MAMSC 55
เชียงใหม
ช็อบ• ชิม • วัด • เวียง • ปา • คางแรม
เสาอินทขิล เสาหลักเมือง อินทขิล” (เดือน 8 เข้า เดือน 9 ออก โดย นับเดือนตามปีปฏิทินแบบล้านนา) เป็นระยะ เวลา 7 วัน เดิมเสาอินทขิลประดิษฐานอยู่ ณ วัดสะดือเมือง หรือวัดอินทขิลกลางเวียง เชียงใหม่ ตามตำ�นานกล่าวว่า เสาอินทขิล เดิมนั้นหล่อด้วยโลหะ จนกระทั่งสมัยพระเจ้า กาวิละ ราวปี พ.ศ. 2343 ได้ย้ายเสาอินทขิล ไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น ใหม่เป็นเสาปูนปั้นติดกระจกสี บนเสาเป็น บุษบกประดิษฐานพระพุทธรูปปางรำ�พึง และทำ�าพิธีบวงสรวงเป็นประเพณีสืบกันมา โดยมีความเชื่อว่า การบูชาเสาอินทขิลจะ นำ�ามาซึ่งความมั่นคง มั่งคั่ง ข้าวปลาอาหาร อุดมสมบูรณ์ หรืออีกนัยหนึ่งคือเป็นการสร้าง ขวัญกำ�ลังใจแก่ชาวบ้าน และเกษตรกร ในการทำ�มาหาเลี้ยงชีพ และทำ�การเกษตร
และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ดังนั้น ในประเพณีบูชาเสาอินทขิลจึงได้มีการ อัญเชิญพระเจ้าฝนแสนห่า อันเป็นพระพุทธ รูปศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เกิดฝนแห่ไปรอบเมือง เชียงใหม่ และนำ�ไปประดิษฐานที่วัดเจดีย์ หลวงเพือ่ ให้ประชาชนได้สกั การะและสรงน้�ำ พระมหาหมื ่ น วุ ฑ ฒิ ญ าโณ วั ด หอธรรม เชียงใหม่ ได้เล่าความเป็นมาของเสาอินทขิล ปรากฏในตำ�านานอินทขีล หรือ ตำ�นาน สุวรรณคำ�แดง ไว้ว่า เมืองเชียงใหม่เป็น ศูนย์กลางแห่งอาณาจักรล้านนานั้น เดิม เป็นทีต่ ง้ั บ้านเมืองของชาวลัวะ เกิดเหตุการณ์ ไม่ปกติ มีผีหลอกหลอนทำ�าให้ชาวเมือง เดือดร้อนไม่เป็นอันทำ�ามาหากิน อดอยาก ยากจน ดังนั้น พระอินทร์ จึงบันดาลบ่อเงิน
บ่อทอง และบ่อแก้วไว้ในเมือง ให้เศรษฐี ลัวะ 9 ตระกูลแบ่งกันดูแลบ่อทั้ง 3 บ่อ บ่อละ3 ตระกูล โดยชาวลัวะจะต้องถือศีล รักษาคำ�าสัตย์ หากอธิษฐานสิ่งใดก็จะได้ดัง สม ปรารถนา ซึ่งชาวลัวะก็ปฏิบัติตามเป็น อย่างดี ทำ�ให้ชีวิตและความเป็นอยู่มีความ สุข อุดมสมบูรณ์ เมื่อข่าวนี้เลื่องลือไป ทำ�ให้ เมืองอื่นยกทัพมาขอแบ่งปัน ชาวลัวะตกใจ จึงขอให้ฤๅษีนำ�ความไปกราบทูลพระอินทร์ พระอินทร์จึงให้กุมภัณฑ์ หรือยักษ์ 2 ตน ขุดอินทขีล หรือ เสาตะปูพระอินทร์ ใส่สาแหรก เหล็กหาบไปฝังไว้กลางเวียงนพบุรี เสาอินทขิล มีฤทธิ์มากดลบันดาลให้ข้าศึกที่มากลาย ร่างเป็นพ่อค้า พ่อค้าเหล่านั้นต่างตั้งใจมา ขอสมบัติจากบ่อทั้งสาม ชาวลัวะจึงแนะนำ� ให้พ่อค้าถือศีลรักษาคำ�าสัตย์ และอย่า ละโมบ เมื่อขอสิ่งใดก็จะได้ พ่อค้าบางคนทำ� ตาม บางคนไม่ทำ�ตาม บางคนละโมบ ทำ�ให้ กุมภัณฑ์ 2 ตน ที่เฝ้าเสาอินทขิลโกรธพากัน หามเสาอินทขิลกลับขึ้นสวรรค์ไป บ่อเงิน บ่อทอง บ่อแก้ว ก็เสื่อมลง แต่มีชาวลัวะ ผู้เฒ่าคนหนึ่งไปบูชาเสาอินทขิลอยู่เสมอ เมื่อได้ทราบว่ายักษ์ทั้งสองนำ�เสาอินทขิล กลับสวรรค์ไปแล้ว ก็เสียใจมากจึงถือบวช นุ่งขาวห่มขาวบำ�าเพ็ญศีลภาวนาใต้ต้นยาง เป็นเวลานานถึง 3 ปี จนกระทั่งมีพระเถระ รูปหนึ่งทำ�านายว่า ต่อไปบ้านเมืองจะถึง กาลวิบัติ ชาวลัวะจึงเกิดความกลัว และ ขอร้องให้พระเถระรูปนั้นช่วยเหลือ พระเถระ บอกว่า ให้ชาว ลัวะร่วมกันหล่ออ่างขางหรือ กระทะขนาดใหญ่ แล้วใส่รูปปั้นต่างๆ อย่าง ละ 1 คู่ ปั้นรูป
ตํานานโคมลอย คำาว่า “โคมลอย” นี้แปลได้ง่ายๆ ว่าเครื่องใช้ ที่ให้กำาเนิดแสงสว่างลอยตัวอยู่ ซึ่ง “โคม” ที่ประดิษฐ์ขึ้นนี้ อจลอยอยู่ได้ทั้งในน้ำ�และ ในท้องฟ้าก็ได้ทั้งสองกรณี แต่ในที่นี้จะเริ่ม กล่าวถึง “โคมลอย” ที่ลอยอยู่ในน้ำ�หรือ ลอยไปตามสายน้ำ�เสียก่อน “โคม ลอย” นับว่าป็นองค์ประกอบสำาคัญ อย่างหนึ่งในเทศกาลลอยกระทง เมื่อต้องกร ทราบความหมายของคำานี้ให้เป็นที่แน่นอน ชัดเจนลงไป ก็ต้องไปดูจากต้นตำารับที่ว่าด้วย การลอยกระทง ซึ่งก็คือตำารับท้าวศรีจุฬา ลักษณ์ หรือ นางนพมาศ และจากเอกสารนี้ ฉบับทีก่ รมศิลปกร อนุญาตให้ศลิ ปบรรณาคาร พิมพ์จาำ หน่ายครัง้ ที่ ๑๔ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๓ บอกว่าในวันเพ็ญเดือนสิบสองนั้นจะม ีพระราชพิธีจองเปรียง ซึ่งเป็น “นักขัตฤกษ์ ชักโคมลอยโคม” ที่มีการเฉลิมฉลองกัน ถึงสามวัน ครั้งหนึ่ง นางนพมาศได้ประดิษฐ์ โคมลอยเป็น “…รูปดอกกระมุท(ดอกบัว) บนกลีบรับแสงพระจันทร์ ใหญ่ประมาณ เท่ากงระแทะ(กงเกวียน) …“ และประดับด้วย ดอกไม้และผลไม้สลักเป็นรูปนกจับอยู่ตาม กลีบดอกบัว ซึ่ง “พระร่วง” ก็พอพระทัย “… จึ่งมีพระราชบริหารบำาหยัดสาปสรรว่า แต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำาดับกษัตริย์ ในสยามประเทศ ถึงการกำาหนดนักขัตฤกษ์ วันเพ็ญเดือน ๑๒ พระรชพิธีจองเปรียงแล้ว ก็ให้ทำาโคมลอยเป็นรูปดอกกระมุทอุทิศสัก กรบูชพระพุทธบาทนัมมทานที ตรบเท่า กัลปวสาน อันว่าโคมลอยรูปดอกกระมุทบนก็ ปรกฏมจนทุกวันนี้ แต่คำาโลกสมมุติเปลี่ยนชื่อ เรียกว่าลอยกระทงทรงประทีป…
ลอยกระทง เป็นประเพณีของไทยที่ ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ งานลอย กระทงเริ่มทำาตั้งแต่ กลางเดือน 11 ถึงกลางเดือน 12 ซึ่งเป็นฤดู น้ำ�หลากน้ำ�จะเต็มสองฝังแม่น้ำ� ที่นิยมมกคือ ช่วงวันเพ็ญเดือน 12 เพราะพระจันทร์เต็มดวง ทำาให้แม่น้ำ�ใสสะอด แสงจันทร์ส่อง เวลากลางคืน เป็นบรรยกาศที่สวยงาม เหมะแก่การลอยกระทง เดิมพิธีลอยกระทง เรียกว่ พระราชพิธีจองเปรียงชักโคม ลอยโคม ซึ่งเป็นพิธีของพรหมณ์ เพื่อบูชาพระเป็นเจ้ทั้งสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ครัน้ คนไทยรับนับถือพระพุทธศาสนา ก็ทำาพิธียกโคมเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ พระจุฬามณี ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลอยโคมบูชาพระพุทธบาท ณ หาดทรายแม่ น้ำ�นัมมทานที ประเทศอินเดีย การลอยกระทง ตามสายน้ำ�นี้ นางนพมาศ สนมเอกของพระร่วง เจ้ากรุงสุโขทัย คิดทำากระทงรูปดอกบัว และรูปต่างๆ ถวย พระร่วงทรงให้ลอยกระทงตามสายน้ำ�ไหล ในหนังสือ ตำารับท้ว ศรีจุฬาลักษณ์ พระร่วงตรัสว่า “แต่นี่สืบไป เบื้องหน้า โดยลำาดับ กษัตริย์ในสยามประเทศ ถึงกาลกำาหนดนักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำาโคมลอย เป็นรูปดอกบัวอุทิศสักกรบูชพระพุทธบทนัมฆ ทนที ตราบเท่ากัลปวสาน”
ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทร์ มีกรทำากระทงขนดใหญ่และสวยงาม ดังพระรชาพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ของเจ้าพระยาทิพราชวงศ์ กล่าวไว้ว่า “ครั้นมาถึงเดือน 12 ขึ้น 14 ค่ำา 15 ค่ำา แรมค่ำาหนึ่งพิธีจอง เปรียงนั้น เดิมได้โปรดให้ขอแรง พระบรมวงศานุวงศ์ฝายหน้า ฝายใน และข้าราชการที่มีกำาลังพาหนะมาทำากระทงใหญ่ ผู้ถูกเกณฑ์ต่อเป็นถังบ้ง ทำาเป็นแพหยวกบ้ง กว้าง 8 ศอกบ้ง 9 ศอกบ้ง กระทงสูงตลอดยอด 10 ศอก 11 ศอก ทำาประกวด ประขันกันต่งาๆ ทำาอย่างเขา
พระราชพิธีสงกรานต์
วันสงกรานต์ หมายถึง วันขึ้นปีใหม่ของ ไทยในสมัยโบราณ โดยนับวัน เดือน ปี ทางจันทรคติ ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน เป็นต้นไป ประเพณีการบำ�าเพ็ญพระราช กุศลเนื่องในวันสงกรานต์มีมาแต่โบราณ ตามประเพณีของชาวพุทธ ต่อมาพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนวิธีนับวัน เดือน ปี เป็นทางสุริยคติ คือใช้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันเริ่มต้นปีใหม่ ส่วนประเพณีการบำ�าเพ็ญกุศลสงกรานต์ ยังคงเดิม ต่อมารัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้รวมพระราชพิธีสัมพัจฉรฉินท์ เถลิงศก สงกรานต์ พระราชพิธีศรีสัจจปานกาล ถือน้ำ�พิพัฒน์สัตยาเข้าด้วยกัน เรียกว่า พระราชพิธีตรุษะสงกรานต์ โดยเริ่มงาน ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน และงดงานพระราชพิธีตรุษะ สงกรานต์ ในวันที่ 13 เมษายน ที่เคยมีมาแต่เดิม พระราชพิธีสงกรานต์ในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ตั้งแต่ต้น จนถึงรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีหลักการ พระราชพิธีคล้ายสมัยสุโขทัยตามเรื่องของ นางนพมาศ เว้นแต่บางปีเมื่อมีพระราชโอรส และพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ เจริญ พระชนมายุที่จะโสกันต์ก็โปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีโสกันต์ ในวันแรก ที่มีการสวดมนต์ ในงานพระราชพิธีตรุษะ สงกรานต์ด้วยกัน
ครั้นถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ได้เปลี่ยน วันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1 มกราคม และจัด ให้มีพระราชพิธีขึ้นปีใหม่เป็นเวลา 3 วัน โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม และวันที่ 1 – 2 มกราคม ของปีถัดไป และโปรดเกล้า ให้จัดการพระราชพิธีต่าง ๆ เช่นที่เคยปฏิบัติ ในพระราชพิธีตรุษะสงกรานต์ ได้แก่ การบำ�เพ็ญพระราชกุศลเสด็จพระราชดำ�เนิน สรงน้ำ�พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เวียนเทียน สดัปปกรณ์ผ้าคู่พระบรมอัฐิ สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช พระอัฐิ สมเด็จพระบรมวงศ์พระบรมอัฐิสมเด็จ พระบวรราชเจ้ากรมพระราชวังบวรและ พระอัฐิพระราชวงศ์ เป็นต้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงฟื้นฟู
พระราชพิธีบำ�าเพ็ญพระราชกุศล เทศกาล สงกรานต์ขึ้นมาใหม่ เรียกว่า พระราชพิธี สงกรานต์ เริ่มตั้งแต่วันที่ 13 ถึง วันที่ 16 เมษายน ซึ่งมีการบำ�เพ็ญพระราชกุศลและ การพระราชพิธีต่าง ๆ ตามราชประเพณีที่ เคยปฏิบัติแต่เดิม นอกจากนี้ยังจัดให้มีเครื่อง ราชสักการะ ประกอบด้วยต้นไม้ทอง 4 ต้น ต้นไม้เงิน 4 ต้น แพรแดงติดขลิบ 4 ผืน ผ้า แพรดอก 2 ผืน เทียนหนักเล่มละ 180 กรัม 48 เล่ม ธูปไม้ระกำ�า 48 ดอก น้ำ�าหอม สรงพระ 2 หม้อ เทียนหนักเล่มละ 15 กรัม 600 เล่ม ธูป 20 กล่อง เพื่อพระราชทานให้ กระทรวงมหาดไทย นำ�ไปบูชาพระปฐมเจดีย์ พระธาตุพนม พระธาตุหริภุญชัย พระธาตุนครศรีธรรมราช พระพุทธบาท พระพุทธฉาย พระศรีสรรเพชญ พระพุทธ รูปถ้ำ�ประทุน พระพุทธรูปถ้ำ�วิมานจักรี พระพุทธรูปวัดพนัญเชิง พระพุทธ
V I N TA G E GOOD OLD DAY
แม้วันเวลาจะผ่านไปทุกนาที ทุกชั่วโมง ทุกๆวัน อะไรที่ใหม่ในวันนี้ก็จะกลายเป็นอะไรที่เก่าในวันพรุ่งนี้ แต่สำหรับ Fashion มันตรงกันข้าม เชื่อสิว่า อะไรที่เก่าในวันนี้ก็จะใหม่และ In สุดๆในวันหน้า เหมือนกับ Fashion Vintage ที่ปัจจุบันกำลังเป็นที่นิยมกันอยู่ …
มาดูกันก่อนว่า Vintage คืออะไร ???
Vintage หมายถึง Antique หรือที่เราเรียกว่าของเก่า ซึ่งหมายถึงต้องมีอายุตั้งแต่ 20-100 ปีขึ้นไป ไม่งั้นก็แค่เก่าแต่ไม่เก๋า และ Vintage ยังหมายถึงอะไรที่เน้น High Quality ด้วย สังเกตที่ลายผ้าPattern Cutting และปีที่ฮิตอันนี้สำคัญ เหมือนที่เราชอบเรียกเป็นยุค ถ้าเปรียบกับไวน์ก็คือปีที่ผลิต นั่นเองยิ่งเก่ายิ่งแพง Vintage เป็นศิลปะการนำเอาสิ่งที่เคยเป็น เคยมีในอดีตมาตกแต่ง มาประยุกต์ให้เข้ากับศิลปะปัจจุบันอย่างลงตัว และได้ความทันสมัยที่แฝง ด้วยความอบอุ่น ตามความหมายดั้งเดิมของคำนี้มาจากการผลิตไวน์ซึ่ง ด้วยคุณสมบัติพิเศษของไวน์นั้นคือ ยิ่งบ่มนาน ยิ่งรสชาติดี ไวน์บางขวด มีประวัติความเป็นมายาวนานมาก และทำให้มีคุณค่าในตัวของมัน ผู้ที่ได้ ลิ้มลองไวน์รสเลิศ คงเข้าใจความรู้สึกนี้ จนเป็น Wine Lover ในที่สุด … เช่นเดียวกับ แฟชั่น Vintage ที่สามารถกลับมา HOT !!!อีกได้แม้จะผ่าน ระยะเวลามายาวนาน Vintage อาจจะมีความใกล้เคียงกันกับของเก่าอย่าง Antique แต่สิ่งสำคัญ คือ ของเก่าหรือการนำแฟชั่นในอดีตมาทำใหม่หรือนำกลับมาใช้งานใหม่ อีกครั้ง ต้องไม่โทรม ไม่ดูแล้วมอมสกปรก ซึ่งเมื่อนำมาใช้งานมักจะไม่ค่อย ลงตัว ถ้าเป็นบ้านก็เหมือนบ้านร้างเก่าๆ ถ้าเป็นเสื้อผ้าก็ ปะๆ ขาดๆ ออก แนวลดเกรดคนใช้อีกต่างหาก การนำของ Vintage มาใช้งานจริงจะต้อง ได้ผลที่ตรงข้ามคือ ลงตัว มี Style ดูดีมีศิลปะ และในความเป็น Vintage นั้น บางสำนักมีการกำหนดเป็นปี เช่น หากของสิ่งนั้นอายุเกิน 20 - 100 ปีขึ้นไป แล้วนำมาตกแต่งได้ผลที่ลงตัว มีรสนิยม มีศิลปะ ดูเท่ห์และดูเก๋า แต่ถ้าหากนานไม่ถึงแล้วนำมาใช้ อาจจะดูเชยดูตกยุคแทนมากกว่าหรือ ไม่ก็ดูไม่ออกเลยว่าเป็น Vintage เพราะว่าไม่ต่างจากของปัจจุบันเท่าไหร่ นัก และทำให้มีคุณค่าในตัวของมัน ผู้ที่ได้ลิ้มลองไวน์รสเลิศคงเข้าใจคว าม รู้สึกนี้ จนเป็น Wine Lover ในที่สุด … เช่นเดียวกับ แฟชั่น Vintage ที่สามารถกลับมา HOT !!! อีกได้แม้จะผ่านระยะเวลามายาวนาน
ยกตัวอย่างความเป็น Vintage นั้นอยู่รอบตัวเรา ง่ายๆ ก็เช่น การแต่งตัวแบบ Vintage คือการนำเสื้อผ้าที่ดูเหมือนแฟชั่นย้อนยุคนำมาใช้อีกครั้ง ก็จะได้อารมณ์ที่อ่อนหวาน นุ่มนวล ดูมีเสน่ห์ ลอง mix and match เสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า แว่นตา อาจจะได้ look ใหม่ๆ ที่ดูดีก็ได้ เสน่ห์ของ Vintage Fashion คือแบบที่แต่งแล้วไม่ซ้ำใครแต่จะได้คะแนนเต็ม ก็ตรงที่การเลือกมาประยุกต์เป็นตัวของเราเอง นี่สิกินขาด แบบ”สวยไม่สน” เพราะไม่มีทางที่ใครจะมาซ้ำกับคุณได้เลย…
เราคงเริ่มสัมผัสได้ถึงความเป็น Vintage กันแล้ว อยากบอกว่าคนที่มีหัวใจรักงาน Vintage จะมีลักษณะสำคัญคือการช่างสังเกต และใช้ idea ประยุกต์ใช้ของ ท้าทายค วามคิดต้านแรงโน้มถ่วงความเชยสูง สิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวเรามีหลายอย่างคะที่แ สดงออกถึงความเป็น vintage เช่น เสื้อผ้า รองเท้า กำไล กรอบรูป โคมระย้า เก้าอี้ กล่องใส่ของ รูปถ่าย กุญแจ เข็มกลัด หมวก และอื่นๆ อีกมากมาย
1954
1956
1960
1961
1957
1964
1966
1959
1967
1968
1968
1968
1971
1972
1969
1969
1972
1973
1970
1974
1975
1958