หน้าที่
1
หน้าที่
2
ประวัติความเป็ นมาของ กราฟฟิ ติ Graffiti : กราฟฟิ ติ การตะโกนก้องร้องหาเสรี ภาพของคนที่ไร้ตวั ตนงานค้นคว้าทางวิชาการศิลปะ ของนักศึกษา กระบวนวิชาปรัชญาศิลป์ และศิลปะวิจารณ์2544 ควบคุมโดย สมเกียรติ ตั้งนะโม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โครงการกราฟฟิ ติ (Project : Graffiti) เป็ นวัฒนธรรมย่อย(Sub culture)ของปรากฏการณ์ของ hip hop Graffiti ของวัยรุ่ น(โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ Graffiti ที่ทางานบนพื้นที่กาแพงสาธารณะ และสถานีรถไฟใต้ดิน จนกระทัง่ เปลี่ยนแปลงไปสู่ ความเป็ นศิลปะร่ วมสมัยและเข้าไปในวงการธุรกิจ)ที่เกิดขึ้นในนิวยอร์ก ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 1960 - ต้นทศวรรษที่ 1970 จนถึงปั จจุบนั นอกจากนี้ยงั จะพูดถึงประวัติศาสตร์ของ Graffiti ที่เกี่ยวเนื่องกับสังคม-วัฒนธรรม-การเมือง รวมทั้งการต่อต้านการครอบงาของวัฒนธรรมกระแสหลัก ซึ่งกล่าวได้วา่ Graffiti เป็ นการเติมเต็ม เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของตัวมันเองและเป็ นการสะท้อนปั ญหาสังคมเมืองในรู ปแบบของการ แสดงออกของคนที่ดอ้ ยกว่า Introduction ศัพท์คาว่า Graffiti หมายถึง"ภาพวาดที่เกิดจากการขีดเขียนหรื อการขูดขีดไปบนผนัง" เป็ นศัพท์ ที่มาจากภาษากรี ก คือคาว่า grapheinที่แปลว่า"การเขียน"และคาว่า "graffiti" โดยตัวของมันเองเป็ น คาพหูพจน์ของคาว่า "graffito" ในภาษาอิตาเลียน ความเป็ นมาในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ถ้ าได้รู้จกั วิธีการขีดเขียนลงบนผนังถ้ าแล้ว มันเป็ น การสะท้อนถึงความต้องการของมนุษย์ในการสื่อสารและพิธีกรรม สาหรับ Graffiti ก็เป็ นตัวแทน ในการแสดงออกเกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ในการติดต่อสื่อสารอีกรู ปแบบหนึ่ง และ Graffiti ได้กลายเป็ นพลังที่มีความโดดเด่นในชุมชนเมืองในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 "นักเขียน"(เป็ นคาเรี ยก พวกที่ทางาน Graffiti ว่า writer)ทั้งหลาย จะไม่เรี ยกงานของพวกเขาว่า Graffiti แต่จะเรี ยกว่า"งาน เขียน". Graffiti เป็ นศัพท์เฉพาะทางสังคมที่มีการพัฒนาขึ้นมาตามวัฒนธรรมในยุคทศวรรษที่ 70
หน้าที่
3
ช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 - ถึงต้นทศวรรษที่ 1970 ในมหานครนิวยอร์ก มีปรากฏการณ์อนั หนึ่งซึ่ง เกิดขึ้นมาและเป็ นที่รู้จกั กันในชื่อของการเคลื่อนไหวของ hip hop Graffiti ซึ่งมีความซับซ้อนและมี วิธีการชั้นสูงในการคิดค้นการตีตราในทัศนะของชีวติ เมือง hip hop เป็ นคาที่ประกอบด้วย rap, break-dance, และ graffiti เกิดขึ้นมาโดยการแสดงออกของชนกลุ่มน้อยที่เป็ นคนยากจน ดังนั้น hip hop จึงเป็ นอีกวัฒนธรรมย่อยที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกัน ถึงแม้วา่ Graffiti จะเป็ นองค์ประกอบที่ใช้เป็ นตัวเชื่อมภายในทั้งหมดของ hip hop แต่มนั ยัง สามารถศึกษาในรู ปแบบที่เป็ นรู ปธรรมได้ดว้ ยเช่นเดียวกับ rap. Graffiti เกิดขึ้นด้วยพลังของตัวมัน เอง ซึ่งมีแหล่งกาเนิดจากมหานครนิวยอร์กและได้ส่งอิทธิพลต่อเมืองต่างๆในสหรัฐอเมริ กา Graffiti สามารถถูกมองได้ในรู ปแบบของศิลปะของการต่อต้านอานาจทางกฎหมาย และในเวลา เดียวกัน ก็มีความหมายของการแสดงความรู ้สึกและการเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมย่อยของตัวมันเอง จากการเกิดขึ้นมาของ Graffiti ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 - ต้นทศวรรษที่ 1970 มันได้ก่อกาเนิด ขึ้นมาอีกครั้งในช่วงต้นปี 1980 ในตอนที่เราเห็นในภาพยนตร์เรื่ อง Beat Streets, Wildstyle, Style Wars และนอกจากนี้ยงั ได้สร้างความน่าสนใจในรู ปแบบของงานศิลปะประเภทหนึ่งในหนังสือ เรื่ อง Subway Art และ Spraycan Art ซึ่งในลอนดอนถือว่าเป็ นที่แรกที่ได้มีการรับเอาและดัดแปลง รู ปแบบของนิวยอร์กมาผสมผสานกับรู ปแบบของ
หน้าที่
4
บทที่ 1 การกาเนิดของ Graffiti ในนิวยอร์ ก ในนิวยอร์ก Graffiti เกิดขึ้นในช่วงปลายของยุค 1960 เมื่อตอนที่ Julio ได้เริ่ มเขียนนามแฝงของเขา (Tag) นัน่ คือ Julio 204 และ Demitrios (หนุ่มชาวกรี ก)ใช้ชื่อว่า Taki183 ซึ่งพบเห็นอยูท่ วั่ ไปใน นครนิวยอร์ก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในรถไฟใต้ดิน ในปี ที่ Taki183 ได้เกิดขึ้น เป็ นช่วงเวลาที่น่า อัศจรรย์ใจที่หนุ่มสาวนับร้อย ต่างพยายามมองหาการแสดงความรู ้สึกของพวกเขาผ่านระบบของ รถไฟใต้ดิน ซึ่งระบบนี้ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวในภายหลัง และเกิดคาว่า hip hop Graffiti ขึ้นมา ประวัติศาสตร์ของ Graffiti ได้เกิดขึ้นในช่วงนี้และได้แพร่ หลายไปในสื่อรู ปแบบต่างๆ แต่อย่างไรก็ ตาม การเปลี่ยนแปลงของมันได้กลายเป็ นวัฒนธรรมซึ่งได้รับความนิยมขึ้นมาใน The New York City Subway (ระบบของรถไฟใต้ดิน) และได้รับการมองว่าเป็ นเครื อข่ายของระบบ Graffiti สาหรับ Graffiti มันกลายเป็ นสัญลักษณ์ของนักเขียน(writer)ที่ใช้แสดงผลงานของเขาสู่สายตา สาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเขียนคนอื่น เพราะด้วยวิธีการดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงความคิด สร้างสรรค์ของพวกเขา บรรดานักเขียนทั้งหลายจะเลือกเส้นทางรถไฟที่เขาพอใจ มันขึ้นอยูก่ บั พืน้ ผิวของรถไฟ และ เส้นทางเดินรถ นักเขียนที่ยงิ่ ใหญ่ของเมืองมักจะมองหา Twos'n five ซึ่งเป็ นหมายเลขของเส้นทาง เดินรถไฟที่เขาจะใช้สร้างสรรค์งาน ซึ่งนัน่ ก็คือผืนผ้าใบหรื อพื้นที่การทางานของพวกเขา Graffiti ยังสามารถทาบนกาแพง หรื อตึกก็ได้ แต่วา่ รถไฟใต้ดินเป็ นสิ่งที่ได้เปรี ยบมากกว่า ทั้งนี้ เพราะมันพางานของพวกเขาไปได้ไกลๆ ทาให้ผคู ้ นทั้งหลายสามารถมองเห็นได้มากกว่า และมัน เป็ นการบ่งบอกถึงศักยภาพที่ยงิ่ ใหญ่ของผูช้ มและการเชื่อมต่อทางจิตใจของเด็ก ๆ ที่มีต่อเมือง ต่างๆ
หน้าที่
5
รู ปแบบ (Form) มีรูปแบบของ Graffiti อยู่ 7 รู ปแบบ ซึ่งรู ปแบบต่างๆขึ้นอยูก่ บั ความซับซ้อน สถานที่กาเนิดของ งาน และขนาดของงาน แต่ละรู ปแบบสามารถอธิบายได้ดงั นี้ 1. Tags เป็ นชื่อที่หมายถึงชื่อเล่นของนักเขียน, นามแฝง ซึ่งเป็ นรู ปแบบที่ธรรมดาที่สุดของ Graffiti ชื่อของนักเขียนจะมีอยูม่ ากเท่าที่ความต้องการในการจดจาชื่อของเขาจะเป็ นไปได้ Tag เปรี ยบเสมือนลายนิ้วมือ ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ในการแยกแยะและสิ่งที่ช้ ีชดั ถึงตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 2. Throw-ups เป็ นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของ Tag โดยปกติจะเป็ นการพ่นสเปรย์อย่างรวดเร็วโดย พ่นสเปรย์กระป๋ องลงบนตัวถังรถไฟ นิยมใช้รูปแบบของตัวอักษรที่เรี ยกว่า Bubble Letter ในการ เขียนชื่อออกมาด้วยตัวอักษรเพียง 2-3 ตัว และมักจะใช้สีเพียง 2 สี สีหนึ่งสาหรับเส้น out line และ อีกสีหนึ่งสาหรับการระบายลงไปในตัวอักษร มันเป็ นวิธีการที่รวดเร็วที่สุดในการสร้างสรรค์ ชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ 3. Pieces เป็ นศัพท์ที่ใช้เรี ยกผลงานชิ้นเอก มันใช้สาหรับการพิจารณาผลงานชิ้นเด่นที่สุดในการ พัฒนางานในรู ปแบบของ Hip Hop Graffiti. Piece จะมีการใช้ตวั อักษรมากกว่า Throw-up และมี การประดิษฐ์ประดอยตัวอักษรมากกว่า การสร้างความงดงามนั้นทาขึ้นโดยเทคโนโลยีที่เรี ยกว่า Fat Cap ซึ่งมันสามารถครอบคลุมพืน้ ที่การทางานได้อย่างรวดเร็ว ขนาดใหญ่ และประณี ต เทคโนโลยี ของนวัตกรรมที่วา่ นี้ ได้ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรู ปแบบ Graffiti ในโลกศิลปะอยูไ่ ม่นอ้ ย เมื่องานขึ้นไปอยูบ่ นตัวถังรถไฟ piece ได้ขยายขนาดกว้างกว่าตัวถังรถและกินพื้นที่ไปจนถึง หน้าต่างของรถไฟและก็ได้ทาให้เกิดรู ปแบบใหม่ ๆ ขึ้นมาอีกจานวนมาก 4. Top to Bottoms รู ปแบบนี้หมายถึง piece ที่คลอบคุลมพื้นที่ของการทางานจากบนสุดถึงล่างสุด ของตัวถังรถไฟ 5. End to Ends เป็ นชื่อที่เกิดจากการประยุกต์งาน มันคือรู ปแบบของการสร้างสรรค์งานที่จากตู ้ โดยสารหนึ่งไปยังอีกตูโ้ ดยสารหนึ่ง แต่ไม่ได้เป็ นการสร้างงานขึ้นมาตลอดทั้งขบวนรถ (creations that cover one end of a subway car to another, but not the entire car)
หน้าที่
6
6. Whole Cars มันเป็ นการทางานลงบนตัวโบกี้รถไฟตลอดทั้งโบกี้ จากหัวถึงท้าย จากด้านบนสุด ถึงด้านล่างสุด มันเป็ นงานที่สร้างความตื่นตาตื่นใจมากเพราะว่ามันเป็ นงาน 3 มิติ ดังนั้นงาน ประเภทนี้จึงเป็ นการทางานร่ วมกันระหว่างกลุ่มหรื อไม่ก็ทีมงาน(Crew) ส่วนการออกแบบงานนั้น ได้มีการวางแผนมาก่อนแล้วโดยการวาดลงสมุดสเก็ตภาพ ซึ่งขั้นตอนนี้ถือว่ามีความสาคัญอย่างยิง่ ในกลางปี 1970 งานรู ปแบบนี้ส่วนใหญ่จะได้รับการยอมรับให้เป็ นผลงานชิ้นเอกบนตัวถังโบกี้ รถไฟ ภาพส่วนใหญ่เป็ นภาพล้อเลียน ข้อความ และภาพเรื่ องราวต่าง ๆ ฉากสาคัญ ๆ และตัว การ์ตูนที่มีชื่อเสียงที่เกิดมาจากวัฒนธรรมอเมริ กนั 7. Whole Trains การสร้างงานให้เกิดขึ้นทั้งขบวนรถไฟ(ต่างๆจาก Whole Car ซึ่งเป็ นการสร้างงาน เฉพาะแต่ละโบกี้)ที่มีชื่อว่า "the freedom train" ถูกสร้างขึ้นในปี 1976 ซึ่งถือได้วา่ เป็ นงานที่ประสบ ความสาเร็จอย่างสูงสุด แต่ทว่างาน the freedom train มีอายุงานที่ส้ นั มาก เพราะเหตุวา่ มันได้ถูก ระบายสีทบั ไปหลังจากที่ได้สร้างงานเสร็จเพียงวันเดียว สไตล์ (Style) ส่วนใหญ่แล้วมักจะเริ่ มจากการใช้ Tag ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นที่จะใช้ในการพัฒนารู ปแบบของตนเอง ขนาดที่แตกต่างออกไป และสีที่จะแสดงถึงความโดดเด่นออกมาจากงานของคนอื่น ในกลางปี 1970 จุดสูงสุดของรู ปแบบตัวหนังสือกลายเป็ นจุดสนใจที่สาคัญของนักเขียน นักเขียน จานวนมากในแมนฮัตตันได้มีการปรับเปลี่ยนในรู ปแบบของตัวอักษรให้ ยาว ผอม และเบียดติดกัน ให้อยูใ่ นพืน้ ที่ขนาดเล็ก ส่วนในนิวยอร์กก็ได้มีการพัฒนารู ปแบบของตนเองเช่นกัน ซึ่งสามารถทา ให้อยากรู ้วา่ งานเขียนชิ้นนี้มาจากนักเขียนคนใด ส่วนนักเขียนคนอื่น ๆ ก็ได้คิดสร้างสรรค์งานใน รู ปแบบหรื อสไตล์ของตนเอง มีการใช้ชื่อที่ไพเราะมากขึ้น งานที่ชื่อ Style wars มีชื่อเสียงขึ้นในหมู่นกั เขียน ในตอนที่ Graffiti เหมือนอยูใ่ นยุคที่กาลังมีการ แข่งขันกันทางด้านความคิดสร้างสรรค์ นักเขียนต่างวิพากษ์วจิ ารณ์งานของกันและกัน ทั้งเรื่ องของ รู ปแบบดั้งเดิมและความเฟื่ องฟูของตัวอักษร การระมัดระวังเรื่ องของสเปรย์ เส้นตัดขอบที่คมชัด และการเพิม่ เติมรายละเอียดในการสร้างสรรค์งานประเภท Burner (หมายถึงผลงานชิ้นเอกที่ยอด เยีย่ มที่สุด)
หน้าที่
7
Style และเทคนิกได้ถูกนาเอามาใช้ร่วมกับ wildstyle (คือตัวอักษรที่แทบจะอ่านไม่ออก, ตัวอักษรที่ เกี่ยวพันกันไปมาและมีทิศทางที่ไม่สามารถกาหนดได้), ตัวอักษร 3 มิติ , Fading (คือการผสมสี), ตัวอักษรที่แตกกระจาย , ตัวอักษรแหลม ๆ รวมไปถึงตัวอักษรที่มีรูปแบบเป็ นตัวอักษรใน คอมพิวเตอร์ที่เหมือนกับตัวอักษร 3 มิติที่มีเงา ซึ่งเป็ นการดัดแปลงตัวอักษรที่มาจากรู ปแบบเก่าๆ ตัวอักษรของ Wildstyleเป็ นตัวอักษรที่อ่านได้ค่อนข้างยาก ซึ่งอยูน่ อกเหนือบรรดาวัฒนธรรมย่อย ในการสร้างสรรค์งาน ข้อขัดแย้งมักเกิดขึ้นเสมอระหว่างนักเขียนด้วยกัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นการกล่าวหาและมีเรื่ อง กระทบกระทัง่ กันเล็กๆน้อยๆ การที่นกั เขียนได้ทาการเข้าไปสารวจตรวจสอบผลงานของนักเขียน อีกคนหนึ่งนั้น มันเกิดขึ้นโดยหลายๆสาเหตุ ตั้งแต่เป็ นการขอร้องไปจนถึงเป็ นการท้าทาย เพราะว่า การมีพ้นื ที่ๆจากัด มันทาให้มีการจ้องที่จะดูถูกผลงานของคนอื่นอยูต่ ลอดเวลา และนักเขียนหน้า ใหม่ๆ กาลังค้นหาการปรับเปลี่ยนจากงานของนักเขียนที่ได้รับการยอมรับ ชื่อเสียง (Fame) นักเขียนที่มีชื่อเสียงจะถูกพิจารณาเยีย่ งราชา นักเขียนที่มีชื่อเสียงแล้วจะถูกตีตราว่าเป็ นราชาของ รู ปแบบนั้น ๆ แต่อย่างไรก็ตาม สาหรับชื่อเสียงนั้นมีการเปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ เพราะมีนกั เขียนที่ ต้องการไปถึงจุดนั้นและพยายามขวนขวายหารู ปแบบของตัวเอง เพือ่ ว่าจะได้เป็ นราชาในรู ปแบบ ใหม่ๆ ทาให้ราชามีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ถึงแม้วา่ รู ปแบบ สี ลักษณะ จะเป็ นสิ่งสาคัญ แต่ การกระตุน้ ก็เป็ นปั จจัยแรกที่จะให้เกิดการทางานต่อไป
หน้าที่
8
บทที่ 2 สภาพสั งคมและวัฒนธรรมของ Graffiti Graffitiเป็ นที่สนใจของนักสังคมวิทยา,นักมานุษยวิทยา,นักจิตวิทยา,นักอาชญากรรมวิทยา ศิลปิ น และคนอื่น ๆ พวกเขาค้นหาว่าทาไมคนเหล่านี้ถึงได้พยายามสร้างงาน Graffiti ขึ้นมา อะไรคือ แรงจูงใจของคนพวกนี้ และแหล่งเงินทุนไหนที่ให้การสนับสนุนซึ่งทาให้พวกเขาสามารถสร้างงาน ต่อไปได้ มันคือแรงขับทางวัฒนธรรมย่อย ซึ่งก็เหมือนกับ hip hop บรรดานักเขียนและทีมงาน (Writers and Crews) นักเขียนส่วนใหญ่จะเป็ นชนกลุ่มน้อยที่มีฐานะยากจน ส่วนใหญ่จะเป็ นพวกคนผิวดา ส่วนคนผิว ขาวพอมีอยูบ่ า้ ง ชนชั้นกรรมาชีพผิวขาวที่มีชีวติ อยูก่ บั การทางาน สนใจงานประเภทนี้และพวกเขา จะถูกแยกแยะด้วย hip hop เป็ นเพราะพวกเขาไม่ได้รับการเชื่อเชิญให้อยูใ่ นสังคมของชนชั้นกลาง ของพวกผิวขาวตามปกติ(ที่เรี ยกกันว่า WASP - white anglosaxon protestants) เมื่อ Graffiti ได้แพร่ หลาย มันก็ได้เป็ นที่สนใจของวัยรุ่ นจากบุคคลที่มีฐานะมัง่ คัง่ ร่ ารวยด้วย ซึ่ง ได้รับแรงจูงใจด้วยความรุ นแรงและความเร้าใจของ Graffiti จากนั้นก็ได้ครอบคลุมไปยังคนผิวขาว ซึ่งถูกแยกแยะด้วยความป่ าเถื่อน และทัศนคติที่ผดิ กฎหมายต่างๆ นักเขียนส่วนใหญ่เริ่ มตั้งแต่ตอนยังเป็ นเด็กตัวน้อย ๆ ไปจนถึงอายุ 10 - 11 ปี และบางส่วนก็ได้หยุด เขียนงานของพวกเขาตอนที่อายุ 16 ปี และเริ่ มที่จะทางาน ต่อตอนที่อายุได้ 20 กว่า ๆ ซึ่งตอนนั้น พวกเขาได้กา้ วเข้าสู่โลกของศิลปะแล้ว และนับแต่นนั่ พวกเขาก็จะสร้างสรรค์งาน Graffiti ต่อไป เรื่ อย ๆ แต่อะไรคือหน้าที่ทางสังคมของ Graffiti ที่ได้แสดงออกมา ? มีผคู ้ นและนักวิชาการหลายคน พยายามแสดงทัศนะของตนออกมา ซึ่งจากการประมวลความคิดและเหตุผลทั้งหลายพอสรุ ปได้วา่ หน้าที่ทางสังคมนี้จะทาให้สาเร็จได้เมื่อ : 1. เมื่อมันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมโดยส่วนรวมของมนุษย์ 2. Graffiti ได้รับการสร้างสรรค์ข้ นึ เพือ่ การมองเห็น หรื อไม่ก็ใช้ในเหตุการณ์พ้นื ฐานทัว่ ๆไป 3. Graffiti ได้แสดงออกและอธิบายถึงทัศนคติของคนที่ถูกกดขี่โดยรวมๆเกี่ยวกับการดารงชีวติ ที่ ขัดแย้งกับความเป็ นปั จเจกชนและการมีประสบการณ์ส่วนตัว
หน้าที่
9
นักเขียนมักจะมีการร่ วมมือสร้างงานกันเป็ นทีมอยูบ่ ่อยครั้ง ทีมงานจะสร้างงาน Graffiti จากการ แสดงออกของความเป็ นตัวของตัวเอง เพือ่ นาไปสู่การคิดสร้างสรรค์ที่มีวตั ถุประสงค์เดียวกัน แต่ พ่อแม่ของบรรดานักเขียนเหล่านี้ต่างก็ไม่ยอมรับในงานอดิเรกของลูกๆ และน้อยคนนักที่จะเข้าใจ "มุมของนักเขียน"ได้เกิดขึ้นในนิวยอร์ก งานชิ้นแรกได้เกิดขึ้นมาในปี 1972 ที่ ถนนอูดูบอน หมายเลข 188 ในแมนฮัตตัน หลังจากนั้นกลุ่มของนักเขียนก็ได้เกิดขึ้นทัว่ เมือง ทั้ง Vanguards , Last Survivors ,The Ex-Vandals ก็ได้เกิดขึ้น แต่ก็สลายตัวไปในที่สุด เนื่องจากปั ญหาเกี่ยวกับการ ต่อสูก้ นั ระหว่างกลุ่มแก๊งต่างๆ แต่ท้งั นี้ท้งั นั้น ตานานในใจของนักเขียนและการส่งอิทธิพลต่องาน รุ่ นหลัง ๆ ก็ยงั คงมีอยูเ่ สมอมา ในบรรดานักเขียนและกลุ่มคนทางานเหล่านี้มีสิ่งที่เหมือนกันอยูบ่ างอย่างก็คือ : ทั้งคู่ต่างก็ตอ้ งการ การยอมรับ ต้องการความมีเกียรติ, ใช้นามแฝง, เข้าไปมีส่วนร่ วมในกิจกรรมที่ผดิ กฎหมาย, มองเห็นตนเองที่ประสบความสาเร็จในด้านมืด, อายุยงั น้อย และมีความยากจน ในหนังสือ Street Gangs อธิบายถึงแรงกระตุน้ ที่อยูเ่ บื้องหลังแก๊งข้างถนนและพฤติกรรมของพวก เขาว่า Graffiti มันเป็ นวิธีการเดียวที่จะทาให้รู้สึกโดดเด่นได้เหมือนเป็ น "ใครบางคน" สามารถ แสดงความเป็ นเจ้าของได้, รู ้สึกถึงการได้รับการยอมรับและถูกให้ความสาคัญขึ้นมาสาหรับใคร หลายๆคน ซึ่งเติบโตมาจากผูม้ ีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดอ้ ยกว่า กิจกรรมของกลุ่มคนเหล่านี้จะเป็ นวิธี เดียวที่จะมาเติมเต็มความรู ้สึกในความกระหายของพวกเขา กลุ่มของ Graffiti เป็ นทางออกของบรรดานักเขียน ถึงแม้วา่ บางครั้งจะมีการก่อเหตุทะเลาะวิวาทกัน ขึ้นมาบ้าง แต่มนั ก็ไม่ใช่เจตนาที่ตอ้ งการจะทาให้เกิดเรื่ องราวนั้นขึ้นมา และก็เช่นกัน ถึงแม้วา่ บางส่วนของงานจะมีผลกระทบกับธรรมชาติ ก็ถือว่ามันเป็ นการแสดงออกทางด้านจิตวิทยาผ่าน ทางงานศิลปะมากกว่าการแสดงออกทางด้านร่ างกาย กลุ่มนักเขียนได้เริ่ มรวมตัวกันขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของยุค Ex- Vandals และหลังจากนั้นกลุ่มที่มี ชื่อเสียงที่สุดคือ The Fabulous Five และก็เป็ นที่ยอมรับนับถือของกลุ่มคนเหล่านั้นด้วยเช่นกัน
หน้าที่
10
องค์กร (Organization) ในปี 1972 Graffiti ได้เกิดมุมมองใหม่ข้ นึ มา กลุ่มของคนทางานเกิดมาจากการรวมตัวของเด็ก นักเรี ยนโดย Hugo Martinizeซึ่งถูกเรี ยกว่า United Graffiti Artists (UGA). Martinizeได้ต้งั กลุ่มของ Graffiti ที่มีพฒั นาการมากยิง่ ขึ้นในรู ปแบบที่เป็ นที่ยอมรับ จุดประสงค์ของ Martinizeคือการชักนา ให้หนุ่มสาวที่ทางานประเภทนี้มีมุมมองด้านบวกซึ่งเป็ นที่ยอมรับมากขึ้น กลุ่มเหล่านี้ซ่ ึงรวมถึง นักเขียนที่มีชื่อเสียงในช่วงเวลานั้นด้วย องค์กรนี้ได้จดั แสดงงานและได้รับเงินส่วนแบ่งในรู ปแบบ ต่าง ๆ รวมไปถึงภาพจิตรกรรมที่ได้สร้างสรรค์ข้ นึ เพือ่ ใช้เป็ นฉากหลังของการแสดงบัลเล่ต์ "Deuce Coupe" ด้วย แต่ในที่สุดก็เกิดปั ญหาขึ้นเนื่องจากความกดดันทางด้านเชื้อชาติ ทาให้ในที่สุด UGA ก็สลายตัวไปและในช่วงเวลานั้น Graffiti ก็ได้มาถึงจุดตกต่าที่สุด ในกลุ่มอื่น ๆ เช่น The National Organization of Graffiti Artists (NOGA) ก็ได้รับการก่อตั้งขึ้นมา ในกลางปี 1974 โดยผูก้ ากับละครเวทีที่ชื่อ Jack Peslingerพวกเขาได้จดั การแสดงผลงานของตัวเอง แต่ในที่สุดก็มีปัญหาทางการเงินที่คาราคาซังมานาน พวกเขาถูก MTA(หน่วยงานที่ดูแลรถไฟใต้ ดิน)ปฏิเสธในข้อเสนอที่วา่ จะทาสีรถไฟใต้ดินให้ใหม่เพือ่ นาเงินส่วนนั้นมาใช้ในองค์กรของพวก เขา
หน้าที่
11
การเมือง (Politics) ตั้งแต่ได้มีพฒั นาการของ Graffiti ในรถไฟใต้ดินมานั้น มันก็กลายเป็ นประเด็นการโต้เถียงที่เผ็ด ร้อนที่สุดในกลุ่มของเจ้าหน้าที่บา้ นเมือง หลังจากปี 1975 ความสนใจในสื่อประเภท Graffiti ได้ ลดลงและก็ไม่ได้รับการสนใจจนกระทัง่ Hip Hop ได้รับความนิยมขึ้นมาอีกครั้งในช่วงปี 1980 Hip Hop การเกิดขึ้นมาของ Hip Hop ในนิวยอร์กนั้นสามารถอธิบายได้ถึง "กายภาพของสังคมเมืองและ ความรุ นแรงทางด้านจิตวิทยา" Hip Hop เกิดขึ้นในสังคม วัฒนธรรม และการเมืองที่มีความไม่เสมอ ภาคกัน ซึ่งเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นเป็ นประจาในอเมริ กา และ Graffiti ก็จะถูกมองว่าเป็ น "การแสดงออก ส่วนบุคคลที่เกิดจากความคับแค้นใจและต้องการอิสรภาพ" Hip Hop ประกอบด้วย ดนตรี rap, Djing, Break-dance, และ Graffiti. Graffiti และ rap เป็ นการแสดงออกในที่สาธารณะที่มีความ ก้าวร้าวเป็ นพิเศษถึงการต่อต้านและการใช้เสียง ศิลปิ น Hip Hop ได้ถูกรวบรวมให้อยูใ่ นกลุ่มเดียวกับพวก Underground ที่อยูใ่ นรู ปของศิลปะ คุณค่าและภาษามันมีอยูใ่ นรู ปแบบของพวกเขาเอง Hip Hop มักจะมีการติดต่อกับพลังจากภายนอก ซึ่งอยูใ่ นระบบของอเมริ กนั ชนที่มีขนาดใหญ่ Graffiti และ Hip Hop ได้แพร่ เข้าสู่สงั คมเมืองใน รู ปแบบของ Underground Hip Hop และได้เป็ นที่ยอมรับมากขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1980 ซึ่งก็ได้ถูก นาไปใช้บนแผ่นฟิ ล์มด้วยเช่นกัน หนังเรื่ อง Wildstyle, Beat Street และ Style Wars เป็ นสัญลักษณ์ของงานประเภทนี้ที่มีชื่อเสียงมาก ของ Hip Hop และมันได้รับการนาไปใช้ในการนาเสนองานของ Lee และ Lady Pink ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ Graffiti ก็ได้มีการเชื่อมกับ rap ด้วย สาหรับพัฒนาการต่อมาของ Graffiti พบว่า มีพวก Rapper ที่สร้างงาน Graffiti ลงบนเสื้อผ้าและ วัฒนธรรมนอกกาแพง โดยการตกแต่งลงบนเสื้อแจ็คเก็ตและได้มีการวาดลงบนฉากหลังของการ แสดงการเต้น rap ซึ่งเป็ นวิธีหนึ่งที่จะแสดงออกถึงความร่ วมมือร่ วมใจกัน ความก้าวร้าวและหยาบคายจากภายในส่วนลึกของสังคมเมืองได้แสดงออกมาผ่านงานของนักเขียน ด้วยเช่นกัน ดนตรี rap ไม่ใช่เพียงสิ่งเดียวที่มีอิทธิพลต่อนักเขียน Graffiti เพราะว่ามันยังมาจากพวก พังค์ร็อกในปี 1980 และร็อกเอนโรล ด้วยเช่นกัน
หน้าที่
12
มหานครนิวยอร์ก (New York City) พื้นที่เมืองของมหานครขนาดใหญ่ จะถูกแบ่งแยกออกเป็ นเมืองเล็กเมืองน้อย โดยชนกลุ่มน้อย ชน ชั้นวรรณะ และการแบ่งสีผวิ และ Graffiti ในสายตาของผูค้ นก็ยงั เป็ น "การคุกคามเมืองอยูท่ ุกๆวัน ทั้งนี้เป็ นเพราะการผสมกลมกลืนทางเชื้อชาติของเด็กๆ ที่มาจากพื้นฐานของชีวติ ที่แตกต่างกัน" สังคม วัฒนธรรม และการเมืองในนิวยอร์กในช่วงปี 1970 ได้มีการเปลี่ยนแปลงครั้งยิง่ ใหญ่ มีความ ระส่ าระสายทางการเมือง เพราะมีการเคลื่อนไหวของพวกชนผิวดา บรรดานักต่อสูท้ ้งั หลาย รวมทั้ง กลุ่มเคลื่อนไหวเพือ่ สิทธิมนุษยชน การเจริ ญเติบโตทางด้านเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ การงาน การเปลี่ยนแปลงของสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน กองทุนของสหภาพ ที่อยูอ่ าศัย และการ อพยพโยกย้าย ที่อยูอ่ าศัยรู ปแบบใหม่จากประเทศอุตสาหกรรมของโลกที่ 3 ซึ่งได้มาสนับสนุน สภาพสังคมและเศรษฐกิจของอเมริ กา กลไกความยากจน , การไร้ที่อยูอ่ าศัย , ลัทธิชาตินิยมยังคงเป็ นเรื่ องรุ นแรง , การก่อความรุ นแรง , การละทิง้ ที่อยูอ่ าศัย ระบบการเรี ยนที่ยา่ แย่ ความช่วยเหลือทางสวัสดิการสังคมและรัฐบาลก็ยา่ แย่ เพราะมีการไหลทะลักของสิ่งเสพติดเข้ามาในชุมชน ในปี 1970 อัตราการเกิดได้เพิม่ สูงขึ้น และมี ช่องว่างทางสังคมค่อนข้างสูงระหว่างความมัง่ คัง่ เทคโนโลยี กลุ่มคนทางานออฟฟิ ซที่มีคุณภาพ ชีวติ ขึ้นอยูก่ บั ระบบการเงินและเศรษฐกิจ กับคนตกงานและการให้บริ การแก่คนตกงาน สิ่งเหล่านี้ เป็ นภาพที่แท้จริ งที่คนผิวดาทั้งหลายได้พบเจอและมีประสบการณ์ นี่เป็ นผลที่ได้จากการตัดความ ช่วยเหลือซึ่งก็ทาให้เกิดปั ญหาขึ้นตามมามากมาย Graffiti และ Hip Hop สามารถมองเห็นได้ในลักษณะของเสียงสะท้อนของการประดิษฐ์คิดค้นจาก ภายในความเป็ นเมือง ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการในการต่อต้านความแปลกแยกของพวก เขา Graffiti ได้แพร่ กระจายเข้าไปในสังคมเพือ่ ทาการต่อต้าน การก่อเหตุจลาจล รวมไปถึงการ ต่อต้านอานาจ และการเปลี่ยนมุมมองของสังคม เพือ่ เป็ นการส่งอิทธิพลต่อสังคม Graffiti เป็ น เหมือนกับการทาลายและการสะท้อนถึงความมีเหตุผลที่ไม่ปกติในเวลาเดียวกัน Hip Hop เป็ นเหมือนเสียงสะท้อนของคนกลุ่มน้อยในสังคมของนิวยอร์ก เด็กๆเหล่านั้นได้ใช้ อุปกรณ์ของกระป๋ องสเปรย์และไมโครโฟน เพือ่ ทาการติดต่อสื่อสารและยืนยันวัตถุประสงค์ของ การเคลื่อนไหวของพวกเขาในแต่ละครั้ง ต่อสายตาคนภายนอก Graffiti สามารถมองเห็นได้ใน รู ปแบบของศิลปะเพือ่ สาธารณะ พกผืนผ้าใบไปตามท้องถนนแล้ววางมันลง ไม่วา่ คนดูจะชอบมัน หรื อไม่ก็ตาม
หน้าที่
13
บทที่ 3 การต่ อต้ านของเมืองที่มีต่อ Graffiti มีคนกล่าวว่า "เราคิดว่า Graffiti เป็ นการทาลายล้าง พวกเขาคิดว่าพวกเขาเป็ นศิลปิ นและมีสิทธิ เต็มที่ในการพูดเพือ่ แสดงออกในความเป็ นตัวของตัวเอง และความเป็ นศิลปะอย่างเต็มที่ Graffiti จะ ดูดีสาหรับพวกเขาและเพือ่ น ๆ ของเขา แต่คนส่วนใหญ่ไม่ตอ้ งการที่จะมองดูมนั ทุกๆวัน เพราะมัน รกลูกตา สกปรก ป่ าเถื่อน และปราศจากรสนิยม" ตั้งแต่ความนิยมของ Graffiti ได้เริ่ มขึ้นในปลายปี 60 การต่อต้านก็มีข้ นึ ทันที Graffiti ถูกมองว่าเป็ น คาที่หมายถึงความเสียหาย เป็ นสัญลักษณ์และความเสื่อมทรามของสังคม เปรี ยบได้กบั ปรอทที่มี ความแม่นยาในการวัดความเสื่อมสภาพของสังคมเมือง การต่อต้าน (Resistant) รถไฟใต้ดินถูกทาความสะอาดโดยการขัดถูจากแรงงานคน มันเรี ยกได้วา่ เป็ นวงจรอุบาทว์พอๆกับ ตอนที่รถไฟกลับมารับการทาความสะอาดในตอนที่ได้รับความนิยมขึ้นมาอีกครั้ง ในกลางปี 1970 พวกต่อต้าน Graffiti ได้หวนคืนกลับมาอีกครั้ง เพราะมันถูกมองว่า ภาพสะท้อนของ Graffiti คือ ความฟอนเฟะของสังคมเมือง งาน Graffiti ในรถไฟใต้ดินมีการเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อได้มีการปิ ดหน้าต่างทั้งหมด มันทาให้สาธารณชนรู ้สึกว่า..มันไม่ใช่เรื่ องง่าย เมื่อมันเป็ นเรื่ อง ยากว่ารถไฟได้เคลื่อนขบวนไปถึงสถานีไหนแล้ว เจ้าหน้าที่ยงั คงเป็ นกังวลเกี่ยวกับพวกที่ก่อเหตุ และทาลายทรัพย์สินส่วนรวม ส่วนวิธีการอื่นในการต่อต้านที่นอกเหนือจากการคอยทาความสะอาด ก็คือการทาลาย วิธีการหนึ่งก็ คือโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิตสเปรย์กระป๋ องที่มีการทาเป็ น Fat Caps ออกมาซึ่งไม่มีความพอดีกนั อีกต่อไป แต่ท้งั นี้ท้งั นั้นรู ปแบบก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปเพือ่ ให้เกิดความเหมาะสมกับวัตถุดิบที่ นามาใช้
หน้าที่
14
แรงกดดันของตารวจ (Police Pressure) มีประเด็นหลัก ๆ อยู่ 3 ประการที่จะทาการต่อต้านงาน Graffiti 1. มันเป็ นภาพของความเป็ นจริ งว่า Graffiti เป็ นสิ่งที่ผดิ กฎหมาย มันเป็ นภาพของอาชญากรรม 2. อู่จอดรถไฟเป็ นพื้นที่อนั ตรายสาหรับนักเขียน และตารวจก็ตอ้ งคอยดูแลสถานที่เหล่านี้ให้พน้ จากอันตราย 3. Graffiti นาไปสู่การก่ออาชญากรรม(จากการสารวจมา 2 ครั้ง) ถึงแม้วา่ ตารวจจะมีการพัฒนาการจับกุมคนเหล่านี้ นัน่ ก็ไม่ใช่เรื่ องที่จะมาขัดขวางการทางานของ พวกเขายิง่ ไปกว่าความหยาบคายของตารวจที่ทากับพวกเขา นักเขียนก็ยงั คงเห็นตารวจเป็ นศัตรู ตวั ฉกาจหมายเลข 1 ในปี 1979 ด้วยเหตุผลอันใดไม่ทราบตารวจกลุ่มนี้ก็ได้สลายตัวไปและก็มีตารวจ กลุ่มใหม่เกิดขึ้น ในปี 1980 พวกเขาได้มีการวางแผนตามคาแนะนาว่า ถ้าพบเห็นการใช้สเปรย์พน่ ลงบนสิ่งก่อสร้างสาธารณะให้มีบทลงโทษทั้งจาทั้งปรับ สื่อ (Media) กลุ่มต่อต้าน Graffiti ได้ทาการผลิตสื่อออกมาในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น poster, TV , Slogan บรรดา สาธารณชนต่างให้กาลังใจที่จะเข้าร่ วมในวันต่อต้าน Graffiti โฆษณาเต็มแผ่น poster ที่ใช้ชื่อว่า Village Voice ก็ได้ถูกเผยแพร่ ออกมา มีคนกล่าวว่า Graffiti เป็ นสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ หนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทส์ม ได้เข้าร่ วมการต่อต้าน แต่นิวยอร์กแมกกา ซีนกลับแสดงจุดยืนที่แตกต่างออกไป เขาบอกว่า "มันไม่ใช่การเติบโตของการนิยมชมชอบเพียง ชัว่ ขณะ แต่สาหรับการต่อต้านที่แสดงออกมานั้น มันอาจจะเป็ นเพียงเสียงของเด็กๆที่มีความ สมบูรณ์พนู สุข และเป็ นการยืนยันให้กบั คนทัว่ ไปได้รับรู ้ถึงบ้านเกิดของพวกเขา" นิวยอร์กแมก กาซีนยังคงพิมพ์เผยแพร่ ภาพของ Graffiti ที่พวกเขาได้พจิ ารณาให้รางวัลชนะเลิศ ซึ่งข้อความนี้ ก็ ได้วางคู่อยูใ่ นหน้าเดียวกันที่พดู ถึงทั้งการต่อต้านและสนับสนุนงาน Graffiti การขัดถูทาความสะอาด (The Buff) มันเป็ นสงครามการต่อต้าน Graffiti ที่มีความก้าวหน้ามากขึ้น การคิดที่จะลบงาน Graffiti โดยการทาความสะอาดรถไฟ รวมไปถึงการใช้แรงงานคนในการทา ความสะอาด อย่างไรก็ตาม การทาความสะอาดดังกล่าวนามาซึ่งปั ญหาที่รุนแรง : โรงเรี ยนที่อยูใ่ กล้ บริ เวณนั้นต้องปิ ดลง เพราะนักเรี ยนมีปัญหาเรื่ องระบบทางเดินหายใจ รวมไปถึงคนทาความ สะอาดรถไฟ ก็มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและอาเจียรออกมาด้วยเช่นกัน สารเคมีที่ใช้ใน การกัดกร่ อนทาความสะอาด ถูกพบว่าเป็ นสารเคมีที่มีอนั ตราย และในที่สุดสารเคมีดงั กล่าวซึ่งถูก
หน้าที่
15
นามาใช้ได้ก่อให้เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นต่อเมืองในที่สุด การกาจัด Graffiti นั้นจึงทาได้เฉพาะ บางส่วน ท้ายสุด ได้มีการค้นหารถคันใหม่ที่จะใช้ในการทางาน ถึงแม้วา่ ในช่วงนี้หลาย ๆ คนจะได้หยุด ทางาน Graffiti ไปแล้วก็ตาม แต่บางส่วนก็คงทาอยู่ บรรดานักหนังสือพิมพ์ได้วพิ ากษ์วจิ ารณ์ถึง ความล้มเหลวของ MTA(หน่วยงานดูแลรถไฟใต้ดิน) ในการต่อต้าน Graffiti ในปี 1981 ทาให้เกิดการต่อต้านรู ปแบบใหม่เกิดขึ้น รั้วสายไฟเปลือยและสุนขั เฝ้ ายามได้ถูกนาเอา มาใช้ในอู่จอดรถไฟ 1 ปี ต่อมา ผูว้ า่ การรัฐได้ออกกฎหมายที่หา้ มไม่ให้มีการจาหน่ายสีสเปรย์กบั พวกคนผิวดา หลังจากปี 1988 Graffiti ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอีก มันถูกทาขึ้นอย่างมากมายตาม ท้องถนน ด้านในของรถไฟ กาแพงและในสมุดสเก็ตภาพ มันสืบเนื่องมาจาก 3 โครงการขนาดใหญ่ หรื อไม่ก็มากกว่านั้น ที่มีการเปลี่ยนถ่ายอานาจเพือ่ ต้องการกาจัด Graffiti ไปในที่สุด Graffiti ในรถไฟใต้ดินได้ส้ินสุดลงไปเมื่อ 12 พฤษภาคม 1989 อย่างเป็ นทางการ แต่ในความเป็ น จริ งแล้วมันก็ยากเกินกว่าที่จะยุดยัง้ ลงได้ เพราะว่า Graffiti ได้แพร่ ไปทัว่ โลก มันเป็ นวิธีการที่ ล้าสมัยไปเสียแล้วในการต่อต้านและชัยชนะเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการแก้ปัญหา มีการพยายาม แก้ไขด้วยหลายวิธี แต่ก็ไม่มีครั้งไหนที่สาเร็จเหมือนในปี 1989
หน้าที่
16
บทที่ 4 ตัวแทนของผู้หญิง - ผู้หญิงในงาน Graffiti ผูช้ ายส่วนใหญ่มกั ครอบงามุมมองของ Hip Hop และ Graffiti ก็ไม่ให้การยอมรับผูห้ ญิงที่ทางาน ประเภทนี้ แต่อย่างไรก็ตาม แม้วา่ จะมีอยูเ่ พียงน้อยนิด แต่ก็เป็ นจานวนที่มีความสาคัญสาหรับ ผูห้ ญิงที่เป็ นตัวแทนในการทางานด้านนี้ ดังเช่น Lady Pink นักเขียนหญิงคนหนึ่งที่มีชื่อเสียงมาก ที่สุด ซึ่งปั จจุบนั นี้เธอยังคงเขียนงานอยู่ ผูห้ ญิงจะมีโอกาสน้อยที่จะประสบความสาเร็จในงาน Graffiti นอกจาก Lady Pink แล้วยังมีคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงอีกเช่น barbara62, Eva62, Charmin, Stoney ผูห้ ญิงส่วนใหญ่มกั จะใช้ชื่อของผูช้ าย เหตุผลที่จะอ้างได้ในตอนนี้ก็คือ เพือ่ ให้เป็ นที่ยอมรับ ก่อนที่จะสร้างงานที่มีรูปแบบที่เหมือนกันออกมาในชื่อของผูห้ ญิง นักเขียนชายส่วนใหญ่ไม่ชอบนักเขียนหญิง ผูห้ ญิงส่วนใหญ่มกั จะไม่ได้เข้าร่ วมกลุ่มหรื อองค์กร แต่อย่างไรก็ตามเมื่อมีโอกาส แม้วา่ จะน้อยนิด ถ้าผูห้ ญิงถูกพิจารณาให้เป็ นนักเขียนที่ดี / เลว เธอก็ จะถูกเชื้อเชิญให้เข้าร่ วมสร้างสรรค์งานร่ วมกัน ในทีมทางานที่เป็ นผูห้ ญิงทุกคน มักจะตกเป็ นเบี้ย ล่างให้กบั นักเขียนชาย และงานของนักเขียนชายจะส่งอิทธิพลครอบงางานของพวกเธอ และพวก เธอก็จะตกเป็ นขี้ปากเกี่ยวกับเรื่ องราวทางเพศด้วยเช่นกัน รู ปแบบของงานผูห้ ญิงก็มีความคล้ายคลึงกับงานของผูช้ าย ถึงแม้วา่ ผูห้ ญิงจะทางานที่มีรูปแบบที่ แสดงออกถึงความเป็ นหญิงมากกว่า การใช้สีดาน้อย, มีสีสนั มากกว่า, สามารถมองเห็นลักษณะของ ตัวอักษรและพื้นหลังได้ชดั เจนกว่า, ด้วยการใช้สีที่บ่งบอกถึงเพศนี้ก็ยงั คงมีรูปแบบและวิธีการเดิม ผูห้ ญิงเหล่านี้ยงั คงแสดงความเป็ นตัวของตัวเองลงไปในงาน ซึ่งก็เป็ นสิทธิของพวกเธอที่จะทา เช่นนั้น และบางครั้งพวกเธอก็ทางานได้ดีกว่าพวกผูช้ ายด้วยซ้ าไป บทที่ 5 จากงานใต้ดินสู่งานที่ได้รับการยอมรับ - งานเขียนที่ได้จดั แสดงในแกลลอรี่ มีคนกล่าวที่วา่ งาน Graffiti ถูกพิจารณาให้เป็ นศิลปะที่มีคนพูดถึงน้อยที่สุด คาถามต่อมาก็คือ เป็ น เพราะความรุ นแรงของมันใช่ไหม และเนื่องมาจากการทาผิดกฎหมายบนท้องถนน หรื อข้างๆรถไฟ ใช่หรื อไม่ และถ้าศิลปะที่วา่ นี้อยูบ่ นผืนผ้าใบบนกาแพง หรื อมีการโฆษณาที่ถูกต้องสมเหตุสมผล หนุนหลังอยูล่ ่ะ อะไรคือความแตกต่างระหว่าง"ศิลปะ"กับ"ศิลปะที่แสดงถึงความรุ นแรงดังกล่าว"
หน้าที่
17
ถ้าจะพูดอีกอย่าง Graffiti ได้รับการตีตราว่าเป็ นเรื่ องของการทาลาย และเป็ นสิ่งที่ถูกปฏิเสธจาก สังคม แต่ถา้ โชคชะตาเล่นตลกให้มนั ไปอยูใ่ นโลกของงานศิลปะ เพือ่ ที่จะให้ได้รับการยอมรับมาก ขึ้นล่ะ มีคนกล่าวไว้วา่ "มันเป็ นอุบายที่จะเรี ยก Graffiti ว่าเป็ นศิลปะ ทั้งๆที่มนั เกิดขึ้นนอกเหนือ ระบบของการกาเนิดงานศิลปะ ดังนั้นถ้าคุณเอางาน Graffiti ไปแสดงในแกลลอรี่ มันก็ไม่ต่างไป จากการเอาสัตว์ไปใส่ไว้ในกรงขัง" ออกมาสู่บนดิน (Going Overground) Graffiti กลับเข้ามาสู่กระแสของงานศิลปะ 2 ครั้ง นัน่ คือในปลายปี 1972 และอีกครั้งในปี 1980 ใน ปี 1972 UGA ได้จดั แสดงงานที่ Razor แกลลอรี่ การแสดงคราวนั้นได้รับการบันทึกลงในแมก กาซีนนิวส์วคี และในปี 1974 ก็มีการตีพมิ พ์ถึงประวัติของ Graffiti เป็ นครั้งแรก ในปี 1975 แกลลอรี่ ยา่ นโซโห(ลอนดอน) ก็มีการเปิ ดการแสดงนิทรรศการ Graffiti เช่นเดียวกัน มี การซื้อขายงานซึ่งราคายังถือว่าถูกมากสาหรับ Graffiti บนผืนผ้าใบ ทั้งนี้เป็ นเพราะ นี่คือความงาม ทางศิลปะรู ปแบบใหม่และเป็ นเพียงแค่การเริ่ มต้นเท่านั้น ซึ่งมันยังไม่สามารถที่จะจัดเข้ากลุ่ม เดียวกับงานที่ได้รับความนิยมในกลุ่มคนชั้นสูง เฟรด ได้รับเชิญให้ไปแสดงงานในแกลลอรี่ ในกรุ งโรม, อิตาลี และเขาก็กลายเป็ นตัวแทนของ Graffiti มากพอ ๆ กับ อาฟริ กา แบมบาต้า ที่เป็ นตัวแทนของ Hip Hop ในปี 1980 เฟรดได้สร้างงาน ในรู ปแบบของเขาเองที่เรี ยกว่า Andy Warhol's Pop Art (Andy Warhol ศิลปิ นและเป็ นผูก้ ากับ ภาพยนตร์ส่วนตัวชื่อดัง) เขาได้สร้างงานที่มีขื่อว่า "Campbell Soup Cans" ลงบนโบกี้รถไฟ การร่ วมมือกันสร้างงานร่ วมกับสัญลักษณ์ทางดนตรี ที่ได้รับความนิยม จะสามารถทาให้ Graffiti โบยบินไปได้ไกลกว่าที่จะอยูใ่ นโลกศิลปะเพียงลาพัง มันยังมี"มุมสาหรับนักเขียน"ของ Graffiti อีก ด้วย ซึ่งเป็ นที่ ๆ มีการพูดถึงรู ปแบบและมุมมองที่มีต่องาน Graffiti ที่เป็ นงาน underground แต่ใน ที่สุด มุมของนักเขียนก็ได้แตกสลายไปเพราะแรงกดดันของตารวจ และได้เปลี่ยนจากสถานที่นดั หมายของนักเขียนที่เรี ยกว่า"มุมสาหรับนักเขียน"นั้นไปเป็ นที่แสดงงาน และที่พบปะกันของ นักเขียนหัวรุ นแรงแทน เขาเหล่านั้นมารวมตัวกันเพือ่ ที่จะทาให้ Graffiti เป็ นงานที่ได้รับการ ยอมรับโดยถูกต้องตามกฎหมาย และในปี 1980 Graffiti ก็ได้เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในช่วงเวลา เดียวกันกับที่ Hip Hop ถือกาเนิดขึ้นมา และเราก็ยงั คงพบการนาเอา Graffiti เข้าไปใช้ในภาพยนตร์ ด้วย นัน่ คือเรื่ อง Wildstyle
หน้าที่
18
Haring Kieth Haring และ Jean-Michel Basquiatกลายเป็ นเจ้าของชื่อที่มีชื่อเสียงของแกลลอรี่ และ เป็ นที่รู้จกั ในนิวยอร์ก ภาพวาดสีชอล์กของ Haring แสดงออกถึงการมีชีวติ ของ Graffiti ในสถานี รถไฟได้อย่างชัดเจน ภาพเด็กคลาน โทรศัพท์ ที่ถูกคลุมด้วยกระดาษสีดาสาหรับพื้นที่โฆษณาไป จนถึงงานของเขา ถูกจดจาด้วย "งานที่ไม่เหมือน Graffiti ส่วนใหญ่" Haring ถูกมองโดยคนส่วน ใหญ่วา่ เป็ นเหมือน คนสร้างงาน Graffiti ถึงแม้วา่ เขาจะไม่ใช่คนในกลุ่มเดียวกับ Hip Hop ก็ตาม การแตกตัว (Fragmentation) ในกลางปี 1980 ขณะที่ นักเขียนทั้งหลายถูกประชิดตัวด้วยบรรดาเหล่าพ่อค้าคนกลาง ที่ทาให้พวก เขาเปลี่ยนที่สร้างงานจากบนกาแพงมาเป็ นบนผืนผ้าใบ สาหรับการซื้อขายของนักสะสมรุ่ นเก่า กับ สิ่งที่เจ้าหน้าที่ของรัฐได้เสียเงินจานวนหนึ่งเพือ่ กาจัด Graffiti ออกไป โลกของ Graffiti ได้แตกตัว ออกไปเมื่องานบางส่วนถูกนาเข้าไปสู่โลกของศิลปะกระแสหลัก ในปี เดียวกันการแสดงงาน Post - Graffiti ก็ได้ถูกจัดแสดงขึ้น ทั้งนี้เพือ่ เป็ นการเฉลิมฉลองเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของ Graffiti จากโบกี้และขบวนรถไฟไปสู่ผนื ผ้าใบอย่างเป็ นทางการ จะมองเห็น ว่า มันเป็ นการทานายถึงเหตุการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับการจบสิ้นของ Graffiti ในตอนที่มีการเขียนงาน ที่ชื่อ Graffiti Died ในปี 1982 ปั ญหาของการเขียนงาน Graffiti ลงบนผืนผ้าใบดูเหมือนเป็ นงานที่ตายตัว เป็ นการหลีกหนีจากงาน ที่มีการเคลื่อนไหว มีรูปแบบขนาดใหญ่อยูข่ า้ ง ๆ ตัวถังรถไฟ ทั้งนี้เป็ นเพราะ นักเขียนได้พฒั นา รู ปแบบงานให้เปลี่ยนไป โดยทาให้มนั มีขนาดที่พอดีกบั ความลงตัว ในปลายปี 1980 และมันเป็ น เรื่ องที่ประจวบกันพอดีที่พบว่า มีการลดลงของ Graffiti ในรถไฟใต้ดินเพราะมีการพยายามที่จะ กาจัด Graffiti ให้หมดไป นักเขียนจานวนมากได้เพียงแต่ฝันที่จะทางานด้านศิลปะ และบางส่วนก็ ฝันที่จะขายมันได้เช่นกัน มีนกั เขียนหรื อ writer บางคนกล่าวว่า "มันเป็ นเรื่ องยากที่จะยอมรับให้งานเขียนไปติดตั้งบนพื้น ผนังสีขาวในแกลลอรี่ เพราะว่านัน่ มันได้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของสินค้าไปแล้ว สังคมให้การยอมรับ มันในรู ปแบบนี้ งาน Graffiti จึงถูกนาเข้าไปรวมอยูใ่ นพิพธิ ภัณฑ์หรื อแกลลอรี่ และทาให้มนั ขาด จิตวิญญาณที่แท้จริ งของตัวเองไป"
หน้าที่
19
"Graffiti เป็ นสิ่งที่มีความหมายและยิง่ ใหญ่เกินกว่าจะถูกนาไปเป็ นสินค้า" แต่ในแวดวงศิลปะก็มี ข้อโต้แย้งเช่นกัน พิจารณาจากสังคมที่เราได้อาศัยอยู่ มันถูกจับตามองว่า Graffiti สามารถขายได้ใน โดยบางวิธี นัน่ คือจัดระบบการตลาดให้กบั สินค้าประเภทนี้ บทที่ 6 Graffiti ในยุคปี 90 - จุดจบของการสร้างงานตามสัญชาตญาณของชีวติ เมือง ในปี 90 ได้มีการสร้างกระแสความนิยมของ Graffiti ในรู ปแบบใหม่ ศัพท์ต่าง ๆ ก็ยงั คงใช้เรี ยกกัน อยูเ่ หมือนเดิม แต่บางส่วนก็ถูกเรี ยกว่า The Writers Aerosol Artist คือศิลปิ นกระป๋ องสเปรย์ Graffiti ในนิวยอร์กปี 90 ไม่มีให้เห็นมากมายนักเหมือนกับที่มนั เคยเป็ นในตอนที่มนั มีการเดินทาง ของงาน โดยอาศัยตัวโบกี้รถไฟโดยสารที่แล่นไปตามเส้นทางต่างๆ มันโฉบเข้าไปตามหัวเมือง ตามที่รถไฟไปถึง ในปี 90 นี้ได้มีการทางานบนผ้าใบมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม ใครๆต่างก็มี ความเห็นว่ายุคที่งาน Graffiti ซึ่งโด่งดังที่สุดก็คือ ตอนที่มีการสร้างงานบนโบกี้รถไฟทั้งขบวน นักเขียนจานวนมากได้มีการถ่ายทาวิดีโอไว้ บ้างก็มีการซื้อขายงานประเภทนี้ บ้างก็ทาเป็ น อนุสาวรี ยห์ รื อไม่ก็เป็ นจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งส่วนหนึ่งก็มีเรื่ องของธุรกิจเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย และก็ ได้มีการทาเป็ นภาพ logo สินค้าออกมา แม้แต่ในทุกวันนี้ก็ยงั คงหลงเหลือนักเขียนอยู่ นักเขียนที่มี ความคิดแปลกใหม่ได้ทาให้สงั คมนี้ยงั คงมีชีวติ ชีวาอยู่ มันเหมือนนิยายที่วา่ นักเขียนส่วนใหญ่มา จากครอบครัวคนยากจน และก็ได้กาเนิดขึ้นอย่างลึกลับโดยสื่อๆหนึ่ง สาหรับในวันนี้ Graffiti ได้สร้างงานที่อยูเ่ หนือสิ่งที่เคยได้ทา นัน่ คือ "ขบวนรถไฟ" ในช่วงที่มีการ เปลี่ยนแปลงของ Hip Hop มาเป็ นการสร้างงานบนผ้าใบ บนขบวนรถด่วน บนกาแพง (ทั้งที่ได้รับ การอนุญาตและผิดกฎหมาย) บนก้อนหิน บนเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์ต่างๆ ยานพาหนะ ไป จนถึงสัตว์ อย่างเช่นแกะในสวนสัตว์ นักเขียนส่วนใหญ่ได้ทาแบบนี้กบั ทุกๆที่ซ่ ึงเขาได้ไป
หน้าที่
20
The Subway in The 1990s MTA ได้ประกาศถึงชัยชนะของพวกเขาในการต่อต้าน Graffiti ที่ประสบผลสาเร็จในที่สุด ซึ่งเป็ น สิ่งที่แสดงถึงบทบาทในการช่วยเหลือชุมชนเพือ่ พัฒนาคุณภาพของสุขภาวะของชุมชน รถไฟใต้ดิน ไม่ใช่ตวั เลือกที่พวกเขาจะได้เห็นงาน Graffiti อีกต่อไปแล้ว เปรี ยบเทียบกับเมื่อ 10 ปี ที่แล้ว มัน ต่างกันโดยสิ้นเชิง นักเขียนจะทาการบันทึกงานของพวกเขาเป็ นภาพนิ่ง ถึงแม้วา่ งานของเขาจะไม่ใช่งานที่เห็นเป็ น ชิ้นงานที่แท้จริ งก็ตาม แต่ก็ยงั คงอัดออกมาเป็ นภาพให้เห็นได้ นักเขียนบางคนก็ยงั คงสร้างงานบน หน้าต่างรถไฟ ในนิวยอร์กหน้าต่างทุกๆบานของรถไฟทุกๆขบวนได้ทิ้งร่ องรอยของการทางาน Graffiti สาหรับการกาจัดภาพเหล่านี้ออกไปและการทาความสะอาด ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูงมากใน การลบสิ่งเหล่านี้ ด้วยเหตุดงั นั้น จึงได้มีการเปลี่ยนหน้าต่างจากกระจกไปเป็ นพลาสติก การต่อต้านในทศวรรษที่ 1990 (1990s Resistance) ในปี ทศวรรษ 1990 การต่อต้านยังคงเป็ นรู ปแบบของความรุ นแรง Graffiti ยังคงถูกมองว่าเป็ นการ สร้างสรรค์ที่ยอดแย่ในพื้นที่ ๆ ไม่ควรเข้าไปกร้ ากราย และมันก็มกั จะพบอยูใ่ นกลุ่มเดียวกับยาเสพ ติดและแก๊งค์อนั ธพาลในสายตาของเจ้าหน้าที่ตารวจ มีหลายวิธีดว้ ยกันที่จะต่อต้าน Graffiti ในปี 1991 หนังสือพิมพ์ทอ้ งถิ่นได้ทาการตีพมิ พ์ชื่นชมผูท้ ี่ได้เป็ นแกนนาในการกาจัด Graffiti ออกไป จากชุมชนได้ มีนกั เขียน Graffiti บางคนได้ถูกนาตัวเข้าสู่กระบวนการศาลด้วยเช่นกัน การโดนปรับและส่งเข้า ห้องขังหรื อนาตัวนักเขียนไปยังสถานกักกันถือเป็ นมาตรการเพือ่ ดัดสันดานก็มีให้เห็นอยู่ แต่วา่ มัน ก็ไม่ได้เป็ นการแก้ไขที่ได้ผลเท่าไรนัก เพราะว่าในที่สุดแล้ว เด็กพวกนี้ก็ถูกส่งตัวกลับเข้าไปอยูใ่ น สังคมดังเดิม มันจะดูดีกว่าถ้าหากให้การศึกษากับพวกเขาในสังคมของเขาโดยอนุญาตให้มีการ แสดงออกในวิธีที่ถูกต้อง เช่นโครงการกาแพงที่ถูกกฎหมาย กาแพงที่ถูกกฎหมาย (Legal Walls) สถานีรถไฟใต้ดินของนิวยอร์ก ยังคงเป็ นแหล่งกาเนิดของงาน Graffiti แต่นกั เขียนส่วนใหญ่ยงั คง ขอที่จะยืนอยูข่ า้ งเดียวกับกฎหมาย ในขณะที่พวกเขาต้องการสร้างสรรค์งาน PhunPhactoryเป็ น ผนังหนึ่งที่ได้รับการอนุญาตให้มีการสร้างงานได้โดยถูกกฎหมาย มันมีสถาบันเกียรติยศมากมายที่ ตั้งอยูใ่ นเมือง เป็ นที่ๆนักเขียนสามารถสร้างงานของเขาได้
หน้าที่
21
กราฟฟิ ติในฐานะที่เป็ นชุมชน (Graffiti As A Commodity) นักเขียนหลาย ๆ คนได้ปรากฏตัวออกมาผ่านสื่อในรู ปแบบใหม่เนื่องจากพวกเขาถูกบีบคั้น ในปี 90 ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่เรี ยกว่ามีสื่อหลาย ๆ ช่องทางที่ทาให้พวกเขาสามารถแสดงออกได้ พวกเขาได้ส่ง งาน Graffiti เข้าสูก้ ระแสบริ โภคนิยม Graffiti ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นงานที่ยงั คงเป็ นศิลปะข้างถนน นอก เสียจากว่ามันไม่เป็ นที่สนใจของคนส่วนใหญ่ มาถึงตอนนี้ พวกเขาได้รับการอนุญาตให้มีที่ทางใน การแสดงออกมากขึ้น มีการพูดถึงงานประเภทนี้ผา่ นการเสวนา ซึ่ง Graffiti ในงานโฆษณาเป็ นอีกช่องทางที่ได้รับการ ยอมรับ นักเขียน Graffiti ได้รับอิทธิพลการทางานมากขึ้น ทั้งรู ปแบบ สีสนั โดยให้มีความ เหมาะสมกับองค์กรนั้นๆ กับศัพท์ที่บอกถึงความมัน่ ใจ และไม่น่ากลัว และความดิบ ในวันนี้เรา สามารถมองเห็นได้จากตัวถังของรถบัส เครื่ องบินโดยสาร และอื่นๆ ถ้าศัทพ์เหล่านี้ถูกเขียนโดยไม่ได้รับการอนุญาต มันก็จะเป็ นเรื่ องราวของการทาลายทรัพย์สิน การ ละเมิดกฎหมาย เป็ นความสกปรก รกรุ งรัง และไร้ระเบียบ แต่ถา้ บริ ษทั ยักษ์ใหญ่อย่างฟิ ล่า ใช้คา พวกนี้ในงานโฆษณาของเขาในท่าทีของ Graffiti มันก็จะถูกเรี ยกว่า"ธุรกิจ"ไปในทันที "ถ้าคุณไม่มีเงิน คุณก็ไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกถึงตัวคุณ หรื อไม่ก็ไม่สามารถแสดงออกถึง คาศัพท์ต่าง ๆ ที่คุณคิดให้กบั คนทัว่ ไปได้รับรู ้" นักเขียนบางคนได้กา้ วเข้าสู่ธุรกิจโฆษณา เกาะเกี่ยวไปยังพื้นที่ ๆ ได้ถูกจัดสรรค์ไว้ให้ "ศิลปะดิบ ๆ ของพวกผูก้ ่อการร้าย" เป็ นคานิยามใหม่ที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง "ความถูกต้องตามกฎหมาย ในโลกของโฆษณา" และ "เรื่ องที่ผดิ กฎหมายในโลกของ Graffiti" อินเตอร์เน็ต (The Internet) อินเตอร์เน็ตกลายเป็ นพลังสาคัญสาหรับ Graffiti มันทาให้มีพ้นื ที่สาหรับกลุ่มนักเขียนใหม่ ๆ อีก มากมายในยุค 90 ที่จะใช้สาหรับติดต่อสื่อสารกัน แลกเปลี่ยนที่อยูก่ นั เพือ่ ที่จะทาการซื้อขายและทา การส่งภาพไปทาง e-mail นอกจากนี้ยงั มี chat room ของเวปไซต์ชื่อดังอย่าง American On Line ที่มี พืน้ ที่สาหรับการ chat เรื่ อง Graffiti เต็มไปหมด ซึ่งนัน่ ก็ทาให้นกั เขียนจากประเทศต่าง ๆ ได้ แลกเปลี่ยนมุมมองและทัศนคติต่อกันและกัน
หน้าที่
22
ในตอนนี้เมาท์ที่อยูข่ า้ งแป้ นคียบ์ อร์ดก็ได้กลายเป็ นอุปกรณ์ชิ้นใหม่ที่เข้ามาแทนที่สีสเปรย์กระป๋ อง ไปแล้ว นักเขียนส่วนใหญ่ได้ทาการผสมผสานความรู ้สึกของพวกเขาผ่านทางอินเตอร์เน็ต ชื่อของ Graffiti ในโลกของอินเตอร์เน็ตจะเป็ นที่รู้จกั กันในชื่อของ "Art Crimes" นี่คือจุดจบของ Graffiti อย่างแท้จริ งหรื อ ? สาหรับคาถามนี้ บ้างก็ยอมรับ, บ้างก็ปฏิเสธ ปรากฎการณ์ที่ใช้แยกแยะการเปลี่ยนแปลงของชนกลุ่มน้อยที่เป็ นจุดเริ่ มต้น และในทางเดียวกัน Graffiti ก็ได้แตกเป็ นกลุ่มๆในตอนที่มนั ได้เปลี่ยนที่สร้างงานจากสถานีรถไฟมาเป็ นการแสดงงาน ใน"แกลลอรี " Graffiti ได้ยา้ ยจากแหล่งพวกคนผิวดาอยูโ่ ดยการแพร่ กระจายไปทัว่ ทุกหนทุกแห่ง ปั ญหาสาคัญของการกระจายตัวนี้ก็คือ Graffiti ได้มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของมัน จากเดิมที่เป็ น การแสดงออกของตัวตนของผูไ้ ร้ตวั ตน การถูกกดขี่ ความไม่เสมอภาค การขาดเสียซึ่งเสรี ภาพไป เป็ นแฟชัน่ Graffiti เป็ นศิลปะที่ไม่สามารถจะคาดเดาได้ การที่การขีดเขียนดังกล่าวในสายตาของผูค้ นทัว่ ไปถือ ว่าเป็ นความป่ าเถื่อนของสังคมเมืองนั้น นักเขียนเห็นว่า มันคือช่องทางในการประกาศถึงตัวตน ใน เวลาเดียวกันก็สะท้อนถึงความยากจน ความไม่ยตุ ิธรรม ชนกลุ่มน้อยที่ถูกกดขี่ ภาวะที่ถูกกีดกันใน สิทธิของตน แต่บดั นี้มนั ได้เปลี่ยนแปลงไปและมีการพัฒนาขึ้น ทั้งหมดนี้ข้ นึ อยูก่ บั บริ บทของ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และเทคโนโลยี
หน้าที่
23
บทสรุป 5 สาหรับผูค้ นทั้งหลาย Graffiti ถูกมองว่าไม่ใช่เนื้อหาที่หนักเกินไปที่จะทาการศึกษา แต่ส่วนใหญ่มกั จะ บอกว่ามันมีเนื้อหาที่ไม่เพียงพอต่อการนามาวิเคราะห์ นัน่ ไม่ถูกต้องเสมอไป ถ้าการเปิ ดรับของคนได้ เปลี่ยนไปและพวกเขาเข้าใจว่ามันคือนัยะสาคัญของการสะท้อนถ่ายปั ญหาที่พอกพูนขึ้นในสังคมเมือง และมีอิทธิพลทางด้านบวกและด้านลบต่อวัฒนธรรมของสังคมในทุกวันนี้ มันก็จะทาให้ Graffiti หลุดพ้น จากคากล่าวหาว่าเป็ นความป่ าเถื่อนภายในจิตใจของพวกผิวดาที่ได้ถูกตีตราง่ายๆไปได้ พัฒนาการต่อมาของ Graffiti มันถูกรวบรวมเข้าไปในรู ปแบบของศิลปะร่ วมสมัย จากรถไฟใต้ดินที่แล่น ไปในทุกๆที่ จนกระทัง่ ไปลงเอยในแกลลอรี และธุรกิจโฆษณา มันกลายเป็ นสิ่งที่มีท้งั คนรักและคนเกลียด ซึ่งก็เป็ นความจริ งเช่นเดียวกันกับเรื่ องอื่นๆสาหรับการพัฒนาของ Graffiti Graffitiมีวธิ ีต่าง ๆ มากมายที่จะเป็ นการให้คาจากัดความกับตัวเอง มันกาลังจะกลายเป็ นสินค้าที่ผลิต ออกมาเป็ นจานวนมากและใช้ในงานโฆษณา ในขณะเดียวกัน มันก็ยงั คงเป็ นตัวแทนของปั ญหาที่กาลัง เกิดขึ้นในสังคมอยูเ่ สมอ เมื่อคุณเดินไปรอบๆพื้นที่ซ่ ึงไม่ค่อยจะมีนกั ท่องเที่ยว พื้นที่ ๆ เป็ นที่อาศัยสาหรับ คนในชุมชน คุณก็จะค้นพบความดิบเถื่อนเหล่านั้น การวางเพลิงอาคารและรถ มีให้เห็นเป็ นเรื่ องธรรมดา โดยทัว่ ไป Graffiti เป็ นการแปลความจากบางสิ่งที่ไม่ได้รับการยอมรับในป่ าคอนกรี ต ผ่านทางงาน จิตรกรรม อนุสาวรี ย ์ และข้อความที่ขีดเขียนขึ้นเป็ นงานศิลปะ เหมือนตอนที่ได้เริ่ มต้นไว้ ผูอ้ ่านจะได้พบกับ Graffiti ในรู ปแบบของศิลปะที่เป็ นการแสดงออกถึงความ ป่ าเถื่อนเกินจะรับได้ คนส่วนใหญ่จะเห็นว่า Graffiti เป็ นเหมือนการแสดงออกของสังคมเมืองโดยผ่าน วิธีการเก็บกดจากสังคม แต่ในความเป็ นจริ งกลับทาให้เราคิดว่า มันเป็ นการเคลื่อนไหวของกลุ่มหนุ่มสาว ในสังคมเมืองที่จะแผ่ขยายไปทัว่ โลก มันเป็ นสิ่งที่น่าตื่นเต้นที่สุดที่ได้เกิดขึ้นบนกาแพงในมหานครใหญ่ อย่างนิวยอร์ก และก็มีการเจริ ญเติบโตตลอดเวลา 25 ปี ที่ผา่ นมา Graffiti เป็ นและยังคงเป็ นเป็ นสิ่งที่ได้รับอิทธิพลจากการผสมผสานระหว่าง "วัฒนธรรมการซื้อขายที่ ได้รับความนิยม" กับ "คาศัพท์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมจากภายในของชีวติ เมือง" ในตอนนี้นกั เขียน ถูกมองว่าเป็ นผลพวงที่เป็ นอันตรายต่อสังคม และมันก็ถูกทาให้มน่ั ใจเช่นนั้นในสานึกของผูค้ นส่วนใหญ่ โดยปริ ยาย และปราศจากการตั้งคาถาม ถึงแม้วา่ Graffiti จะถูกมองว่าเป็ นการแสดงออกที่สร้างความเกลียดชังให้กบั ผูค้ น แต่มนั ก็คือสิ่งที่มา รองรับความต้องการของเด็ก ๆ ที่โดนกักขังอยูก่ บั แรงบีบคั้นของสังคม มันเป็ นการเผชิญหน้ากับความ เป็ นจริ งที่ไม่ใช่สิ่งแวดล้อมที่สวยงาม สะอาดตา มันเป็ นความโหดร้ายและรุ นแรงซึ่งต้องการต่อต้าน ระบบการเมืองที่ยา่ แย่ ความอยุติธรรม และการกระจายความต้องการทางเศรษฐกิจที่ไม่เป็ นธรรม
หน้าที่
24
นักเขียนส่วนใหญ่ได้ตาหนิรัฐบาล ระบบการปกครอง ซึ่งทั้งหมดได้ปรากฏผ่านทางผลงานชิ้นเยีย่ มของ พวกเขา ในวันนี้ Graffiti ถูกมองเห็นเป็ นเหมือนภาพของเมืองที่มาจาก ที่ ๆ มีเทคโนโลยีข้นั สูงอย่าง คอมพิวเตอร์ที่ส่องประกายวูบวาบ เพจเจอร์และมือถือเป็ นเครื่ องมือที่แสดงออกถึงการต่อต้านภาพพจน์ อันฟอนเฟะของเมืองใหญ่ เงินคือจุดหมายปลายทางของทุกสิ่ง ที่ ๆ คนในเมืองมีท้งั รักและทั้งเกลียด ที่ ๆ เรารู ้สึกโดดเดี่ยวได้ถึงแม้วา่ จะอยูท่ ่ามกลางกระแสของฝูงชน Graffiti เป็ นเหมือนสิ่งที่เหลวไหล แต่ก็ให้ ความรู ้สึกและสะท้อนสภาพที่เป็ นจริ งได้ ในความคิดเห็นของผูท้ ี่เห็นด้วยคิดว่า Graffiti เป็ นแรงผลักของชีวติ เมืองที่สวยงาม มันเป็ นตัวแทนของ การก่อเหตุจลาจลได้ดีเท่าที่มนั จะเป็ นได้ Graffiti เป็ นเพียงอีกรู ปแบบหนึ่งของการแสดงออกที่สร้างสรรค์ โดยพลังเก็บกดและจินตนาการของมนุษย์ ซึ่งแรงจูงใจทั้งมวล มันมาจากพื้นฐานของสิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้น ในมหานครนิวยอร์ก เมื่อปลายศตวรรษที่แล้ว เราได้พบเห็นงาน Graffiti ในเมืองต่าง ๆ ทัว่ โลก เช่น นิวยอร์ก ลอนดอน ซานฟ รานซิสโก อัมสเตอร์ดมั ปารี ส และในประเทศโลกที่สาม Graffiti ได้เดินทางไปในทุกๆที่ และในทุกๆ กิจกรรม ตั้งแต่การประท้วงองค์กรทุนนิยมโลกของภาคประชาชน ไปจนกระทัง่ ถึงธุรกิจโฆษณาและใน สถานบันเทิงของโลกทุนนิยม ปั จจุบนั Graffiti ยังคงมีลมหายใจของมันอยู่ และยังคงเดินไปตามเส้นทาง ร่ วมกับผูค้ นในสังคมเกือบทุกกลุ่ม ไกลเท่าที่เราจะมองเห็นได้ มีคนกล่าวว่า "Graffiti เป็ นผลผลิตของความบาปจากเหล่าซาตาน(ความยากจน) แต่พระผูเ้ ป็ นเจ้า(ทุน นิยม)กาลังนามันไปใช้ และเปลี่ยนมันให้เป็ นบุญ"
บรรณนุกรม
หน้าที่ ขอขอบคุณแหล่งที่มาจาก http://www.bkkgraff.com/forum/index.php?topic=6.0
25