การอภิวัฒน ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดย สุพจน ดานตระกูล เรื่องที่ผมจะพูด เปนเรื่องทางวิชาการ คือเรื่อง ความขัดแยงในสังคม อันนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลง ทั้งหลายทั้งปวง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ดวย ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ จะตองพูดถึงเรื่องความขัดแยง ซึ่งก็เปนเรื่องเดียวกับ การเปลี่ยนแปลงเมื่อ 24 มิถุนายน นั่นเอง ในทุกสังคม นับแตสังคมยุคทาส ยุคศักดินา และยุคทุนนิยม ในปจจุบัน มีความขัดแยงดํารงอยู 2 คูความขัดแยง โดยหลักการคูขัดแยงแรก คือความขัดแยงระหวาง ผูปกครองกับผูถูกปกครอง เพราะผูปกครองเปน ตัวแทนของ ชนชั้นผูกดขี่ขูดรีด ความขัดแยงดังกลาวนี้เปนความขัดแยงที่เปนปฏิปกษ ที่ไมอาจจะ ประนีประนอมกันได ทานเมธีทางวิทยาศาสตรสังคม จึงกลาวไวอยางถูกตองวา ประวัติศาสตรอันยาวนาน ของมนุษยชาติที่ผานมา นับแตยุคทาส เปนประวัติศาสตรการตอสูทางชนชั้น ความขัดแยงของคูขัดแยงนี้ บางครั้งก็ปรากฏออกมาถึงเลือดถึงเนื้อและถึงชีวิต และถึงแมจะไมปรากฏออกมาถึงเลือดถึงเนื้อและถึงชีวิต ก็ตาม แตความขัดแยงนั้น ก็ยังดํารงอยู และจะดํารงอยูตลอดไป ตราบเทาที่มีการดํารงอยูของชนชั้น ความ ขัดแยงคูนี้ คือความขัดแยง ระหวางผูปกครองกับผูถูกปกครอง วิทยาศาสตรสังคม เรียกวาความขัดแยงหลัก สวนความขัดแยงอีกคูหนึ่ง คือความขัดแยงระหวางผูปกครองกับผูปกครอง เปนความขัดแยงกับผล ประโยชนสวนตัวระหวาง กลุมปกครองดวยกันวิทยาศาสตรสังคมเรียกความขัดแยงคูนี้วา ความขัดแยงรอง จากความขัดแยงใน 2 คูขัดแยงนี้เอง ที่นํามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การปกครองและหรือ นํามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ดังที่เปนมาในวิถีวัฒนธรรมของสังคม แตการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองการ ปกครองในสมัยอยุธยารวมถึง สมัยธนบุรีและ กรุงเทพฯ (หลัง 24 มิถุนายน 2475) เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิด จากความขัดแยงรอง คือความขัดแยงระหวางผูปกครองกับผูปกครองดวยกัน
อันเนื่องมาจากความขัดแยงในผลประโยชนสวนตัว เมื่อผูปกครองหนาใหม ไดสถาปนาอํานาจ ปกครองของตนขึ้นแลว ก็ปลอยใหความขัดแยงหลัก คือ ความขัดแยงระหวาง ผูปกครองกับผูถูกปกครองคง ดํารง อยูตอไป จนถึงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ความขัดแยงหลัก คือความขัดแยงระหวางผูปกครองกับ ผูถูก ปกครอง ไดระเบิดขึ้น โดยบุคคลคณะหนึ่งที่เรียกวาคณะราษฎร ซึ่งประกอบดวยทหาร ขาราชการและ พลเรือน ที่มีความคิดกาวหนาและมีจิตสํานึก อยูฝายราษฎร เปนตัวแทนหรือกองหนาของราษฎร ไดเขายึด อํานาจ การปกครองจากรัฐบาลพระปกเกลาเจาอยูหัว ที่ปกครองตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน อํานาจ ปกครองของราษฎร ตามระบอบประชาธิปไตย ภายใตรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ที่มีคณะราษฎรเปนผูถือ อํานาจ แทนใน ระยะหัวเลี้ยวหัวตอ บุคคลสวนใหญ ในคณะราษฎรที่ทําการยึดอํานาจการปกครอง ในครั้งนั้น เปนสวนหนึ่ง ของชนชั้น ปกครองในเวลานั้น แตดวยจิตสํานึกและมโนธรรม พวกเขาจึงไมอาจทนเห็นความทุกขยาก ของ ราษฎร ภายใต ระบอบการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย ความทุกขยากของราษฎร อันเนื่องมาจากความ ขาดแคลนในสิ่งจําเปนในการดํารงชีพและความอยุติธรรม ในสังคมนานาประการที่เปนผลมาจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยที่ราษฎรไดประสบอยูทุกเมื่อเชื่อวัน และ ความเรียกรองตองการของราษฎร ที่ขอให เปลี่ยนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน ระบอบประชาธิปไตย ความเรียกรองตองการของราษฎรดังกลาวนี้ นอกจากจะไดแสดงออกทางบทนําหนังสือพิมพในเวลา นั้น ทั้งหนังสือพิมพรายวันและรายสัปดาห ซึ่งมีอยูมากมายหลายสิบฉบับ โดยเฉพาะหนังสือพิมพหลักเมือง แลวยังมีการแสดงออกของราษฎรโดยตรง โดยการทูลเกลาถวายฎีกาตอ พระเจาแผนดิน ก็มีอยูเปนจํานวน มาก ดังปรากฏหลักฐานอยูที่ หอจดหมายเหตุแหงชาติ ในขณะนี้ อยางเชน หนังสือทูลเกลาฯ ถวายฎีกาของ นายทองเจือ จารุสาธร ลงวันที่ 14 มีนาคม 2474 ภาษีอากร ที่เอามาจากราษฎรนั้น กษัตริยไดหักไวสวนตัวปละหลายลานบาท สวนราษฎร กวาจะหา มาไดแมแตเล็กนอยเลือดตา แทบกระเด็น ถึงคราวเสียเงินราชการหรือภาษีใด ๆ ถาไมมีเงินราชการก็จะยึด ทรัพยหรือใชงานโยธา รัฐบาลของกษัตริยไดปกครองอยางหลอกลวง ไมซื่อตรงตอราษฎร เปนตนวา หลอก วาจะบํารุง การทํา มาหากินอยางโนนอยางนี้ แตครั้นคอย ๆ ก็เหลวไป หาไดทําจริงจังไม มิหนําซ้ํากลับกลาว
คําหมิ่นประมาท ราษฎรผูมีพระคุณเสียภาษีใหพวกเจาไดกิน วาราษฎรยังมีเสียงทางการเมืองไมได เพราะ ราษฎรโง คําพูดของ รัฐบาลเชนนี้ใชไมได ถาราษฎรโง เจาก็โง เพราะเปนคนชาติเดียวกัน ที่ราษฎรรูเทาไม ถึงเจานั้น ไมใชเพราะโง แตเปนเพราะขาดการศึกษา "...ราษฎรทั้งหลายพึงรูเถิดวา ประเทศเปนของราษฎรทั้งหลาย ไมใชเปนของพระมหากษัตริยตามที่ เขา หลอกลวง บรรพบุรุษของราษฎรเปนผูชวยกันกูใหประเทศมีอิสรภาพพนจากมือ ขาศึกวกเจามีแตชุบมือ เปบ และกวาดทรัพยสมบัติเขาไวตั้งหลายรอยลาน เงินเหลานี้เอามาจากไหนก็เอามาจากราษฎรเพราะวิธีทํานา บน หลังคนนั้นเอง บานเมืองกําลังอัตคัตฝดเคืองชาวนาและพอแมทหารตองทิ้งนาเพราะทําไมไดผล รัฐบาล ไม บํารุง รัฐบาลไลคนออกจากงานอยางเกลื่อนกลาด นักเรียนเรียนเสร็จแลว และทหารปลดกองหนุนแลว ก็ ไมมีงานทํา จะตองอดอยากไปตามยถากรรม..." คําประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครอง นอกจากจะเปนการประกาศเจตนารมณ ประชาธิปไตยอยางรอบ ดานแลว ยังเปนการเปดเผยความชั่วรายของระบอบการปกครองของกษัตริยในขณะนั้น ซึ่ง คณะราษฎรไม อาจ ทนเห็นความชั่วรายดังกลาวนั้นดํารงอยูตอไป จึงไดรวมกันทําการยึดอํานาจเปลี่ยนแปลงระบอบการ ปกครอง ทั้ง ๆ ที่ พวกทานเหลานี้จํานวนมาก โดยเฉพาะบรรดาทานผูนําหนุม ๆ ในการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองนั้น ไมวาจะเปนนายพันตรี หลวงพิบูลสงคราม นายนาวาตรี หลวงสินธุสงครามชัย หรืออํามาตยตรี หลวงประดิษฐ มนูธรรม แตดวยเห็นแกความเปนธรรมของสังคม เห็นแกความผาสุกของราษฎรเจาของประเทศ และผูเปนเจา บุญนายคุณที่แทจริง พวกทานเหลานั้นจึงยอมเสี่ยง อยาวาแตประโยชนสวนตัวเลย แมกระทั่งชีวิตของตนเอง ดังนั้นที่พูดกันในเวลาตอมาวา พระปกเกลาฯ เตรียมที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหอยูแลว แตคณะราษฎร ฉวยโอกาสชวงชิงทําการเสียกอน และทําใหระบอบประชาธิปไตยตองลมลุกคลุกคลาน มาจนถึงบัดนี้ จึง เปนความผิดของคณะราษฎร คํากลาวเชนนี้ไมเปนความจริง ขอใหทานผูมีสติบริบูรณไดพิจารณาดูวาใครบางจะเสียสติถึงกับยอมเสี่ยงสละชีวิตทําการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง ในเมื่อรูอยูแลววาพระมหากษัตริยจะพระราชทานใหอยูแลว ก็คงมีแตคนเสียสติ หรือคนบา เพื่อทําลายเกียรติภูมิของคณะราษฎรวาทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อประโยชนแหงตน
ใช พระปกเกลาฯ เคยใหสัมภาษณหนังสือพิมพฝรั่ง ในเรื่องที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ และเคย ปรึกษากับ ดร.ฟรานซีส บี.แชร หรือพระยากัลยาณไมตรี เมื่อป พ.ศ. 2469 มาแลวครั้งหนึ่ง จนถึง พ.ศ. 2474 จึงรับ สั่งใหพระยาศรีวิสารวาจา ปลัดทูลฉลอง กระทรวงการตางประเทศ และนายเรมอนต บี. สตีเวนส ที่ ปรึกษา กระทรวงการตางประเทศ รางรัฐธรรมนูญถวาย และกําหนดกันวาจะพระราชทานในวันจักรี ที่ 6 เมษายน 2475 รางรัฐธรรมนูญของพระยาศรีวิสาวาจา และสตีเวนส ที่วานี้ ที่จริงแลวเปนเพียงเคาครงการ จัดรูปแบบ การปกครองเผด็จการของกษัตริยอีกรูปแบบหนึ่ง ที่จะเขามาแทนเผด็จการสมบูรณาญาสิทธิราช เทานั้น ผม จะไมขอกลาวในรายละเอียดของสิ่งที่คนกลุมหนึ่ง เรียกวารัฐธรรมนูญพระปกเกลาฯ และ ยกยองเชิดชูกัน เหลือเกิน ทั้งที่ไมเคยเห็นหรือไมเคยอาน แตผมจะขอใหยกมาเพียงบางสวนในรูปแบบและที่มาของฝาย บริหาร และฝายนิติบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ปกเกลาฯ มีบัญญัติไวดังนี้ 1. ฝายบริหาร ใหมีการแตงตั้งนายกรัฐมนตรีเปนผูทําหนาที่บริหารราชการแผนดินแทนองคพระมหากษัตริย ใหนายกรัฐมนตรีมีสิทธิเลือกคณะรัฐมนตรี แตพระมหากษัตริยทรงเปนผูเลือก และแตงตั้งนายกรัฐมนตรี โดยพระองคเอง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ไมไดมาจากสภา แตเปนสมาชิกสภา โดยตําแหนงจะทําหนาที่ บริหาร โดยมีกําหนดวาระ แต พระมหากษัตริยอาจทรงแตงตั้งใหม หรือพระมหากษัตริย จะทรงขอใหออก เมื่อ ใดก็ได 2. ฝายนิติบัญญัติ หรือสภาผูแทนราษฎร ใหประกอบดวยสมาชิกอยางนอย 50 คน อยางมาก 75 คน กึ่งหนึ่ง มาจากการแตงตั้งโดยพระราชอัธยาศัยอีกกึ่งหนึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยทางออม ผูมีสิทธิลงสมัคร รับเลือกตั้ง ตองมี สัญชาติไทย มีอายุไมต่ํากวา 30 ปอานออกเขียนไดและเปนผูเสียภาษีในจํานวนที่แนนอน สมาชิกอยูใน วาระคราวละ 4 ป หรือ 5 ป แต พระมหากษัตริยอาจทรงยุบสภาได และมีอํานาจยับยั้งกฎหมาย ที่ผานสภา รวมทั้งพระราชอํานาจ ที่จะทรงทําสัญญาหรือขอตกลงกับตางประเทศได โดยไมตองผานสภา และในกรณีที่ สภาลงมติไมไววางใจรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลจะตองลาออกแตพระมหากษัตริย จะทรงรับในการลาออก หรือให อยูเปนรัฐบาลตอไปก็ได (รายละเอียดดูไดจากหนังสือการเมือง -การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยของดร.ชัย อนันต สมุทวณิช)
ดังกลาวนี้ คือ โครงสรางประชาธิปไตย ตามรัฐธรรมนูญพระปกเกลาฯที่พระยาศรีวิสารวาจา และ นาย สตีเวนส รางถวาย แตถึงกระนั้นอภิรัฐมนตรีสวนขางมากและพระบรมวงศชั้นผูใหญ รวมทั้งพระยาศรีวิสารวาจา และ นาย สตีเวนส ผูรางถวาย มีความเห็นวายังไมถึงเวลาที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ วันที่ 6 เมษายน 2475 จึง ผาน ไปเชนเดียวกับปกอน ๆ จนถึงวันที่ 24มิถุนายน 2475 คณะราษฎร อันถือ เปนกองหนาของราษฎร จึงได ลุกขึ้นทําการเปลี่ยนแปลง การปกครองแผนดิน และ ประกาศใชรัฐธรรมนูญ ซึ่งใน เวลา นั้นเรียกวา "ธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม" ซึ่งราวพุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27มิถุนายน โดยพระปกเกลาฯ เปน ผูทรงลงพระปรมาภิไธย ใหประเทศใชธรรมนูญฉบับนั้น แตพระองค ไดทรงขอรอง ใหเติมคําวา "ชั่วคราว" ตอทายเขาไปดวย การที่คณะราษฎรยอมปฏิบัติตามคําขอรองของพระปกเกลาฯ โดยเติมคําวา "ชั่วคราว" เขาไปนั้น ยอม หมายถึงวาจะตองมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรขึ้นมาใชแทนฉบับชั่วคราวในอนาคตอันใกล และเปน การ แสดงใหเห็นวารัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ของคณะราษฎร ไมเปนที่พอพระราชหฤทัยของ พระปกเกลาฯ และนี่เปนการยอมประนีประนอม ของคณะราษฎร ตอคําเรียกรองของพระปกเกลาฯเปนครั้ง แรก และเปนความผิดพลาดครั้งแรกของคณะราษฎรที่นําลัทธิประนีประนอมมาใชกับฝายที่เปนปฏิปกษ แนนอน ลัทธิประนีประนอมมีความจําเปนในบางสถานการณ และไดใชคูกับกรณีที่ เปนปฏิสัมพันธกัน เทานั้น แตสําหรับคูกรณีที่เปนปฏิปกษทางชนชั้นแลวไมอาจจะประนีประนอมกันไดอยางเด็ดขาด การ ประนีประนอมกับฝายปฏิปกษ จึงเทากับเปนการพายแพไปในระดับหนึ่ง และจะนํามาซึ่งความ พายแพใน ระดับตอ ๆ ไป จนกระทั่งผูนําในการประนีประนอมนั้น ๆ ถาไมมีจุดยืนทางชนชั้น ที่แนนอน และ มั่นคง แลว ในที่สุดจะกลายเปนปฏิกิริยาไปเลยก็มี ก็ไดเห็นกันแลววา มีใครบางในชาวคณะราษฎร ที่ไดกลาย เปน พวก ปฏิกิริยาตอตานการปฏิวัติในเวลาตอมา มาตรา 1 ของธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475 บัญญัติ ไววา อํานาจ สูงสุด ของการปกครองประเทศนั้นเปนของราษฎรทั้งหลาย จึงหมายถึงอํานาจทางเศรษฐกิจ อํานาจทางการเมืองและ อํานาจทางวัฒนธรรม (ไมไดหมายเฉพาะ วัฒนธรรมในวงแคบตามที่เขาใจกัน แตหมายถึง วัฒนธรรม ในวงกวาง ตามที่บัญญัติไวใน พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525) โดยที่เศรษฐกิจ เปนโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งหมายความวา เปนฐานของ โครงสรางเบื้องบนดวย คือการเมือง และวัฒนธรรม ดังนั้นถาชนชั้นใดไดกุมอํานาจโครงสรางพื้นฐานคือ กุม อํานาจทางเศรษฐกิจ ก็จะไดกุมอํานาจใน โครงสรางเบื้องบนดวย คืออํานาจทาง การเมืองและวัฒนธรรม และ ก็ใชอํานาจทางการเมืองและ อํานาจทาง วัฒนธรรม อันเปนโครงสรางเบื้องบน ไปรักษาควบคุมโครงสราง พื้นฐาน คือเศรษฐกิจใหเปนไปเพื่อ ผลประโยชน ของชนชั้น แหงตนในยุคทาส เจาทาสเปนผูกุมอํานาจใน โครงสรางพื้นฐานคืออํานาจทางเศรษฐกิจ จึงไดกุมอํานาจทางการเมือง และอํานาจทางวัฒนธรรม อันเปน โครงสราง เบื้องบน แลวใชอํานาจทางการเมือง และอํานาจทางวัฒนธรรมรักษาระบบทาสไว ในยุคศักดินา เจาศักดินาเปนผูกุมอํานาจในโครงสรางพื้นฐาน คืออํานาจทางเศรษฐกิจจึงไดกุมอํานาจ ทางการเมืองและอํานาจทางวัฒนธรรม อันเปนโครงสรางเบื้องบน แลวใชอํานาจทางการเมืองและ วัฒนธรรม รักษาระบบศักดินาไว ในยุคทุนนิยม ปจจุบันนายทุนเปนผูกุมอํานาจในโครงสรางพื้นฐาน คือ อํานาจทางเศรษฐกิจ จึงไดกุมอํานาจ ทางการเมือง และอํานาจทางวัฒนธรรมอันเปนโครงสรางเบื้องบน แลว ใชอํานาจทางการเมือง และ อํานาจทางวัฒนธรรมรักษาระบบทุนนิยมไว ดังเปนอยูในขณะนี้ จะเห็นไดวา อํานาจทั้ง 3 สวนนี้ คือ อํานาจทางเศรษฐกิจ อํานาจทางการเมือง และอํานาจทางวัฒนธรรม หรือโครงสรางพื้นฐานกับ โครงสรางเบื้องบน มีความสัมพันธและพึ่งพากัน โดยโครงสรางพื้นฐาน คือ เศรษฐกิจเปนโครงสรางหลัก แต ในการเปลี่ยนของสังคมยุคทาสมาสูยุคศักดินา และจากยุคศักดินามาสูยุคทุนนิยม ซึ่งหมายถึงการ เปลี่ยนแปลง โครงสรางพื้นฐานของสังคม คือเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจแบบยุคทาสมาเปนเศรษฐกิจศักดินา มา สูเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมอยางปจจุบันนี้นั้น ขบวนการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ไดเริ่มจากการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจทีละเล็กทีละนอยกระทั่งรูปแบบ และเนื้อหาของเศรษฐกิจที่ดํารงอยูในขณะนั้น ไมสอดคลองและ ขัดแยงกับระบบการเมืองที่ลาหลัง และในที่สุด การเมืองที่ลาหลังก็จะตั้งอยูไมได และจะตองเปลี่ยนแปลง จึง สรุปไดวาโครงสรางพื้นฐานคือเศรษฐกิจเปนเงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเบื้องบน คือการเมืองและ วัฒนธรรม แตโครงสรางเบื้องบน คือการเมืองเปนตัวชี้ขาดในการเปลี่ยนแปลงการเศรษฐกิจหรือโครงสราง พื้นฐานในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนา ก็อยูในหลักการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ดังกลาวขางตน คือระบบเศรษฐกิจหรือโครงสรางพื้นฐานไมสอดคลองและขัดแยงกับระบอบการเมืองที่ลา
หลัง และในที่สุดระบอบการเมืองที่ลาหลังก็ตั้งอยูไมได ตองเปลี่ยนแปลง คือการเปลี่ยนแปลงจาก ระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย กษัตริยอยูเหนือกฎหมาย มาเปนระบอบประชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย ยังไมใชระบอบประชาธิปไตยตามวัตถุประสงคของคณะราษฎรที่แสดงออกในคําประกาศ เปลี่ยนแปลงการปกครอง แผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ดังที่กลาวไวขางตน ดังนั้นในเวลาตอมา ทานปรีดี พนมยงค จึงไดรางโครงการเศรษฐกิจ เพื่อทําใหโครงสรางพื้นฐาน คือ เศรษฐกิจไดมาอยูในกํามือของราษฎรตามระบอบประชาธิปไตยทางการเมือง และประชาธิปไตยทาง วัฒนธรรม แตทานปรีดีฯ ก็ทําไมสําเร็จเพราะถูกขัดขวาง โดยพลังเกาที่คณะราษฎรเชื้อเชิญเขามาเขารวมงาน ปฏิวัติ นั้นเอง ระบอบประชาธิปไตยที่แทจริง จึงไมมีโอกาสไดรับการสถาปนา ขึ้นบนแผนดินนี้ ตาม เจตนารมณ ของคณะราษฎร จนกระทั่งบัดนี้ เมื่อธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ไดประกาศใชบังคับแลว เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475 คณะผูรักษาพระนครฝายทหาร ในนามคณะราษฎร จึงไดประกาศแตงตั้งผูแทนราษฎร จํานวน 70 นาย ตามบทบัญญัติของธรรมนูญ ในจํานวนผูแทนราษฎร 70 นาย ที่ไดรับแตงตั้งนี้ เปนคนจาก คณะราษฎร 31 นาย อีก 39 นาย เปนคนนอก และคนภายนอกสวนใหญก็คือขาราชการบริหารในระบอบเกา ที่สูญเสียผลประโยชนสวนตัว จากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ซึ่งมีทั้งราชตระกูล และราชนิกุล นี่เปน ความผิดพลาดและเปนความพายแพของคณะราษฎร เปนครั้งที่ 2 ความผิดพลาด และความพายแพในครั้งน ี้ สืบเนื่องมาจากเจตนา อันบริสุทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง คณะราษฎร ที่ทําไปเพื่อผลประโยชน ของสวนรวม จึงมุงแตระดมความคิดสติปญญาและความรู ความสามารถ ของบุคคลเขามาชวยงานรับใชชาติ โดยไมไดจําแนกชนชั้นไมไดมีการแยกมิตรแยกศัตรู จึงเปดโอกาสใหผายพลังเกาที่ปฏิกิริยาเขามามีบทบาท ทางการเมืองรวมกับคณะราษฎร และบอนทําลาย คณะราษฎรอยาง เปน ขั้นตอน จนสามารถยุติบทบาทของ คณะราษฎรไดอยางสิ้นเชิง ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 คณะกรรมการราษฎร 14 นาย ที่พระยามโนฯ เลือกเขารวมบริหาร ราชการแผนดินนั้น มีคนนอก คณะ ราษฎร เขารวมดวยโดยเฉพาะคนนอกตัวแสบคือ มหาอํามาตยตรี พระยา ศรีวิสารวาจา และในการที่พระยา มโนฯ ไดรับเลือกเปน ประธานคณะกรรมการราษฎรนั้นก็ดวยการ สนับสนุนของทานปรีดีฯ เพราะ เห็นวาพระยา มโนฯสําเร็จกฎหมายจากอังกฤษ และมีความคิดกาวหนา พอสมควร แตทานก็ตองผิดหวังเพราะพระยามโนฯ คนนี่แหละเปนตัวการสําคัญ คนหนึ่งในการขัดขวาง การ
สถาปนาระบอบ ประชาธิปไตย ตามแนวทางของทาน ปรีดีฯ ซึ่งเปนความผิดพลาด และพายแพของ คณะราษฎรครั้งที่ 3 ความผิดพลาดและ ความพายแพครั้งที่ 4 ก็ติดตามมาอีก เมื่อสภาผูแทนราษฎร ที่คณะราษฎรกลายเปน เสียงขางนอย ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการราง รัฐธรรมนูญ ฉบับใหมแทนฉบับชั่วคราวตามพระราช ประสงคจํานวนคน 7 คน และแตงตั้งเพิ่มเติม 2 คนเปน 9 คน ในจํานวนนี้เปนคนจากคณะราษฎร เพียงคน เดียว คือทานปรีดีฯ อีก 8 คนเปนขาราชบริพารเกาที่รับใช ใกลชิดเบื้องพระยุคลบาท รวมทั้งพระยามโนฯ และพระยาศรีวิสารวาจา ที่เคยคัดคาน พระราชดําริของ พระปกเกลา ฯ ในเรื่องพระราชทานรัฐธรรมนูญ นี่ เปนความผิดพลาด และความพายแพครั้งสําคัญ เพราะวารัฐธรรมนูญที่รางโดยขาราชบริพารเกา ซึ่ง เรียก กัน วารัฐธรรมนูญฉบับถาวร 10 ธันวาคม 2475 หรือเรียกวารัฐธรรมนูญฉบับพระปกเกลาฯ ก็ไมเกินเลย จาก ความเปนจริง ไดเปลี่ยนแปลงหลักการสําคัญ ของระบอบประชาธิปไตย ที่บัญญัติไวในมาตรา 1 แหง ธรรมนูญ การปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 วา "อํานาจสูงสุดของประเทศนั้นเปนของราษฎรทั้งหลาย" มาเปนมาตรา 2 ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม "อํานาจอธิปไตยยอมมาจากปวงชนชาวสยาม พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ทรงใชอํานาจนั้น โดย บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ" ซึ่งหมายความวาปวงชนชาวสยามไดมอบอํานาจความเปนใหญ ที่เปลี่ยนมาเรียกเปนภาษาบาลีวา "อํานาจอธิปไตย" ใหแกกษัตริยเปนผูใชบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จึงกลายเปนระบอบราชาธิปไตยตาม รัฐธรรมนูญ อันเปนที่พอพระราชหฤทัยเปนอยางยิ่ง รัฐธรรมนูญฉบับนี้ นอกจากจะบิดเบนอํานาจสูงสุดของ ประเทศเปน ของราษฎรมาเปนมาจาก ปวงชน แลว ยังไดแปลงอํานาจสูงสุดของประเทศ ที่หมายถึงอํานาจ ทางเศรษฐกิจ อํานาจทางการเมือง และอํานาจ ทางวัฒนธรรม ซึ่งเปนโครงสรางสังคม(Social Strueture) มา เปน อํานาจอธิปไตย(Sovereion) ตามแบบแผนการปกครองประชาธิปไตยของมองเตชคิเออ ที่แยกอํานาจการ ปกครองออกเปน 3 ฝาย คือ ฝายบริหาร ฝายนิติบัญญัติ และฝายตุลาการ ซึ่งเปนการบิดเบนเจตนารมณ ประชาธิปไตยของคณะราษฎร มาเปน ประชาธิปไตยของพระปกเกลาฯ คือ ราชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ แต ความมุงหมายของคณะราษฎรคือ ประชาธิปไตยที่อํานาจสูงสุด ของการปกครองประเทศ เปนของ ราษฎร ซึ่งหมายถึง อํานาจทางเศรษฐกิจ อํานาจทางการเมือง และอํานาจทางวัฒนธรรม ดังกลาวแลว และถูกบิดเบน ไปแลวตามรัฐธรรมนูญพระปกเกลาฯ
แตทานปรีดีฯ ก็ยังพยายามตอไปที่จะทําอํานาจสูงสุดของประเทศใหเปนของราษฎร โดยการเสนอ รางเคา โครงเศรษฐกิจแตก็ถูกขัดขวางโดยพลังเกาตามที่ไดกลาวแลวขางตน ตอจากนั้นรัฐบาลพระยามโนฯ ก็ไดสั่ง ปดสภาโดยไมมีกําหนด และงดใชรับธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย และ เนรเทศ ทานปรีดี พนมยงค ออกนอกประเทศ ดวยความมุงหมายที่จะทําลายคณะราษฎร เพราะ เขาใจวา ทานปรีดีฯ เปนมันสมองของคณะราษฎร และแผนตอมาคือจับคณะราษฎรมาลงโทษฐานขบถ แตพระยาม โนฯ ก็ทําไมสําเร็จ เมื่อนายพันเอกพหลพลพยุหเสนา หัวหนาคณะราษฎร ไดทํารัฐประหาร ยึดอํานาจคืนจาก พระยามโนฯ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476 หลังจากที่พระยามโนฯ ทํารัฐประหารเงียบ (ปดสภาและงดใช รัฐธรรมนูญ) เดือนกวา ๆ การทํารัฐประหารของคณะราษฎรครั้งนั้นเปนครั้งที่ 2 ครั้งแรกเมื่อ 24 มิถุนายน 2475ทํารัฐประหาร ลมลางรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชย เพราะรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราช หรือรัฐบาล เผด็จการใด ๆ ก็ตาม ไมเปดโอกาสใหมีการยกมือขับไลรัฐบาล ทานปรีดีฯ ไดกลับคืนสูประเทศอีกครั้งหนึ่ง ภายหลังที่คณะราษฎรไดเขากุมอํานาจรัฐเมื่อ 20 มิถุนายน 2476 และไดเขารวมบริหารราชการแผนดินกับ คณะราษฎร รวมเวลา 14 ป นับแตป 2475-2489 คณะราษฎร ที่เปนกองหนา ถือครองอํานาจอธิปไตยแทน ราษฎรมาเปนเวลา 14 ป ไดมอบอํานาจนั้น ใหราษฎรตาม รัฐธรรมนูญ ฉบับวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 (ที่แกไข เพิ่มเติมตามรัฐธรรมนูญฉบับวันที่ 10 ธันวาคม 2475) โดยยกเลิกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภท 2 (ประเภทแตงตั้ง) และใหสิทธิเสรีภาพ แกประชาชนอยาง กวางขวาง รวมทั้งสิทธิในการจัดตั้งพรรคการเมือง โดยไมมีเงื่อนไข และสิทธิในการที่จะนิยมลัทธิการเมืองใด ๆ ก็ได ในระหวางที่คณะราษฎรครองอํานาจอยู นั้น นอกจากความขัดแยงกันเองภายในคณะแลว ก็ยังมี เหตุการณ อื่นเกิดขึ้นอีกมากมาย มีขบถบวรเดชใน ป 2476 มีสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหวางป 2484-2488 มีกรณีสวรรคตของในหลวงอานันทในป 2489 และใน ที่สุดไดมีรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ของ คณะรัฐ ประหาร ที่นําโดยนายควงอภัยวงศ หัวหนาพรรค ประชาธิปตย ในเวลานั้น ซึ่งเปนตัวแทน ของซากเดน ศักดินา พลังเกา นับแต 8 พฤศจิกายน 2490 เปนตนมา คณะราษฎรถูกบังคับใหยุติบทบาททางการเมืองอยางสิ้นเชิง และตอจากนั้นอํานาจถือครองอํานาจรัฐก็ตกแกคณะรัฐประหารของจอมพลผิน ชุณหะวัณ คณะทหารและ คณะปฏิวัติของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต คณะปฏิรูปของ พลเรือเอกสงัด ชลออยู และคนอื่น ๆ อีกหลาย ๆ
คณะ จนมาถึงคณะ รสช. ของพลเอกสุนทร คงสมพงษ ในปพ.ศ. 2534 จะเห็นไดวานับแตเปลี่ยนแปลงการ ปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงปจจุบัน เปนเวลารวม 70 ป แลวนั้น คณะราษฎรมีสวนรับผิดชอบอยู เพียง 14 ป เทานั้น เวลาอันยาวนานอีก 50 กวาป อยูในความ รับผิดชอบของคณะอื่น ๆ ที่ผลัดเปลี่ยนกันขึ้นมาครองอํานาจโดย วิถีทางเผด็จการทหารบาง และโดย วิถีทาง เผด็จการรัฐสภาบาง วนเวียนกลับไปกลับมาที่เรียกวาวงจร อุบาทว จนกระทั่งบัดนี้ ผมจึงเห็นวา การที่บางกลุมการเมือง โยนความ rayam abpree ของการเมืองไทยใน รอบ 50 กวาปนี้ มาให เปนความผิดของคณะราษฎร นอกจากไมเปนความชอบธรรมแลว ยังเปนการอกตัญู ตอคณะราษฎร ผูเปนกองหนาของราษฎรอีกดวย
ขอขอบคุณครับ สุพจน ดานตระกูล