Thai Using Work 2

Page 1

นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

งงเป็นไก่ตาแตก งงเป็นไก่ตาแตกเป็นสานวนไทย เห็นความเป็นตัวตนของคนไทยชนบทจริงๆ มีความหมายว่า สับสนจนทาอะไรไม่ถูก ไม่เข้าใจเรื่องที่เกิดขึน้ ที่บอกว่าบอกตัวตนความเป็นคนไทยชนบทได้ดีเพราะ ชีวิตของคนชนบทสมัยก่อนนี้ หลังจากเสร็จ งานไร่นาแล้ว จะเป็นช่วงเวลาว่าง ถ้าไม่ออกหาปลาตามแม่น้าลาคลองแล้ว ก็จะมาล้อมวง หากิจกรรม ต่างๆมาเล่นฆ่าเวลา หนึ่งในกิจกรรมที่ว่าคือ นาไก่ชนที่เลี้ยงไว้มาชนกัน กีฬาไก่ชนเป็นความสนุกสนานเพลิดเพลินในหมู่ผู้ชาย นอกจากเลี้ยงไก่ เพาะพันธุ์ไก่ชนที่เก่งที่สุด แล้ว ยังนาไก่ชนมาทดลองชนกันในสนามไก่ชน เป็นการทดลองความสามารถของไก่ชนของตัวเองที่เลี้ยง มากับมือ ใครที่เพาะพันธุ์ดี แข็งแรง ดูแลดี ก็มีสิทธิ์ที่จะชนะในสนามไก่ชน อาจจะมีรางวัลเป็นการเดิมพัน ด้วย และเพราะไก่ที่โรมรันพันตูกันในสนาม กระโดดตีกันด้วยแข้งที่มีเดือนแหลมเปี๊ยบ โดนจังๆก็ทาให้คู่ ต่อสู้เลือดสาด จงอยปากที่แหลมคม จิกไปตรงไหนก็ได้แผลตรงนั้น และหากบังเอิญไก่คู่ต่อสู้โคร้ายโดนจิก หรือโดนเดือย เจาะเข้าที่ดวงตาจนแตก ก็ทาให้ไก่ตัวนั้นมองไม่เห็นคู่ต่อสู้ ยืนงงเป็นเป้านิ่งให้ไก่อีกตัวจิกตี เอา จึงเอาไก่ตาแตก มาเปรียบกับคนที่กาลังสับสนจับต้นชนปลายไม่ถูก

แหล่งข้อมูล http://www.kroobannok.com/blog/9273


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ร้อนจนตับแตก ร้อนจนตับแตก เป็นคาโบราณที่มาจากวิถีชีวิตคนไทยเนื่องจากสมัยก่อน คนไทยใช้ "ตับจาก" มุง หลังคา เมื่อเวลาตับจากเหล่านี้โดนแดดเผาร้อนมากๆ เข้า ใบจากที่ถูกเย็บเรียงติดๆ กัน มันจะแตก หรือ โก่งตัวเบียดกันระหว่างใบในตับ ทาให้เกิดเสียงดัง "เปรี๊ยะๆ" จนสามารถได้ยินได้จนคนโบราณเอามาเป็น ตัววัดว่า ถ้าวันไหนได้ยินหรือรู้สึกตับที่มุงหลังคาบ้านแตกดังเปรี๊ยะเมื่อไร วันนี้จะถือว่าร้อนสุดๆ "ร้อนจน ตับแตก"

แหล่งข้อมูล http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1364628363&grpid=03&catid=03


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ตัดหางปล่อยวัด

ตัดหางปล่อยวัด เป็นสานวนหมายถึง ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป เช่น เด็กคนนี้ถูก พ่อแม่ตัดหางปล่อยวัดเพราะประพฤติตัวเกเร ไม่เชื่อฟังคาสั่งสอนของผู้ใหญ่ สานวนนี้มีที่มาจากการตัด หางไก่แล้วนาไปปล่อยเพื่อสะเดาะเคราะห์หรือแก้เคราะห์ในสมัยโบราณ มีหลักฐานในกฎมนเทียรบาลว่า เมื่อเกิดสิ่งที่เป็นอัปมงคล เช่น มีวิวาทตบตีกันถึงเลือดตกใน พระราชวังต้องทาพิธีสะเดาะเคราะห์ โดยเอา ไก่ไปปล่อยนอกเมือง เพื่อให้พาเสนียดจัญไรไปให้พ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีประกาศกล่าวถึงการนาไก่ไป ปล่อยที่วัดเพื่อสะเดาะเคราะห์ สันนิษฐานว่า ไก่ที่จะนาไปปล่อยที่วัดจะตัดหางเพื่อเป็นเครื่องหมายว่าเป็น ไก่ที่ปล่อย เพื่อการสะเดาะเคราะห์ด้วย

แหล่งข้อมูล http://campus.sanook.com/910428/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0 %B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%99% E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8% 9B%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B 8%94/


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ขึ้นคาน ขึ้นคาน เป็นสานวนหมายถึง หญิงที่มีอายุเลยวัยสาวแล้วแต่ยังไม่ได้แต่งงาน เป็นคาที่มีนัยตาหนิ เพราะแต่โบราณมานิยมให้ผู้หญิงแต่งงานเพื่อให้มีผู้ดูแลและป้องกันภัย ไม่โดดเดี่ยว สมัยก่อนวิถีไทยใกล้ชิดแม่น้าลาคลอง บ้านเรือนส่วนใหญ่หันหน้าหาสายน้า มีเรือเป็นพาหนะ สาคัญพาสัญจรไปมา เมื่อใช้นานเข้าเรือมีอันเกิดชารุดเสียหายต้องซ่อม พอจะซ่อมต้องยกขึ้นมาบนบกซึ่ง ทาที่รับเรือรอไว้แล้ว ที่รับเรือนั้นเรียกว่า "คาน" ต่อมาจึงนาคาว่า ขึ้นคาน เป็นสานวนเรียกสตรีผู้ถึงวัยมีลูกมีผัวแล้วแต่ยังเล่นเนื้อเล่นตัว ไม่ยอม ตกร่องปล่องชิ้นมีคู่เสียที จึงถูกนาไปเปรียบเทียบกับเรือ ปัจจุบันจึงนาเอาคาว่าขึ้นคานมานิยามหญิงที่ยัง ไม่แต่งงานจนล่วงเลยวัยสาวไปแล้ว

แหล่งข้อมูล http://www.gotoknow.org/posts/130548


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ขนมจีน

ขนมจีนเป็นอาหารชนิดหนึ่ง ทาด้วยแป้งเป็นเส้นกลม ๆ คล้ายเส้นหมี่ กินกับน้ายา น้าพริก เป็นต้น อาหารชนิดนี้ ภาษาเหนือเรียก "ขนมเส้น" และภาษาอิสาน เรียก "ข้าวปุ้น" ขนมจีนไม่ใช่อาหารจีน แต่คาว่า "จีน" สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจากมอญซึ่งเรียกขนมจีนว่า "คนอม จิน" หมายถึง "สุก 2 ครั้ง" พิศาล บุญปลูก ชาวไทยเชื้อสายรามัญผู้สนใจศึกษาอาหารและวัฒนธรรมมอญ กล่าวว่า "จริง ๆ แล้ว ขนมจีนเป็นอาหารของคนมอญหรือรามัญ คนมอญเรียกขนมจีนว่า คนอมจิน คนอม หมายความว่าจับกันเป็นกลุ่มเป็นก้อน จินแปลว่าทาให้สุก" ทาให้เกิดสมมุติฐานตามมาอีกว่า ดั้งเดิม ทีเดียวขนมจีนเป็นอาหารมอญ แล้วจึงแพร่หลายไปสู่ชนชาติอื่น ๆ ในสุวรรณภูมิตั้งแต่โบราณกาลจนเป็น อาหารที่ทาง่ายและมีความนิยมสูง สามารถหารับประทานได้ทั่วไป คาว่า ขนมจีน หรือ หนมจีน คานี้พบได้ในบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนตอนกินเลี้ยง คราวที่เจ้าล้าน ช้างถวายนางสร้อยทองแก่พระพันวษาความว่า " ถึงวังยับยั้งศาลาชัย วิเสทในยกโภชนามา เลี้ยงเป็นเหล่าเหล่าลาวคอยชี้ ข้าวเหนียวหักหลังดีไม่เมื่อยขา แจ่วห้าแจ่วหกยกออกมา ทั้งน้​้ายาปลาคลุกหนมจีนพลัน "

แหล่งข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B5 %E0%B8%99_(%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9 %84%E0%B8%97%E0%B8%A2)


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

จังหวัดนครนายก จังหวัดนครนายกเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ละติจูดที่ 14 องศาเหนือ และลองจิจูดที่ 101 องศาตะวันออก มีระยะทางจากจากกรุงเทพมหานครตามถนนรังสิต-นครนายก (ทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 305) ผ่านอาเภอองครักษ์ถึงจังหวัดนครนายก ระยะทาง 105 กิโลเมตร มีเนื้อที่ ประมาณ 2,122 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 1,326,250 ไร่ ดอกไม้ประจาจังหวัดคือดอก สุพรรณิการ์ (Cochlospermum religiosum) ต้นไม้ประจาจังหวัดคือต้นสุพรรณิการ์ (Cochlospermum religiosum) คาขวัญประจาจังหวัด คือ นครนายก เมืองในฝันที่ใกล้กรุง ภูเขางาม น้​้าตกสวย รวยธรรมชาติ ปราศจากมลพิษ ที่มาของชื่อนครนายกนั้นไม่ชัดเจนทางประวัติศาสตร์ แนวคิดหลักของที่มาของชื่อมีดังนี้ 1.จังหวัดนครนายกเดิมชื่อบ้านนาแต่ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดนครนายก ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของนครนายกเป็นป่ารก เป็นที่ดอนทานาหรือทาการเพาะปลูกอะไรไม่ค่อยได้ผล มีไข้ป่าชุกชุมผู้คน จึงพากันอพยพไปอยู่ที่อื่นจนกลายเป็นเมืองร้าง ต่อมาพระมหากษัตริย์ทรงทราบความเดือดร้อนของ ชาวเมืองจึงโปรดให้ยกเลิกภาษีค่านา เพื่อจูงใจให้ชาวเมืองอยู่ที่เดิมทาให้มีคนอพยพมาอยู่เพิ่มมากขึ้นจน เป็นชุมชนใหญ่ และเรียกเมืองนี้จนติดปากว่า เมืองนา-ยก ภายหลังจึงกลายเป็นนครนายกจนทุกวันนี้ 2.สมัยก่อนรัชการที่ 5 การปกครองส่วนภูมิภาคถูกแบ่งเป็นสมุหนายกและสมุหกลา พื้นที่เดิมของจังหวัด นครานายกนั้นเป็นพื้นที่ที่เคยอยู่สังกัดกับสมุหกลาโหมแต่ถายหลังถูกโอนให้อยู่ภายใต้การดูแลของสมุหนา ยก พื้นที่ตรงนี้จึงได้ชื่อว่านครนายกนับแต่นั้นเป็นต้นมา

แหล่งข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A 7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8% B2%E0%B8%A2%E0%B8%81


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ถนนจรัญสนิทวงศ์

ถนนจรัญสนิทวงศ์ (Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้น จากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้า สู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้น โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัด กับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่าง แขวงบางบาหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่ แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไป สิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตาบลบางกรวย อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีต ปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสาคัญสายหนึ่งของ กรุงเทพมหานคร ถนนสายนี้เป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน ถนนรัชดาภิเษก

แหล่งข้อมูล http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%A3 %E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8% A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ถนนเยาวราช ถนนเยาวราช (Yaowarat Road) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอด เส้นทางประมาณ 1 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัว มังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่า เยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ใช้ระยะเวลาใน การตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2443 เพื่อให้เยาวราชกลายเป็นสถานที่สาหรับส่งเสริมการค้า ขาย ส่วนคาว่า “เยาวราช” มีความหมายว่า พระราชาที่ทรงพระเยาว์ หมายถึงรัชกาลที่ ๕ ที่ขึ้น ครองราชย์ เมื่อมีพระชนมายุเพียง ๑๕ พรรษา เดิมทีชื่อ "ถนนยุพราช" และได้โปรดเกล้าพระราชทานนาม ใหม่ว่า "ถนนเยาวราช" ต่อมาถนนสายนี้ได้ถูกขนานนามว่าเป็น ไชน่าทาวน์ ของเมืองไทย เนื่องจากตลอดสายของถนน เป็นแหล่งทามาหากิน และที่อยู่อาศัยของชนชาวจีน นับได้ว่าเป็นชุมชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในอดีต ถนนเยาวราช เป็นถนนสายแรกที่มีตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยตั้งอยู่คือ ตึกเจ็ดชั้นและตึกเก้าชั้น บนสอง ฟากของถนนมีภัตตาคารจีนชั้นดี มีโรงภาพยนตร์เฉลิมบุรีที่ทันสมัยในยุคนั้น มีร้านขายทองคุณภาพดีที่ เชื่อถือได้ นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งอาหารสด และอาหารแห้งเพื่อนาไปประกอบอาหารจีนมากมาย และ ในช่วงเทศกาลสาคัญของชาวจีนอย่างเช่น เทศกาลถือศีลกินเจ และเทศกาลตรุษจีน บนถนนสายนี้ก็มีการ จัดกิจกรรมและการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ มีนักท่องเที่ยวทั้งไทยและเทศมากมายมาเข้าร่วมเฉลิมฉลอง นับว่าเป็นถนนที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก แหล่งข้อมูล 1.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8% A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A 2.http://student.nu.ac.th/heavenluck/789/yaowarach/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0 %E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A 2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A.html


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

ฟิน ที่มาถึงคาว่าฟิน บางคนบอกมาจากภาษาฝรั่งเศษ คาว่า ฟินาเล่ (Finale) แปลว่า จบแบบสมบูรณ์ แบบ โดยส่วนมากมักจะใช้ตอนที่รู้สึกว่า... "สุดยอด" อย่างเช่น ดีใจจังได้คุยกับรุ่นพี่คนนั้นแล้ว ฟินสุด ๆ อ่ะ เป็นต้น แต่บางคนก็บอกว่ามาจากคาว่า Finish ประมาณว่ามี Sex เสร็จแล้ว อารมณ์สุดยอดอะไร ประมาณนี้ เลยเอามาใช้เป็นคาว่า ฟิน

แหล่งข้อมูล 1.http://iam.hunsa.com/ummumm/article/103748 2.http://hilight.kapook.com/view/74708


นายสุทัศน์ ตรีวิเศษ 54011396 วิศวกรรมเกษตร

อย่ามาเหวง "อย่ามาเหวง" มีที่มาจากชื่อของ นพ. เหวง โตจิราการ หนึ่งในแกนนา นปช. โดยมีมือดีหยิบยกเอา อากัปกิริยาของ นพ. เหวง ในวันที่เข้าร่วมการเจรจาหาข้อยุติทางการเมืองกับฝ่ายรัฐบาล เมื่อวันที่ 28-29 มี.ค.ที่ผ่านมา ไปใช้เปรียบเทียบกับการพูดจาวกวน หรือพูดไม่ตรงประเด็น และนามาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ สังคมออนไลน์ทั้ง เฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ จนกลายเป็นคาฮิตในชั่วข้ามคืน นอกจากนี้ ยังมีการนาเอาความหมายของคาว่า "เหวง" ซึ่งตามพจนานุกรม หมายความว่า มาก เป็นคาใช้ประกอบคาว่า เบา เช่น เบาเหวง หมายความว่า เบามาก รวมถึงคาที่ออกเสียงว่า "เหวง" ใน ภาษาเขมรนั้น แปลว่า หลงทาง เช่น ขะยมอัมเหวง แปลว่า ดิฉันหลงทาง มาขยายความด้วย

แหล่งข้อมูล http://hilight.kapook.com/view/47475


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.