ทิศทางการตลาดท่องเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2555 โดย นาย นายอภิ อภิชาติ อินทร์พงษ์ พงษ์พพัันธุ์ ผู้อํานวยการภูมภิ าคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประเด็นนําเสนอ
กรอบแนวคิดกําหนดยุทธศาสตร์ ปี 2555 การวิเคระห์สภาพแวดล้อมของพื้นที่ แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2555 กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2555 แนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2555 วิวัฒนาการแนวคิดกลยุทธ์การตลาด
2
กรอบแนวคิดกําหนดยุทธศาสตร์ ปี 2555 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมตลาด สถานการณ์ตลาดและการแข่งขัน พฤติกรรมผู้บริโภค
3
กรอบแผนชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 ฟื้นฟูภาพลักษณ์สร้างความเชื่อมั่น ควบคู่กับการส่งเสริมตลาดอย่างสมดุล
แผนพัฒนาท่องเทีย่ วแห่งชาติ
ฟื้นฟูภาพลักษณ์ยกระดับความเชื่อมั่น กระตุน้ การเดินทางและสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว
4
กรอบนโยบาย นโยบายรัฐบาล นโยบายคณะกรรมการ ททท. นโยบายผูว้ ่าการ ททท.
5
กรอบแผนวิสาหกิจ ททท. ททท. เป็นองค์กรที่มคี วามเป็นเลิศด้านการตลาดการท่องเที่ยว และมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
6
ยุทธศาสตร์การดําเนินงาน
ส่งเสริมการท่องเทีย่ วอย่างมีสมดุลในมิติต่างๆ เพิ่มการเติมโตของรายได้จากการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน สร้าง Brand ประเทศไทยให้แข็งแกร่งและชัดเจน พัฒนาการท่องเที่ยวตามแนวทางเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเครือข่ายและประสานความร่วมมือ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร
7
กลยุทธ์และแผนงานด้านตลาดในประเทศ ปี 2555 สร้างกระแสให้การท่องเทีย่ วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
รณรงค์สร้างกระแส “ท่องเทีย่ วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต” จัดกิจกรรมตามกระแสท่องเที่ยว ส่งเสริมสินค้าในกระแสความต้องการ
สร้างการรับรู้ความเอกลักษณ์ของพื้นที่
สร้างความแตกต่างของภาพลักษณ์พื้นที่ สร้างการจดจําภาพลักษณ์ ส่งเสริมสินค้าที่สนับสนุนเอกลักษณ์ของพื้นที่ 8
กลยุทธ์และแผนงานด้านตลาดในประเทศ ปี 2555 ส่งเสริมการเดินทางเชื่อมโยง ส่งเสริมการเดินทางระหว่างภูมิภาค ส่งเสริมการเดินทางเชื่อมโยงสูพ ่ ื้นที่รอง รณรงค์ให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างรู้ค่า รักษาแหล่งท่องเที่ยว ปลูกจิตสํานึกในการดูแลรักษาแหล่งท่องเทีย ่ว
ส่งเสริมการท่องเทีย่ วในมิติของการเรียนรู้
ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเทีย่ วเพื่อการเรียนรู้
9
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
10
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง STRENGTH S1. มีแหล่งท่องเที่ยวทีโ่ ดดเด่นด้านศาสนา (บูรพาจารย์) วัฒนธรรม เทศกาล งานประเพณีท้องถิน่ ที่เกีย่ วเนื่องกับวิถีชีวิต รวมทั้งแหล่ง โบราณคดี และธรณีวิทยา เหมาะสมกับการเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเพื่อ การเรียนรู้ S2. ราคาสินค้าและราคาบริการท่องเที่ยว ไม่สูง เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น S3. มีแหล่งท่องเที่ยวหลักที่อยู่ในกระแสความสนใจของนักท่องเทีย่ ว (สามพันโบก มอหินขาว เชียงคาน ปากช่อง วังน้ําเขียว)
11
จุดอ่อน WEAKNESS W1. ภาพลักษณ์แหล่งท่องเทีย่ วเพื่อการเรียนรู้ยงั ไม่เป็นที่จดจํา W2. แหล่งท่องเที่ยวค่อนข้างกระจายและต้องใช้เวลาในการเดินทาง W3. ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเทีย่ วในพื้นทีย่ ังทําการตลาดในเชิงตั้งรับ
12
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส OPPORTUNITY O1. มีการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมทางบกเชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้านให้มี ความสะดวกมากยิ่งขึ้น O2. มีศักยภาพในการเชือ่ มโยงการท่องเที่ยวข้ามภูมภิ าคสูงขึ้นจากการเพิ่ม เที่ยวบินจากภาคใต้และภาคเหนือ O3. กลุ่มผูส้ นใจท่องเที่ยวเชิงศาสนามีจํานวนมากขึ้น O4. มีโอกาสในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นสูงขึ้น O5. สือ่ ออนไลน์ และ Social Network มีส่วนสําคัญในการเพิ่มช่องทาง ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้และเสนอขายแหล่งท่องเที่ยวของภูมิภาค มี โอกาสในการนําเสนอข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ของภูมภิ าคผ่านสือ่ การท่องเที่ยวได้มากขึ้น O6. บริษัทเอกชนนิยมเข้ามาจัดกิจกรรมสานสัมพันธ์กับลูกค้าในพื้นที่มากขึ้น O7. มีภาพลักษณ์เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่คุ้มค่า 13
อุปสรรค THREAT T1. นักท่องเที่ยวมีทัศนคติต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือว่าขาดสิ่ง อํานวยความสะดวกอากาศร้อน แห้งแล้ง T2. ขาดการบูรณาการขององค์กรต่างๆในการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวหลัก T3. ภาพลักษณ์จากสถานการณ์ทางการเมือง
14
แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2555 สร้างกระแสให้การท่องเทีย่ วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต สร้างการรับรู้ความเป็นเอกลักษณ์ ส่งเสริมการเดินทางภายในภูมิภาคและข้ามภูมิภาค การท่องเทีย่ วอย่างรู้ค่า รักษาแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริมการท่องเทีย่ วในมิติของการเรียนรู้
15
สร้างกระแสให้การท่องเทีย่ วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต คุณค่าของการท่องเที่ยวตามกระแส ครอบครัวสุขสันต์ เที่ยวไทย หัวใจสีเขียว เรียนรู้ประเทศไทย
16
ส่งเสริมการรับรู้ความเป็นเอกลักษณ์ อีสาน แหล่งเรียนรู้ อูอ่ ารยธรรม แหล่งเรียนรู้ วิถีชีวิตคนเลี้ยงช้าง เล่าเรื่องไดโนเสาร์ อู่อารยธรรม อารยธรรมบ้านเชียง อารยธรรมขอม
17
ส่งเสริมการเดินทางภายในภูมิภาคและข้ามภูมิภาค เพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการ ร่วมกับพันธมิตรจัดนําเที่ยวเชื่อมโยงภูมภิ าค
การท่องเที่ยวอย่างรู้ค่า รักษาแหล่งท่องเที่ยว การปลูกจิตสํานึกการอนุรักษ์ ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมการท่องเที่ยวในมิติของการเรียนรู้ สร้างสรรค์การท่องเทีย่ วเพื่อการเรียนรู้ 18
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2555
19
สร้างกระแสให้การท่องเทีย่ วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต โครงการครอบครัวผูกพัน ชวนกันเที่ยวอีสาน โครงการ “สะพายกล้อง...ท่องเที่ยว” โครงการจักรยานรวมใจ ท่องเที่ยวยั่งยืน โครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในวโรกาส ๘๔ พรรษา และสมเด็จพระนางเจ้าฯ ในวโรกาส ๘๐ พรรษา โครงการ “ท่องแดนหัตถศิลป์ ถิ่นช้างใหญ่” 20
สร้างการรับรูค้ วามเป็นเอกลักษณ์ของภาคอีสาน ๔ Themes เพื่อโฆษณา และประชาสัมพันธ์
ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๔ “อีสาน อัศจรรย์” มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๕ “สัมผัสวัฒนธรรมโขง ชี มูล” เมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕ “ปิดเทอมพาลูกไปเรียนรู้ อารยธรรมอีสาน” กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๕๕ “หลังฝน ยลธรรมะ และ ธรรมชาติที่อีสาน” การใช้สื่อ Online / social network 21
ส่งเสริมการเดินทางภายในภูมิภาคและข้ามภูมิภาค Amazing I – San Road Show ท่องเที่ยวข้ามภูมิภาค “เปิดประตูสู่อีสานใต้” ท่องเที่ยวทางรถไฟ วันธรรมดาน่าเที่ยว : มุมมองใหม่โคราช สะพายกล้อง ย่ําปล่องภูเขาไฟ
จักรยาน Cross Country เส้นทาง EWEC
22
การท่องเที่ยวอย่างรู้ค่า รักษาแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริมการเป็นเจ้าบ้านที่ดี คนวัยใส ใส่ใจบ้านเกิด คาราวานสิงหา พาแม่ปลูกรัก รักษ์สิ่งแวดล้อม ท่องเที่ยววัยใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม (พาน้องท่องภู)
23
ส่งเสริมการท่องเที่ยวในมิติของการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ อู่อารยธรรมพิมายพันปี เยี่ยมเยือนชุมชน...คนทําเทียน ท่องเที่ยวเรียนรู้ สู่เส้นทางปราสาทหิน ท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิดชูโครงการพระราชดําริ
24
แนวโน้มสภาพการท่องเที่ยว ปี 2554 (ต่างประเทศ) งประเทศ) นักท่องเที่ยว สร้างรายได้
18 – 18.3 700,000
ล้านคน ล้านบาท
แนวโน้มสภาพการท่องเที่ยว ปี 2555 (ต่างประเทศ) งประเทศ) นักท่องเที่ยว สร้างรายได้
19.5 760,000
ล้านคน ล้านบาท
25
การเดินทาง นักท่องเที่ยวภายในประเทศ ปี 2553 กรุงเทพมหานคร 25,898,731 ภาคเหนือ 9,839,825 ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) 11,693,771 ภาคตะวันตก 12,337,594 ภาคตะวันออก 14,399,936 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 17,274,243 ภาคใต้ 9,886,827 รวม 101,330,927 หมายเหตุ คนครั้ง 26
การเดินทาง ท่องเที่ยวภายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25522552-2555 พ.ศ.
นักท่องเที่ยว (จํานวนครั้ง)
รายได้ (ล้านบาท)
2552 2553 2554 2555
15,814,930 17,274,248 19,000,000 21,000,000
34,518.41 37,044.11 38,000.39,000.-
27
จากนิยามของ Stephen Covey มนุษย์ (Human) ประกอบ 4 ส่วน
Physical Body ร่างกาย Mind ความคิด Heart จิตใจ Spirit จิตวิญญาณ
28
วิวัฒนาการแนวคิดกลยุทธ์การตลาด Marketing 1.0 : Product – Centric Era เน้นสถานที่ แหล่งท่องเที่ยว/รูปแบบการท่องเทีย่ ว Marketing 2.0 : Customer – Centric Era วิจัยและค้นหา ความต้องการของลูกค้า Marketing 3.0 : Human – Centric Era มุ่งเน้นการส่งมอบ คุณค่าให้ลูกค้า
29
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
Product : การท่องเที่ยว การใช้เวลา การใช้จ่าย Product / Concept ในการประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วสมัยใหม่ Mind 1. การท่องเที่ยว ในประสบการณ์ที่แปลกใหม่ 2. ผ่อนคลาย สนุกสนาน กับเพื่อนรู้ใจ Heart 3. สร้างโอกาสในการแบ่งปัน ให้โดยไม่ต้องคาดหวังว่าจะ ได้รับผูกพัน หวนระลึกกลับไปในประสบการณ์ในวัยเยาว์ Spirit 30
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
กลุ่มเป้าหมาย : ชาวยุโรป Mind : ไหว้พระ ชมการแสดงทางวัฒนธรรม Heart : ตํานาน / ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ Spirit : Ritual Spirit เรียนรู้พิธีการทางศาสนา สร้างอัตลักษณ์ของพิธีการทางศาสนา เช่น เทียน/ธูป เรียนรู้วิธีการทํา ธูป/เทียน
31
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมดนตรีไทย ภายใต้โครงการ “Sing Aloud / Around E - Sarn” Sarn”
กลุ่มเป้าหมาย : ชาวยุโรป/อเมริกา Mind : ชมการแสดงดนตรีของชาวอีสาน Heart : ศึกษาวิถีชีวิตของครูเพลง Spirit : Class เรียนร้องเพลง / บันทึกเสียงร้องจากเพลงที่ใช้ เครื่องดนตรีอีสาน
32
อีสาน แหล่งเรียนรู้ อู่อารยธรรม อารยธรรม ...ขอขอบคุ ... ขอขอบคุณ... 33