการเฉพาะทางใน ประเทศกลุม SAARC (บังคลาเทศ ภูฏาน มัลดีฟส เนปาล ปากีสถาน อินเดีย และศรีลังกา) ตะวันออก กลาง และแอฟริกา อยางไรก็ดี เปนที่นาสังเกตวา สินคาทางทันตกรรมที่อินเดียตั้งใจเสนอขายเปน การรักษาทางทันตกรรมพื้นฐาน เชน การถอนฟน อุดฟน ครอบฟน และการทํารากฟนเทียม Dr.Christin Cheng, Singapore National Eye Center ใหขอมูลเกี่ยวกับตลาดบริการทาง การแพทยที่เกี่ยวของกับความงาม และประสบการณเกี่ยวกับการใชกลยุทธที่แตกตางกันในแตละ ตลาด นอกจากนี้ยังไดแสดงความเห็นวาไมควรรวมการทองเที่ยวเขากับการรักษาสุขภาพ (Medical Treatment) ในการเดินทางครั้ง (Trip) เดียวกัน เนื่องจากผูเขารับบริการทางการแพทยไมสามารถ เดิ นทางไปยั งสถานที่ ท องเที่ ยวทั้ งที่ยั งมี ผ าพั นแผล หรื อแผลเป นปรากฏอยู ตลอดจนอาจยั งไม แข็งแรงเพียงพอสําหรับการเดินทางทองเที่ยวได ทั้งนี้ Dr.Cheng ยังไมแนะนําใหผูปวยทํากิจกรรม ทางการทองเที่ยวทุกประเภทภายหลังเขารับบริการทาง การแพทยอีกดวย Dr.Tshepo Maaka, Serokolo Health Tourism, South Africa เสนอรูปแบบการทองเที่ยวที่เรียกวา Medical Safari ซึ่งเปนการรวมเอาการผาตัดเพื่อเสริมความงามและการ ทองเที่ยวปาซาฟารีในแอฟริกาใตไวดวยกัน ทั้งนี้ Medical Safari ไดชูจุดขายของการทองเที่ยวพักผอนในปาซาฟารี ภายหลังจากการผาตัดเสริมความงามที่ผูเขารับบริการ นอกจากจะได รั บ ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น แล ว ผล พลอยไดอีกอยางหนึ่งก็คือผิวสีแทนซึ่งเปนตัวแทนของการ มีสุขภาพที่ดีในคานิยมตะวันตก Dr.Kongkiat Kespechara, Bangkok Phuket Hospital, Thailand แบงปนประสบการณจากการ ทํางานในโรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ตที่มีการพัฒนากลยุทธการตลาด Medical Tourism ผานการ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


ปรับปรุงและพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวตางๆ นอกจากนี้ ทางโรงพยาบาลยังมี บริการเสริมสําหรับผูเขารับบริการทางการแพทยดานความงาม โดยจะมีที่ปรึกษา (Shopping Guru) สําหรับเสื้อผาและบุคลิกภาพภายหลังเขารับบริการ Mr.Naresh Jadeja, International Wellness and Healthcare Travel Association ใหความสําคัญกับ การสงเสริมการตลาดแบบ Viral Marketing ตลอดจนความโดดเดนของเสนหการใหบริการโดยคน ทองถิ่น (Local Touch) การสรางแบรนดที่แข็งแกรง นอกจากนี้ยังใหขอมูลเกี่ยวกับโครงการ Donate a Surgery ของ International Wellness and Healthcare Travel Association ซึ่งเปนโครงการที่ระดมเงิน บริจาคเพื่อการผาตัด ตลอดจนชวยเหลือใหผูดอยโอกาสไดเขาถึงบริการทางการแพทย สินคาและบริการใหมในตลาด Medical Tourism สําหรับตลาด Medical Tourism นวัตกรรมใหมเปนสิ่งที่ตองไดรับการพัฒนาเพื่อตอบสนอง ความตองการของผูเขารับบริการทางการแพทย เชน การรักษาดวย Stem Cells ของสถานพยาบาลใน ประเทศไทย Dr.Kostas I. Papadopoulos, THAI StemLife, Thailand เสนอขอมูลเกี่ยวกับการปลูกถาย Stem Cell ที่ประสบความสําเร็จในประเทศไทย โดย THAI StemLife เปนสถานพยาบาลที่ใหบริการเก็บแชแข็ง เซลลตนกําเนิด ทั้งนี้ ในประเทศไทยและมาเลเซีย มีการใช Stem Cells เพื่อรักษาเกี่ยวกับความผิดปกติ ของเลื อ ดและไขกระดู ก เช น โรคธาลั ส ซี เมี ย เมเจอร หรื อ ความผิ ด ปกติ ของเลื อ ดที่ เกิ ด จากทาง พันธุกรรม, มะเร็งเม็ดเลือดขาว, Adrenoleukodystrophy, Hurler Syndrome, Gaucher Disease และผูปวย ที่เปนโรค Wiskott Aldrich Syndorme Mr.Antonio Aguiar, Malo Clinic Health and Wellness ซึ่งเปนคลินิคความงามครบวงจรชื่อดังที่เปด สาขาใหมในโรงแรม The Venetian Macao ทั้งนี้ ผูแทน จาก Malo Clinic Health and Wellness เปนหนึ่งใน ผูเขารวมประชุม International Medical Tourism & Travel 2010 และไดเสนอถึงสินคาและบริการของ Malo Clinic Health and Wellness ซึ่งไดรวมทันตกรรมเพื่อ ความงาม บริการดานสปา บริการดานการออกกําลังกาย บริการทางการแพทยครบวงจร ทั้งนี้ สินคาและบริการของ Malo Clinic Health and Wellness มุงเนนที่จะตอบสนองความตองการดานความ งามแกผูเขารับบริการ เชน การจัดฟน และการฟอกสีฟนใหสวยงามเหมือนดาราฮอลลีวูดสําหรับ บริการดานทันตกรรม การผาตัดเพื่อลดน้ําหนัก การชะลอริ้วรอย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5


ขอสังเกต จ า ก ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ความคิ ด เห็ น ในห อ งสั ม มนา พบว าสํ าหรั บ สิ นค า และบริ การ ดาน Medical ปจจัยดานราคา ไม ไ ด เ ป น ป จ จั ย หลั ก สํ า หรั บ การเลือกสถานพยาบาล ทั้งนี้ ปจจัยดานชื่อเสียงของแพทย กลั บ เป น ป จ จั ย หลั ก สํ า หรั บ การตั ด สิ น ใจ อย า งไรก็ ดี ใน กรณีผูที่ตองการเลือกรับบริการทางการแพทยเลือกสถานบริการและมีความพึงพอใจที่จะจายเงินใน ราคาที่สถานพยาบาลกําหนด แตบางครั้งแพทยผูที่จะทําการรักษากลับตองปฏิเสธคนไขอันเนื่องจาก ความตองการของแพทยเกี่ยวกับกระบวนการการติดตามอาการภายหลังบริการทางการการแพทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีเกี่ยวกับบริการดานเสริมความงาม

ทั้งนี้ ผูสนใจเขารับบริการทางการแพทยในตางประเทศสามารถเลือกประเทศ สถานบริการ ประเภทของบริ ก าร และเปรี ย บเที ย บระดั บ ราคาได จ ากเว็ บ ไซต เช น www.visitandcare.com และ www.treatmentaboard.com แตผูเขารับบริการสวนมากมักใชชองทางของบริษัทนําเที่ยว (Travel Agent) เปนหลักในการขอคํ าแนะนํ าเกี่ยวกับสถานพยาบาลในประเทศตางๆ เนื่องจากมีปจจัยด านความ เชื่อมั่นในบริการเขามาเกี่ยวของ *************************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 6


สรุปประเด็นสําคัญจากการเขารวมประชุมสัมมนาดานการทองเที่ยว ITB Berlin Convention 2010, Germany (ตอนที่ 1) เบญจรัตน มรรยาทออน1 การสัมมนาเชิงวิชาการในงานสงเสริมการขายดานการทองเที่ยว International Tourism Borse (ITB) 2010 ซึ่งจัดขึ้นที่ศูนยการประชุม กรุงเบอรลิน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี เมื่อเดือนมีนาคม ที่ผานมาประกอบดวยหัวขอการประชุมและประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1) Global Travel Trends 2009 : Forecasting Global And European Tourism – IPK International (ITB Future Day) 2) Cultural Tourism: Can a Vacation Close to Home Still be an Exotic Experience? (ITB Destination Day) 3) Wellness and Spa (ITB Experts’ Forum Wellness) 1. Global Travel Trends 2009: Forecasting Global and European Tourism

การทองเที่ยวโลก ป 2009 ใ น ป 2 0 0 9 จ า ก ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต ก า ร ณ ท า ง ก า ร เ งิ น แ ล ะ เ ห ตุ ก า ร ณ เศรษฐกิ จ ถดถอยของโลก ส ง ผ ล ใ ห ก า ร เ ดิ น ท า ง ท อ งเที่ ย วระหว า งประเทศ ของนั ก ท อ งเที่ ย วทั่ ว โลกมี อัตราลดลงรอยละ 9 เมื่อ พิ จ ารณาสถานการณ ก าร ทองเที่ยวรายภูมิภาคพบวา ภูมิภาคยุโรป มีการเดินทาง ท อ งเที่ ย วลดลงร อ ยละ 6 และภู มิ ภ าคอเมริ ก า ลดลง รอยละ 5 สวนภูมิภาคเอเชีย 1

หัวหนางานวิจัย กองวิจัยการตลาด การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


แปซิฟก เปนภูมิภาคที่ไดรับผลกระทบ นอย โดยมีแนวโนมการเติบโตลดลง เพียงรอยละ 2 ขณะที่ภูมิภาคแอฟริกา เปนภูมิภาคเดียวที่มีการเติบโตเพิ่มขึ้นที่ รอยละ 5 แตถือวายังคงเปนภูมิภาคที่มี ฐานจํานวนนักทองเที่ยวนอยอยู การทองเที่ยวภูมิภาคยุโรป ก า ร เ ดิ น ท า ง ท อ ง เ ที่ ย ว ตางประเทศของชาวยุโรป ป 2009 มี จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 395 ล า นครั้ ง ลดลง จากปที่ผานมา รอยละ 6 โดยมีจํานวนคืนพักคาง 3,500 ลานคืน ลดลงรอยละ 12 และนักทองเที่ยว มีการใชจ ายทั้ งสิ้ น 331 พัน ล านยู โร ลดลงรอ ยละ 13 ซึ่งการเดิ นทางที่ ล ดลงนี้เป น ผลกระทบ โดยตรงมาจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วโลก เมื่อพิจารณาการเดินทางทองเที่ยวรายตลาดใน ภู มิ ภ า ค ยุ โ ร ป The crisis impacted some markets พ บ ว า ส ห ร า ช The 2009 decline in outbound origin more than others in 2009 อ า ณ า จั ก ร มี Travel Outbound Travel Performance: จํ า น ว น ก า ร Outbound Losses 2009 : ทอ งเที ่ย วลดลง Great Britain ‐ 12 % 8 ล า น ค รั้ ง Great Britain ‐8.0 million trips Russia ‐ 12 % (-12%) เยอรมนี Germany ‐3.0 million trips Spain ‐ 8 % Russia ‐2.6 million trips Italy ‐ 5 % ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว Spain ‐1.4 million trips Netherlands ‐ 5 % ล ด ล ง 3 ล า น Sweden ‐1.3 million trips Germany ‐ 4 % ค รั้ ง ( -4 %) Netherlands ‐1.2 million trips France ‐ 1 % รั ส เ ซี ย ล ด ล ง 2 . 6 ล า น ค รั้ ง (-12%) และสเปน ลดลง 1.4 ล านครั้ง (-8%) นอกจากนี้ จากภาวะทางเศรษฐกิจ ทําให นักทองเที่ยวตองพิจารณาและระมัดระวังเรื่องการใชจายจึงมีผลทําใหรูปแบบการเดินทางทองเที่ยว ของนักทองเที่ยวไดรับผลกระทบดวยเชนกัน โดยการเดินทางทองเที่ยวที่มีระยะวันพักตั้งแต 4 คืน ขึ้นไป ไดรับผลกระทบมาก ลดลงถึงรอยละ 10 สําหรับการเดินทางทองเที่ยวที่มีระยะวันพัก 1-3 วั น ยั ง คงทรงตั ว อยู ในขณะที่ Heavy Crisis impact in Europe on the Short outbound trips performance transportation mix in 2009 much better than longer trips in 2009 การคมนาคมทางอากาศได รั บ ผลกระทบโดยมีการเติบโต ลดลง รอยละ 8 สวนการคมนาคมทาง เ รื อ ล ด ล ง ถึ ง ร อ ย ล ะ 1 5 Plane ‐ 8 %

Short trips (1‐3 nights)

+ 1%

Long trips (4 + nights)

‐ 10%

Length of trip

‐ 7%

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

Ship

‐15 %

หนาที่ 2


Destination Areas (European Long Hual hit by Financial Crisis in 2009) Top 10 Travel Destinations of Europeans: Market Share Performance Spain 11 % ‐10 % France 9 % ‐11 % Germany 9 % ‐ 3 % Italy 8 % ‐ 4 % Austria 6 % ‐ 2 % Great Britain 5 % ‐ 8 % Turkey 5 % + 1 % Greece 3 % ‐ 7 % USA 3 % ‐12 % Croatia 2 % ‐ 1 %

Long Haul Market share 12% Growth -10%

Short Hual Market Share 88% Growth -5%

Source: European Travel Monitor 2009 (IPK)

สวนใหญนักทองเที่ยวชาวยุโรปมีสัดสวนการเดินทางทองเที่ยวระยะใกลสูงถึงรอยละ88 โดย ในป 2009 มีการเติบโตลดลงรอยละ 5 ขณะที่การเดินทางทองเที่ยวระยะไกลมีสัดสวนรอยละ 12 และมีการเติบโตลดลงถึงรอยละ 10 ทั้งนี้ประเทศที่ชาวยุโรปนิยมเดินทางไปทองเที่ยว 10 อันดับแรก คื อ สเปน ฝรั่ ง เศส เยอรมนี อิ ต าลี ออสเตรี ย สหราชอาณาจั กร ตุ รกี กรี ซ สหรั ฐอเมริ กา และ โครเอเชีย ซึ่งแทบทุกประเทศมีการเติบโตที่ลดลง ยกเวนประเทศตุรกี (+1 %) จากขอมูลของ IPK International (Trivago, Paris 02/2010) พบวาในป 2009 คาครองชีพ สูงสุดของเมืองหลักในยุโรปที่เปนจุดหมายปลายทางดานการทองเที่ยว คือ Geneva สวนเมืองหลักที่ มีคาครองชีพต่ําสุด คือ Cracovie The Most Expensive European Metropolises 2009

180 160 140 120

196

Average Price 2009 in Euro 100 92 9 3

157 155 149

87 88

90 145 142 132 126

78 121 116

Ge ne va Os Co lo pe nh ag en Sto ck h o lm Lo nd on Pa r is M Am ilan o ste r da Bru m xe lie s Vie nn a

100

80

94

73

82

84

74

70 C ra co v ie Gr en ad e Bu da pe st Ha nn ove r Pra B ir gu e mi ngh am Dre sde n Na ple Gla s sgo w Be rlin

200

The Cheapest European M etropolises 200 9

Average Price 2009 in Euro

Source: IPK International – Trivago, Paris 02/2010

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


ในการเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ นักทองเที่ยวชาวยุโรป มี ค า ใช จ า ยสํ า หรั บ ในการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วเฉลี่ ย ต อ ครั้ ง (Spending per Trip) 837 ยูโร (-5%) และมีคาใชจาย สําหรับคาที่พักเฉลี่ยตอคืน (Spending per Night) 97 ยูโร (+1 %) และจากการเดินทางออกทองเที่ยวตางประเทศของ ชาวยุโรป ป 2009 สามารถแบงกลุมของนักทองเที่ยวตาม ลักษณะการใชจายไดออกเปน 3 กลุม คือ

European Outbound Spending 2009 : • Spending per Trip

837 Euro (‐ 5 %)

• Spending per Night

97 Euro (+ 1 %)

European Outbound Spending Groups : 1. Low End Traveler

225 ลานครั้ง (‐ 4%)

2. Standard Traveler

165 ลานครั้ง (‐ 9%)

3. High End Traveler

5

ลานครั้ง (‐18%)

Spending Groups in 2009

By number of Trips in Million

Low End Traveler, 225 million High End Traveler, 5 million

Standard Traveler, 165 million

อยางไรก็ดี “อินเตอรเน็ต” ยังคงเปนชอง ยังคงเปนชองทางการสื่อสารที่มีความสําคัญ และ ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวชาวยุโรปอยางตอเนื่อง โดยในป 2009 มีการจองทัวรทองเที่ยว ผานทางอินเตอรเน็ต ในสัดสวนรอยละ 48 ซึ่งมีการเติบโตเพิ่มขึ้นจากปกอนถึง ร อ ยละ11 ส ว นการหาข อ มู ล ด า น ทองเที่ยวผานทางอินเตอรเน็ตมีสัดสวน รอยละ15 ลดลงจากปที่ผานมารอยละ6 สําหรับการเดินทางทองเที่ยวใน รูปแบบ “TOUR” ไดรับผลกระทบมาก ที่สุด โดยภาพรวมของทัวรทองเที่ยวใน ภูมิภาคยุโรป มีอัตราลดลงรอยละ 14 ซึ่ ง ก ลุ ม ที่ เ ป น ก า ร เ ดิ น ท า ง แ บ บ “Countryside Holidays” หรือการเดินทาง

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


ในประเทศใกลเคียงในชวงวันหยุด มีอัตรา ลดลงรอยละ 6 สวนกลุม “City Breaks” หรื อ กลุ ม ท อ งเที่ ย วพั ก ผ อ นในเขตเมื อ ง และกลุม “Sun & Beach” หรือกลุม ทองเที่ยวพักผอนตากอากาศชายหาดและ อาบแดด ลวนมีอัตราลดลง รอยละ 3 การทองเที่ยวของประเทศเยอรมนี ในป 2009 ชาวเยอรมั น มี ก าร เดิ น ทางท อ งเที่ ย วทั้ ง ภายในประเทศและ ตางประเทศ จํานวนทั้งสิ้น 301 ลานครั้ง ลดลงจากป ที่ ผ า นมาร อ ยละ 1 โดยมี จํานวนคืนพัก 1,500 ลานคืน ลดลงรอยละ 3 และนักทองเที่ยวมีการใชจายทั้งสิ้น 125,000 ลานยู โร ลดลงรอยละ 5 สําหรับการเดินทางทองเที่ยวภายในประเทศ มีจํานวน 228 ลานครั้ง เพิ่มขึ้นรอย ละ 1 ขณะที่การเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ German Domestic & Outbound Trips มีจํานวน 73 ลานครั้ง ลดลงรอยละ 4 Outbound ทั้ ง นี้ เมื่ อ พิ จ ารณาวั ต ถุ ป ระสงค ข อง Trips , 73 การเดินทางทั้งภายในประเทศและตางประเทศ million, Domestic Domestic Trips (+1%) 24% ของนักทองเที่ยวชาวเยอรมัน พบวา สวนใหญ Trips , 228 million , การเดินทางของชาวเยอรมันมีวัตถุประสงคเพื่อ Outbound Trips (‐4%) 76% การพั ก ผ อ นมากที่ สุ ด หรื อ มี สั ด ส ว นคิ ด เป น รอยละ 46 สําหรับวัตถุประสงครองลงมาคือ การเดินทางเพื่อปฏิบัติภาระกิจสวนตัว โดยมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 40 โดยนักทองเที่ยวทั้งสองกลุม นี้ ไมมีการเปลี่ยนแปลงดานการเติบโตเมื่อเทียบ German Trips by Purpose of Trip กับปที่ผานมา ในขณะที่การเดินทางเพื่อธุรกิจ ซึ่งมีสัดสวนนอยที่สุด หรือคิดเปนรอยละ 14 Holiday Other Trips, 46 % Private แต จ ะเป น กลุ ม ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากภาวะ (0%) Trips, 40% เศรษฐกิจ จึงทําใหเปนกลุมที่มีการเติบโตลดลง (0%) เมื่อเทียบกับปที่แลว ในอัตรารอยละ 4 Business นอกจากนี้ เมื่อ พิจ ารณาเฉพาะกลุ ม Trips, 14 % (‐4%) นั ก ท อ งเที่ ย วชาวเยอรมั น ที่ เ ดิ น ทางไปยั ง ตางประเทศ พบวามีแนวโนมของการเดินทางที่ ซบเซาลงในชวง 7 ปที่ผานมา (ป 2003-2009) โดยเมื่อจําแนกตามวัตถุประสงคของการเดินทาง แลวจะเห็นวาทุกกลุมมีการเติบโตลดลง โดยกลุมที่มีวัตถุประสงคเพื่อการพักผอน (จํานวน 50.3 ลานครั้ง) ลดลงรอยละ 4 กลุมเดินทางเพื่อธุรกิจ ลดลงรอยละ 5 และกลุมอื่นๆ ลดลงรอยละ 4 ในขณะที่กลุมนักทองเที่ยวชาวเยอรมันที่เดินทางภายในประเทศ สําหรับกลุมที่มีวัตถุประสงคการ เดินทางเพื่อการพักผอน มีการเติบโตเพิ่มขึ้นรอยละ 2 (จํานวน 50.3 ลานครั้ง)

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5


ก า ร เ ดิ น ท า ง ท อ ง เ ที่ ย ว ภายในประเทศของชาวเยอรมั น กลุ ม กิจกรรมทางการทองเที่ยวที่ไดรับความ นิยมและมีอัตราการเติบโตสูงสุด คือ กลุม ความสนใจดานกีฬา โดยเฉพาะกีฬาในชวง ฤดูหนาวอยางการเลนสกี (+70%) และ กี ฬ าอื่ น ๆ เช น การขี่ จั ก รยานเสื อ ภู เ ขา (+40%) รองลงมา คือ กลุมที่สนใจการ Other Sport Winter Sport Event Health Oriented Holidays Holidays Holidays เข าร วมในงานกิ จ กรรมต า งๆ (+20%) ตามด ว ย กลุ ม ความสนใจด า นสุ ข ภาพ (+ 70 %) (+40 %) (+ 20 %) (+15 %) นิยม (+15%) ในป 2009 นั ก ท อ งเที่ ย วชาว เยอรมัน มีการเดินทางไปยังตางประเทศ German Outbound Travel 2009 : จํานวนทั้งสิ้น 72.6 ลานครั้ง ลดลงรอย ละ 4 จากปที่ผานมา โดยมีจํานวนคืนพัก 641 ลานคืน ลดลงรอยละ 10 และ นั ก ท อ ง เ ที่ ย ว มี ก า ร ใ ช จ า ย ทั้ ง สิ้ น Trips: 72.6 million ‐ 4% 62,000 ลานยูโร ลดลงรอยละ 6 แหลงทองเที่ยวยอดนิยมสําหรับ การเดิ น ทางท อ งเที่ ย วภายในประเทศ Nights: 641 million ‐ 10% เยอรมนี มี 3 อันดับแรก คือ อันดับที่ 1 Bavaria มีจํานวนการเดินทางทองเที่ยว 17.5 ลานครั้ง โดยมี Lower Saxony Spending: 62 billion € ‐ 6% ตามมาเป น อั น ดั บ ที่ 2 มี จํ า นวนการ เดิ น ทางท อ งเที่ ย ว 9.3 ล า นครั้ ง และ อันดับที่ 3 คือ Baden-Württemberg โดยมี จํานวนการเดินทางทองเที่ยว 8.3 ลานครั้ง สําหรับประเทศจุดหมายปลายทางดานการทองเที่ยว ยอดนิยมของชาวเยอรมัน 3 อันดับแรก คือ สเปนและออสเตรีย ซึ่งมีสวนแบงทางการตลาดเทากัน, รอยละ 16 ตามดวย อิตาลี ที่มีสวนแบงทางการตลาด คิดเปนรอยละ 14 ซึ่งทั้งสามประเทศนี้ เปน ประเทศเปาหมายหลักของชาวเยอรมันที่ไมสามารถปฏิเสธได The Best Performing Domestic Holidays of the Germans

Top 5 Domestic and Outbound Holiday Destinations in 2009 Rank

Domestic Destination

Trips (millions)

Rank

Outbound Destination

Share

1

Bavaria

17.5

1

Spain

16%

2

Lower Saxony

9.3

2

Austria

16%

8.3

3

Italy

14%

3 มการท Baden‐ Württemberg แนวโน องเที่ยวทั่วโลก

4

North Rhine‐Westphalia 7.3

4

Turkey

8%

5

Mecklenburg West.Pom. 7.0

5

France

5%

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 6


o Va len ce Co pe n hag en Sto ckh olm Lo nd on

Mi la n

Bo lo

gna Ba rce lon a Ed inb oro u g Ma nc he s te r Bir mi ngh am

แนวโนมจากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้น ผูเชี่ยวชาญดานเศรษฐศาสตร Kenneth S. Rogoff (Chief Economist, IMF 2001-2003) ไดกลาววา “สิ่งที่จะเกิดขึ้นอยูบอยครั้งภายหลังจากการเกิด วิกฤตการณดานการเงิน ก็คือจะเกิดการลมละลายในระดับชาติตามมา ในชวงเวลาอีก 2-3 ปถัดมา” โดยประเทศที่นาเปนหวงในภูมิภาคยุโรปขณะนี้ คือ Greece, Spain, Portugal และ Italy หรือเรียกวาเปน ประเทศในกลุม ‘PIGS’ ซึ่งจะเปนตนเหตุสําคัญของการแพรพิษทางเศรษฐกิจในภูมิภาคยุโรปตอไป และประเทศที่คาดวาจะไดรับผลกระทบตามมาก็คือ Ireland, Great Britain และ Hungary และ ผลกระทบจากเศรษฐกิจนี้เอง ทําใหธุรกิจโรงแรมในภูมิภาคยุโรปมีการปรับราคาสูงขึ้น โดยเมืองที่มี การปรับตัวของราคาสูงสุด คือ Bologna เพิ่มขึ้นรอยละ 16 รองมาคือ Barcelona, Edinboroug และ Manchester โดยทั้งสามเมืองนี้ ปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 15 ทั้งนี้จากสภาวการณดังที่กลาวมาแลว คาดวาในป 2010 สถานการณเศรษฐกิจในภูมิภาคยุโรป จะยังไมกลับสูภาวะปกติ เนื่องจากยังไมมี สัญญาณดานบวกเกิดขึ้น และคงตองใชเวลาพอสมควรในการฟนตัวอีกครั้ง อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม IPK Increasing Hotel Prices 2010 International ไดมีการสํารวจความ 20 16% คิดเห็นของนักทองเที่ยวชาวยุโรป ในป 15% 15% 15% 16 14% 14% 2009 เกี่ ย วกั บ ความตั้ ง ใจในการ 12% 12 10% 10% 10% เดิ น ทางท อ งเที่ ย วต า งประเทศในป 8 2010 โดยมีผลการสํารวจที่ออกมา 4 เมื่อเดือนมกราคม 2010 พบวาชาว 0 ยุโรปสวนใหญ รอยละ 86 ยังคงวาง แผนการเดินทางทองเที่ยวในป 2010 แตจะมีความถี่ในการเดินทางนอยกวา หรื อ เท ากั บในชวง 12 เดือนที่ ผานมา รอยละ 61 และมีผูวางแผนจะเดินทางทองเที่ยวมากกวาในชวง 12 เดือนที่ผานมา รอยละ 25

European Outbound Travel Intention 2010 Yes, and maybe e ven more often

25

Yes, as often as within the last 12 months

44

Yes, but maybe le ss ofter a s within the last 12 ...

17

Probably not

14

Source: European Travel Monitor 2009 (IPK)

0.0

10.0

20.0

30.0

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

40.0

50.0

(%)

หนาที่ 7


2. Cultural Tourism: Can a Vacation Close to Home Still be an Exotic Experience?

ตลาดอเมริกาเปนตลาดนักทองเที่ยวที่ใหญที่สุด และสําคัญที่สุดของโลก ในดานการใชจาย เพื่อการทองเที่ยว จากสถิติของ United Nations World Tourism Organization ในป 2008 ชาว อเมริกันใชจายในตางประเทศ 118,000 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ และชาวอเมริกันกวา 40 ลาน คน ยังออกทองเที่ยวตางประเทศถึง 63.5 ลานครั้ง American Outbound Travel 2008 : จากรายงานฉบับลาสุด ‘HOW AMERICANS WILL TRAVEL 2015’ ของ Tourism Intelligence International ไดคาดการณวา การเดินทางทองเที่ยว Trips: 63.5 million ตางประเทศของชาวอเมริกันจะฟนตัวอีกครั้งหลังจาก การหดตั วจากภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยทั่ว โลก โดยชาว อเมริ กั น ที่ เ ดิ น ทางไปท อ งเที่ ย วในแหล ง ท อ งเที่ ย ว Spending: 118 billion $ ระยะไกลจะเพิ่มจาก 30.79 ลานครั้ง ในป 2008 เปน 32.88 ล านครั้ ง ในป 2015 หรือ มี อั ตราการเติ บ โต เฉลี่ยระหวางป 2008-2015 รอยละ 1 ตอป ในแงของจุดหมายดานการทองเที่ยวที่มีอัตราการ เติบโตของกระแสการเดินทางของนักทองเที่ยวอเมริกันแลว ภูมิภาคอเมริกากลางมีอัตราการเติบโต ของนักทองเที่ยวอเมริกันสูงสุด โดยในระหวางป 1996-2008 มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยรอยละ 7.8 ตอป จาก แสงแดด หาดทราย ชายทะเล สูวัฒนธรรมและประสบการณ – วิธีจับใจ “ชนชั้น สรางสรรค” (Creative Class) ดานการ The Transition of Travellers ทองเที่ยว จากรายงานเรื่อง ‘HOW AMERICANS WILL TRAVEL 2015’ ชี้ใหเห็นวา พฤติกรรมการ Then Now เดิ น ทางท องเที่ ยวของนั กท องเที่ ยวจากอเมริ กา z Sanctuary • Sun เหนื อจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก กล าวคื อ • Sand z Sensibility แหล ง ท อ งเที่ ย วที่ มี เ ฉพาะความงดงามตาม z Status • Sea z Self‐Improvement ธรรมชาติของ “แสงแดด หาดทราย และชายทะเล” z Safety (sun, sand and sea) เพียงอยางเดียวจะไมสามารถ แขงขั นไดอีกตอไป เนื่องจากตลาดนักทองเที่ย ว อเมริกาเหนือ จะเพิ่มรูปแบบความตองการดาน การท อ งเที่ ย วที่ ต อ งสนองตอบต อ ด า นอารมณ ความรูสึกนึกคิด ที่สะทอนความเปนตัวตนและพัฒนาตนเอง อีกทั้งยังใหความสําคัญกับความคุม ค า เงิ น และการแสวงหาที่ พั ก ผ อ นของจิ ต ใจไปพร อ มกั น ด ว ย ดั ง นั้ น การเติ ม เนื้ อ หาสาระและ ประสบการณเชิงวัฒนธรรมเขาไปในสินคาที่เสนอขายจะทําใหแหลงทองเที่ยวนั้นขายไดดีในตลาด กลุมนี้ สิ่งเหลานี้เปนประเด็นสําคัญ ที่แหลงทองเที่ยวที่มีนักทองเที่ยวอเมริกาเหนือเปนตลาดหลัก

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 8


จําเปนตองใสใจ อาทิ คาริบเบียน (นักทองเที่ยวอเมริกา เหนือ คิดเปนรอยละ 63.4 ของนักทองเที่ยวทั้งหมด) และ ยุโรป (นักทองเที่ยวอเมริกาเหนือ คิดเปนรอยละ 41 ของ ‐Hippy นักทองเที่ยวทั้งหมด) ‐Yuppies ‐ The New Upper Class นอกจากนี้ Dr.Auliana Poon, Managing Director ‐ Highly Tolerant ของ Tourism Intelligence International ผูเขียน ‘HOW ‐ Purchase expensive & exotic items AMERICANS WILL TRAVEL 2015’ ยังกลาววา ‐ Meritocratic นักทองเที่ยวอเมริกันที่เปน “ชนชั้นสรางสรรค” (Creative Source: * Wikipedia Class) นั้น เมื่อเดินทางไปทองเที่ยวจะไมตองการแคการ ถายภาพและนั่งชมความงามของแหล งท องเที่ ยวเพี ยงผิว เผิ นเทานั้น แตนักทองเที่ยวกลุมนี้ ยัง ต อ งการสั ม ผั ส วั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น ด ว ยตนเองอย า งลึ ก ซึ้ ง รวมทั้ ง ต อ งการได รู ถึ ง แก น แท แ ละ คุณลักษณะที่ดีของสินคากอนที่จะตัดสินใจเลือกซื้อ ดังนั้น จึงไมนาแปลกที่คนอเมริกันจํานวนถึง 2 ใน 5 ของนั ก ท อ งเที่ ย วขาออก ทั้ ง หมด เลื อ กยุ โ รปเป น จุ ด หมาย Preferred Activities of American Travellers ปลายทาง Dining in Restaurants 83% Shopping การเข า ไปมี ส ว นร ว มใน 71% Visit His torical Places 51% กิจกรรมดานวัฒนธรรมประเพณี Visit Small Towns/ Villages 42% Sightseeing in Citi es ท อ งถิ่ น ในระหว า งการเดิ น ทาง 40% Cultural Heritage Si ghts 32% ทองเที่ยวของคนอเมริกัน ได เพิ่ม Touring the Countryside 32% Art Gallery/ Museum ความสําคัญมากขึ้น โดยพบวา กวา 25% Water Sports/ Sun Bathing 24% ครึ่ง (รอยละ 51) ของคนอเมริกัน Nightclub/ Dancing 21% Guided T ours 40ล า นคน ที่ เ ดิ น ทางท อ งเที่ ย ว 17% Ethnic Heritage Sights 13% ต า งประเทศ เลื อ กเดิ น ทางไป Concert/ Play/ Musical 12% Cruises สถานที่ สํ า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร 7% Casino/ Gambling 7% และ เกือบ 1 ใน 3 (รอยละ 32) Camping/ Hiking 5% Sports Event เลือกเดินทางไปสถานที่ที่เปนมรดก 4% (%) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ทางวั ฒนธรรม นอกจากนี้ อีก 1 ใน 4 (รอยละ 25) เลือกไปเที่ยวชม Source: ‘HOW AMERICANS WILL TRAVEL 2015’, Tourism Intelligence International หอศิลปและพิพิธภัณฑ เชนเดียวกับ ขอมูลของ The Office of Travel and Tourism Industries ในเรื่อง ความสนใจดานวัฒนธรรมที่ เพิ่มมากขึ้นของคนอเมริกัน ซึ่งไดครอบคลุมถึงการเขารวมในงาน เทศกาลทองถิ่น ทั้งที่เปนเทศกาลขนาดใหญและขนาดเล็ก อาทิ The Tomato Festival ใน Brunol ประเทศสเปน, ละครสัตวและมวยปล้ําในประเทศตุรกี, การแสดงละครเวทีในกรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ, รานขายไวน รานอาหาร/กาแฟริมทาง และ ตลาดนัด ทั้งนี้ทั้งนั้น เทศกาลดังกลาวจะตองมี Creative Class or Bobos* :

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 9


Creative Class: The 3 Ts

Characteristics of the Creative Class z

Diverse & Individualistic Lifestyles

z

Tolerance (มีความอดทนอดกลั้น)

z

Active participation & experiential activities

z

They are driving the experience economy

‐ ‐ ‐ ‐

z

Talent (มีความสามารถ)

Job Categories of the Creative Class z

Technology, R&D and Innovation

z

Arts and Culture

z

Professional & Managerial

z

Education and Training

‐ Very educated (bachelors degree or higher) ‐ Super creative (Scientists, engineers, artists, musicians, designers) ‐ Creative Class (Super creative + professionals; bankers, Lawyers, brokers, doctors, teachers, etc.)

Melting pot of Diversity Lesbians & Gays Bohemian Lifestyles Interracial marriages

z

Technology (นิยมใชเทคโนโลยี ทันสมัย)

‐ Attracted by high technology ‐ A very innovative group

ลักษณะเป นเทศกาลประจํ าของทองถิ่น มิใชจัดขึ้นเปนการเฉพาะสํ าหรั บนั กท องเที่ย ว เนื่ องจาก นักทองเที่ยวกลุมนี้ตองการเปนสวนหนึ่งในผูรวมงานที่มีโอกาสสัมผัสกับคนทองถิ่น มิใชเปนเพียงแต ผูชมเทานั้น ดังนั้น แหลงทองเที่ยวที่ตองการดึงดูดคนอเมริกันกลุมนี้ จึงตองหันไปใหการสนับสนุน และประชาสัมพันธกิจกรรมเทศกาลประเพณีที่สะทอนเอกลักษณของทองถิ่นอยางจริงจังมากขึ้น สําหรับกลุมนักทองเที่ยวอเมริกันที่เปน “ชนชั้นสรางสรรค” ซึ่งเปนกลุมที่เลือกรูปแบบการ ทองเที่ยวจาก คุณคาและประสบการณที่ตนจะไดรับจากการทองเที่ยว เราเรียกคนอเมริกันกลุมนี้วา “Bourgeoisie Bohemians (Bobos)” โดยลักษณะเฉพาะของคนกลุมนี้ คือ “การใหความสนใจใน รายละเอียดของสินคาอยางมาก” อาทิ การเลือกดื่มน้ําสมคั้นสักหนึ่งแกว พวกเขาจะสนใจวา น้ําสม แก ว นั้ นคั้ นมาสดๆ หรือ ไม เปนสม ที่ถูกตัด แตงพันธุกรรมหรือ ไม หรื อ ปลูกแบบเกษตรอิน ทรีย หรือไม ในกระบวนการผลิตน้ําสมคั้นนั้นสรางปริมาณคารบอนใหโลกมากเพียงใด และชาวไรที่ปลูก สมนั้นไดรับผลตอบแทนอยางยุติธรรมหรือไม พวกเขาไมเพียงแตสนใจในตัวสินคาเทานั้น ยังสนใจ ถึงตนกําเนิดของสินคาในแงของคุณคาและสาระที่แฝงอยูดวย การเลือกแหลงทองเที่ยวของคนกลุมนี้มีลักษณะเดียวกับการเลือกสินคาที่ไดกลาวมา โดย ปกติแลวคนกลุมนี้มีรูปแบบการดําเนินชีวิตที่แตกตางและเปนตัวของตัวเองสูง มักจะใหความสนใจ และรวมกิจกรรมที่เพิ่มประสบการณชีวิตในหลากมิติ มีความชื่นชอบ “วัฒนธรรมริมทาง” ซึ่งพวก เขามองวา รานกาแฟ บาร รานเหลา นักดนตรีริมถนน หอศิลป และ รานขายไวน ที่รวมอยูในที่

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 10


เดียวกันนั้น เปนการผสมผสานที่นาตื่นตาตื่นใจ และไมทําใหเขารูสึกแปลกแยกกับคนทองถิ่น รวมทั้ง ไมทําใหรูสึกถึงความแตกตางระหวางผูสรางสรรคและผลงานของเขา คนกลุมนี้จะรูสึกสนุกสนานกับ การไดสัมผัสประสบการณที่แปลกใหมและชอบที่จะเขารวมเก็บเกี่ยวประสบการณจากกิจกรรมนั้นๆ ดวยตนเองมากกวาการเปนเพียงผูชม โดยกิจกรรมเหลานั้นตองเปนกิจกรรมที่สามารถสนองตอบ ความรูสึกภายในตนเอง ควบคูกับการมีสวนชวยพัฒนาตัวตนของพวกเขาไปพรอมกันดวย ในชวงที่ผานมา คนอเมริกันไดรับการบีบคั้น จากความกลัวทั้งสงคราม การกอการราย ภาวะเศรษฐกิจถดถอย รายไดลดลง และการวางงานที่เพิ่มสูงขึ้น สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตสงผลเชิงลบ ตอการออกเดินทางทองเที่ยวตางประเทศของคนอเมริกันทั้งสิ้น นักวิเคราะหตางพากันคาดการณวา คนอเมริกันจะใชจายเงินเพื่อทองเที่ยวตางประเทศลดลงถึง 30,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในชวงฤดู ใบไมผลิและฤดูรอนของป 2009 ทั้งนี้ Dr.Auliana Poon ไดกลาวเสริมวา อยางไรก็ดี จากความ กดดันดังกลาว คนอเมริกันจะเพียงแคลดความตองการเดินทางทองเที่ยวลงเทานั้น คือ พวกเขาจะ ทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวใกลบานมากขึ้น ลดระยะเวลาทองเที่ยวลง เลือกพักในโรงแรมที่ไมแพง นัก แตพวกเขาจะไมงดการเดินทางทองเที่ยวโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเกิด “Obama Effect” จะทําใหคนอเมริกันมีความหวังมากขึ้น วิตกจริตนอยลง และเกิดความอยากเดินทาง และในที่สุดการ เดินทางทองเที่ยวตางประเทศจะกลับมาขยายตัวเพิ่มอีกครั้ง ซึ่งในความเปนจริงแลว คนอเมริกันที่ ไดรับความเครียดแลวลดหรือเลื่อนการออกเดินทางทองเที่ยวตางประเทศไปนั้น จะฉวยโอกาสจาก การฟนตัวของเศรษฐกิจ เลือกเดินทางทองเที่ยวในรูปแบบที่ตรงกับความตองการของตนเองมากขึ้น ในป 2015 สหรัฐอเมริกาจะหลุดพนจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยอยางแนนอน โดย Tourism Intelligence International ไดคาดการณวา ภาวะเศรษฐกิจถดถอยของสหรัฐอเมริกาจะสิ้นสุดในป 2010 นี้ ภูมิภาคที่นักทองเที่ยวชาวอเมริกันเลือกเดินทางไปเที่ยวมากที่สุดคือยุโรป (รอยละ 41 ของ นักทองเที่ยวขาออกทั้งหมดของสหรัฐอเมริกา) Tourism Intelligence International คาดวา นักทองเที่ยวอเมริกันที่เดินทางไปยุโรปจะเพิ่มขึ้นเกือบรอยละ 9 ในป 2015 เมื่อเทียบกับป 2008 เนื่ อ งจากป จ จั ย บวกด า นเศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก าจะพ น จากภาวะถดถอย อีก ทั้ ง ค า เงิ น เหรี ย ญ ดอลลารสหรัฐฯจะเพิ่มขึ้นใกลเคียงกับคาเงินยูโร ดวยระยะทางที่ใกลกันของอเมริกากลางและสหรัฐฯ ผนวกกับความแตกตางทางภาษาและ วัฒนธรรม รวมทั้ง กระแสหวงใยสิ่งแวดลอมที่เพิ่มความสําคัญมากขึ้น เปนปจจัยสนับสนุนที่จะทํา ใหนักทองเที่ยวอเมริกันเดินทางไปอเมริกากลางมากขึ้น โดยเฉพาะ Costa Rica ที่มีแหลงทองเที่ยวเชิง นิเวศน ที่เปนหนึ่งในแหลงทองเที่ยวยอดนิยมของคนอเมริกันจะไดรับนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น Tourism Intelligence International คาดการณวา ในป 2015 อเมริกากลางจะไดรับนักทองเที่ยวจาก

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 11


Using Culture to Ignite the Engine of

สหรัฐอเมริกามากกวา 3 ลานคน หรือมีอัตรา การเติบโตเฉลี่ยรอยละ 2.4 ตอป หรือ เพิ่มขึ้น ประมาณรอยละ 18 เมื่อเปรียบเทียบกันระหวาง ป 2008 และป 2015

สําหรับทวีปแอฟริกา จะไดรับนักทอง เที่ยวอเมริกันเพิ่มขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศแอฟริกาใต สถานที่จดั การแขงขัน World Cup 2010 โดยคาดวาในเบื้องตน จํานวนนัก ทองเที่ยวอเมริกันที่เดินทางไปทวีปแอฟริกา อาจ มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสูงถึง รอยละ 5 เมื่อ เปรียบเทียบกันระหวางป 2008 และป 2015 สวนแคริบเบียน แมจะเปนแหลงทองเที่ยวที่เปนดาวรุงของหลายตลาด แตสําหรับตลาด นักทองเที่ยวอเมริกันในอนาคตนั้นคาดวาจะไดรับความนิยมลดลง โดยนับตั้งแตชวงกลางทศวรรษ 1990 ถึงตนศตวรรษที่ 21 แคริบเบียนไดรับนักทองเที่ยวอเมริกันลดลงเรื่อยๆ แตหลังจาก เหตุการณ 9/11 จํานวนนักทองเที่ยวอเมริกันที่เดินทางไปแคริบเบียนพุงทะยานสูงขึ้นมาก โดยมี อัตราการเติบโตสูงถึงรอยละ 32 ในป 2002 เมื่อเทียบจากป 2006 ซึ่งเปนผลมาจากคนอเมริกัน ตองการเดินทางทองเที่ยวในพื้นที่ที่ใหความรูสึกปลอดภัยและใกลบาน อยางไรก็ดี ตั้งแตป 2006 เปนตนมา จํานวนนักทองเที่ยวอเมริกันที่เดินทางไปยังแคริบเบียนลดลงอีกครั้ง Tourism Intelligence International คาดวา คนอเมริกันที่เดินทางไปเที่ยวที่แคริบเบียนจะลดลงเรื่อยๆไปจนถึงป 2015 โดย คาดวา จะลดลงเกือบรอยละ 8 ระหวางป 2008 และ ป 2015 หรือ มีอัตราการเติบโตลดลงเฉลี่ย รอยละ 1.2 ตอป อยางไรก็ตาม หากแหลงทองเที่ยวใดที่ตองการจะชนะใจตลาดอเมริกันและไดรับสวนแบงทาง การตลาดเพิ่ ม ขึ้ น แหล ง ท อ งเที่ ย วนั้ น ๆ ควรให ค วามใส ใ จกั บ การพั ฒ นาขั้ น พื้ น ฐานและการ ปรับเปลี่ยนเชิงจิตวิทยาของคนอเมริกา โดยเฉพาะการเพิ่มจํานวนของ “ชนชั้นสรางสรรค” มากกวา การใหความสนใจเฉพาะจํานวนนักทองเที่ยว เหนือสิ่งอื่นใด ตองใหความสําคัญกับการสอดแทรก วัฒนธรรมและประสบการณลงไปในสิ่งที่จะเสนอขายใหแกนักทองเที่ยว

*****************************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 12


รายงานการเดินทางเขารวมงาน Mekong Tourism Forum 2010 (MTF) ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา ฐิติรัตน สุขพาสนเจริญ1 กระทรวงการทองเที่ยวกัมพูชา รวมดวยสํานักงานประสานงานทองเที่ยวแมน้ําโขง (Mekong Tourism Coordinating Office: MTCO) ไดเปนเจาภาพจัดงาน Mekong Tourism Forum ( MTF) 2010 นี้ ขึ้นอีกครั้งเมื่อวันที่ 7- 8 พ.ค. 2553 ณ เมืองเสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา ภายหลังจากที่มีการ จัด งานอยางต อเนื่ อ งในช ว งป 2539-2548 ทั้ ง นี้ ประเทศสมาชิ ก จะหมุ น เวี ย นกั น เป น เจ า ภาพจั ด งาน ประจํ า ป นี้ ค วบคู กั บ การประชุ ม คณะทํ า งานฯ ซึ่ ง มี กําหนดจัดงานปล ะ 2 ครั้งตามลําดับตัวอักษร โดย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.) จะ เปนเจาภาพจัด MTF 2011 ที่เมืองปากเซ แขวง จํ า ปาสั ก และประเทศไทยจะเป น เจ า ภาพจั ด MTF 2012 สํ า ห รั บ พิ ธี เ ป ด ก า ร สั ม ม น า ค รั้ ง นี้ ผูอํานวยการ MTCO (Mr. Mason Florence) กลาว รายงาน และ Dr.Thong Khon รัฐมนตรีกระทรวงการ ทองเที่ยวกัมพูชากลาวตอนรับเปดการสัมมนา พรอม ดวย Opening remarks จากผูแทน 3 หนวยงาน คือ 1) H.E. Kousouh Saroeuth, Secretary of State, Ministry of Tourism of Cambodia 2) Ms. Shireen Lateef, Director-Social Sectors, Southeast Asia Regional Department, Asian Development Bank 3) Mr. R.J. Gurley, Director of ASEAN Competitiveness Enhancement Project (ACE) ในการจัดงาน MTF 2010 ครั้งนี้ นอกจากงานสัมมนาเชิงวิชาการแลว ยังมีการจัดงาน GMS Mini Travel Expo ในบริเวณเดียวกัน ซึ่งไดรับความสนใจจากผูประกอบการทองเที่ยวอยางยั่งยืน/ การทองเที่ยวชุมชน เขารวมจํานวน 25 บูท และจากขอมูลของ MTCO แจงวามีผูเขารวมงาน MTF 2010 จากหนวยงานตางๆ รวมทั้งสิ้น 214 ราย แบงเปน 1

พนักงานวางแผน 5 งานความรวมมือระหวางประเทศ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


- องคกรสงเสริมการทองเที่ยว (NTOs) - ภาครัฐ - ภาคเอกชน - ภาคการศึกษา - หุนสวนการพัฒนา (Development Partner) - สื่อ - การทองเที่ยวชุมชน (Local CBT) - อื่นๆ

39 3 84 8 36 26 9 9

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย

สาระสําคัญจากการสัมมนาหัวขอ Responding to Changing Markets Mr R.J.Gurley, Director, ASEAN Competitiveness Enhancement Project (ACE) ซึ่งเปนหนึ่ง ใน Guest speaker ไดใหขอมูลในชวงกลาวเปดถึงการประเมินภาพลักษณการทองเที่ยวของอาเซียนที่ ผานมาวา ASEAN ไมเปนที่รูจักในฐานะแหลงทองเที่ยว (ASEAN is not perceived as a destination) จึง ไดรวมมือกับ ASEAN Tourism Association (ASEANTA) ในการพัฒนา Southeast Asia: feel the warmth ใชสําหรับการดําเนินการตลาดของอาเซียนแทน Visit ASEAN Campaign ทั้ ง นี้ โดยได ข อ มู ล สนับสนุนจากการศึกษาวิจัย ภาพลั ก ษณ ก ารท อ งเที่ ย ว อาเซียน (ASEAN Tourism Image) ของสถาบันวิจัยเพื่อ พั ฒ นาการท อ งเที่ ย วไทย ภายใต ก ารสนั บ สนุ น ของ สํานั กงานกองทุนสนับสนุ น ก า ร วิ จั ย ( ส ก ว . ) แ ล ะ คณะทํ า งานด า นกํ า ลั ง คน อาเซีย น ระหวางป 25492550 ซึ่ ง ได มี ก ารทํ า วิ จั ย การตลาดเกี่ยวกั บ สิ่ งที่นักทองเที่ยวจาก 110 ประเทศนอกภูมิ ภาคอาเซียนนึ กถึงแต ล ะประเทศ สมาชิก 3 อันดับแรก ภายหลังการเดินทางเยือนอาเซียน อาทิ บรูไน ความเปนมิตร ความปลอดภัย มีความเจริญกาวหนา กัมพูชา ความเปนมิตร มรดกทางวัฒนธรรม กําลังพัฒนา อินโดนีเซีย ความตื่นเตน ธรรมชาติ-วัฒนธรรม ความเปนมิตร ความเปนมิตร ความสงบ ลาว กาวไปอยางชาๆ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 2


มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย เวียดนาม

ความตื่นเตน ความเปนมิตร ความเลื่อมใสศาสนา ความเปนมิตร ความเปนมิตร มีความเปนอเมริกัน ความสนุกสนาน ความเปนมิตร ความเปนมิตร วัฒนธรรม ความเปนมิตร ธรรมชาติ

มีวัฒนธรรมหลากหลาย วัฒนธรรม ธรรมชาติ มีวัฒนธรรมหลากหลาย บริการที่มีคุณภาพ วัฒนธรรม

และได ข อ สรุ ป เกี่ ย วกั บ ภาพลักษณการทองเที่ยวอาเซียน วา มีวัฒนธรรมหลากหลาย และ ไ ม ต รี จิ ต อั น อ บ อุ น (ASEAN tourism image: Cultural diversity with warm hospitality) นอกจากนี้ ACE ยังได จัดทําแผนยุทธศาสตรทองเที่ยว อาเซียน 2011-2015 และสื่อ online คูมือ Responsible Tourism Guide to the Mekong Mr.Ludwig G. Rieder, Director, Asia Pacific Projects Inc. ไดใหขอมูลจํานวนนักทองเที่ยวที่ เดินทางเขาพื้นที่ GMS ซึ่งประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา ไทย เวียดนาม และจีนตอนใต (ยูนนาน และกวางสี) วามีจํานวนเพิ่มจาก 20,794,296 คนในป 2548 เปน 27,278,320 คน ในป 2552 ดวยอัตราการเติบโตเฉลี่ยรอยละ 7 โดยประเทศไทยไดรับนักทองเที่ยวจากตางประเทศมากที่สุดดวย จํานวน 14,149,841 คนในป 2552 คิดเปนสวนแบงรอยละ 51.9 รองลงมาคือ เวียดนาม มี นักทองเที่ยว 3,772,359 คน คิดเปนสวนแบง รอยละ 13.8 และ ยูนนาน 2,844,902 คน คิดเปน สวนแบงรอยละ 10.4 ทั้ ง นี้ เมื่ อ พิ จ ารณาอั ต ราเติ บ โตเฉลี่ ย 5 ป (ป 2548-2552) ปรากฏว า ยู น นาน (17.3%) ลาว (16.0%) กัมพูชา (11.0%) และกวางสี (9.5%) มีอัตราเฉลี่ยสูงกวาอัตราเฉลี่ยของ อนุภูมิภาค GMS ในขณะที่ประเทศไทยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยรอยละ 5.3 มีการเปลี่ยนแปลงของกลุมนักทองเที่ยวตลาดหลักในพื้นที่อนุภูมิภาคลุมน้ําโขง(GMS) โดยนักทองเที่ยวจากอาเซียนมีการเดินทางเขาพื้นที่เปนสัดสวนมากขึ้นอยางเดนชัด โดยมีสัดสวนมาก ขึ้นจากรอยละ 24 ในป 2543 เปนรอยละ 26 และ รอยละ 59 ในป 2547 และ 2551 ตามลําดับ ในขณะที่นักทองเที่ยวจากตลาดระยะไกล เชน ตลาดยุโรป ซึ่งเคยครองสวนแบงตลาด นักทองเที่ยวที่เดินทางเขา GMS สูงสุดถึงรอยละ 26 ในป 2543 และ 2547 กลับมีสัดสวนลดลง เหลือเพียงรอยละ 15 ในป 2551 ทั้งนี้ เนื่องมาจากปจจัยตางๆ อาทิ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


- สภาพเศรษฐกิจในอาเซียน - Visa free สําหรับนักทองเที่ยวในอาเซียน - การเดินทางเชื่อมโยงโดยถนนดีขึ้น - สายการบินตนทุนต่ําใหบริการในภูมิภาค - คาใชจายในการเดินทางระยะไกลเพิ่มขึ้น Mr.Greg Duffell, CEO, Pacific Asia Travel Association (PATA) ซึ่ง เปน Keynote speaker ไดใหภาพรวม การเปลี่ยนแปลงในชวง 10 ป ทั้งใน เชิงของสังคม นวัตกรรม เทคโนโลยี การเมือง รวมทั้งการทองเที่ยว ซึ่ง ได ก ล า วถึ ง อั ต ราการเติ บ โตของ นักทองเที่ยวใน GMS ซึ่งบางประเทศ เชน ลาว พมา กวางสี และยูนนาน มีการเติบโตที่ดีมากในป 2552 เมื่อ เที ย บกั บ ป 2551 ส ว นกั ม พู ช ามี อัต ราการเติ บ โตเล็ ก น อ ย ในขณะที่ ไ ท ย แ ล ะ เ วี ย ด น า ม มี จํ า น ว น นักทองเที่ยวลดลง นอกจากนี้ ยังใหขอมูลเพิ่มเติมดังนี้ - Feedback ของนักทองเที่ยวในปจจุบันผานชองทาง online มีอิทธิพลสูงตอการ ทองเที่ยว อาทิ tripadvisor, flickr, You Tube, Facebook, myspace.com, Ctrip.com ทั้งนี้ ในป 2552 กลุมผูใช online ในตลาดทองเที่ยวหลักๆ ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และอินเดีย - ขอมูลจากบัตรเครดิต Visa เกี่ยวกับตลาดที่มีการใชจายสูง คือ จีน ตะวันออกกลาง รัสเซีย และอินเดีย - การทองเที่ยวในเอเชียแปซิฟกมีทิศทางที่ดีขึ้น แตการแขงขันก็สูงขึ้นดวย อาทิ ฮองกง มีการสงเสริมตลาดชอปปง มาเกาเสนอตัวเปนแหลงพนันคาสิโนที่ใหญที่สุดระดับโลก สิงคโปรเนน ตลาด MICE และจีนชู EXPO 2010 เซี่ยงไฮ ซึ่งคาดวาจะสามารถดึงดูดคนไดถึง 70 ลานคน น.ส.รัญจวน ทองรุต ผูอํานวยการกองแผนนโยบาย การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ได รวมเปนวิทยากร ซึ่งไดนําเสนอขอมูลและสถานการณทองเที่ยวของประเทศไทยโดยสรุป มีประเด็น ดังนี้ - สถานการณทองเที่ยวของประเทศไทยในป 2551-2552 - สถานการณทองเที่ยวภาพรวมใน GMS ป 2552

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


- สถานการณ นักทองเที่ยวขาออกจากประเทศไทยเขาพื้ นที่ GMS ทั้งในสว น นักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางผานดานชายแดนสําคัญของไทยในป 2551-2552 และนักทองเที่ยวขาออกของไทยเขาพื้นที่ GMS ชวงป 2549-2550 - คาดการณนักทองเที่ยวในป 2553 - Changing Market/Tourism Trend - การดําเนินงานความรวมมือดานการตลาดทองเที่ยวของ ททท. ใน GMS ที่ตอบ สนองแนวโนมการทองเที่ยวและดึงดูดนักทองเที่ยวนอกพื้นที่ อาทิ การทองเที่ยวเชิง ศาสนาเชื่ อ มโยงกั บ ประเทศเพื่ อ นบ า น การท อ งเที่ ย วเชื่ อ มโยงทางรถยนต การ ทองเที่ยวในลักษณะมีความรับผิดชอบ ใสใจสิ่งแวดลอม เปนตน - การตอบขอซักถามจากผูเขารวมสัมมนา อาทิ เหตุการณความไมสงบทางการเมือง ในกรุงเทพฯ โดยใหขอมูลเพื่อสรางความเขาใจวา เหตุการณดังกลาวจํากัดเฉพาะใน พื้นที่บางแหงของกรุงเทพฯ เทานั้น ไมใชทั่วทั้งประเทศไทย และไมมีผลกระทบตอ การเดินทางผานทาอากาศยานตางๆ ของไทย โดยนักทองเที่ยวสามารถเดินทาง ทอ งเที่ ย วไปยั ง พื้ น ที่ อื่น ๆ ได ต ามปกติ และนั กท อ งเที่ ย วไมใ ช กลุ ม เป า หมายของ เหตุการณประทวงที่เกิดขึ้น ขอสังเกตจากการเขารวมงาน 1) มีผูประกอบการทองเที่ยวไทยเขารวมงาน GMS Mini Travel Expo เปนจํานวนนอย ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากปญหาทางการเมืองของไทย และการประสานเตรียมการเชิญ คอนขางกระชั้นชิด 2) ผูเขาชมงาน GMS Mini Travel Expo สวนใหญเปนกลุมผูเขาประชุมและรวมงาน MTF 2 0 1 0 เนื่ อ ง จ า ก อ ยู บริเวณเดียวกัน แตการ ให ความสนใจสอบถาม ไมมากนัก 3) ไ ท ย กํ า ลั ง สู ญ เ สี ย บ ท บ า ท ค ว า ม เ ป น ศู น ย ก ลางทางการบิ น ในภู มิ ภ าค ทั้ ง นี้ จาก เหตุการณความไมสงบ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น กรุงเทพฯ ซึ่งคาดวาจะ ส ง ผลกระทบต อ การ ทองเที่ยวของ อนุภูมิภาค GMS โดยเฉพาะกับประเทศเพื่อนบานที่พึ่งพิงประเทศไทย ในการกระจายนักทองเที่ยว อาทิ กัมพูชา ลาว และพมา ทําใหประเทศเพื่อนบานมี

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5


ทาทีในการแสวงหาทางเลือกใหมโดยการพิจารณาใชสนามบินประเทศอื่นๆ แทน สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ เช น กั ม พู ช าใช ส นามบิ น สิ ง คโปร มาเลเซี ย เวี ย ดนาม เป น ศู น ย ก ลางการบิ น เชื่ อ มแทนสุ ว รรณภู มิ นอกจากนี้ ผู แ ทนจากพม า ได ใ ห ข อ มู ล เกี่ยวกับการเปดใหบริการบินตรงระหวางสองประเทศของสายการบินเวียดนาม แอรไลนเปนครั้งแรก ในเสนทางฮานอยกับยางกุง ขอเสนอแนะ การท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทย (ททท.) ควรมี ค วามชั ด เจนในการดํ า เนิ น นโยบายความ รวมมือดานทองเที่ยวกับประเทศ GMS โดยพิจารณาดําเนินนโยบายการตลาดในเชิงรุก ในการใช ศักยภาพของพื้นที่ใหเกิดประโยชนตอการทองเที่ยวของไทย เพื่อใหสามารถคงบทบาทความเปน ศูนยกลางทางการบินในภูมิภาคและเปนผูนําดานทองเที่ยวในอนุภูมิภาคนี้

*****************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 6


สรุปผลการสํารวจขอมูล โครงการสํารวจพฤติกรรมการเดินทางทองเที่ยวของชาวไทย พ.ศ. 2552 กลุมงานฐานขอมูลการตลาด ตามที่กลุมฐานขอมูลการตลาด (กขต.) การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ดําเนินการศึกษา “โครงการสํารวจพฤติกรรมการเดินทาง ทองเที่ยวของชาวไทย พ.ศ. 2552” รวมกับสํานักงานสถิติ แหงชาติ (สสช.)โดยสามารถสรุปขอบเขตการศึกษาไดดังนี้ 1. กลุมประชากร : ชาวไทยที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป 2. ชวงเวลาในการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล : เดือนเมษายน-พฤษภาคม 2552 3. ครัวเรือนกลุมตัวอยาง : จํานวน 15,440 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 ราย) 4. การนําเสนอขอมูล : ภาพรวมในระดับประเทศและระดับภาค 7 ภาค ไดแก - กรุงเทพฯ และปริมณฑล (นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ) - ภาคกลาง (ไมรวมกรุงเทพฯและปริมณฑล) - ภาคตะวันออก - ภาคเหนือตอนบน - ภาคเหนือตอนลาง - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ภาคใต ทั้งนี้สามารถสรุปผลขอมูลจากการสํารวจที่สําคัญไดดังนี้ ¾ จากการสํ า รวจพบว า ในป 2551 ร อ ยละ 50.6 เป น ผู ที่ มี ก าร เ ดิ น ท า ง ท อ ง เ ที่ ย ว ภายในประเทศ โดย ภาคที่ มี สั ด ส ว นการ เดินทางทองเที่ยวมาก ที่สุดคือ กรุงเทพฯ และ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


ปริมณฑล คิดเปนรอยละ 67.9 รองลงมาไดแก ภาคกลาง (ไมรวมกรุงเทพฯและ ปริมณฑล) และ ภาคตะวันออก มีสัดสวนการเดินทางทองเที่ยวคิดเปนรอยละ 56.0 และ 54.9 ตามลํ า ดั บ นอกจากนี้ พ บว า ร อ ยละ 3.9 เป น ผู ที่ เ ดิ น ทางท อ งเที่ ย ว ตางประเทศ ¾ เหตุผลสําคัญที่ทําใหไมมีการเดินทางทองเที่ยวคือ ไมมีทุนทรัพยเพียงพอสําหรับการ เดิ น ทาง คิ ด เป น ร อ ยละ 60.6 เหตุ ผ ลรองลงมาได แ ก ไม มี เ วลาว า ง และสภาพ เศรษฐกิจไมคอยดี คิดเปนรอยละ 54.0 และ 31.2 ตามลําดับ ¾ ลักษณะการเดินทางทองเที่ยว รอยละ 48.0 เดินทางแบบพักคางคืน และรอยละ 31.8 เดินทางแบบไมพักคางคืน สวนที่เหลืออีกรอยละ 20.2 เปนการเดินทางทั้ง 2 ลักษณะ (พักคางคืนและไมพักคางคืน) ¾ พฤติ ก รรมการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วของกลุ ม ที่ ไ ม พั ก ค า งคื น สามารถสรุ ป เป น ประเด็นไดดังนี้ - ในป 2551 จากการสํารวจพบวาสวนใหญเดินทาง 1-4 ครั้ง คิดเปนรอย ละ 74.0 มีจํานวนครั้งเฉลี่ย ของการเดิ น ทางท อ งเที่ ย ว คิดเปน 4.4 ครั้งตอป และ เมื่อเปรียบเทียบจํานวนการ เดิ น ทางท อ งเที่ ย วของ ป 2551 กั บ 2550 พบว า รอยละ 42.0 มีจํานวนครั้ง ของการเดินทางเทาเดิม และ รอยละ 41.5 มีการเดินทาง ที่ ล ด ล ง แ ล ะ มี เ พี ย ง รอยละ 16.5 ที่เดินทางเพิ่ม มากขึ้น - วัตถุประสงคของการเดินทางทองเที่ยวสวนใหญรอยละ 34.1 คือ ตองการพักผอน/ เปลี่ยนบรรยากาศ รองลงมาคือ เยี่ยมญาติ/เพื่อน, ซื้อของ/ชอปปง, ไหวพระ/ปฏิบัติธรรม และชอบ เดินทางทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 33.2, 29.0, 27.1 และ 16.6 ตามลําดับ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 2


- กิจกรรมที่ทําระหวางทองเที่ยวสวนใหญคือ ทองเที่ยวทั่วไป คิดเปนรอย ละ 66.0 รองลงมาคือ กิจกรรมเชิงศาสนา, พักผอนในที่พัก/บานญาติ/ไมทํากิจกรรม, กิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และ กิจกรรมเชิงนิเวศและผจญภัย คิดเปนรอยละ 38.0, 24.7, 24.4 และ 9.1 ตามลําดับ - ร อ ย ล ะ 6 8 . 6 ไ ม ไ ด ห า ข อ มู ล ข า ว ส า ร สํ า ห รั บ ก า ร เดิ น ทาง โดยที่ เ หลื อ อี ก ร อ ยละ 31.4เป น ผู ที่ ห า ข อ มู ล โดยส ว นใหญ ห า ข อ มู ล จากเพื่ อ น/ญาติ / ครอบครัว คิดเปนรอยละ 78.9 - ชว งวั นหยุ ด เ ส า ร -อ า ทิ ต ย เ ป น ชวงเวลาที่เดินทางมากที่สุดคิดเปนรอยละ 58.0 - รอยละ 61.5 นิยมเดินทางกับครอบครัว/ญาติ สวนผูตัดสินใจเลือกการ เดินทาง รอยละ 43.6 คือ ครอบครัว/ญาติ เชนเดียวกัน - ลักษณะการจัดการเดินทางสวนใหญรอยละ 87.3 เปนการจัดการเดินทาง เองทั้งหมด และพาหนะที่ใชเดินทางสวนใหญคือพาหนะสวนตัว/รถยนต คิดเปนรอยละ 65.5 - กลุมที่ไมพักคางคืนมีคาใชจายเฉลี่ยในการเดินทางทองเที่ยวครั้ง/ทริป ลาสุดตอคนประมาณ 1,154 บาท โดยรอยละ 42.3 มีคาใชจายในการเดินทางทองเที่ยว ครั้ง/ทริปลาสุดตอคน คือ ต่ํากวา 500 บาท - 10 อันดับ จั งหวัดในทริป สุดทายที่ มีการเดิ นทางทองเที่ยวไปมากที่สุด แบบไมพักคางคืน คือ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


รอยละของจํานวน จังหวัดที่เดินทางไป การเดินทางทองเที่ยว ในแหลงทองเที่ยว 1/ 1 ชลบุรี 7.0 2 อยุธยา 4.3 3 กรุงเทพมหานคร 4.2 4 สงขลา 3.9 5 พิษณุโลก 3.5 6 นครพนม 3.3 7 เพชรบุรี 3.2 8 นครราชสีมา 3.0 9 สุพรรณบุรี 2.9 10 เชียงใหม 2.7

รอยละของจํานวนการเดินทางทองเที่ยวในแตละประเภทแหลงทองเที่ยว รวม ธรรมชาติ ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม อื่น ๆ ประเพณีและกิจกรรม 100.0 79.6 5.9 12.1 2.4 1.2 86.6 5.9 6.3 100.0 100.0 17.3 61.1 21.6 30.3 2.2 48.7 18.8 100.0 100.0 10.5 39.4 41.1 9.0 100.0 0.5 93.0 4.5 2.0 85.3 6.8 6.6 1.3 100.0 100.0 10.3 33.3 48.0 8.3 6.9 30.1 53.2 9.8 100.0 100.0 20.9 8.5 49.1 21.5

หมายเหตุ : 1/ จํานวนการเดินทาง นับจาก การเดินทางแวะแหลงทองเที่ยวตางๆ ในทริปลาสุด โดยการเดินทางทองเที่ยวใน 1 สถานที่ นับเปน 1 การเดินทาง ซึ่งในการเดินทาง ทองเที่ยวอาจจะแวะทองเที่ยวสถานที่ตางๆ มากกวา 1 แหง และมากกวา 1 จังหวัด ¾ พฤติกรรมการเดินทางทองเที่ยวของกลุมที่พักคางคืน สามารถสรุปเปนประเด็นได ดังนี้ - ในป 2551 กลุมตัวอยางสวนใหญเดินทาง 1-4 ครั้ง คิดเปนรอยละ 90.6 มีจํานวนครั้งเฉลี่ยของการเดินทางทองเที่ยว 2.4 ครั้งตอป และเมื่อเปรียบเทียบ จํ า นวนการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วของ ป 2551 กั บ 2550 พบว า ร อ ยละ 47.6 มี จํานวนครั้งของการเดินทางเทาเดิม และอีกรอยละ 30.9 มีการเดินทางลดลง มีเพียง รอยละ 21.5ที่เดินทางเพิ่มขึ้น - วัตถุประสงคของการเดินทางทองเที่ยวสวนใหญรอยละ 40.8 คือ เยี่ยม ญาติ/เพื่อน รองลงมาคือ ตองการพักผอน/เปลี่ยนบรรยากาศ, เยี่ยมครอบครัว, ชอบเดินทางทองเที่ยว และไหวพระ/ปฏิบัติธรรม คิดเปนรอยละ 31.5, 26.5, 15.8 และ12.2 ตามลําดับ - กิจกรรมที่ทําระหวางทองเที่ยวสวนใหญคือ ทองเที่ยวทั่วไป คิดเปนรอยละ 54.1 รองลงมาคือ พักผอนในที่พัก/บานญาติ/ไมทํากิจกรรม, กิจกรรมเชิงศาสนา, กิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และ กิจกรรมเชิงนิเวศและผจญภัย คิดเปนรอยละ 41.6, 29.9, 24.3 และ 13.9 ตามลําดับ

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


- รอยละ 66.9 ไมไดหาขอมูลขาวสารสําหรับการเดินทาง สวนที่เหลืออีกรอย ละ 33.1 เปนผูที่หาขอมูล โดยสวนใหญหาขอมูลจากเพื่อน/ญาติ/ครอบครัว คิดเปน รอยละ 67.9 รองลงมาคือ เว็บไซต ททท. และนิตยสารการทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 20.2 และ 19.3 ตามลําดับ - ช ว งวั น หยุ ด ยาว (มีวันหยุดยาวติดตอกัน) จะเปน ช ว งที่ มี ก ารเดิ น ทางมากที่ สุ ด คิดเปนรอยละ 40.5 - สําหรับสถานที่พัก แรมของกลุมที่พักคางคืนนี้ สวน ใหญรอยละ 58.9 พักที่บาน/ที่ พั ก ของครอบครั ว /บ า นญาติ / เพื่ อ น รองลงมาพั ก ที่ โ รงแรม แ ล ะ รี ส อ ร ท คิ ด เ ป น ร อ ย ล ะ 1 9 . 6 แ ล ะ 1 0 . 3 ตามลําดับ - รอยละ 52.9 นิยม เดินทางกับครอบครัว/ญาติ และ ผู ตั ด สิ น ใจเลื อ กการเดิ น ทาง รอยละ 38.5 คือ ครอบครัว/ ญาติ เชนเดียวกัน - ลักษณะการจัดการเดินทางสวนใหญรอยละ 77.3 เปนการจัดการเดินทาง เองทั้งหมด และพาหนะที่ใชเดินทางสวนใหญคือพาหนะสวนตัว/รถยนต คิดเปนรอยละ 44.6 - กลุมที่เดินทางทองเที่ยวแบบพักคางคืนมีจํานวนวันที่เดินทางทองเที่ยว เฉลี่ย ประมาณ 3.9 วัน โดยรอยละ 35.7 เปนกลุมที่มีจํานวนวันที่เดินทาง 2 วัน และมี คาใชจายเฉลี่ยในการเดินทางทองเที่ยวครั้ง/ทริปลาสุดประมาณ 3,062 บาทตอคน

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5


- 10 อันดั บ จั งหวัดในทริป สุดทายที่มีการเดินทางทองเที่ยวไปมากที่ สุด แบบพักคางคืน คือ รอยละของจํานวน จังหวัดที่เดินทางไป การเดินทางทองเที่ยว ในแหลงทองเที่ยว 1/ 1 ชลบุรี 9.2 2 เชียงใหม 7.5 3 กรุงเทพมหานคร 7.3 4 ระยอง 5.6 5 นครราชสีมา 4.2 6 เพชรบุรี 3.9 7 ประจวบคีรีขันธ 3.3 8 เชียงราย 3.0 9 กาญจนบุรี 2.4 10 ภูเก็ต 2.1

รอยละของจํานวนการเดินทางทองเที่ยวในแตละประเภทแหลงทองเที่ยว อื่น ๆ รวม ธรรมชาติ ประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและกิจกรรม 100.0 68.8 8.1 16.7 6.4 100.0 44.0 20.0 27.8 8.2 100.0 0.1 13.7 49.8 36.4 100.0 79.7 4.0 11.6 4.7 100.0 28.9 27.4 24.6 19.1 100.0 72.9 16.3 7.5 3.3 100.0 75.8 10.0 6.8 7.4 100.0 24.7 37.8 28.5 9.0 100.0 58.1 23.7 14.0 4.2 100.0 79.7 10.2 5.7 4.4

หมายเหตุ : 1/ จํานวนการเดินทาง นับจาก การเดินทางแวะแหลงทองเที่ยวตางๆในทริป ลาสุดโดยการเดินทางทองเที่ยวใน 1 สถานที่ นับเปน 1 การเดินทาง ซึ่งในการเดินทางทองเที่ยว อาจจะแวะทองเที่ยวสถานที่ตางๆ มากกวา 1 แหง และมากกวา 1 จังหวัด ¾ นอกจากนี้รอยละ 3.9 เปนผูที่เดินทางทองเที่ยวตางประเทศในรอบป 2551 และมี จํานวนครั้งเฉลี่ยในการเดินทางทองเที่ยวตางประเทศ 1.8 ครั้งตอป โดยชวงเดือน เมษายน-มิถุนายน เปนชวงเวลาที่เดินทางทองเที่ยวตางประเทศมากที่สุดคือรอยละ 31.4 และเหตุผลที่ทําใหมีการเดินทางทองเที่ยวตางประเทศมากกวาในประเทศ คือ ความนาสนใจ/มีชื่อเสียงของแหลงทองเที่ยว คิดเปนรอยละ 46.6 ปจจัยรองลงมา ไดแก เพื่อทํางาน/ธุรกิจ/ธระสวนตัว, มีคนแนะนํา/เพื่อนชวน,ใฝฝนอยากไปเที่ยว และรายการสงเสริมการขายตางๆ เชน การลดราคาแพคเกจทัวร คิดเปนรอยละ 41.8, 20.5, 14.1 และ 9.6 ตามลําดับ ¾ รอยละ 15.9 มีการวางแผน/จัดสรรเงินสําหรับการเดินทางทองเที่ยว โดยรอยละ 5.4 ของจํานวนนี้วางแผน/จัดสรรเงินจํานวน 2,001-5,000 บาท ตอป

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 6


¾ รอยละ 69.9 รับรู/รั บทราบสโลแกน "เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก" สํ า หรั บ สื่ อ ที่ ทํ า ให รั บ รู / รั บ ทราบส ว นใหญ คื อ โทรทั ศ น คิ ด เป น ร อ ยละ 68.7 รองลงมาคือ วิทยุ และปายโฆษณา คิดเปนรอยละ 10.3 และ 6.4 ตามลําดับ และ รอยละ 59.1 รูสึกอยากเดินทางทองเที่ยว เมื่อรับรู/รับทราบสโลแกน "เที่ยวไทย ครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” ¾ รอยละ 54.2 เห็นดวยวา “การทองเที่ยวเปนสวนหนึ่งของชีวิต”

**********************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 7


ทัศนคติและแรงจูงใจดานการทองเที่ยวของคนกรุงเทพฯและปริมณฑล ภัทร แสงจันทร1 มนุษ ย ต อสู ดิ้ นรนเพื่อความอยูรอดในสังคมมาโดยตลอด วิ ธีการคิ ด และพฤติกรรมการ ปฎิบัติเพื่อใหการดํารงชีวิตเปนไปอยางอุดมสมบูรณและอยูรอดปลอดภัยนั้น ไดถูกศึกษาและทํา ความเขาใจโดยนักปรัชญา นักสังคมวิทยาหลายทาน ทวาทฤษฎีสําคัญเกี่ยวกับการดํารงชีวิตที่ไดรับ การยอมรั บ และใช อ า งอิ ง เพื่ อ ทํ า ความเข า ใจทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมของมนุ ษ ย ท ฤษฎี ห นึ่ ง ได แ ก “ทฤษฎีเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมาสโลว” ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวของกับพัฒนาการความตองการ ดานตางๆ เพื่อการดํารงชีวิตของมนุษยอยางเปนลําดับ 5 ขั้นตอน แรงจูงใจเพื่อ คนหาตัวตน

ใชการทองเทีย่ ว เพื่อคนหาตัวตน

แรงจูงใจเพื่อ หา ความยอมรับนับถือ จากผูอ ื่น

ใชการทอ งเทีย่ วเพื่อ หาความยอมรับนับ ถือจากผูอื่น

แรงจูงใจเพื่อหาความรักและ ความเปนเจาของ

ใชการทอ งเทีย่ วเพื่อ หาความรัก และความเปนเจาของ

แรงจูงใจเพื่อหาความปลอดภัย

แรงจูงใจเพื่อหาความปลอดภัย

ความตองการพื้นฐานทางรางกาย

ใชการทองเทีย่ วเพื่อหาความเปนอิสระตามพื้นฐานทาง รางกาย

(Freewill=อิสระแหงกายและจิต)

ขั้ น แรกๆ เป น แรงจู ง ใจเพื่ อ ตอบสนองความต อ งการทางกายภาพและแสวงหาความ ปลอดภั ย ให ร า งกายอยู ร อด ตั้ ง แต ก ารหาอาหาร เครื่ อ งนุ ง ห ม ที่ พั ก และเมื่ อ ร า งกายแข็ ง แรง ปลอดภัยแลว มนุษยจะเริ่มกระบวนการแสวงหาการเติมเต็มทางจิตใจ โดยการแสวงหาความรักจาก สังคมใกลตัว เชน ครอบครัว เพื่อน และเมื่อไดรับสิ่งที่ตองการใน 3 ขั้นแรกแลว มนุษยก็เริ่มแสวงหา ความตองการความยอมรับนับถือจากคนที่ไกลตัวขึ้น โดยการยอมรับนับถือนี้เกิดจากความตองการ แบงปนที่เกิดจากภายในเพื่อถายทอดความรักและความเขาใจกลับคืนสูสังคม ซึ่งหลังจากนั้นมาสโลว เชื่อวามนุษยสวนหนึ่งจะเริ่มตองการเขาใจวัตถุประสงคที่แทจริงของการไดเกิดมา และจะกลับเปน 1

กรรมการผูจัดการ บริษัทอินทัชรีเสิรช แอน คอนซัลแทนซี จํากัด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


แรงจูงใจที่ทําใหเกิดความตองการเพื่อคนหาตัวตน จากภายในตน (อายาตนะใจ) เพื่อความสุขที่ แทจริงและการหลุดพนในที่สุด เชนเดียวกับทฤษฎีแนวทางการดํารงชีวิตดังกลาว นักจิตวิทยา นักสังคมวิทยา และผูรูหลาย ทานไดนําเสนอทฤษฎีตางๆ เพื่อใชอธิบายทัศนคติและพฤติกรรม รวมถึงแรงจูงใจในการเดินทาง ทองเที่ยวของมนุษยอยางเปนระบบเชนกัน ทฤษฎีอันเปนที่ยอมรับดานการทองเที่ยวในแงมุมตางๆ จากผูรูหลายทาน อยาง Iso-Ahola, Butler, Pearce, Fridgen, Knox และ Getz สามารถสรางความเขาใจ ตอกระบวนการคิดและการกระทําของนักทองเที่ยวกลุมตางๆไดเปนอยางดี อยางไรก็ตามเพื่อทํา ความเขาใจทัศนคติและพฤติกรรมของนักทองเที่ยว โดยเฉพาะสาระที่เกี่ยวของกับ “แรงจูงใจ” ใน การเดินทางทองเที่ยวของนักทองเที่ยวไทยอยางลึกซึ้งนั้น (ระยะที่ 1 กลุมเปาหมายในกรุงเทพฯและ ปริมณฑล) ทฤษฎีการดํารงชีวิตตามลําดับของมาสโลวดังกลาว จึงถูกนํามาประยุกตใชเปนตนแบบ การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธของพัฒนาการทางดานความตองการ และแรงจูงใจอยางสําคัญทั้ง ดานกายภาพและจินตนภาพของนักทองเที่ยวไทย ที่จะสงผลตอพฤติกรรมในการเดินทางทองเที่ยว ดานตางๆ การศึกษาพบวาแรงจูงใจและความตองการดานการเดินทางทองเที่ยวมีพัฒนาการในลําดับ ขั้นตอนที่ไมไดแตกตางจากทฤษฎีการดํารงชีวิตของมาสโลวแตอยางใด นอกจากนั้นหากจัดแบงกลุม คนกรุงเทพฯ และปริมณฑลตามทัศนคติและแรงจูงใจตอการทองเที่ยวดานตางๆ นั้น การศึกษา พบวาสามารถจําแนกกลุมคน กทม.และปริมณฑล ออกไดเปน 7 กลุมตามคุณลักษณะที่แตกตางกัน ทั้งทางกายภาพและลักษณะวิถีการดํารงชีวิต ดังนี้ กลุมที่ 1 In-Trend “เรียนรูคูกระแส” มีสัดสวนประมาณ 9% ของประชากร กลุมเปาหมาย เปนกลุมที่ใหความสําคัญกับ“กระแสนิยม” ผนวกไปกับ “ความอยากรูอยากเห็น” ซึ่ง มักตองเขากันไดอยางลงตัว กับ “รสนิ ยม” ทางสังคมของกลุม ซึ่งทั้งหมดนี้นับเปนแรงจูงใจอัน สําคัญในการตัดสินใจเดินทางทองเที่ยวของคนกลุม นี้อยางแทจริง ดูคลายกับวา “การเดินทางทองเที่ยว” เปน กิจกรรมกลุมที่ไมไดแตกตางไปจากการเขาฟตเนส ชั้นนํา การเดิ น ช็อ ปป งตามย า นดาวน ท าวน ก ลาง กรุง เพราะกิจกรรมเหลานี้เปนเครื่องมือในการใช บงบอกไลฟสไตลและอาณาเขตของความแตกตาง ระหวางกลุมกับสังคมดานนอก ด ว ยลั ก ษณะทางกายภาพที่ ยั ง แอคที ฟ มี ฐานะทางสังคมดี การศึกษาดี การงานดี รายไดสูง ทํ าให การเขา ถึงข อ มูล ข าวสารด ว ยเทคโนโลยีและ เครื่องมือทันสมัยล้ํายุคตางๆ เปนเรื่องปกติ และที่สําคัญยังเปนกลุมที่มีความถี่ในการเดินทางสูง มากกลุมหนึ่ง

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 2


พฤติ ก รรมการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วจึ ง เป น เพี ย งส ว นหนึ่ ง ของพฤติ ก รรมทั่ ว ๆ ไปในการ ดํารงชีวิตที่ตองการบงบอก “คลาส” ซึ่งเพียบพรอมไปดวยสิ่งอํานวยความสะดวกและเทคโนโลยี หรูหรา ดังนั้นแหลงทองเที่ยวที่สามารถสรางอารมณ กระตุน “ความตองการที่บงบอกถึงรสนิยม” ดังกลาวไดเทานั้น จึงจะถูกเลือกเขาสู “กระแส” ของกลุม กลุมที่ 2 Explorer “บุกเบิกคนหา” เปนกลุมที่มีขนาดเล็ก มีสัดสวนประมาณเพียง 3% ของกลุมประชากรเปาหมาย แรงจูงใจสําหรับการเดินทางอยางสําคัญที่สุดของกลุมนี้คือ “การ คนหา” และไมใชเพียงการคนหาเพื่อสัมผัสทางกายภาพเทานั้น ยังหมายรวมถึงการคนหาเพื่อเพิ่ม พลังฟนฟูจิตใจ ดังนั้นความสุขสมหวังที่ไดจากการเก็บเกี่ยว “ประสบการณครั้งแลวครั้งเลา” ใหกับ ชีวิตตางหากที่เปนเปาหมายที่แทจริง ด ว ยวั ย ที่ ยั ง เยาว กอปรกั บ ร า งกายที่ แ ข็ ง แรง ถึงแมฐานะทางสังคมไมไดร่ํารวยลนฟา แตผลที่ไดรับจาก การศึกษาในขั้นดีและมีการงานที่มั่นคง ทําใหพื้นฐานความ พรอมในการเดินทางของกลุมนี้สูงมากอีกกลุมหนึ่ง และดวยลักษณะไลฟสไตลที่ชอบปลีกตัวเพื่อหลีกหนี ความวุนวาย บางครั้งจึงเลือกเดินทางเพียงคนเดียวหรือกับ สังคมกลุมเล็กๆที่มีแนวคิดคลายกัน (FIT) อยางไรก็ตามมัก ไม ป ฏิ เ สธที่ จ ะเรี ย นรู แ ละพบปะกั บ สิ่ ง ของหรื อ ผู ค นใหม ๆ เพราะ “ประสบการณชีวิต” ที่จะไดรับเปนแรงจูงใจพื้นฐานอันสําคัญที่จะเรงเราใหเกิดการตัดสินใจ เดินทางทองเที่ยว ดังนั้นเปาหมายที่จะกระตุนใหเกิดการตัดสินใจเดินทาง จึงตองทาทายใหเกิดการ เรียนรู และสามารถสรางประสบการณที่นาสนใจระหวางการเดินทางไดดวย กลุมที่ 3 Festive “สนุกสนานเริงรื่น” มีสัดสวนประมาณ 11% ของประชากร กลุมเปาหมาย ดวยทัศนคติที่วาชีวิตคือการตอสู ดังนั้นเมื่อมีโอกาสไดเที่ยวจึงตองเที่ยวใหคุมและ “ตองมีความสุข” นั่นคือวิธีคิดในการเดินทางทองเที่ยวของคนกลุมนี้ นิ ย ามของความสุ ข ที่ ก ลุ ม นี้ ต อ งการคื อ “รอยยิ้ ม ความครึ ก ครื้ น สนุ ก สนานเฮฮา ด ว ย อัธยาศัยและน้ําใจไมตรี” ซึ่งหาพบไดงายกวาในงานเทศกาลวันหยุดตางๆ ที่มีผูคนและนักเดินทาง หลากหลาย ดังนั้นจึงไมแปลกที่กลุมนี้ประกอบดวยคนทุกเพศ ทุกวัย ไมเลือกฐานะรวยหรือจน ที่ไม ลั ง เลในการเข า ไปเป น ส ว นหนึ่ ง ท า มกลางกลุ ม ผู ค นที่ รั บ รู อ ารมณ ค วามรู สึ ก ผ อ นคลายได จ าก บรรยากาศการทองเที่ยว ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความตองการ “อารมณแหงความสุข” ตามที่กลุมได นิยามไว สวนใหญชื่นชอบดนตรี เสียงเพลงและการเตนรํา โดยไมไดเนนใหความสําคัญกับความ หรูหราของสิ่งอํานวยความสะดวกหรือเทคโนโลยีมากนัก แตก็ดํารงลักษณะของสังคมที่มีความเอื้อ อาทรตอกันสูง มีแนวโนมความเชื่อมั่นตอขนบธรรมเนียมประเพณีของที่มาแหงตนมากกวากลุม

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


อื่นๆ อยางไรก็ตามเนื่องจากปจจัยขอจํากัดในการเดินทางที่หลากหลาย กลุมนี้จึงมีความถี่ในการ เดินทางไมสูงนักเมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ กลุมที่ 4 Friends & Lovers “เพื่อเพื่อนและแฟน” มีสัดสวนประมาณ 11% ของ กลุมเปาหมาย ลองจินตนาการภาพกลุมเพื่อน (หรือคนรัก) ที่จับมือกันมั่น “สงสัญญาณใจตอกันวา ไมมีอะไรในโลกใบนี้ ที่สําคัญยิ่งกวาความรักและมิตรภาพของพวกเรา” นั่นคือแรงจูงใจทั้งหมดที่บง บอกถึงอารมณและความรูสึกรวมของนักเดินทางกลุมนี้ไดเปนอยางดี กิ จ กรรมการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วจึ ง นั บ เป น กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ สํ า คั ญ กั บ กลุ ม นี้ ม าก แตกต า งไปจาก การจับกลุมกิจกรรมกันตามซุมมหาวิทยาลัย กิจกรรม การพาแฟนไปดูหนัง หรือคาราโอเกะหยอดเหรียญกับ เพื่ อ นๆ เพราะการได เ ดิ น ทางท อ งเที่ ย วด ว ยกั น เป น เครื่ อ งมื อ อั น ทรงพลั ง และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ในการ เสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ แ ละเพิ่ ม ความสนิ ท สนม ประสบการณ ร ว มที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว า งการเดิ น ทาง ซึ่ ง จารึกในความทรงจําเปรียบเสมือนตราประทับความเปนสมาชิกกลุมอยางถาวรใหกับทุกๆ คน เพราะความเป น เพื่ อ นหรื อ ความรั ก ไม มี เ งื่ อ นไข กลุ ม นี้ จึ ง ประกอบด ว ยสมาชิ ก จาก หลากหลายฐานะ ไมวายากจนหรือร่ํารวย แตมักเปนกลุมที่มีอายุไมมาก และดวยวัยที่ตอง “ทําอยาง ที่เพื่อนทํา” ทําใหกลุมนี้เขาถึงสื่ออินเตอรเน็ตกันอยางแพรหลาย ไมวาจะเปนการสรางความสัมพันธ ผานระบบสังคมเน็ตเวิรค หรือเกมสออนไลน นอกจากนี้ยังเปนกลุมที่มีความถี่ในการเดินทางสูงอีกกลุมหนึ่ง เปาหมายการเดินทางของ กลุมเพื่อนมักไมมีกฎเกณฑมากมายเพียงขอใหอยูกันครบหนาก็พอ สวนเปาหมายของกลุมคนรัก อาจตองเพิ่มความเปนแหลงทองเที่ยวที่มีบรรยากาศสวยงาม โรแมนติค หรือมีชื่อเสียงอยาง ปาย เกาะเสม็ด เขาไปดวย แตที่สําคัญไมวาจะเปนกรณีใดก็ตาม จักตอง “มีผองเพื่อนหรือเธอ” เทานั้น การเดินทางจึงจะเกิดขึ้นได

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


กลุมที่ 5 Family Value “ครอบครัวสําคัญ” เปนกลุมที่มีสัดสวนสูงที่สุดถึงเกือบ 40% ของกลุมประชากรเปาหมาย ลองนึกถึงภาพวันที่เด็กๆสามารถตื่นเชาดวยความเบิกบานราเริง ปราศจากทาทีเหนื่อยลางวงงุน ซึ่งมักเปนวันเดียวกันกับวันที่พอแมเตรียมการพาสมาชิกครอบครัว เดินทางทองเที่ยวตางจังหวัด ภาพของการชวยเหลือกันเก็บขาวของสัมภาระขึ้นพาหนะที่พอแมจอด รอ เปนภาพของความทรงจําอันแสนสุขที่เด็กๆ ทุกคนรอคอย ไม ว า เป า หมายการเดิ น ทางจะเป น ที่ แ ห ง ใด ใกล ห รื อ ไกลในประเทศไทยแห ง นี้ แต เ ป า หมายความตองการหรือแรงจูงใจที่แทจริงกลับเปน “ความคาดหวังที่จะใชบรรยากาศผอนคลายจาก การทองเที่ยว เปนเครื่องมือในการกระชับความสัมพันธภายในครอบครัวใหแนนแฟน เพิ่มพูนความ รักความเขาใจระหวางกัน” รวมถึงสรางแรงบันดาลใจใหมๆ ใหกับสมาชิกทุกๆ คน เพื่อจะไดกลับมา ตอสูไขวควาหาความมั่นคงและความสําเร็จของชีวิตกันตอไป ดังที่กลาวไปแลววากลุมนี้เปนกลุมที่มีขนาดใหญ ดังนั้นถึงแมวาความถี่ในการเดินทางของ กลุมนี้ไมสูงมากเมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ แตเมื่อถึงชวงเวลาที่สมาชิกอยูพรอมหนาโดยเฉพาะชวงเวลา ปดเทอม ภาพของขบวนรถยนต และการจราจรที่หนาแนนตามถนนสายหลักที่มุงหนาสูตางจังหวัด เพื่อนําพาครอบครัวคนกรุงเทพฯและปริมณฑลเดินทางทองเที่ยวหรือเยี่ยมเยียนญาติมิตรตาม ตางจังหวัดจึงเปนภาพที่คุนตา ปจจัยที่สําคัญในการเลือกสถานที่เปาหมายการเดินทางของกลุมนี้คือ “ความปลอดภัย” รวมถึงความสะดวกสบายอื่นๆ เพื่อรองรับมาตรการของความปลอดภัยดังกลาวตามสมควร แหลง ทองเที่ยวอันที่เปนที่นิยมจึงไมพนแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงอยูแลวอยาง เชียงใหม หัวหิน พัทยา บางแสน ระยอง ภูเก็ต นครราชสีมา เปนตน

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5


กลุมที่ 6 Safety Techie “สะอาดปลอดภัยและทันสมัย” มีสัดสวนประมาณ 14% ของ ประชากรกลุม เปาหมาย แรงจูงใจในการเดินทางของกลุมนี้อาจสื่ อได ดวยภาพของครอบครัว ที่ เดินทางไปพักผอนในวันหยุดที่ลูกๆ กําลังกระโดดเลนน้ําในสระ คุณแมนอนอานหนังสือสบายๆ ตก ชวงบายออกไปชอปปงและใชสมารทโฟนอัพเดททวีตเตอรกับเพื่อนขณะทําผม ภาพคุณพอที่ขอสง อีเมลและตรวจงานตอนเชา บายขอไปตีกอลฟ เย็นจึงจะไปกับครอบครัวดินเนอรที่ล็อบบี้โรงแรมหรู ติดทะเล เปนเรื่องเลาที่ดูเกินจริงแตกลับเปนความจริงอยางยิ่งสําหรับนักทองเที่ยวกลุมนี้ แรงจูงใจที่ตองการการพักผ อนกั บบรรยากาศธรรมชาติ ผนวกกับไลฟสไตลที่ตองการ ความสะดวกสบายทุกกระเบียดนิ้ว ทําใหเปาหมายการเดินทางตองสามารถตอบโจทยความตองการ ใหไดครบถวน ทั้งความหรูหราหรือแปลกใหมที่ดูทันสมัย มีเทคโนโลยีรองรับความตองการพื้นฐาน ตางๆ เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายเปนประเด็นในการเลือกตัดสินใจเดินทาง มากกวาความมุงมั่นจาก แรงจูงใจสวนลึกที่จะใชการเดินทางเพื่อเพิ่มสัมพันธภายในกลุมจากความใกลชิดและประสบการณ รวมกันอยางเชนกลุมที่ผานๆ มา กลุมนี้มีความถี่ในการเดินทางไมสูงนัก แตรสนิยม “คนเมือง” กอปรกับสวนใหญผานการ ทํางานที่ตองตอสูดิ้นรนกับการสรางความมั่นคงใหตนเองและครอบครัวมาในระดับหนึ่ง หนาที่การ งานในปจจุบันจึงมั่นคงและมีฐานะการเงินคอนขางดีถึงดีมาก ทําใหเปนกลุมที่มีการใชจายระหวาง การเดินทางที่สูง กลุมหนึ่ง

กลุมที่ 7 Conservative “อนุรักษนิยม” มีสัดสวนประมาณ 5% ของประชากร กลุมเปาหมาย เปนนักเดินทางทองเที่ยวกลุมสุดทายที่การศึกษาครั้งนี้สามารถแยกแยะเปนกลุมกอน ได เป นกลุม ที่ มีวิ ถีชีวิ ตแบบเรีย บงาย อาจสามารถใชแ นวคิด “ปรั ชญาการดํ ารงชี วิตเศรษฐกิ จ พอเพียง” เพื่อสื่อแทนภาพของคนกลุมนี้ใหชัดเจนขึ้น โดยที่ปรัชญาการดํารงชีวิตในลักษณะดังกลาว ครอบคลุมถึงพฤติกรรมในการเดินทางทองเที่ยวดวย ซึ่งถึงแมสวนใหญมีฐานะการงานและการเงิน ทางสังคมในระดับธรรมดา แตเปาหมายในการเดินทางกลับเปนแรงจูงใจที่ตองการเผื่อแผความ อิ่มเอมทางใจใหสังคมไดรับรู ตามทฤษฎีของมาสโลวแลว กลุมนี้มีเปาหมายเพื่อขยายขอบเขตการยอมรับ (ทางใจ) ไปสู สังคมรอบๆ ตัวใหมากขึ้น ภาพของความอิ่มอยางพอเพียงทางกายภาพ จิตใจที่โอบออมอารีพรอมที่ จะใชการเดินทางเพื่อแสดงความอิ่มเอมสุขใจใหสังคมและเพื่อนมนุษยไดรับรู เปนภาพมุมสะทอนที่

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 6


อธิบายอารมณความรูสึกในการเดินทางของคนกลุมนี้ไดเปนอยางดี ซึ่งตามหลักการพัฒนาการ ดํารงชีวิตตามขั้นตอนของมาสโลวนั้น แตละขั้นตอนตองใชเวลาอยูพอสมควรโดยเฉพาะการพัฒนา ดานจิตใจ จึงพบแนวโนมวาคนกลุมนี้มีอายุเฉลี่ยสูงกวากลุมอื่นๆ และหากพิจารณาในรายละเอียดเปาหมายการเดินทางแลวจะพบวา การเดินทางของคนกลุม นี้ไมใชการ “แสวงบุญ” หรือ “ทําบุญ” เพียงอยางเดียวเทานั้น ยังใชการเดินทางเพื่อการศึกษาและทํา ความเข า ใจพั ฒ นาการและความเป น มาของสั ง คมอีก ทางหนึ่ งด ว ย อย า งไรก็ ต ามยั งไม พ บว า มี พัฒนาการถึงขั้นที่ใชการเดินทางทองเที่ยว “เพื่อคนหาความหลุดพนหรือที่มาแหงตน” ในกลุมคน กรุงเทพฯ และปริมณฑลกลุมนี้อยางชัดเจนนัก บทสรุป กลาวโดยสรุปไดวาพัฒนาการดานแรงจูงใจในการเดินทางทองเที่ยวของคนกรุงเทพฯและ ปริ ม ณฑลนั้ น มี ลั ก ษณะการพั ฒ นาคล า ยคลึ ง กั บ พั ฒ นาการตามทฤษฎี ค วามต อ งการเพื่ อ การ ดํารงชีวิตของมาสโลวเปนอยางมาก กลาวคือแรงจูงใจในการเดินทางทองเที่ยวมีแนวโนมที่จะเปนไป ตามขั้นตอนและเกิดการพัฒนาไปตามการเรียนรูและประสบการณแหงชีวิต โดยพบวาหากจัดกลุม คนกรุงเทพฯและปริมณฑลตามทัศนคติและพฤติกรรมรวมถึงแรงจูงใจดานการทองเที่ยวออกเปน 7 กลุมดังกลาวแลวนั้น แตละกลุมก็มีพัฒนาการของแรงจูงใจเพื่อตอบสนองความตองการดานการ ทองเที่ยวในมิติทิศทางและลําดับขั้นที่แตกตางกันไป อยางไรก็ตามเห็นไดอยางชัดเจนวาคนกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีวิวัฒนาการดานการเดินทางทองเที่ยวแตกตางไปจากเดิมเปนอันมาก จากเดิมที่เปน การทองเที่ยวตามเทศกาล งานบุญ ในรูปแบบฉิ่งฉับทัวร ที่มีวัตถุประสงคเบื้องตนเพียงเพื่อใหเกิด การพักผอนหยอนใจเปนสวนใหญ มาเปนการใชการเดินทางทองเที่ยวเปนเครื่องมืออันสําคัญในการ แสวงหาความรักและความมั่นคงใหเกิดแกตนในสังคมขนาดยอยๆ มากขึ้นเปนลําดับ อยางไรก็ตามแรงจูงใจตางๆ ก็จะไมคงสภาพหรือนิ่งอยูกับที่ (Static) ใหสามารถขีดเสนแบง หรื อ แยกแยะออกจากกั น ได ชั ด เจนโดยเด็ ด ขาด แต แ รงจู ง ใจเป น เรื่ อ งของอารมณ ค วามรู สึ ก ที่ ปรับเปลี่ยน เคลื่อนไหว คาบเกี่ยว (Probabilistic Dynamic Emotion) กันโดยตลอด ดังนั้นลักษณะสวน หนึ่งของกลุมหนึ่ง จึงอาจคาบเกี่ยว ซอนทับ หรือเปลี่ยนแปลงไปบางตามปจจัยสภาพแวดลอมของ มนุษยและสังคมโดยรวมไดตลอดเวลา *****************************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 7


สร ุปสาระสาคัญจากการสัมมนาเปิดม ุมมองท่องเที่ยวไทยปี 2553 ท่องเที่ยวไร้กรอบและขอบเขต (Tourism Unbound : The Road to Nowhere) วันอาทิตย์ที่ 13 มิถ ุนายน 2553 ณ ห้องจูปิเตอร์ 4-7 อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพค เมืองทองธานี จับตาเทรนด์การท่องเที่ยวแบบใหม่ นักท่องเที่ยวเดี๋ยวนี้ - Googled : Nowism for Real Time Traveler1 ************************************* วิทยากร พาที สารสิน ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ ผูด้ าเนินรายการ วุฒิชยั กฤษณะประกรกิจ ในงานเทศกาลเที่ยวเมืองไทย ประจาปี พ.ศ.2553 ซึ่ งจัดขึ้นในช่วงเดือนมิถุนายน ที่ผ่านมา ณ อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพค เมืองทองธานี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริ มการ ท่ อ งเที่ ย วภายในประเทศไทย สนับสนุนผูป้ ระกอบการ และเชิ ญ ชว นค น ไท ยใ ห้ อ อ กเ ดิ นท า ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ พื่ อ ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น เศรษฐกิจ นอกจากการออกร้ า น ของผู้ประกอบการ และกิจกรรม บัน เทิ ง ต่ า งๆ ททท. ยั ง ได้จั ด กิ จกรรมเชิ ง วิ ช าการในรูป แบบ การสัมมนา "ท่ องเที่ ยวทศวรรษ ใ ห ม่ ไ ร้ ก ร อ บ แ ล ะ ข อ บ เ ข ต (Tourism Unbound 2010)" เพื่ อ นาเสนอมุมมองและวิธี คิ ดของวิทยากรแต่ ละท่าน ซึ่ งมาจากหลากหลายสาขาอาชี พความเชี่ยวชาญ 1

ที่มา : จุลสาร FOR YOU สมาคมปริญญาโทสาหรับผูบ้ ริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 1


ให้มาช่วยกันวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมธุรกิจท่องเที่ยวของประเทศไทย การสัมมนาจัดขึ้นในวันที่ 13 มิถุนายน 2553 โดยหัวข้อที่ถูกจัดให้เป็ น Opening Session ของ งานนี้คือ เรื่ องนักท่องเที่ยวเดี๋ยวนี้ (Googled: Nowism for Real Time Traveler) ซึ่ งเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศ คอมพิ วเตอร์ อิ นเทอร์ เน็ต โทรศัพท์มือถื อ และเครื อข่ายแบบไร้สายต่ างๆ ที่ มี ผลท าให้ พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม กลายเป็ น "นักท่องเที่ยวเดี๋ยวนี้" วิทยากรในงานสัมมนาครั้งนี้ ประกอบด้วยคุณพาที สารสิน ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร บริ ษัท สายการบินนกแอร์ จากัด ในฐานะผูบ้ ริหารองค์กรสายการบิน ถื อเป็ นผูป้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยว โดยตรง จึ งสามารถให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการโดยรวม อี กทั้งยังรู้ ถึ ง พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวและผูใ้ ช้งานเทคโนโลยีใหม่ๆ เขาเป็ นผูร้ ิ เริ่ มให้สายการบินนกแอร์เปิ ดบริ การ Free App ซึ่ งช่วยทาให้ผ ู้โดยสารสามารถตรวจสอบตารางการบิ น สารองที่นงั ่ และ check-in ได้ผ่าน iPhone 3G คุณอริ ย ะ พนมยงค์ หัวหน้าคณะผู้บริ หาร ด้านการพาณิ ชย์ -คอนเวอร์ เจนซ์ บริ ษัท ทรู คอร์ เปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ผูบ้ ริ หารองค์กรสื่ อสารโทรคมนาคมรายใหญ่ ของประเทศ ให้ข อ้ มูล เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครื อข่าย เทคโนโลยี ทั้งโทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต ว่า สามารถตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยวทัว่ ประเทศไทยได้อย่างไร และจะ ตอบสนองพฤติกรรมใหม่ ๆ ของนักท่องเที่ยวทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศได้อย่างไร และคุ ณ วุ ฒิ ชั ย ก ฤ ษ ณ ะ ป ร ะ ก ร กิ จ สื่อมวลชนที่ติดตามเรื่ อง เทคโนโลยีใหม่ๆ เป็ นผูต้ ั้ง ประเด็ น ค าถามและน า การ อภิ ป ราย โด ยไ ด้ เ ริ่ ม ต้ น น า เ ส น อ แนวความคิ ดเกี่ ยวกั บ ลักษณะของนักท่องเที่ยว เดี๋ยวนี้ ว่าประกอบด้วย - นักท่ องเที่ ย ว ต้องการ Update สถานะ ของผูใ้ ห้บริการแบบ Real-time เพื่อการจองและชาระเงิน - นักท่องเที่ยวต้องการ Update สถานการณ์ตนเองแบบ Real-time เพื่อถ่ ายรูปหรื อถ่ ายวิดีโอ แล้ว Upload และ Share กันผ่านทางเว็บ Social Network

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 2


- นักท่ องเที่ ยวต้องการ Update สถานที่ ตนเองแบบ Real-time โดยใช้อ ุปกรณ์ GPS และ ซอฟต์แวร์ Location-based Service - นักท่องเที่ยวมี Gadgets กล้องดิจิตอล สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์โน้ตบุค อุปกรณ์จีพีเอส แผน ที่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และต้องการความสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสารตลอดเวลา การเดินทางท่องเที่ ยวของนักท่องเที่ ยวเดี๋ ยวนี้ เปรี ยบเสมื อนการเดินทางท่ องเที่ยวไปใน 2 พื้นที่พร้อมๆ กัน คื อ Tourist Place + Cyberspace เห็นได้ชัดเจนว่าสานึกเกี่ยวกับ Time & Space ของ นักท่องเที่ ยวในปั จจุบันก าลัง เปลี่ ยนแปลงไป อันเป็ นผลที่ เกิ ดขึ้นจากเทคโนโลยี สารสนเทศ ดิ จิตอล คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ดังนั้นแล้ว ผูป้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยวควรจะต้องปรับตัวอย่างไร บ้าง คุณพาที เสนอว่าเจ้าของรีสอร์ท บริษทั นาเที่ยว ร้านอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ต้องใช้ งานอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์สมาร์ทโฟน และเว็บไซต์โซเชียลเน็ทเวิร์คต่างๆ ให้คุ้นเคยและให้กลายเป็ นส่วน หนึ่งของชีวิตประจาวัน คุณจึงจะสามารถเข้าใจความต้องการของนักท่องเที่ยวแบบใหม่เหล่านี้ได้อย่าง ชัดแจ้ง คุณพาทีใช้ iPhone และมีอัพเดทเรื่ องราวต่างๆ ของตนเองในทวิ ตเตอร์ ทั้งเรื่ องส่วนตัว เรื่ อง งานของบริ ษัทนกแอร์ และงานธุรกิ จส่ วนตัว คื อการเปิ ดร้านอาหารเล็ กๆ ของตนเอง และพบว่ า เทคโนโลยีใหม่เหล่านี้ ช่วยในการทาธุรกิจได้ดี โดยมองว่ามันคื อ Customer Relationship Management ที่ดี ที่สดุ ในยุคนี้ คุ ณ พ า ที พ บ ว่ า นักท่ องเที่ ยวส่ วนใหญ่ จะมี บล็ อก ไดอะรี่ ออนไลน์ เฟซ บุค ทวิ ตเตอร์ และเว็ บไซต์ โซเชี ยลเน็ ทเวิ ร์ คอื่ นๆ ของ ตนเอง และพวกเขาจะเขียน ความประทั บ ใจในบริ ก าร ของคุณเอาไว้อย่ างละเอี ยด พร้อ มรูปถ่ า ยของพวกเขา นอกจากนี้ เมื่ อพวกเขา ต้ อ งการข้อ มู ล เรื่ องการ ท่ องเที่ ย ว และจั ดทริ ปการ เดินทาง ก็นิยมเข้าไปค้นหาข้อมูลที่ ตอ้ งการในฟอรัมและเว็บบอร์ดต่างๆ โดยใช้ถาม-ตอบกับเพื่อนร่ วม เครื อข่ายอื่ นๆ โดยไม่ สนใจเว็บไซต์อย่างเป็ นทางการของผู้ประกอบการท่องเที่ยวสักเท่าไร เรื่ องราว ข้อมูล และความคิ ดเห็น ที่อยู่ใ นโซเชียลเน็ทเวิร์คจึงเป็ นส่วนหนึ่งของการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่ ได้ผล

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 3


คุณอริ ยะ ยกตัวอย่างแคมเปญส่งเสริ มการท่องเที่ยวที่ได้ผลอย่างท่วมท้น คื อ The Best Job in the World ของรั ฐควี นส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ที่ท าการคัดเลือกผูส้ มัครเพื่อทาหน้าที่ ดแู ลเกาะ แฮมิลตัน จากการโหวตคะแนนให้กับคลิปวิดีโอของผูส้ มัครในเว็บไซต์ยทู ปู โดยงานของผูช้ นะ คื อตื่นเช้า มาให้อาหารปลา ถ่ ายรูป วิดีโอ เขียนบล็อกและทาหน้าที่ประชาสัมพันธ์เกาะ โดยได้รับค่ าจ้างประมาณ 110,000 เหรี ยญดอลลาร์สหรั ฐ ส าหรั บระยะเวลา 6 เดือน รวมทั้ง ได้พักในห้องพักหรูขนาด 3 ห้องนอน, บริ การอาหาร, สปา, ตัว๋ เครื่ องบินไปกลับประเทศบ้านเกิด แคมเปญ The Best Job in the World ประสบความส าเร็ จอย่างมาก เพราะมันกลายเป็ น Viral Marketing ที่ผ ู้คนทัว่ โลกกล่าวถึ ง และ ร่ วมกันส่งต่ อข่าวนี้ไปยังเพื่อนฝู งทัว่ เครื อข่าย ซึ่ งต่ อมา ททท. เองก็ได้น าไอเดียนี้มาจัดท าโครงการ The Ultimate Thailand Explorer ในลักษณะคล้ายคลึงกัน ในต่างประเทศ ยัง มีกิ จกรรมเพื่อส่ง เสริ มการท่ องเที่ ยวแบบแปลกใหม่อี กมากมาย เช่ นการ รวมตัวกันเพื่อทากิจกรรมแบบ Flash Mob เช่น การรวมกันเต้นเพื่อ Tribute ให้ไมเคิ ล แจ็คสัน ในเมือง ต่าง ๆ ทัว่ โลก เมื่ อราชาเพลงป๊อบเสียชีวิ ต หรื อกิจกรรมเพื่ อสร้างความบันเทิ ง เช่ น Frozen Grand Central ของกลุ่ม Improve Everywhere ที่มี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสนุกสนานแก่ประชากรชาว นิวยอร์ค หรือ กิจกรรมร้องเพลงร่วมกันของกลุ่ม T-Mobile ที่ Trafalgar Square ในกรุงลอนดอน เว็บโซเชียลเน็ทเวิร์คที่ได้รับความนิ ยมสูงสุดอย่างเฟซบุค ก็มีกลุ่มต่างๆ มากมายเต็มไปหมด ซึ่งก็มีหลากหลายกลุ่มตามความสนใจ เช่น การเมือง Shopping ภาพยนตร์ ดนตรี กี ฬ า นอกจากนี้ ก็ มี Forum ซึ่ ง ก็ มี ห ลากหลายตามความสนใจ มี ก าร Reviews และจั ด Rating ในสิ น ค้ า และบริ ก ารทุก ประเภท หรื อ การใช้ท วิ ตเตอร์ เ ข้า มาช่ ว ยในการ ให้บริ การแก่ลกู ค้า เช่น บริ ษัท Dell ซึ่ งเป็ นยักษ์ใหญ่ ด้านคอมพิ วเตอร์ ได้จัดพนักงานเพื่อคอยให้บริ การ กรณี ที่ มีข อ้ ร้องเรี ยนเกี่ ยวกับคอมพิ วเตอร์ที่ ซื้ อไป หรือให้คาแนะนาอื่น ๆ หลังการขาย เช่นเดียวกันกับ สายการบิน Southwest Airlines จากการสัมมนาครั้งนี้ ได้ขอ้ สรุปว่าการทาธุรกิจของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จะต้องปรับเปลี่ยนไปดังนี้ 1. ต้องมีความโปร่ งใส ทั้งในแง่การเปรี ยบเทียบราคา และในแง่คุณภาพของสินค้าและบริ การ เพราะนักท่องเที่ยวได้สืบค้นข้อมูลมาละเอียดก่อนออกเดินทาง ต้องไปขึ้นรถที่ไหน ต่อเรื อที่ไหน ค่ ารถ รับจ้างคิดหัวละเท่าไร จองที่พกั และจองโต๊ะอาหารค่าไว้ล่วงหน้าครบแล้ว 2. ต้องสนับสนุนการแบ่ งปั นข้อมูล นักท่ องเที่ยวเชื่อถื อ Word of Mouse (เป็ นคาที่ ดัดแปลง

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 4


มาจาก Word of Mouth) หมายความถึ ง ความคิ ดเห็นจากผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตคนอื่นๆ มากกว่ าจะเชื่อถื อ ข้อมูลที่ อยู่ใ นเว็ บไซต์อย่ างเป็ นทางการของโรงแรม รี สอร์ ท บริ ษัทนาเที่ยว หรื อแม้กระทัง่ องค์ กร ส่งเสริมการท่องเที่ยว ที่มกั จะเต็มไปด้วยภาพชวนฝัน 3. ต้องรวดเร็ว ทันทีทนั ใด นักท่องเที่ยวต้องการทราบข้อมูลแบบ Real-time ว่าในวินาที ที่เขาจะ กดสัง่ จองนัน้ ที่นงั ่ เครื่องบินว่างอยู่ไหม ห้องพักที่พร้อมให้บริ การหรื อไม่ และเขาพร้อมที่จะโอนเงินผ่าน บัตรเครดิตให้ได้ทนั ที สาหรั บตัวนักท่ องเที่ยวเองได้ค าแนะนาจากงานสัมมนาครั้ ง นี้ ว่ า นอกจากจะติ ดตามความ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี หาซื้ อ Gadgets ใหม่ๆ มาใช้ และหาทางออนไลน์ได้ตลอดเวลาแล้ว ก็ควรเปิ ดหู เปิ ดตา และเปิ ดใจเพื่ อสัมผัสกับประสบการณ์การท่ องเที่ ย วอย่ างแท้จริ ง ในระหว่ างการเดิ นทาง ท่องเที่ยว เพราะการท่องเที่ยวที่แท้จริ งนั้นช่วยเติมเต็มชีวิตชีวาให้กับชีวิตด้วยการออกไปเผชิญหน้ากับ โลกและประสบการณ์ความเป็ นจริง

*****************************************************.

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 5


การตลาด ว่าด้วย อารมณ์ มนตรา และอ ุปาทาน Passion,Mantra : Mesmerization in Marketing ********************

วิทยากร ดลชัย บุณยะรัตเวช วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ พิศณุ นิลกลัด ภัทรา สหวัฒน์ ผูด้ าเนินรายการ ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์ ยุค สมัยนี้ เ ราใช้สมอง ซี ก ข ว า ซึ่ ง เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อ า ร ม ณ์ แ ล ะ จิ น ต น า ก า ร มากกว่ าซี ก ซ้า ยการตลาดใน ยุค นี้ เป็ นการตลาดที่ มี ก าร เปลี่ ย น trend และค่ านิ ย มไป มาก ในการนาเสนอ ช่ ว ง แ ร ก คุ ณ ด ล ชั ย ซึ่ ง มี ประสบการณ์ดา้ นการสื่อสาร การตลาดมาถึง 30 ปี นาเสนอ เรื่ อง การจัดการ brand ซึ่ ง ใน ส มั ย นี้ มั น ย า ก ม า ก trend เปลี่ ย นไปตลอดเวลา ถ้า เราไม่ ต าม เราก็ จ ะอยู่ใ นยุค เก่ า ๆ ไม่ ส ามารถท าการตลาดให้ป ระสบ ความสาเร็จได้ การจัดการ brand จะครอบคลุมเรื่อง บุคลิก กาลัง สอง หรื อ brand personality ++ บางที เรามี อยู่แ ล้ว แต่เราต้องทาให้ เข้มข้นมากขึน้ ไปอีก innovation ซึ่งเปลี่ยนไปเร็วมาก เทคโนโลยีตามกันทัน แต่อารมณ์ความรู้สึกแย่ง กัน ไม่ได้ ถ้าคุณจะพึ่งเทคโนโลยีตลอดเวลา คุณจะไม่สามารถแสดงเอกลักษณ์ของคุณได้ social network ผูบ้ ริ โภคยุคใหม่ สามารถจะค้นหา information ด้วยตัวเอง จะไม่พึ่ง mass advertising แบบเดิมๆ อีกต่อไป cooperate branding เป็ นสิ่งที่สาคัญมากในยุคนี้ การมีพนั ธมิตรร่วมกัน หรือ Alliances เป็ นแนวโน้มที่ดาเนินการอยู่ในปั จจุบนั

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 1


ยุคนี้ ต้องให้ความสาคัญกับการจัดการภายใน (internal branding) เมื่อก่อนเราพูด ถึ ง benefit ของสินค้า ยุคนี้ ประสบการณ์สาคัญที่ สดุ ยกตัวอย่า ง Starbuck เราเข้าไป รูป รส กลิ่น เสียง สาคัญที่สดุ ยิ่งเข้มข้น ยิ่งเป็ นเอกลักษณ์เท่าไหร่ ยิ่งเป็ น trend การดาเนินงานในลักษณะ B to B ( Business to Business) เป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ และจาเป็ นในยุคปั จจุบนั การทาตัวเป็ นคนดีของสัง คม หรื อ social responsibility ยุคนี้กา้ วร้าว เกเรไม่ได้ ต้อง คืนกลับให้สงั คมด้วย ประเด็ น เรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย ว มี ก ารยกกรณี เ ปรี ย บเที ย บ 4 ประเทศ อี ยิ ป ต์ ฝรั ่ง เศส ออสเตรเลีย และ ไทย ในรูป ที่เสนอ คุณไม่ส ามารถบอกได้ว่ า ฝรัง่ เศสมันดี เพราะอะไร แต่จะรู้สึ ก รวมๆ รูส้ ึกโรแมนติก เท่ห์ อย่างอียิปต์ มีมนต์ขลัง อะไรบางอย่าง เป็ นองค์รวม มนต์สะกดโดยรวม พูดไม่ได้ แต่รสู้ ึกได้ กรณีของห้างสรรพสินค้าที่คณ ุ ดลชัยได้ออกแบบโฆษณาให้ 4 แห่ง จะมีภาพลักษณ์แตกต่าง กันไป คื อ สยามพารากอน สร้างมนต์มายาขึ้นมาที่ เป็ นความรู้สึก มลัง เมลือ ง เป็ นสยามประเทศ ดังนัน้ ภาพที่ ดีไซน์ใ ห้ คื อ ผูห้ ญิง เปรี้ ยวๆ มีชฎาไทยเล็กๆ อยู่ในสี shocking pink กับ ม่วง และถื อ เพชรเม็ดหนึ่ง พารากอน แปลว่า เพชร ในขณะเดียวกัน Siam Discovery ถ้าเปรี ยบเป็ นเพศ จะเป็ น เพศชาย เป็ นผูช้ ายที่ชอบค้นคว้า สืบค้น ส่วนเอสพลานาด ที่มีรัชดาลัย มีโรงหนัง ถ้าเป็ นคน ก็จะเป็ น คนที่ชอบ อาร์ต ขณะที่ สยาม เซ็ นเตอร์ จะเป็ นวัยรุ่น เด็กแนว ชอบเขียนสีบนผนัง และ ซน การจะได้ มนต์ของห้างทัง้ 4 แห่งมีความยาก ต้องหาข้อมูลเรื่ อง คู่แข่ง differentiate ของ brand เราจะแตกต่าง จากคู่แข่งอย่างไร DNA ของเราเป็ นอย่างไร ไม่ใช่อยากสร้างมนต์อะไรก็สร้างได้ เราต้องดูจดุ ยืนของ เรา และเราต้องรูว้ ่าผูบ้ ริโภคชอบอะไร โรงภาพยนตร์และโรงแรมที่คณ ุ ดลชัยได้นาเสนอก็มีเอกลักษณ์ของแต่ละที่แตกต่างกัน เช่น ที่ พารากอน ซีนีเพล็กซ์ ในห้างพารากอน ต้องเป็ นโรงหนังที่หรู ไม่เหมือนกับ เมเจอร์ ซี นีเพล็กซ์ ที่เป็ น เหมือนตลาดทัว่ ไป I Max ให้คนสัมผัสได้สามมิติ หรื อ เอสพลานาด ซี นีเพล็กซ์ ก็จะเป็ นอาร์ตๆ ส่วน โรงแรม 4 ประเภท six senses / four seasons บันยัน ทรี และ ไฮแอท แต่ละโรงแรมไม่เหมือนกัน ทาไม passion / mantra และ mesmerization มันสาคัญ passion คื ออารมณ์ เล่น กับความชอบของคน Mantra คื อ story ที่ย้าแล้วย้าอีก mesmerization คื อ การสะกดจิตให้อยู่ในภวัง ค์ ไม่มีเหตุผล แต่ตอ้ ง สะกดให้ได้ เราจะเกิดความรับรูท้ ี่จบั ต้องไม่ได้ แต่รสู้ ึกได้ จากประสบการณ์ต่อเนื่อง ต้องสะสม Trend ท ุกวันนี้เน้น emotional การทาการตลาดไม่ตอ้ งพูดเรื่องเหต ุผลมาก เช่น ถ้า หา เหตุผ ล ก็ จะ Do I need it? แต่ ใ นแง่อารมณ์คื อ I want it! พฤติกรรมการซื้ อ ของผู้บริ โ ภค มี องค์ประกอบสาคัญ คื อ fit my identity / emotional security / habit และ influences ในด้านแบรนด์ที่ พักได้นาเสนอ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 2


NDOL ในแนวคิดหลัก คื อ Alternative Hideaway close to Bangkok เป็ น Sanctuary of Treasures ใช้สโลแกนโดยรวมคื อ NDOL Streamside Thai Villas Branding Trend ทุกวันนี้ ต้องเน้นเรื่ อง Emotion และ Self Expressive ยกตัวอย่าง American Express เน้นเรื่อง “Do More” Toy rus “Pleasant” Mcdonald’s “Delighted” Hard Rock “Exciting” Trend ต้องให้ความสาคัญเรื่อง Hyper Sensory / Mythifying และ Living the Brand ในส่วนของกลุ่มวัยรุ่น คุณ วงศ์ทนง แสดงความคิดเห็นว่า คา ว่า passion คือ ความปรารถนา อย่างแรงกล้า เพี ยงแค่อยากไม่ พอ ประมาณว่า ชี วิ ตนี้ ถ้าไม่ได้ ทา ยอมตายดีกว่ า สัง เกตว่า คน ประสบความส าเร็ จ จะเป็ นอย่ างนี้ ทุก คน อย่ างเช่ น สตี ฟ จอบส์ จะ ชอบคอมพิวเตอร์ทั้ง ชีวิตจิตใจ จึง พยายามจะบอกเด็กว่า ต้องค้นหา ตัวเองให้เจอ จะได้ไม่เสียเวลาไปทา สิ่ ง ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ รา เด็ ก ๆส่ ว นใหญ่ ค้นหาตัวเองไม่เจอ เด็กที่คน้ หาตัวเองไม่เจอ มักจะเป็ นพวก ขี้เหงา เศร้าง่าย สาหรับคุณวงศ์ทนง เองเมื่ อถูก ถามว่า มี เคล็ ดลับ หลัก การในการทาหนัง สือ อย่า งไร ก็ จะตอบอย่ างมี หลักการว่ าท า หนังสือดีๆที่ขายได้ และ ทาหนังสือขายได้ที่ดีๆ กรณีข องคุณภัท รา ความปรารถนาอย่างแรงกล้าในการทาเพลิ นวาน ครึ่ ง หนึ่ง มาจาก ความชอบส่วนตัว อีกครึ่ ง หนึ่ง มาจากประสบการณ์ เนื่องจากดูแลตลาดส่ง ออก ก็ได้เดินทางมาก ทุก ครั้ ง ที่ ไ ปเที่ ย วก็ คิ ด ว่ า เมื อ งไทยน่ า จะมี อ ย่ า งนี้ บ ้า ง พอมี จัง หวะก็ เ อาความชอบส่ ว นตัว และ ประสบการณ์ที่เก็บเกี่ยวมา มาทาเพลินวาน Inspiration ของ เพลินวาน มาจากพิพิธภัณฑ์ราเมน ที่ ญี่ปุ่น คือ มีเรื่องเล่า มีการเก็บรายละเอียด เพลินวาน คงเป็ นอุปาทานอย่างเดียว คื อ มีความรู้สึกที่ อยากจะทา คิดว่าอยากจะทา ก็ทา แรงบันดาลใจ มันเป็ นพลัง งานอันหนึ่ง ที่จะผลักดันให้คนทาอะไร ต้องทาให้ถึงที่สดุ บางครั้งเด็กไทยหลายคน หรือหลายๆ brand ถ้ามีแรงบันดาลใจมันจะผลักให้ไปถึ ง ที่สดุ สาหรับคุณพิ ศณุ ซึ่ ง ทาธุรกิจแหล่ง ท่องเที่ยว Palio และร้าน Primo Posto ที่เขาใหญ่ เป็ น บุคคลที่มีหลายอาชีพ เป็ นผูป้ ระกาศข่าว เป็ นนักข่าว เป็ นนักเขียน ในกรณี Primo posto และ Palio เหมือนเป็ นอาชีพที่ไม่ได้ตงั้ ใจ เนื่องจากมีเพื่อน พาไปดูเขาใหญ่ตอนหน้าฝนแล้วชอบมาก จึง อยากให้

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 3


คนที่ไม่เคยอยู่เขาใหญ่ ได้มาเจอเขา ใหญ่อ ย่า งแท้จ ริ ง บ้า ง เลยชวนกัน มาทาร้านกาแฟ เค้ก ไอศกรี ม แบ่ง กาไรกัน คนละหมื่ น แล้วเอาเงิน มา จ่ายค่ า น้า ค่ าไฟ Primo Posto เกิ ด จากความต้องการเงิน มาจ่าย ค่ า น้า ค่ า ไฟ และค่ า แม่ บ ้า น ส าหรั บ บ้า นที่ เ ขาใหญ่ ช่ ว งแรกขายไม่ ไ ด้ หลัง จากเวลาผ่ านไปสามเดือ น คน เยอะ มาถ่ ายรูป เราเก็บเงินค่ าเข้า 55 บ าท แต่ แ ลก ก าแ ฟ แ ล ะ ไอศกรีมได้ เรามีค่าบารุงรักษามาก ทัง้ ค่าดูแลสวน ค่ ารักษาความสะอาดห้องน้า สองปี ผ่านไป เห็น ตัวเลขนักท่องเที่ยว จึง คิ ดการณ์ใ หญ่ ทาPalio ทุกวันนี้เลี้ยงตัวได้ คนของ Palio ก็เป็ นคนท้องถิ่ นที่ เอามาฝึ ก เมื่อถามว่า นักท่องเที่ยวใช้อารมณ์ค วามรู้สึกมากขนาดไหนในการท่องเที่ยวที่ประเทศไทย คุณดลชัยให้ความเห็นว่า นักท่องเที่ยว แต่ละประเทศมีอารมณ์ความรู้สึกไม่เหมือนกัน นักท่องเที่ยว บางประเทศนึกถึงศิลปวัฒนธรรม บางประเทศนึกถึง พัฒน์พงษ์ สนามกอล์ฟ เราอยากให้เขานึกถึ ง สิ่งที่เราควรจะเป็ น มันอยู่ที่เราพยายามจะมอบประสบการณ์ เน้นจุดที่ควรเน้น ไม่เน้นในสิ่ง ที่ไม่ควร จะเน้น สิ่ง ที่จ ะเน้น เราควรจะมอบประสบการณ์แบบที่ ดีที่ สดุ ให้ป ระทั บ ใจ ให้ร้สู ึก ให้นึ กถึ ง ถ้า ประสบการณ์สะสมดี ก็จะจาไว้ใน memory คุณ วงศ์ทนง ให้ค วามเห็น ว่ า เรื่ อ ง ราคาถูก สาหรั บ เมือ งไทย เป็ นแง่ บ วกเพราะไม่ มี ประเทศไหนที่ถ ูกเท่าประเทศไทย แม้แต่ที่หลวงพระบาง ใช้เงินมากกว่าเมืองไทย คาว่ า ถกู เป็ น selling point ได้ ในขณะเดี ย วกัน สิ่ งที่ ต ้องพ่ ว งไป ขาดไม่ ไ ด้ คื อ ถ กู แล้ว ต้อ ง ดี ด้ว ย ไม่เช่นนัน้ จะเหมือนภาพลักษณ์สินค้าจากเมืองจีน คือ ถูก แต่เสียเร็ว ซึ่งจีนพยายามจะล้างภาพนี้ คนจานวนหนึ่ง ที่ พอจะเที่ยวได้คือมีรายได้เหลื อนิดๆ คนเหล่านี้ เขาอยากจะได้ความรู้สึ ก “ครั้งหนึ่งในชีวิต” ครั้งหนึ่งในชีวิต อยากได้ไป Palio ถ่ ายรูปมา post ไว้ใน facebook ครั้ง หนึ่ง ในชีวิต อยากไปญี่ปุ่น ไปไอเฟล ไปน็อตติ้ง ฮิลล์ ประสบการณ์ “ครัง้ หนึ่งในชี วิ ต” ถ้าทาได้ จะเป็ นจุด ขายที่เข้มแข็งมาก ฟุตบอลโลกดึงดูดคนได้มากเพราะมันจัดสี่ปีครั้ง ถ้าจัดทุกปี ความอยากจะไป มันลดน้อยลง ทันที มันเหมือน หลอกให้อยาก แล้วจากไป เป็ นกลยุทธ์ที่นาไปใช้ได้ กรณีของเพลิน วาน พยายามสร้างไม่ให้เป็ นสิ่ง ของ เพลินวานเป็ นเด็กผูห้ ญิ งที่จ ะ ค่อ ยๆโตไปท กุ ปี พยายามจะทาให้เ ป็ นสิ่ ง ที่ มี ชีวิ ต สิ่ ง ที่ พ ยายามใส่ ไปในเพลิน วาน จะพยายาม เชื่อมต่อกับผูบ้ ริโภค บางคนอาจตัง้ ใจมา บางคนอาจเป็ นทางผ่าน ตรงนัน้ มันไม่สาคัญ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 4


สาหรับ Palio และ Primo Posto สิ่ง หนึ่ง ที่เป็ น brand เน้นเรื่ องความสะอาด สินค้าเหมือนจับ ตลาดกลาง ไม่ซื้อไม่เป็ นไร เพียงแค่เห็นห้องนา้ สะอาด ได้ถ่ายรูป เหมือนได้ไป คนที่มามีความสุข เรา ก็มีความสุข แนวคิดด้านการตลาดสาหรับการท่องเที่ยวที่วิทยากรทัง้ 4 ท่านทิ้งท้ายไว้ คุณดลชัย กล่าว ว่าการตลาดแบบนี้ เป็ นการตลาดที่ทา้ ทาย การใช้อารมณ์จะวัดอย่างไร เราต้องใช้จินตนาการให้เป็ น บางคนบอกว่า ไม่ได้เรียนศิลป์ แต่ทกุ คนมีสิ่งที่เราเรียกว่า ลางสังหรณ์ เช่น สัง หรณ์ว่า trend นี้น่าจะ มา ให้เราไหวตัวทันต่อสิ่งแวดล้อม ห ูตากว้างๆ ศึกษามากๆ ฝึกกล้าที่จะเล่นกับจิ นตนาการ ทาตัวเป็ นเด็ก จะทาให้เห็นม ุมต่างๆ ที่อาจไม่มีในตารา ส่วนคุณวงศ์ทนง เสนอ สองอย่าง คื อ ไอเดีย และขายเป็ น และยกตัวอย่างเรื่องห้องนา้ ชายที่ นักออกแบบได้คิดค้นวิธี โดยการติดสติ๊กเกอร์ รูปแมลงวันในโถปั สสาวะชาย เพื่ อให้ผ ู้ใช้เล็ ง เป็ นการป้ องกัน ไม่ ให้กระจัดกระจาย หรื อ ห้อ งน้า ทองค าที่ วัด แห่ ง หนึ่ ง ในจัง หวัด หนึ่ ง คนอยากไปดูห ้อ งน้า ที่ นี่ ท าให้ค นมาท าบุญ มากขึ้น เรื่ อ ง ท่องเที่ยวมีเรื่ องให้ทาอีกมากมาย ตัวอย่างที่ออสเตรเลีย เคยทาแคมเปญเรื่ อง the best job in the world เป็ นการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวที่ประสบความสาเร็จมากๆ ความคิ ดสร้างสรรค์ทาให้เรา โดดเด่นมาก ทาอย่างรู้จริ ง ขายเป็ น เช่น ญี่ปุ่น ขายเป็ น ขายเก่ ง ห่อสวย ซื้ อฝากใคร ใครก็ชอบ ขนมไทย เราห่อไม่เก่ง display ใช้ไม่ได้ ไม่น่ าซื้ อ คุณจะขายได้ ถ้า package และ display ดีๆ ส่วนคุณ ภัทรา ฝากเรื่ อง แรงบันดาลใจ ผูป้ ระกอบการ ถ้าจะสร้างอะไร ขอให้ใส่ ใจในรายละเอียดให้มากๆ ด้วยความสาคัญของแรงบันดาลใจ ทาให้เราคิ ดทุกเม็ด สามารถต่อยอดได้ การท่องเที่ยวมันไม่ใช่ ความสุขอย่างเดียว บางครั้งเราอาจจะไปเก็บแรงบันดาลใจ และส่งต่อได้ และคุณพิศณุ ฝากว่า ให้อ่าน มาก ฟั งมาก สนทนากับคนเก่ง คนรู้ ให้มาก เมืองไทยจุดแข็งมาก เช่น ราคา น้าใจ และความเป็ นคน ไทยที่นกั ท่องเที่ยวต่างชาติมนั ่ ใจ กล่าวโดย สรุป คือ ไอเดีย แรงบันดาลใจ จินตนาการ น่าจะเป็ นมนต์ ที่ร่ายไปแล้วได้ผล.

***************************************************

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจาไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 5


ค้ นหาตัวตนบนเส้ นทาง Keep Walking for Soul Searching -----------------------------

วิทยากร พระอาจารย์มิตซู โอะ คเวสโก สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ ฐิตินาถ ณ พัทลุง ผู ้ด ํ าเนินรายการ แทนคุณ จิตต์อิสระ

ในสถานการณ์ปัจจุ บัน ความเครียด ทําให้เราไม่มีความสุ ข พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโกให้

ถ้า เป็ นเด็กเพียงการพาไปเดินป่ า ดู แมลงเขาก็ มีความสุ ขแล้ ว แต่ถ ้าเป็ นผู้ ใหญ่ก็ สอนปฏิ บัติ การถื อศี ลปฏิ บั ติ ธรรมแล้วแต่ความสะดวก อาจจะเป็ น 3,5,7 วันก็ ได้ ถือเป็ นการผ่อนคลายความเครียด โดยมี หน่วยงานต่า ง ๆ เข้ า ร่ วมโครงการ เช่น ข้ า ราชการ ผู้ ใหญ่ ตํารวจ ทหาร การปฏิ บั ติธรรมไม่ใช่ให้ค วามสุข เช่น ทุ ก เทศก์ สนทนาธรรมร่วมกันแล้ วกลับไปก็สะท้ อนกลับมาว่า

e-TAT Tourism Journal –

ปร

3/2553

1


อะไรจากการเดินทาง คุ ณสิทธิพงษ์ ธรรมวุ ฒิ ให้ ความเห็ นว่า นอกจากความสุ ขแบบหยาบ ๆ แล้ ว มันสามารถพาตัวเองให้ เกิดมิติ องยุคสมัยและ

มุม มองของคุณฐิ ติ นาถ ณ พั ท ค้ นหาตัวตน สรุ ปได้ ว่า มีเหตุ ผล

นฐาน คือ อยากจะ

ความต้ องการเยี ยวยาตัวเอง คนส่วนใหญ่จะถูกกระทบ แต่ พอเรา จเปิ ด อยู ่ ตรงไหนก็มีความสุ ข ต้ องฝึ กให้ เปิ ดสมอง เปิ ดใจให้ รับรู้ การท่อง อย่างไร ในทัศนะของ พระมิตซู โอะ คเวสโก สรุ ปได้ ว่า มีค นไปวั ด กันมาก มีก ารสนทนาธรรม ก็ ทํา ให้เกิ ด มี ปั ญ ญา อาจจะเกิ ด จากการสนทนา ถาม-ตอบ สํ า หรั บ

ความเห็ นว่ า ตาม

ของชุ มชน คุณสุทธิพงษ์ ได้ให้ ด้ านเศรษฐกิจ จําเป็ นจะต้องหาจุ ดขายใหม่ ๆ การโฆษณาหรือหาจุ ดขาย นํามาพัฒนาให้เป็ นเอกลักษณ์

ตามเหตุปั จจัย การทําตลาดทางศาสนาบนความหลากหลายของผู้บริ โภค ควรตระหนัก ว่าการ

e-TAT Tourism Journal –

3/2553

2


แตกต่างกัน แต่ทัวร์เก้ าวัดอาจจะหยาบสักหน่อย มันไม่ทําให้ เกิดการเรียนรู้ ปั จจุ บัน

มันจะค่อย ๆ บูรณาการ ค่อย ๆ เรียนรู้ สุ ดท้ายมันจะนํามาสู ่

ต่อไป

สําหรับประเด็น มาสู ่โลก (Peace through tourism) สามท่านร่วมกันแสดงควาคิดเห็นโดยสรุ ปคือ

ต้ องเข้ าไปศึ

นการนําสันติภาพ

home stay ต้องช่วยกันอนุ รักษ์ให้ความเป็ น

ห้ อ

ร้ อมกับความสมบูรณ์

สุ ดท้ ายก็ เสียหายกันหมด ต่อไปคงจะเหลือแต่ตํานาน วเป็ นแบบเกรงใจกัน ถ้อยที ถ ้อยอาศั ได้ รับผลกระทบ ก็จะมีความสุ ขร่วมกัน

e-TAT Tourism Journal –

3/2553

3


เรียกร้ องความเท่าเทียมอย่าง

สามารถทําได้ ถ้าเป็ นธรรมะแท้โดยดึงคนจํานวนมากเข้ ามาและเรียนรู้ธรรมะอ

******************************************

e-TAT Tourism Journal –

3/2553

4


Cooler ,Sexier ,Better ,Hotter Fill “ER” up with a day --------------------------

วิทยากร วิชัย มาตกุล

ผู ้ด ํ าเนินรายการ

โอกาสไป Post ใน Facebook บางคนก็ใช้ เป็ นข้

ประโยชน์ เพราะถ้าเราจะไปเชียงใหม่ก็ด ู ได้ จากประสบการณ์ของเขาว่าไปไหนกัน ไปทําอะไร ไม่ต ้ อง เสียเวลาเช้ าไปหาใน Google

e-TAT Tourism Journal –

3/2553

1


วกว่า และช้ ากว่า บางคนอาจจะชอบแบบ slower Trend เพราะ hotter หรือ slower มันจะ

ายโมง เช่า การ์ต ูน แล้ วเช่าการ์ต ู นไปนอนอ่านต่อ

จะเป็ น

กลับมา 21.00 น.

5 7.00 โมงเช้ า กลับมา 17.00 น. แต่ยังเข้ าห้องไม่ได้ เพราะต้ องไปตลาดด้วย

fever เหมือนทําอะไรไม่

อาจมีการหลงทางบ้ างแต่ก็เป็ นสีสันดี การไม่ร ู้ และ ใหม่

การหาข้ อมูลจาก Lonely Planet และ blog ตัวหนังสือ Trend demand

e-TAT Tourism Journal –

บ high

10,000 – 20,000 บาท แล้ วจากไป มาอีกที เราต้ องเตรียม local แต่ทําตัว inter

3/2553

2


อะไรใหม่ ๆ แต่ค

ไปตาย 2–3

เช่น ร้ านอาหาร ไปแล้ วได้ พัก ถ้ ามีเวลาสัก2 วัน ก็ แค่ รามคําแหง แบบไม่ต ้องรีบกลับบ้าน ไปเดินเดอะ การ นอกเ ไม่เป็ นไปตามหวัง ทุ กอย่างก็จะไม่สนุ ก

.

******************************************

e-TAT Tourism Journal –

3/2553

3


นิดหนึ่ง คือ พอดี Tourism : Less for More *****************

วิทยากร คา ผกา สฤณี อาชวานันทกุล ผู ด้ าเนินรายการ ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา

ในมุมมองของคุณคํา ผกา concept เรื่อง น้อย แต่ มาก เกิดมาพร้อมกับกระแสเรื่อง small is beautiful จิ๋ว แต่ แจ๋ว เป็ นกระแสที่มีขึ้นมาต่อต้านระบอบทุนนิยม แทนที่จะมานับจํานวนตัวเลขความ เติบโตของเศรษฐกิจ เราหันมาใส่ใจเรื่องจิตวิญญาณ เราสนใจการทําอะไรน้อยๆ แต่มีความหมาย มากๆ พร้อมกับการ บูมของพุทธนิกายเซนในโลกตะวันตก ซึ่งเป็ นกระแสที่มาคานอํานาจทุนนิยม เรื่อ งการท่ อ งเที่ ย วเป็ นการหากิ น กับ ท นุ นิ ย มล้ว นๆ แต่ เ ราพยายามใส่เ ครื่อ งแบบทาง ความร ส้ ู ึ ก พอดี ร ส้ ู ึ ก น้อ ยๆ เพื่ อ ที่ จ ะท าให้เ ราร ส้ ู ึ ก ดี ข้ ึ น หรื อ เราพยายามจะใช้ศี ล ธรรม บางอย่าง ที่ทาํ ให้เราทํามาค้าขาย ด้วยความรูส้ ึกว่า เราโลภน้อย แต่จริงๆในสังคมไทย เราเหมือนมี กระจกที่บิดเบือน เหมือนเราส่องกระจก ตอนนี้คนไทยเห็นภาพสะท้อนความเป็ นตัวเองไม่ตรง เพราะ ฉนั้น การทําเรื่องการท่องเที่ยวของเราที่ผ่านมา คือ เราไม่รจู้ ักตัวเอง ถ้าเราหันมาเผชิญหน้ากับ ความจริงมากขึน้ ว่าเราเป็ นใคร มีขอ้ ดีอะไร มีขอ้ เด่นอะไร ไม่ตอ้ งไปภูมิใจอะไรมากเกี่ยวกับความเป็ น ไทย ศิลปวัฒนธรรม คือ อย่าไปยึดติดกับอดีต ยอมรับความเป็ นจริงว่า เมืองไทยก็เป็ นอย่างนี้หรือ ถ้าเราอยากให้คนมาเที่ยวบ้านเรา เราอย่าไป fake มาก อย่าสร้าง events ที่มนั ไม่มีอยู่จริง ถึงที่สดุ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 1


แล้ว ประเทศที่น่าอยูส่ าหรับพลเมืองในประเทศนัน้ ๆ มันย่อมเป็นประเทศที่น่าท่องเที่ยว ไม่ เกี่ยวกับว่าจะทําน้อยหรือทํามาก และถึงที่สดุ แล้ว การที่ ไม่ตอ้ งทําอะไรเลย โดยคิดว่า ประเทศนี้มนั น่าอยู่สาหรับคนไทย มันน่าเที่ ยวสาหรับคนไทย ผลพลอยได้ คื อ มันจะทาให้คนอยากมา เที่ยวบ้านเราเองโดยอัตโนมัติ คุณ สฤณี ใ ห้ค วามเห็ น ว่ า การที่ เ รา พยายามที่จะสร้างภาพพจน์ ภาพลักษณ์อะไร บางอย่างให้คนข้างนอกเห็ น มัน ย่อมมีตน้ ทุน บางครั้ ง ต้น ทุ น ไปตกอยู่ กั บ ชุม ชน สั ง คม ส่วนรวม เช่น กรณีเขาใหญ่ ที่เรามี concert คน ที่ได้รับประโยชน์ คือ คนที่ไปร้องรําทําเพลง มี ความสุข เขามองเห็นภาพสวยงาม จริงๆ ภาพ ที่เขาเห็น มันมีตน้ ทุนหรือไม่ เป็ นคําถามที่ตอ้ ง หาคําตอบ เห็นด้วยว่าประเทศที่คนในประเทศมี ความสุข เป็ นประเทศที่คนก็อยากมาเที่ยว แต่ ตอนนี้เรายังไม่มัน่ ใจว่า เรายังอยากอยู่กับมันหรือไม่ แต่เราต้องทํามาหากินกับการท่องเที่ยว จึง หลีกเลี่ยงกับการสร้างภาพลักษณ์อะไรบางอย่างไม่พน้ เราจะสร้างภาพลักษณ์อย่างไร เป็ นภาพที่ fake คือ หาเงินมาซื้อกระจกบานใหญ่ๆ ทําให้ดดู ีไปเลย แล้วค่อยมาจัดการกับต้นทุนทีหลัง หรือจะ ซื้อกระจกที่สะท้อนความเป็ นจริง ดังนัน้ เราต้องทําความจริงให้มนั ดีขนึ้ ก่อน เป็ นสิ่งที่ตอ้ งเลือก คุณคํา ผกา เห็ นว่า ต้นทุนที่โปรโมทการท่องเที่ยวให้ประเทศไทยเป็ นที่ รจู้ ัก ในฐานะที่เป็ น destination ที่สาํ คัญของโลก ไม่มีความจําเป็ นต้องทําแล้ว เมืองไทยมีชื่อเสียงมาก ในแง่ของประเทศที่ น่าท่องเที่ยว ททท.ทําได้ประสบความสําเร็จมาก แต่สิ่งที่มันแย่ลงคือ คุณภาพโดยรวมของคนไทย นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวเมืองไทย ใช้เวลาสัน้ ลงเรื่อยๆ ในขณะที่เรามีถนนที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อน บ้าน เพื่อนบ้านของเรากําลังเปิ ดประตูตอ้ นรับนักท่องเที่ยว เช่นเดียวกับเรา เราต้องย้อนกลับไปดูว่า การที่เราประสบผลสําเร็จในการโปรโมทการท่องเที่ยว เกิดขึ้นในท่ามกลางที่ลาวและเวียดนามยังไม่ พร้อม พม่า ไม่ตอ้ งพูด ถึง เมื่อ ลาวพร้อม เวี ยดนามพร้อ ม ความได้เ ปรียบในเชิงเสถี ยรภาพทาง การเมืองของเราก็ลดลงไปแล้ว ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้าน ตอนนี้กลับมีเสถียรภาพดีกว่าเรา เป็ นที่ แน่นอนว่า นักท่องเที่ยวจะเห็นเมืองไทยเป็ นทางผ่าน เป็ นประตูที่นาํ ไปสู่ประเทศอื่นๆ เช่น จีนตอนใต้ ลาว ที่สาํ คัญกว่านัน้ ถ้านักท่องเที่ยวอยากจะใช้เวลาในเชียงใหม่ให้นาน ถามว่า จะให้เขาทําอะไร ในเมื่อมันเป็ นเมืองที่ไม่มีความสุขที่จะเดิน ไม่มีความสุขที่จะใช้เวลาช้าๆ มันไม่ใช่เมืองที่คณ ุ จะเดินดู บ้าน ตึกแถว ลายปู นปั้ น คุณก็ไม่รจู้ ะอยู่ไปทําไม ไม่รจู้ ะใช้เวลากับเมืองนี้อย่างไร แค่ไปดูจดุ สําคัญ คุณ แทบไม่มี ค วามทรงจํา กับ เมื อ งนั้น เลย เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ เกี ย วโต ที่ ทํา งานหนัก เรื่ อ งการ ท่องเที่ยว แต่เขาไม่ได้ละเลยคุณภาพชีวิตของพลเมือง ไม่จาํ เป็ นต้องไปสร้างประเพณีพิธีกรรม ซึ่งมัน ไม่เคยมีอยู่มาก่อนแต่ทาํ แม่นาํ้ ให้สะอาด ทําทางเดินริมแม่นาํ้ ให้คนเดิน ดูตน้ ไม้ นั ง่ รถเมล์ ไปเที่ยววัด

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 2


ที่สวยงาม มันต้องมีอะไรให้เขาใช้เวลาในการทํากิจกรรม เวลาเรามาพูดถึงปั ญหาต่างๆ มันเกินไป กว่าอํานาจหน้าที่ของ ททท. เป็ นปั ญหาของเมืองไทยทั้งเมือง ในเมื่อ ไม่สามารถทําให้เมืองไทยน่าอยู่ สําหรับเจ้าของประเทศได้ แล้ว จะไปโปรโมทการท่องเที่ยวเรื่องอะไร เว้นเสียแต่ว่าจะต้องไปสร้าง พิธีกรรมใหม่ๆ สร้างจุดสนใจใหม่ๆ ที่ไม่มีอยู่จริง เช่น การจุดโคมหมื่นใบ แสนใบ ในกรณีของอัมพวา เหมือนเราไปดูพิพิธภัณฑ์ที่เคลื่อนไหวได้ ไม่ได้บอกว่า ดี หรือ ไม่ดี แต่ถา้ ทําออก มาแล้ว คนไปเที่ยวมีความสุข มันเป็ นเรื่องที่ดี ทั้งนี้ เราต้องไม่ม่งุ ดูแต่อัมพวา ก็ตอ้ งดูเพิ่มเติมอีกว่ า ถนนที่ไปสูอ่ มั พวาสะดวกไหม มีวิธีที่จะเข้าถึงอัมพวากี่วิธี มีการใช้นาํ้ ใช้ไ ฟ เท่ า ไหร่ การกํา จัด ขยะในชุม ชนนั้น เป็ น อย่างไร ในสายตาคุณ สฤณี เราให้ค วามสํา คั ญ กั บ กระจกที่ เ ราซื้ อ มา แล้ว ทํา ให้เ ราสวย เราให้ ความสํา คัญ มากเกิ นไปจนเราไม่ส นใจตัว เอง เมื่อไม่สนใจตัวเอง ก็จะแย่ลงไปเรื่อยๆ สุขภาพ ไม่ดี เพราะเราสุขภาพไม่ดี เราก็ไปซื้อกระจกที่ แพงกว่าเดิม เพื่อให้ดวู ่าเราสวย กรณีอัมพวา หลายคนคิ ด ว่ า มี ปั ญหา เพราะหิ่ ง ห้อ ยลด น้อยลงเรื่อยๆ ต้นลําพูก็หายไป เมื่อประมาณปี 2548 ก็ ไ ด้รั บ การโปรโมทให้เ ป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว จากเรื อ หางยาว 3 ลํา ตอนนี้ มี 370 ลํา ชาวบ้านก็พยายามจัดการกันเอง ตัง้ เป็ นศูนย์อนุรักษ์ แล้วบอกว่า ใครที่จะเข้ามาใน คลองนี้ จะใช้เรือพาย พานักท่องเที่ยวไปดู เป็ น ความพยายามที่จะลดผลกระทบ ปั ญหาคือว่า คุมไม่ได้ เพราะคลองเป็ นที่ สาธารณะ บางทีมีเรือที่อื่น เข้ามา ก็คมุ ไม่ได้ ปั ญหานีไ้ ม่ใช่ปัญหาของ ททท. จะต้องมีการจัดการแบบบูรณาการ ถ้าเปรียบธุรกิจท่องเที่ยว สินทรัพย์คืออะไร สินทรัพย์ คือ สถานที่ท่องเที่ยว ในทางธุรกิจ สินทรัพย์นี้เป็ นสินทรัพย์ที่มีวันหมด เราต้องดูแลอย่างยัง่ ยืน ก็เข้ามาสู่ประเด็นเรื่อง less for more เราจะปล่อยให้เรือจํานวนมากวิ่งไปมา หิ่งห้อยก็จะไม่เหลือ ถ้าหิ่งห้อยไม่มี อัมพวาจะขายอะไร จริงๆ แล้ว การจัดการสินทรัพย์สาํ คัญกว่าการตลาด ในมุมมองของความยัง่ ยืน การท่องเที่ยวมันมีจดุ ที่ เรียกว่า point of no return พอเลยจุดนัน้ มันกลับมาไม่ได้อีก เพราะฉะนัน้ วันนี้ ต้องมาคิดว่า จะ จัดการอย่างไร ระบบนิเวศหายไปแล้ว หายไปเลย คุณภิญโญ แลกเปลี่ยนข้อมูลว่ามีบา้ นอยู่ที่ อ.ขลุง จ.จันทบุรี ในสมัยก่อนที่บา้ นมีอาชีพเผา ถ่าน และเอาถ่านไปขายให้คนทําพลอย วันนี้อาชีพทําพลอยหายไปแล้ว คนก็เลิกเผาถ่านแต่หันมา ส่งเสริมเรื่องการท่องเที่ยวก็มีคนเดินทางไปดูหิ่งห้อย เห็นว่าทุกอย่างมันเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกัน จะ

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 3


มองแยกส่วนกันไม่ได้ หลายเรื่องมันเกี่ยวกับชีวิตผูค้ น ประชาชนอยู่แถวนั้นมีป่าชายเลน แล้วถูกตัดไปก็เยอะ เวลาเราบอกจะอนุรกั ษ์อย่างเดียวมันกระทบต่อชีวิตคน จํานวนมาก คุณคํา ผกา เล่าถึงประสบการณ์ที่ได้รับ เชิญ จากองค์การท่องเที่ยวของเมืองเกียวโตไปชมหมู่บา้ น อนุรั ก ษ์ อ ายุ ส ามร้อ ยปี หลั ง คามุง ด้ว ยหญ้า หนา ประมาณ 2 เมตร เพื่อกันหิมะและเหลืออยู่ไม่มากที่ใน ญี่ปุ่น เหลือประมาณ 30 หลังคาเรือน วิธีการต้อนรับ ของเจ้า หน้า ที่ ก ารท่อ งเที่ ยวที่ นัน่ คือ ให้ขอ้ มูลอย่า ง ละเอียด ให้เดินทางไปจนถึงที่หมายด้วยตนเอง หมู่บา้ น นี้ ไม่มีคนหนุ่มสาวอยู่เลย นี่เป็ นปั ญหาทางประชากร ของเขา หนุม่ สาวไม่มีใครอยากอยู่บา้ นแบบนี้ เพราะอยู่ ไม่สบาย จะทําอย่างไรให้คนแก่อยู่ได้ และมีรายได้จึงเปิ ดหมู่บา้ นนี้ ให้เป็ น home stay อาหารหลักที่กิน กันในบ้านคือ ปลาอาหยุ ซึ่งเป็ นปลานํา้ จืดชนิดเดียวที่ชาวญี่ปุ่นบริโภคและมันจะมีชีวิตอยู่ได้เฉพาะใน นํา้ ที่สะอาด เท่านัน้ ถ้าอยากขายปลาอาหยุให้นกั ท่องเที่ยวก็จะต้องมาช่วยดูแลแม่นาํ้ สายนัน้ ปั ญหาอีกอย่างหนึง่ คือ ในละแวกนัน้ มีกวางมากเกินไป เพราะป่ าเยอะ ด้วยแรงอนุรักษ์ เกิด ปั ญหากวางมากินพืชผลทางการเกษตรที่ปลูกไว้ การแก้ปัญหาคือ ส่งเสริมการล่ากวาง แล้วมา ทํา อาหารแบบโอทอป เช่น แฮมกวาง ลูกชิ้นกวาง มีผลิตภัณฑ์เ กี่ยวกับโคนมทั้งหมด มีโยเกิร์ต ไอศกรีม มีศาลาวางขายแบบเชยๆ คนนึกถึงญี่ ป่ นุ นึกว่าเป็นวาบิ ซาบิ ต้องสวย ต้องน้อยแต่ มาก แต่ไม่ใช่ ญี่ป่ นบ้ ุ านนอก ก็บา้ นนอกมากๆ มันก็กลายเป็ นหมู่บา้ นที่เริ่มมีศิลปิ นอพยพมาอยู่ ศิลปิ นที่ทาํ เซรามิก ก็มาซื้อบ้านเก่าที่เจ้าของไม่สามารถดูแลได้ เพราะค่าบํารุงรักษาสูง การจะเข้าถึงหมู่บา้ นนี้ ต้องดัน้ ด้น ต้องมีขอ้ มูลอิ นไซต์ การรับประทานอาหารก็จะมี ศิลปิ น กับภรรยา ปรุงอาหารโดยใช้พืชผัก ที่หาได้ในหมู่บา้ นตามฤดูกาล เช่น มะเขือเทศ ผักกูด เนื้อกวาง เนื้อกระต่าย ปลาอาหยุ ที่ประทับใจมากๆ คือ ได้รับประทานสุกี้ยากี้ไก่บา้ น ที่พักเป็ นบ้านมีสอง ห้องนอนมีหอ้ งอาบนํา้ รวม เป็ นห้องนํา้ เล็กๆ เขาทําทุกอย่างเท่าที่ทรัพยากรในหมูบ่ า้ นจะเอื้อ สําหรับ เจ้าหน้าที่การท่องเที่ยวก็ดอู ยู่ห่างๆ สําหรับอาหารก็เป็ นบทบาทของคนแก่ในหมู่บา้ น ปลูกผัก นํามา ทําอาหารเลี้ยงแขกที่มาพักอยู่ในหมูบ่ า้ นนัน้ และผลัดกันมาเป็ นเด็กเสริฟ นักท่องเที่ยวที่ไปจะเดินดูท่งุ นา เดินดูแปลงมะเขือ ดูวิถีชีวิตของหมูบ่ า้ น ไข่จากมิยามะ คือไข่ที่ดีที่สดุ ส่งขายทัว่ เกียวโต ร้านเค้กที่ แพงๆ ในเกียวโต ถ้าใช้ไข่จากที่นี่ จะขึน้ ป้ายใหญ่ ดังนัน้ การท่องเที่ยวไม่ใช่ แค่ทาํ home stay เอานักท่องเที่ยวมาพัก แต่ไม่มีกิจกรรมร่วมกับ คนในหมู่บา้ น ปั ญหาของบ้า นที่มงุ ด้วยหญ้า คือ ไฟไหม้ ดังนัน้ เทศบาลก็จะมาทําเรื่องระบบดับไฟ ซึ่งเป็ นนํา้ พุหลายจุดในหมู่บา้ น พอกดปุ่ มก็จะมีสายนํา้ พุ่ง รดไปทัว่ หมู่บา้ น นี่ก็เป็ นจุดขายอีก ทํา

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 4


โปสการ์ดสวย คนก็ตื่นเต้น เป็ นนํา้ พุ เป็ นทุ่งนา ข้างหลังเป็ นภูเขา ต่อมาก็เริ่มมีศิลปิ นมาทํา พิพิธภัณฑ์ผา้ มีคนที่นา่ สนใจ เริ่มเข้ามาทํากิจกรรมในนี้ รถเมล์ที่เข้าไปในหมู่บา้ นนี้ ก็มีเพียงวันละ สองเที่ยว ที่นตี่ อ้ งวางแผน match เวลารถเมล์ รถไฟ หมูบ่ า้ นนีไ้ ม่มีคนสวย คนเก๋ ให้ไปดู มีคนแก่อายุ เก้าสิบปี และไม่มีฟ้อน อะไรให้ด ู มืดก็นอน เสริฟเหล้าที่ทาํ ในหมู่บา้ น ก็ ดีมาก (ความผิดพลาดของ รัฐบาลไทย คือ คุณห้ามชาวบ้านผลิตเหล้า ) เหล้าบ๊วย เหล้าท้อ เหล้าจากผลิตภัณฑ์ในหมู่บา้ น ที่ หมู่บา้ นก็ให้ตั้งคณะกรรมการมาดูแลกันเอง เจ้าหน้าที่การท่องเที่ยวก็ ด ูอยู่ห่างๆ และมีหน้าที่ให้ information ทําโบรชัวร์ แผ่นพับ เว็ บไซต์ จากประสบการณ์ ข องคุณ สฤณี ที่ ไ ด้ไ ปเที่ ย ว ภูฏานมาสองครั้งรูส้ ึกว่า คนภูฏาน ภูมิใจในความเป็ นตัว ของตัวเอง เรื่องที่ประทับใจมาก คือ วันหนึ่งต้องไปวั ด ต้อ งเดิ น ตัด หมู่บ ้า นไปกลางทุ่ง วั ด อยู่บ นเนิ น เป็ นวั ด ศักดิ์สิทธิ์ของพระดังเรื่ องเจ้าชู้ ถ้าผูห้ ญิงอยากได้ลกู ไป ขอแล้วจะได้ ทางไปต้องเดินผ่านหมู่บา้ นไปสองหมู่บา้ น มี เล้า ไก่ เล้า หมู ขี้วั ว ตลอดทางถ้า เป็ นที่ เ มือ งไทยเราจะ เลี่ยงต้องเดินไปในทางที่ส วยงาม ไม่มีขยะ แต่คนภูฏาน บ้านเขาเป็ นอย่างนัน้ เขาภูมิใจที่จะโชว์วัฒนธรรมว่าเขา อยู่กันแบบนี้ ในเมืองของภูฏานมันกลมกลืน ไม่เชิง fake มันมีกฏระเบี ยบอยู่บ า้ นเรื อนก็ บัง คับให้สร้า งสไตล์เ ดิม ไม่ให้เปลี่ยนเป็ นตึกแถว ตอนนีก้ ็ยงั บังคับให้แต่งชุดประจํา ชาติ วัยรุ่นก็จะรําคาญ ตอนเย็นๆคํา่ ๆ เข้าบาร์ก็จะถอด กรณีของเมืองไทยสมมติว่าเราไม่มีตลาดร้อยปี แล้วจริงๆ ในประเทศนี้ เราก็ไม่ตอ้ งมี การรื้อ ฟื้ นอดีต ที่ทาํ ให้คนปั จจุบันได้มองเห็น มันเป็ นประโยชน์ในเชิงการศึกษา อย่างน้อย เด็กรุ่นใหม่ก็จะ เกิดความภูมิใจในวัฒนธรรม แต่ไม่เกินเลย ไม่แปลงทัง้ ประเทศให้มีตลาดร้อยปี ในเมืองไทย มีเรื่องขําๆ เยอะ ล่าสุดไปตลาดสามชุก เข้าใจว่าเป็ นตลาดร้อยปี รุ่นแรกๆ ไป เดินดู ปรากฏว่าตอนนี้มีรถเข็นมากพอสมควร แม้กระทัง่ ไอศกรีม เหมือนไอศกรีม walls เขาก็จะติด ป้ายว่า ไอศกรีมร้อยปี ตลกดี ต้นทุนของการที่เราไม่รักตัวเอง แล้วยิ่งเราปลอมเท่าไหร่ เราต้อง เข้าใจว่า ไม่ใช่ว่าเสียเงินไปกับการปลอม ถ้าเราปลอมได้ คนอื่นก็ปลอมได้ กลับ มาเรื่ อ งสิน ทรัพ ย์ เมื่ อ ก่อ นเราค่อ นข้า งได้เ ปรี ยบ เนื่อ งจากประเทศลาว เวี ยดนาม โครงสร้างพื้นฐานเขายังไม่พฒ ั นาจึงรองรับนักท่องเที่ยวไม่ได้มาก ตอนนี้เขาพัฒนาขึ้นมาแล้ว ส่วน เรื่องธรรมชาติเขาก็ดีกว่าเรา เพราะว่าเขาพัฒนาทางเศรษฐกิจมาช้ากว่าเรา ถามว่า แล้วเราจะมี เอกลักษณ์อะไร อะไรที่ดึงดูดการท่องเที่ยว ไม่ใช่การมีเทสโก้ โลตัส แมคโดนัลด์ สิ่งเหล่านัน้ เขาก็มี ในเมืองเขา ฉะนัน้ ก็กลับไปสู่คาํ ถามเดิมว่า เราไม่รักตัวเองแล้วจะให้ใครมารักเราในระยะยาว การ พัฒนาท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ส่งเสริมภูมิปัญญาไทยจริงๆ แล้วมีหรือไม่

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 5


ในทรรศนะของคุณ คํา ผกา เห็ น ว่ า ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ เ ด็ กมากๆ เพิ่ งจะมี การเขียนแผนที่ เ มื่ อ ปี พ.ศ.2435 รัชกาลที่หา้ เริ่มจะรวมศูนย์อาํ นาจได้ รวมล้านนา อีสาน ใต้ เป็ น สยาม ก็รอ้ ยกว่าปี ตอนนัน้ ยังไม่เป็ นประเทศไทย เป็ นมณฑลยัง ไม่ได้เป็ นรัฐประชาชาติสมัยใหม่อย่างที่เรารูจ้ ักกันทุกวันนี้ ถามว่า เราสร้างประเทศไทยมาเมื่อไหร่เริ่มจริงๆ ประมาณ ปี พ.ศ.2475 มาจนถึงทุกวันนี้ อายุเราไม่ถึงร้อยปี แล้ววัฒนธรรมไทย คืออะไร คนที่อยู่ในสังคมมันผสมผสานกันมาหลายร้อยปี ก็จริง ไม่ได้บอก ว่าเมืองไทยอายุไม่ถึงร้อยปี ดินแดนตรงนี้มีอายุมาหลายร้อยปี แต่ ว่ามันผ่านมาหลายราชอาณาจักร ผ่านการปกครองมาหลายแบบ ผ่านการเข้าและการออกของคนหลายเชื้อชาติ หลายวัฒนธรรม แล้วก็ตกตะกอนมาถึงพวกเราที่เหลืออยู่ในประเทศไทย แล้วก็ถกู unite มาตัง้ แต่ปี 2475 ไม่ถึงร้อยปี พูดว่าวัฒนธรรมไทยมันไม่สามารถจะดึงเรากลับไปเจ็ดร้อยปี สุโขทัย ประวัติศาสตร์สโุ ขทัยถูกเขียนขึ้นมาหลัง 2475 โดยหลวงวิจิตรวาทการ ประวัติศาสตร์ อยุธยา ประวัตศิ าสตร์หลายๆ อย่าง เพิ่งเขียนขึ้นมาเพื่อที่จะลดทอนความคับข้องใจของเรา ที่อยาก รูว้ ่า เราเป็ นใคร มาจากไหน มันจึงเป็ นสิ่งที่ใหม่มาก การที่เราเข้าใจว่า ประเทศไทยเราเก่า เจ็ ด ร้อยปี แปดร้อยปี เราลืมที่จะเชื่อมโยงตัวเองกับประเทศเพื่อนบ้าน ลืมที่จะเชื่อมโยงให้เห็นทั้งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ แม้แต่จะมองปั ญหาการเมืองไทยตอนนี้ มองแต่ประเทศไทย ถ้าเอาประเทศไทยไปเปรียบกับ อินโดนีเ ซี ย เปรี ยบกับ ฟิ ลิป ปิ นส์ จะมองการตกเป็ นอาณานิคม อาจจะทํา ให้คนไทยเข้า ใจตัว เอง มากกว่าการไปลุ่มหลงอยู่กบั การชื่นชมหรือบูชาวัฒนธรรมไทย ถ้าไปดูสวน ดูโรงแรมในเชียงใหม่ ตอนนี้ ก็ไม่ตา่ งกับบาหลี เพราะเราไปลอกเขามา โรงแรม four seasons ที่เชียงใหม่ ก็ไปลอกแบบจาก บาหลีมา แต่เราก็เข้าใจว่า มันมีกลิ่นอายของความเป็ นไทย มองภาพของการเป็ นเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ดว้ ย แล้วเราจะทําอย่างไรกับเรื่องปราชญ์ชาวบ้าน กับ ภูมิปัญญาไทย เรามีอยู่จริงอย่างที่เห็นกัน ทุก วั นนี้ แต่มัน ก็ ล่มุ ๆ ดอนๆ ขาดๆ เกิน ๆ ไม่ไ ด้ส วยงาม ไม่ไ ด้สมบูรณ์แ บบ ถ้า จะพัฒ นาการ ท่องเที่ยว หรือหยิบยกวัฒนธรรมไทย เราต้องเข้าใจความลุ่มๆดอนๆ ความไม่สมบูรณ์ ความไม่ สวยงาม ความอ่อนแอของวัฒนธรรมไทยด้วย ถามว่า จุดแข็งของมันคืออะไร จุดอ่อนของมันคือ อะไร การปะทะกันของความลุม่ ๆดอนๆ ที่มีอยู่ในวัฒนธรรมไทย ถ้าเราพยายามเข้าใจมัน อย่างที่มนั เป็ น ก็พยายามอยู่กบั มัน ถ้า ต้องการให้มันดีขึ้น ก็ตอ้ งทําบนฐานความเข้าใจความไม่สมบูรณ์แบบ ของคนไทย เราต้องเข้าใจว่า เราไม่ได้มีมรดกอะไรที่จะไปเป็ นมรดกโลก ถ้าเราเห็นความดีที่ไม่ผกู ติด อยู่กบั ความเป็ นไทย ถ้าเราบอกว่า นี่อาหารจีน เราก็จะไม่รสู้ ึกอะไรกับมัน เราเห็นการผสมผสานใน วัฒนธรรมหลายๆอย่าง เห็นความอ่อนแอ เห็นความวิปริตในวัฒนธรรมของเรา

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 6


ในความเห็นของคุณสฤณี ความเป็นไทยที่มีเสน่ห์ คือ ความไม่สมประกอบ สไตล์ตึก 5 ชาติในตึกเดียว จริงๆ คือเสน่หอ์ ย่างหนึ่งของเมืองไทย มีหนังสือเล่มหนึ่งที่ชอบมากคือ very Thai คนเขี ย นสองคนเ ป็ น ฝรัง่ เขาบันทึ กความเป็ น ไทยด้วยภาพประกอบที่ สวยมาก เปิ ดมาแค่ดรู ปู ก็ จะรู้ว่ า นี่ เ มื อ งไทย ถ้า ถามเรื่องวัฒนธรรม จะมี ความคิดสองกระแส เขา บอกว่ า วั ฒ นธรรมต้อ ง เป็ นอะไรที่บริ สทุ ธิ์ ต้อง original อยู่ตรงนี้มานาน แล้ว อีกกระแสบอกว่า ไม่ มี ห รอกวั ฒ นธรรมที่ บริ ส ุท ธิ์ เพราะว่ า ถ้า ถามเรื่ อ งโลกาภิวั ตน์ มัน ไม่ได้มีในยุคอินเตอร์เน็ต มันมีมาตัง้ นานแล้ว เพราะ ผูค้ นก็ติดต่อซื้ อ ขายกัน หลายอย่างที่เราคิดว่าไทย ก็ ไ ม่ ใ ช่ ข องไท ย ขนม หลา ยอ ย่ า งก็ เ ป็ น ขอ ง โปรตุเ กส การที่ เ รา หยิ บ ประเด็ น วั ฒ นธรรม มาเป็ นจุด ขายทางการ ท่ อ งเที่ ย ว เราควรต้อ ง ตระหนัก ตรงนี้ เราเชื่ อ ว่ า กา ร ท่ อ งเ ที่ ยวยุ ค นี้ ต้ อ ง มี ก า ร บ ริ ห า ร สินทรัพย์ดีๆ ต้องพัฒนา ที่ ฐานราก คือ คนที่ อ ยู่ กับ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว ได้ ประโยชน์ และวิธีเดียวที่ ก า รั น ตี ว่ า เ ข า จ ะ ไ ด้ ประโยชน์ ต้องไม่ตามใจ นักท่องเที่ยว และหากจะ ปล่อยให้เขาไปพยายาม ทําเอง เช่น home stay เขา ก็ทําได้ แต่ถา้ เราจะช่วย คือ จะต้องไปสร้าง story ให้เขาเข้าใจว่า วัฒนธรรมท้องถิ่นของที่นี่เป็ น อย่างไร เพราะเรื่อง narrative เป็ นสิ่งที่สร้างมูลค่าได้มากจริงๆในโลก มีตวั อย่างสองประเด็นคือ หนึ่ง อินเตอร์เน็ตมันทําให้ การค้นพบแหล่งท่องเที่ยวเร็วมาก ยิ่ง ถูกค้นพบเร็ว ยิ่งมีกระแสนักท่องเที่ยวไหลเข้าไป ถ้าเราไม่ตั้ งรับดีๆ ไม่บริหารจัดการ ไม่คมุ้ ครอง การท่องเที่ยวในท้องถิ่น โอกาสที่จะเสียหายอย่างอัมพวาก็มี สําหรับการสร้างเรื่องราว ยกตัวอย่าง โพรวองซ์ ที่ฝรัง่ เศส มีเมืองชื่อ ซองเรมี มีโรงพยาบาลบ้าที่วินเซนต์ แวนโกะ เคยไปอยู่ ตอนที่เป็ น โรคประสาทและใกล้ตาย โรงพยาบาลมีตน้ อัลมอนด์ และสิ่งที่มีคณ ุ ค่าสําหรับเราคือ มีป้ายเขียนว่า ต้น อัลมอนด์ มีการปลูกซํา้ ที่เดิมมาแล้ว ยี่สิบครัง้ ปลูกต้นอัลมอนด์ทกุ ๆ 5 ปี มาแล้ว 20 กว่าครั้ง นีค่ ือสิ่งที่มีคณ ุ ค่าสําหรับนักท่องเที่ยว อีกแห่งที่ญี่ปุ่น ศาลเจ้าอีเสะ เมืองนาโกย่า พยายามจะขอขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกโลกที่ยเู นสโก แต่ ยูเนสโกไม่ให้ เพราะไม่ ได้เก่าจริง ศาลเจ้าอายุ 1,200 ปี ยูเนสโกบอกว่า ไม่มีทาง ศาลเจ้าไม่มีทาง อยู่ได้ 1,200 ปี ก็แน่นอนมันอยู่ไม่ได้ ที่อีเสะ ทําพิธีกรรม คือ สร้างศาลเจ้าใหม่ทกุ ๆ 20 ปี ด้วยการ ไปตัดไม้จากป่ าดัง้ เดิมที่ศาลเจ้าแห่งแรกสร้าง เป็ นประเพณีที่สืบทอดมาโดยตลอด นี่คือคุณค่าของ แหล่งท่องเที่ยว ถ้าเราไม่รเู้ รื่องนีเ้ ลย เวลาเราไปเที่ยวศาลเจ้าอีเสะ เราก็จะบอกว่า ไม้มนั ใหม่ มัน fake ขึน้ มาแน่นอน แต่ถา้ เรารูว้ ิธีการอนุรกั ษ์ของเขา มันก็จะมีคณ ุ ค่าขึ้นมาทันที ซึ่งถ้าเรานํามันมา โดยไม่ ต้องใช้เงินอะไรเลย ใช้แค่ความคิดสร้างสรรค์ในการนํามาสะท้อนเป็ นเรื่องราว การรวมทุกอย่างเข้าสู่

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 7


จุดศูนย์กลาง เช่น วัด ก็ควรให้สิทธิ์ แ ก่ เ จ้ า อ า ว า ส ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ก็ พยายามที่จะอนุรกั ษ์ ต้องรักษาแบบ ดัง้ เดิม ต้องมีพิมพ์เขียว อันนีแ้ หละที่ ทําให้เมืองไทยน่าเบื่อ อยากมีมังกร ก็ ป ล่ อ ยให้แ ต่ ล ะท้อ งถิ่ น ทํ า นี่ คื อ ประวัตศิ าสตร์ร่วมสมัยของเรา ต้อง เล่าให้ได้ว่าเกิดอะไรขึ้น มังกรเข้าไป อยู่ใ นวั ด ล้า นนาได้ ตั้ง แต่ เ มื่ อ ไหร่ และทํา ไมเจ้าอาวาสถึงอยากทําสิ่งนี้ เขากําลังสื่อสารอะไรกับคนในชุมชน อย่ า เอาจั ่ว ไปใส่ ใ นทุก วั ด อย่ า เอา ความเป็ นไทยที่ตวั เองเชื่อซึ่งมาจาก หน่วยราชการไปครอบความคิดของ ชาวบ้าน การกระจายอํานาจลงสูท่ อ้ งถิ่น ก็คือ การทําให้ทอ้ งถิ่นเป็ นตัวของตัวเอง รับผิดชอบนโยบาย ของตัวเอง รับผิ ดชอบภาษีของตัวเอง สิ่งที่ รัฐบาลไทยควรทํา กลับ ไม่ทํา ควรจะทําถนนดีๆ ทํา สนามบินดีๆ ทํารถไฟให้ดีกว่านี้ ถ้าเราทําให้ทอ้ งถิ่นเข้มแข็ง ไม่ได้หมายความว่า ท้องถิ่นเข้มแข็งแล้ว มันจะดีเลย แต่ให้เขาได้ยืนอยู่บนขาของตัวเอง แล้วเลือก อําเภอไหนเลือกที่จะไม่เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว ก็ตอ้ งปล่อยให้เขาทํา คุณสฤณี มีความเห็นว่า ในสังคมไทยมักมองแยกส่วน บางครั้งเราอาจจะไม่ได้อยากทําอะไร ในสิ่งที่ไม่ควรทํา แต่หน่วยงานที่รบั ผิดชอบมีหน้าที่ เช่น หน่วยงานที่มีหน้าที่ทาํ marketing ก็ทาํ ไป แต่ ไม่ได้ดภู าพใหญ่ ไม่ได้ดวู ่า จะประสานงานกันอย่างไร กรณีเขาใหญ่ น่าสนใจ มีหน่วยงานกระทรวง ทบวง กรม ที่ เ กี่ ยวข้อ งประมาณสามสี่ แห่ง ซึ่ ง เป็ นเรื่อ งปกติม ากของสังคมไทย เมื่อ พูด ถึ งการ ท่องเที่ยว โดยธรรมชาติของมัน เป็ นกิจกรรมที่ตอ้ งใช้การประสานงานเยอะมาก ต้องบูรณาการ จริงๆ และต้องโยงกับวาระการพัฒนาระดับชาติดว้ ยก็เลยไปกันใหญ่เพราะมันไม่มีการคิดแบบบูรณา การ เราต้องทําสองระดับ คือ การกระจายอํานาจสู่ทอ้ งถิ่น เพราะท้องถิ่นควรมีสิทธิตดั สินใจว่า เขาควรจะเป็ นอะไร ในขณะเดีย วกัน ทิ ศ ทางการพัฒ นา หรื อ นโยบายระดับ บน เราต้อ งชัด เจน โดยเฉพาะในเรื่องของขีดจํากัด ด้านระบบนิเวศ ถ้าข้างบน เราไม่ควบคุม อย่างชุมชนอัมพวาบ้านลม ทวน เขาอยากจะอนุรัก ษ์หิ่ ง ห้อ ย แต่ก็ ไม่มี อํา นาจที่ จ ะทํา อะไร เพราะจะมี เ รื อ จากที่ อื่ นวิ่ ง เข้า มา ตลอดเวลา ดังนัน้ มันต้องทํางานประสานกัน ข้างบนก็ตอ้ งแข็ง ในขณะที่ตอ้ งฟั งเสียงจากฐานราก เพื่อให้มนั ยัง่ ยืน ที่ประเทศไทยเผชิญในเรื่องการท่องเที่ยว ก็ไม่ต่างมากนั กกับหลายประเทศที่ประสบปั ญหา จึงมีคาํ กล่าวที่ว่า การท่องเที่ยวยุคใหม่มนั ต้องยัง่ ยืน ความยัง่ ยืนมีสามองค์ประกอบ องค์ประกอบ แรกคือ สิ่งแวดล้อม ต้องรักษาให้ได้ องค์ประกอบที่สอง วัฒนธรรมท้องถิ่น อย่างน้อยต้องฟั งเสียง

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 8


ว่า เขาอยากอนุรัก ษ์ขนาดไหน องค์ป ระกอบสุด ท้า ย คือ การพัฒนาจากฐานราก คือ เศรษฐกิจ ท้องถิ่นต้องดีขนึ้ เพราะไม่เช่นนัน้ ปั ญหาความเหลื่อมลํา้ จะมากขึ้นเรื่อยๆ เราก็อยู่ในกระแสเดียวกัน กับที่หลายๆประเทศกําลังเผชิญ จากความเห็นของคุณคํา ผกา ระบุว่าประเทศไทย ไม่ ค วรตั้ง ใจจะขายอะไร ททท.มี ห น้า ที่ ที่ จ ะอํา นวยความ สะดวกให้นกั ท่องเที่ยว ให้ขอ้ มูลเท่าที่เรามี แต่ไม่จาํ เป็ นต้อง กระตุน้ หรือ สร้างอะไรโดยฉับพลันทันด่วน นักท่องเที่ยว อยากมาก็ให้มา แล้วให้เขาเห็นในสิ่งที่เราเป็ นอยู่ เราอาจจะ พิก าร เราอาจจะป่ วย เราอาจจะไม่มีเ สรี ภาพในการเขียน การคิด ก็ให้นกั ท่องเที่ยวเห็นอย่างที่มนั เป็ น แล้วถ้าไม่แฮปปี้ ก็กลับไป แล้วอาจจะไม่กลับมาอีก หรือเขาอาจจะคิดว่ามัน amazing มันก็น่า ดู ประเทศที่ ผ่านสมรภูมิรบกลางเมือ ง เกิดขึน้ ก็อาจจะมีนกั วิจัย นักรัฐศาสตร์ ที่จะต้องเดินทางมา เมืองไทย อาจจะนับว่าเป็ นการท่องเที่ยวอีกแบบหนึง่ คุณ สฤณี เห็ นว่ า ที่ ผ่า นมา เราไม่สามารถแยกการเมือ งออกจากการพัฒนาประเทศได้ โดยเฉพาะการท่องเที่ ยว มัน อิง อยู่กับชี วิตของคนจํา นวนมาก ไม่ว่า จะสร้า งโรงแรมห้า ดาว หรื อ สนามกอล์ฟ มันก็จะต้องกระทบ ทุกคนเห็นว่า การท่องเที่ยวต้องยัง่ ยืนกว่านี้ ต้องจัดการสินทรัพย์ที่ เรามี รักษาเอกลักษณ์ ต้องมีส่วนร่วม วิธีการมีส่วนร่วม จะทําอย่างไร เช่น ที่ชมุ ชนบ้านลมทวน ที แรกเขาไม่ ตั้ง ใจจะทํา การท่ อ งเที่ ย ว แต่ว่ า ทนไม่ไ หวแล้ว กับ เสี ย งเรื อ หางยาวจึ ง พยายามจะใช้ สถานการณ์นี้เป็ นโอกาส ถ้าเขาตัดสินใจจะทําเรือพาย เรามี กลไกอะไรที่จะรับประกันว่า ให้เขาทําได้ ถ้าตอบตรงนีไ้ ด้ ก็จะตอบโจทย์ประชาธิปไตย การเมือง เศรษฐกิจ ตอนนี้เ ราก็ พ ูด เรื่ อ งความเหลื่ อ มลํ้า กัน มาก นัก วิ ช าการพูด กั น มาหลายปี แล้ว ว่ า การ ท่องเที่ยวเป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญมากๆ ของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยเฉพาะในประเทศที่มีการ ท่องเที่ยวเป็ นจุดขาย เพราะความที่มนั อิงอยู่กบั หลายภาคส่วนและคนจํานวนมาก ถ้าเราพยายาม บริหารจัดการ มันก็อาจจะเป็ นคําตอบ คุณคํา ผกา สรุปว่า ไม่ตอ้ งสนใจ ว่าการท่องเที่ยวของไทยจะ มาก หรือ น้อยแต่สนใจ ว่าตัวเองเป็นอะไร แล้วยอมรับในสิ่งที่ตวั เองเป็น อย่าไปคิดถึงนักท่องเที่ยวมาก ให้คิดถึงคนที่ อยู่ในประเทศ หรือ คนที่อยู่ในท้องถิ่นให้มากกว่า ถ้าบ้านเราสวย บ้านเราสะอาด บ้านเราน่าอยู่ ใครก็ อยากมาเที่ยว อยากใช้เวลานานๆในบ้านของเรา Less for More เป็ นเพียงแค่คาํ ขวัญ คําคม ที่พดู กัน ไปแล้วเท่ห์ สําหรับคนเห่อญี่ปุ่น เห่อ minimal แต่มนั ไม่ได้เป็ นตัวตนของเราจริงๆ ก็ไม่มีความหมาย แล้วปรัชญา หรือ สุนทรียศาสตร์ของคนไทย ไม่ได้อยู่กับสิ่งที่นอ้ ย มันอยู่กับสิ่งที่ มาก อยู่กับสีสัน วัฒนธรรมการท่องเที่ยวคือวัฒนธรรมของการใช้เวลาว่างของคนสมัยใหม่ ถ้าสังคมเรายังไม่กา้ ว

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 9


ไปสูค่ วามเป็ นสมัยใหม่ ทัง้ เรื่องวัตถุ วิธีคิด ทางปรัชญาในการใช้ชีวิต เรื่องการท่องเที่ยว จะเป็ นเรื่อง ที่เราไประบายสีร่มบ่อสร้าง ซึ่งคนที่โน่นไม่ใช้แล้ว เพื่อที่จะขายชาวต่างชาติ ส่วนคุณสฤณี ได้มองต่างมุมพูดถึง less for more ในเชิงความรูส้ ึก เปรียบเทียบเชิง วัฒนธรรมกับ minimal ซึ่ง minimalist ก็มี fake เช่นกัน คือ อะไรที่ดเู รียบง่าย สัน้ ๆ น้อยๆ ไม่ใช่ หมายความว่าถูก จริงๆแล้ว ตอนนี้มนั มีกระแส minimalist ที่ใช้เงินเยอะมาก ในการสร้างให้มนั เป็ น อย่างนัน้ แต่เห็นด้วยในเรื่องที่ตอ้ งรักตัวเอง และดูแลตัวเองให้ดี เมื่อด ูแลตัวเองให้ดี ก็จะรเ้ ู องว่า ในแง่จานวนนักท่องเที่ยว มันควรจะ less หรือควรจะ more ในบางพื้นที่มนั ต้อง less แล้ว เพราะมันถึงจุดที่เราไม่สามารถจะเยียวยาได้แล้ว บางพื้นที่ที่ยังมีศักยภาพสูงมาก ก็ more ได้ ไม่ใช่ เรื่องของ more หรือ less แต่เป็ นการดูแต่ละพื้นที่ แทนที่จะไปตัง้ เป้าว่าปีนี้ จะมีนกั ท่องเที่ยว เพิ่มขึ้นกี่เปอร์เซ็ นต์ควรไปดกู ารกระจายตัวของนักท่องเที่ยว ว่าเหมาะสมกับศักยภาพของ ท้องถิ่นเพียงใดจะดีกว่ า ที่ไหนที่ควรจะลด ที่ไหนควรจะเพิ่ม ข้อมูลในการตัดสินใจควรจะมาจากคน ท้องถิ่น.

****************************************************

e-TAT Tourism Journal – การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หน้าที่ 10


Mass Mingling: เมื่อชาวออนไลนพรอมใจกันปารตี้ ณัฏฐิรา อําพลพรรณ1

เรามักมีความเชื่อเดิมๆ วา สังคมออนไลน ทําใหมนุษยตองแยกตัวอยูอยางโดดเดี่ยว แตในโลก แห ง ความเป น จริ ง แล ว เทคโนโลยี ก ลั บ เป น ตั ว ผลักดันใหผูคนมีการติดตอและพบปะกัน ทั้งนี้ กูรู แหงโลกดิจิตอลไดทํานายไวเมื่อกวา 10 ปที่ผานมา ว า Social Media และการสื่ อสารด วย โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ จ ะช ว ยทํ า ให เ กิ ด กระแส Mass Mingling Mass Mingling คือ การออกมารวมตัวกันของกลุมคนจํานวนมากเพื่อคนหาและทํากิจกรรมที่ เกี่ยวของกับความสนใจบางอยาง และทําใหเกิดพลังเพื่อผลักดันบางอยางใหเกิดขึ้นในสังคม People love to connect: กระแส Mass Mingling เกิดขึ้นตามรูปแบบความตองการ พื้ น ฐานของมนุ ษ ย ใ นอั น ที่ จ ะติ ด ต อ กั บ บุ ค คลอื่ น ๆ รอบตั ว เพื่ อ แบงปนความสุข และความรูสึกอื่นๆ จึงไมเปนที่นาแปลกใจวาผูคน หลายรอยลานคนกําลังขอ add เพื่อนบน facebook เพื่อแบงขอมูลใน หนา Profile ที่แสดงความเปนตัวตนของตัวเองผานการ like, dislike ขอมูลความสนใจ (Interests) ความชื่นชอบ (Preference) และโพสต ความคิดเห็นตางๆ ทั้งนี้ Facebook หรือ Social Network อื่นๆ เปน เครื่องมือสําคัญที่ทําใหสามารถติดตอเพื่อนที่มีความสนใจใกลเคียง กันไดอยางใกลชิด

1

พนักงานวางแผน 5 งานวิชาการ กองวิจัยการตลาด

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 1


ทั้งนี้ เพื่อน สมาชิกในครอบครัว ผูที่มีความสนใจในงานอดิเรกประเภทเดียวกัน หรือมีรสนิยม ทางการเมืองเหมือนกัน ตลอดจนมีความคับของใจในเรื่องเดียวกัน สามารถเปนเพื่อน (befriending) กัน ไดโดยไมจํากัดจํานวน ซึ่งตางจากเครือขายชุมชนจริงในอดีตที่มีขอจํากัดดวยพื้นที่ทางภูมิศาสตรและ การติดตอสื่อสาร เมื่อพิจารณาถึงจํานวนของผูใชบริการ Social Network จะพบวาเว็บไซตชื่อดังเชน Twitter (www.twitter.com) มีผูลงทะเบียนใชงานกวา 100 ลานคน และมีการ tweets ขอความกวา 50 ลานครั้ง ในแตละวัน ในขณะที่ Facebook (www.facebook.com) มีผูลงทะเบียนใชงาน เกือบ 500 ลานคน โดยผูใชงาน Facebook 1 คนจะมีเพื่อน (Friends) เฉลี่ยประมาณ 130 คน และใชเวลาประมาณ 55 นาทีตอวันสําหรับ การ Facebooking รวมทั้งจะตอบรับเขารวมกิจกรรมหรือ Event ผาน Facebook ประมาณ 3 ครั้งตอเดือน ในเดื อ นธั น วาคม 2009 มี ร ายงานจากผู บ ริ ห ารเว็ บ ไซต Facebook วามีกิจกรรมหรือ Event ที่ใชชองทางการสื่อสารผาน Facebook ถึง 3.5 ลานกิจกรรมในแตละเดือน มีรายงานขาวจาก The New York Times วา Facebook อยูระหวางเตรียมการแนะนําบริการใหม ซึ่งจะทําใหผูใชสามารถแสดง Location ในขณะที่ทําการ update สถานะ (Status) ของตนเองไดอีกดวย LinkedIn (www.ilnkedin.com) มีสมาชิกกวา 65 ลานคน และมี สมาชิ กใหมสมั ครเขามารวมใช บริการในเครือขายทุกๆ 1 วินาที สําหรับเจาตลาด Mass Mingle อยาง Meetup (www.meetup.com) มี สมาชิกกวา 6.1 ลานคน และใหบริการในกิจกรรม กวา 180,000 ครั้งที่มีผูเขารวมกวา 2.2 ลานคน ใ น แ ต ล ะ เ ดื อ น ส ว น Foursquare (www.foursquare.com) มีผูใชกวา 1 ลานคน จากสถิติพบวาประชากรออนไลนสวนใหญ เปนวัยรุนถึงรอยละ 73 นอกจากนี้ ยังพบวาวัยรุนตอนปลาย (Young Adult) รอยละ 72 ใชงานเว็บไซต ประเภท Social Network

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 2


ประชากรออนไลนที่อยูในวัยผูใหญรอยละ 73 ใช Facebook ในขณะที่รอยละ 48 มีหนา Profile อยูบน MySpace และรอยละ 14 ใชงาน Linkedin การที่ผูบริโภคหลายรอยลานคนมีหนา Profile เปนของตนเองบนเว็บไซตประเภท Social Network และมีการอัพเดทหนา Profile ตลอดเวลาผานการอัพเดท status การ tweets หรือการเขียน blogs สิ่งเหลานี้ ถือไดวาเปนเอ็นไซโคลพิเดียเลมใหญของสังคม และเปนการเชื่อมโยงคนรุนใหมไวดวยกันดวยเครือขาย ที่มองไมเห็น People love the ‘real world’: แมวา Social Network จะเติบโต อยางไมหยุดยั้ง ผูคนยังคงนิยมที่จะพบปะ สังสรรคหรือเขารวมกิจกรรมจริงๆ ไมวา จะเปนกิจกรรมดานวัฒนธรรม งานแสดง ดนตรี งานประเพณี และการสัมมนา แมกระทั่งการเขาไปนั่งในบาร การออกไป ทานอาหารค่ํา หรือการสังสรรคกับเพื่อนๆ ในงานปารตี้ เปนเครื่องชวยยืนยันวาผูคน ตองการมีปฏิสัมพันธกับคนอื่นๆ ในสังคม ในขณะที่ เทคโนโลยีของโทรศัพทเคลื่อนที่ที่พัฒนาขึ้นมากใน ปจจุบันชวยทําใหผูบริโภคสามารถออนไลนผานโทรศัพทเคลื่อนที่ไดตลอดเวลา การเดินทางในปจจุบันสามารถทําไดงายและ สะดวกสบายมากขึ้น รวมทั้งการที่สิ่งอํานวยความ สะดวกทางการเดิ นทางมี ราคาถู กลง เช น การ เติบโตของสายการบินตนทุนต่ํา การเปดใหบริการ ของโรงแรมในบริ เวณท าอากาศยานแบบ Yotel หรื อ CitizenM ทํ า ให ผู บ ริ โ ภคสามารถออกแบบ กิจกรรมเพื่อการพบปะสังสรรคไดงายดายยิ่งขึ้น ในทั่วทุกมุมโลก An info-layer on top of daily life: ในปจจุ บันผูบริโภคสามารถเพิ่มชั้น ของข อมูล (Information Layer) ใน ชีวิตประจําวันผานบริการของ Mobile Web

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 3


และ Location-based App. ซึ่งเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงแนวโนมของโลกออนไลนในปจจุบัน ที่มีการ ออนไลนตลอด 24 ชั่วโมง ในทุก 7 วันของสัปดาห และแทบทําใหไมมีชองวางระหวางโลกออนไลนและ ออฟไลน ขอมูลที่ถูกเพิ่มขึ้นนี้ไดชวยอํานวยความสะดวกในการติดตามคนหา เชื่อมตอ และทําใหการ พบปะระหวางผูคนทั้งที่รูจักและไมรูจักกันเปนไปดวยความสะดวกสบาย ตัวอยางของ Location-based Services: Foursquare (www.foursquare.com) บริการ Location-based ใน Social Network ที่ ผูบริโภคสามารถ check-in ได ที่ สถานที่ (Location) ของผูบริโภคในขณะนั้น และสามารถ แสดงสถานที่ ดั ง กล า วให เ พื่ อ นใน Social Network ทราบ โดยมี คะแนนและ Badges สําหรับการ check-in ทุกครั้งเปนรางวัลแก ผูใชบริการเพื่อสรางแรงจูงใจ ดานเว็บไซตที่มีถิ่นฐานในนิวยอรคอยาง Meetup หรือ www.meetup.com มีจุดเดนในการเปน สื่อกลาง (Platform) สําหรับการจัดงานขององคกร บริษัท หรือกลุมคน สําหรับการจัด Event หรือ กิจกรรมทั่วโลก ทั้งนี้ผูใชบริการสามารถสงขอมูลของงาน เชน แผนที่ ประกาศ และขอมูลลาสุดของ กิจกรรมแกผูที่จะเขารวมกิจกรรมคนอื่นๆ ผาน Facebook และ Twitter ในขณะเดียวกัน โทรศัพทเคลื่อนที่ เจาดัง เชน ไอโฟน พบวามีการใหบริการ application ใหมซึ่งมีชื่อวา Where the Flock ที่ใหขอมูลแกผูบริโภคเกี่ยวกับระยะทางใน ปจจุบันกับคนที่ตัวเองจะตองไปพบ โดย ผู บ ริ โ ภคสามารถบั น ทึ ก Location ของ ตนเอง Location ของลานจอดรถ รวมทั้ง ความเร็วที่ใชในการเดินทาง

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 4


ตัวอยางของกิจกรรมแบบ Mass Mingling:

บริษัท Microsoft จัดปารตี้ปริศนา (Secret Party) ในเมืองแอตแลนตาเพื่อสงเสริมการขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท โดยคําใบเกี่ยวกับสถานที่จัดงานไดถูกโพสตผาน Social Media เชน Facebook และ Twitter ในเวลาเพียงไมกี่ชั่วโมงกอนงานเริ่ม จากนั้นขาวเกี่ยวกับการจัดงานเปดตัว โทรศัพทเคลื่อนที่ดังกลาวถูกสงตอกันอยางรวดเร็ว และผูคนกวา 1,000 คนก็ไดปรากฏตัวขึ้นใน สถานที่จัดงานและเขารวมงานดังกลาว แนวโนมในอนาคต Mass Mingling มีแนวโนมที่จะเปนที่นิยมเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล เห็นไดชัดเจนจากกระแสการ รวมตัวของคนแปลกหนา ม็อบ และฝูงชนที่มีความสนใจเรื่องเดียวกันเพื่อทํากิจกรรมรวมกัน ทั้งนี้ คน รุนใหมมีแนวโนมที่จะพบปะพูดคุยกับคนที่มีความคิด และรสนิยมอยางเดียวกันผานโลกออนไลนมากขึ้น นอกจากนี้เทคโนโลยีของโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน iPhones, Android, iPads ทั้งรุน 3G, 3.5G และ 4G ตลอดจน อินเตอรเน็ตไรสาย จะชวยทําให Mass Mingling อยูในกระแส และทําไดงาย สะดวกสบาย มากขึ้น.

***************************************************

e-TAT Tourism Journal – การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ประจําไตรมาสที่ 3/2553

หนาที่ 5



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.