BEDO Magazine 2023 Vol.10 Issue 5

Page 1

MAGAZINE • นิตยสารเบโด้ สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) FUTURE OF THE ORIGIN ISSN 2351-0269 WWW.BEDO.OR.TH ฉบับที่ 5 ปีที่ 9 สิงหาคม 2566 SUSTAINABLE HAPPINESS ป่าครอบครัว ความสุขที่ยั่งยืน BIODIVERSITY ไม้มีค่า 5 ชนิด COMMUNITY TRADE SECRET ความลับทางการค้าของชุมชน BIOECONOMY กาแฟอินทรีย์ รักษาป่า บ้านขุนลาวเชียงราย
: สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ โดย : ส�านักงานพัฒนา เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 9 เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141 7800 แฟกซ์ 0 2143 9202 เว็บไซต์ www.bedo.or.th เฟสบุ๊ค www.facebook/ BedoThailand ผลิตโดย : บริษัท บอสฟอรัส จ�ากัด 61/1 ซอยลาดพร้าว 101 ซอย 44 หมู่บ้านเสรี แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 081 647 3163 Email amybosphorus@gmail.com สุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อ�านวยการ สพภ. EDITOR’S TALK ดิฉันเป็นหนึ่งคนที่ชอบปลูกต้นไม้ ชอบความสดชื่นของสีเขียวจากต้นไม้ เพราะรู้สึกว่าสายตาได้พักผ่อน จิตใจสุข สงบ เมื่อได้อยู่ ท่ามกลางพื้นที่สีเขียว และเมื่อได้เข้ามารับหน้าที่ผู้อำ า นวยการสำ า นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ยิ่งทำ า ให้รู้สึกรักการปลูก ต้นไม้มากขึ้นไปอีก ต้นไม้เป็นหนึ่งในความหลากหลายทางชีวภาพที่มีคุณค่ามหาศาล ชีวิตมนุษย์จะดำ า รงอยู่ไม่ได้หากขาดต้นไม้ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์ จึงเป็นภารกิจสำ า คัญที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มอบหมายให้ สพภ. เป็นหน่วยงานขับเคลื่อนตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 เป็นต้นมา เราเล็งเห็นถึงความสำ า คัญของฐานทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งสามารถนำ า มาใช้ให้เกิดประโยชน์ สร้างงาน สร้างรายได้ และสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจระดับ ชุมชนอันเป็นฐานรากของเศรษฐกิจระดับประเทศ จึงได้นำ า หลัก “การสร้างรายได้เป็นเครื่องมือในการอนุรักษ์” มาดำ า เนินงานให้ ชุมชนท้องถิ่นนำ า ความหลากหลายทางชีวภาพมาสร้างรายได้อย่างยั่งยืน และจูงใจให้เกิดการอนุรักษ์ตามหลักการ BEDO Concept โครงการ “ชุมชนไม้มีค่า ป่าครอบครัว” เป็นหนึ่งในโครงการสำ า คัญที่ สพภ. ตั้งใจทำ า อย่างเต็มที่ แม้ว่าเป้าหมายข้างหน้าจะเป็น พื้นที่สีเขียวอันกว้างใหญ่ แต่ถ้าเริ่มตั้งแต่วันนี้ สะสมไปทีละนิด ทีละหน่อย เชื่อว่าสักวันหนึ่งจะเติมเต็มความเขียวชอุ่มให้กับ โลกใบนี้ได้อย่างแน่นอน BEDO MAGAZINE 2
BIODIVERSITY 04 ไม้มีค่า 5 ชนิด BIOECONOMY 06 กาแฟอินทรีย์ รักษาป่า บ้านขุนลาวเชียงราย INTERVIEW 08 ชัยรัตน์ บุญนาค ร่วมสร้างพื้นที่สีเขียว เพื่อความสุขที่ยั่งยืน COMMUNITY 10 TRADE SECRET ต้นไม้ เงินออมระยะยาว CONTENT BEDO MAGAZINE ฉบับที่ 5 ปีที่ 9 สิงหาคม 2566 08 04 06 10 BEDO MAGAZINE 3
ต้นไม้บางชนิดเคยได้ชื่อว่าเป็นไม้หวงห้าม คือห้ามปลูก ห้ามครอบครอง ห้ามใช้ประโยชน์ แต่ในวันที่ต้นไม้เหล่านั้นถูกปลดล็อค จากไม้หวงห้ามก็ถูกเรียก ชื่อใหม่ว่าเป็น ไม้มีค่า ที่สามารถสร้างเม็ดเงิน สร้างเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นได้อย่าง มหาศาล เรามาทํา ความรู้จักกับไม้มีค่า 5 ชนิด ที่ตัดสินใจปลูกวันนี้เพื่อเป็น สมบัติให้รุ่นลูก รุ่นหลาน BIODIVERSITY พะยูง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dalbergia cochinchinensis มีชื่อสามัญ ว่า Siamese Rosewood เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 15-30 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบย่อย รูปไข่หรือรูปใบหอกปลายใบแหลม โคนใบมน ดอกช่อ แบบ ช่อแยกแขนง ออกที่ปลายยอดหรือซอกใบใกล้ปลายยอด ผล เป็นฝักแห้งแตกรูปขอบขนาน แบน เมล็ดรูปโต ในป่าธรรมชาติ จะพบกระจายในป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง BEDO MAGAZINE 4
ตะแบก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Lagerstroemia ssp. มีชื่อสามัญว่า Pyinma, Asian Satinwood, Crepe Myrtle เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือ เยื้องกัน ใบอ่อนสีแดงมีขนสั้นปกคลุม ใบแก่ขนจะหลุดหายไป ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนสอบ ดอกเป็นดอกช่อกระจุกเกิดที่ ซอกใบหรือปลายกิ่ง ผลเป็นผลแห้งแตกกลางพู ประเทศไทย จะพบได้ทุกภาค ในป่าธรรมชาติจะพบการกระจายในป่า เบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น จามจุรี มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Albizia saman มีชื่อสามัญว่า Monkeypod, Monkey Pod, Raintree เป็นไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่ สูง 15-20 เมตร มีใบประกอบแบบขนนกสองชั้นเรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่ รูปรี หรือคล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ดอก ออกแบบช่อกระจุกแน่นตามง่ามใบ ใกล้ปลายกิ่ง ผลแบบฝักรูป ขอบขนาน มีถิ่นกำา เนิดในทวีปอเมริกาเขตร้อน พบการกระจาย พันธุ์ตามพื้นที่เขตร้อนทั่วโลก โดยในประเทศไทยมีนำา เข้ามาปลูก พบกระจายอยู่ทั่วไป ชิงชัน มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dalbergia oliveri มีชื่อสามัญว่า Burmese Rosewood เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-25 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก เรียง สลับ ใบย่อย 11-17 ใบ ดอกเป็นช่อดอกเชิงประกอบตามปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็กสีขาวแกมม่วง ผลเป็นแบบฝักแบน ยาวรี รูป ขอบขนาน แต่ละฝักมี 3 เมล็ด ในป่าธรรมชาติจะพบการ กระจายในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง ประดู่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pterocarpus macrocarpas มีชื่อสามัญว่า Burma padauk เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 20-30 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงสลับ ดอกเป็นดอกช่อกระจายออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็น ผลแห้งแบบฝักไม่แตกรูปร่างกลมแบน ในประเทศไทยจะพบ ได้ทุกภาค ในป่าธรรมชาติจะพบการกระจายในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง BEDO MAGAZINE 5

การส่งเสริมให้เกษตรกรในจังหวัดเชียงรายปลูกกาแฟในระบบ

ที่อนุรักษ์ไว้ก่อนหน้า และการปรับเปลี่ยนสวนกาแฟอยู่ก่อนแล้ว ให้เป็นป่ากินได้ โดยปลูกต้นไม้เสริมเพื่อให้ร่มเงา และสร้างความ หลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลให้โครงการกาแฟอินทรีย์รักษาป่า

เชียงราย กาแฟ เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สําหรับคอคาเฟอีน ขาดแล้วสารแห่งความสุขหยุดทํา งานแบบ ชั่วขณะ แต่เมื่อได้เติมกาแฟสักแก้ว ทํา ให้ ตาตื่น ใจเบิกบาน ความมีชีวิตชีวาคืนกลับมา ทันที กาแฟจึงเป็นที่ปรารถนาของคน ทั่วโลก ส่งผลให้กาแฟกลายเป็นพืช เศรษฐกิจสํา คัญ รวมถึงพื้นที่ในจังหวัด เชียงราย ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเหมาะสม กับการปลูกกาแฟเป็นอย่างยิ่ง
สำา นักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) สพภ. หรือ BEDO ได้ร่วมมือกับ บริษัท มีวนา จำา กัด ทำา การ ประเมินมูลค่าการบริการระบบบนิเวศของป่าในพื้นที่อนุรักษ์
เกษตรอินทรีย์ และจะรับซื้อผลผลิตทั้งหมดจากเกษตรกรที่ได้การ รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เพื่อแปรรูปและจัดจำาหน่าย โดยมี จุดมุ่งหมายให้เป็นกิจการเพื่อสังคม มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจและ สร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน เกษตรกร พร้อมกับการอนุรักษ์ ปัจจุบัน โครงการกาแฟอินทรีย์รักษาป่า มีพื้นที่ทั้งหมด 4,671.25 ไร่ มีสมาชิกที่เป็นเกษตรกร 278 ครอบครัว โดยมีการดำา เนินงานใน สองลักษณะคือ ปลูกกาแฟในระบบอินทรีย์ใต้ร่มเงาไม้ในป่าเดิม
BEDO MAGAZINE 6
กาแฟอินทรีย์ รักษาป่า บ้านขุนลาว
BIOECONOMY
ภายใต้โครงการกาแฟอินทรีย์รักษาป่าจังหวัดเชียงราย โดยมี

ในประเด็นการบุกรุกทำาลายป่าด้วย ซึ่งเจ้าหน้าที่เล่าว่าเกษตรกรที่ปลูกกาแฟจะเป็นฝ่าย

เพราะ หากเกิดไฟป่า กาแฟที่ชาวบ้านปลูกไว้อาจได้รับความเสียหาย ทั้งยังร่วมกันจัดกิจกรรมปลูกป่าในสวนกาแฟต่อเนื่องกันทุกปี ตั้งแต่ปี 2556 ซึ่งได้ปลูกต้นไม้ไปแล้วมากกว่า 120,000

สามารถสร้างรายได้เลี้ยงชีพและรักษาเกื้อกูลให้ผืนป่ายังคงสภาพ อยู่อย่างยั่งยืน โดยใช้การปลูกกาแฟเป็นเครื่องมือเชื่อมประสาน ด้วยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถเติบโตใต้ร่มไม้ได้ดี

และแนวทางระบบการเกษตรของชุมชนในเขตพื้นที่ป่าไม้

เร่งรัด เจ้าหน้าที่ในการร่วมกันทำา แนวกันไฟเมื่อเริ่มเข้าฤดูแล้ง
หนึ่งใน เครือข่ายชุมชน BEDO และเป็นสมาชิกโครงการกาแฟอินทรีย์ รักษาป่า เป็นชุมชนที่มีการดำา เนินการตามหลักการ
โครงการกาแฟอินทรีย์รักษาป่ายังช่วยลดปัญหาความขัดแย้ง ระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชาวบ้าน
ต้น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกาแฟอินทรีย์รักษาป่าบ้านขุนลาว
BEDO –BCG
และสามารถ ทำา เกษตรในระบบอินทรีย์ได้ อีกทั้งคนในชุมชนเองยังรวมกลุ่ม ช่วยเหลือกันทั้งในด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด ทำาให้ “ดิน นา ป่า” และคน อยู่ร่วมกันได้อย่างเกื้อกูล BEDO MAGAZINE 7

เพื่อการใช้ประโยชน์ หรือที่เรียกว่า พื้นที่สีเขียวนอก เขตอนุรักษ์ 15% ซึ่งต้องเป็นพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ของ ประชาชนทั่วไป และพื้นที่ป่าในเมือง เช่น สวนสาธารณะ

ต่าง ๆ 5% สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. ที่ประชาชนเรียกกัน ติดปากว่า เบโด้ ได้ร่วมสนับสนุนให้ประชาชนปลูกป่า ในที่ดินของตนเองตามโครงการ “ชุมชนไม้มีค่า ป่าครอบครัว” โดยยึดตามหลักการ “ปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์

โดยที่เจ้าของที่ดินสามารถนํา ทรัพยากรความหลาก หลายทางชีวภาพในพื้นที่ของตนเองมาใช้ประโยชน์ สร้างรายได้จุนเจือครอบครัวได้อย่างยั่งยืน

ชัยรัตน์ บุญนาค ร่วมสร้างพื้นที่สีเขียว เพื่อความสุขที่ยั่งยืน วิจิตรา ศิริเธียรไชย ปวีณ สมบูรณ์ INTERVIEW รัฐบาลได้กํา หนดนโยบายรัฐศาสตร์ชาติ 20 ปีไว้ว่า ในปี 2579 ประเทศไทยจะต้องเพิ่มพื้นที่ป่าเป็น 55% โดยแบ่งเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ประมาณ 35% พื้นที่สีเขียว
4 อย่าง” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงมอบ ไว้เป็นมรดกทางความคิดอันมีคุณค่าต่อปวงประชา
ตาม แนวทาง BEDO Concept คุณชัยรัตน์ บุนนาค ผู้ช่วยผู้อ� า นวยการส� า นักเผยแพร่และส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของเบโด้ คือผู้รับหน้าที่ดูแลโครงการ ไม้มีค่า ป่าครอบครัว เปรียบเสมือนพี่เลี้ยงที่ต้องคอยส่งเสริมสนับสนุนชุมชนที่สนใจจะเข้าร่วมโครงการดังกล่าว เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการ สร้างพื้นที่สีเขียวให้ประเทศไทยได้เขียวชะอุ่ม
และยังช่วยให้คนเห็นถึงคุณค่า ยกระดับไม้ไทยให้ต่างชาติได้รู้จักมากยิ่งขึ้น วันนี้ไม้ไทยเป็นไม้ที่มีค่า และได้ก้าวข้ามค� า ว่า ไม้หวงห้าม ไปได้อย่างสง่างาม มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างพื้นที่สีเขียวเพื่อชาติ และเพื่อโลกให้สวยงาม น่าอยู่กันดีกว่า อ่านบทสัมภาษณ์นี้จบก็ลงมือปลูกต้นไม้กันได้เลย BEDO MAGAZINE 8
และเป็นผู้จุดประกายการน� า ไม้ไทยมาใช้ในการท� า กีต้าร์ สร้างกระแสใหม่ให้เกิดขึ้น

หลักการดํา เนินงานของโครงการไม้มีค่า

ป่าครอบครัว ที่เบโด้ตั้งไว้เป็นอย่างไร

หลักของการดำา เนินงานคือ การใช้อย่างชาญฉลาด คือการนำา

เศรษฐกิจมานำา การอนุรักษ์ ทำา ให้เห็นถึงคุณค่าแล้วการอนุรักษ์

สิ่งมีชีวิตจะกลับเข้ามา เบโด้

อยากให้มีพื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์ที่มีคอนเซ็ปต์แบบนี้คือ การปลูกต้นไม้ให้มีชั้นเรือนยอด 10-20% เป็นไม้ยืนต้นที่เก็บไว้

องค์ความรู้ 3.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธ.ก.ส. ดูแลเรื่องการเพิ่มศักยภาพให้กับเกษตรกร และ สภพ. หรือ เบโด้ ดูแลในเรื่องการขยายเครือข่าย ขยายพื้นที่ เมื่อ ผนวกกับภารกิจหลักของเบโด้เรื่องการสร้างเศรษฐกิจชุมชน การอนุรักษ์ และจุดที่เป็นจุดก้าวกระโดดของป่าไม้ไทยนั่นคือ

มีหัวใจสำา คัญคือ ไม่มีไม้ หวงห้ามในพื้นที่กรรมสิทธิ์อีกต่อไปก็เลยกลับมาโยงที่ว่า ทำา ไม เบโด้ถึงให้ความสำา คัญกับการพัฒนาหรือการส่งเสริมในพื้นที่ กรรมสิทธิ์ เมื่อก่อนคำา ว่า ไม้หวงห้าม หมายถึง ไม้ที่ปลูกได้ แต่ไม่สามารถนำา มาใช้ประโยชน์ได้

ก็จะเกิดตามมา การทำาพื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์ที่เบโด้ให้ความ สำาคัญก็คือ พื้นที่ที่มีชุมชนและเกิดการใช้ประโยชน์ มีเอกสารสิทธิ์ มีโฉนด นส.3 สปก. เพราะเราต้องป้องกันเรื่องข้อพิพาทว่าเป็น พื้นที่ในเขตอนุรักษ์ เราพยายามนำา คอนเซ็ปต์เรื่องความหลาก หลายทางชีวภาพเข้าไปอยู่ในนั้น คำา ว่าพื้นที่สีเขียว อาจจมอง ได้ว่าเป็นพื้นที่ทางการเกษตรก็ได้ สีเขียวเนื่องจากเป็นพื้นที่ รกร้าง หรือพื้นที่สีเขียวเชิง Ecology ก็ได้ ที่เราตั้งใจไว้ให้การ ทำา
ชั้นเรือนยอด มีความผสมผสาน การปลูกต้นไม้เพื่อลดโลกร้อน จะแตกต่างจากการปลูกเพื่อให้ได้ความหลากหลายทางชีวภาพ การเก็บกักคาร์บอนจะต้องเหมาะสมกับไม้โตเร็ว จะต้องเป็น ไม้อายุน้อย ๆ คือ ช่วงการเติบโต 3-4 ปีแรกจะโตแบบอ้วน ๆ แต่ พื้นที่สีเขียวที่เบโด้คาดหวังเป็นไม้เดิม ที่มีการปลูกไว้อยู่แล้ว เป็นไม้แก่
หนุ่มที่เติบโตแบบก้าวกระโดด แต่สิ่งที่ได้คือการบริการจาก ระบบนิเวศ เรื่องดิน น า ซึ่งจะตรงกับที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท่าน มอบให้เลยว่า ปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง มีไม้กินไม้ใช้ ไม้ทุนระยะยาว และไม้ที่ใช้ทั่วไป พอเราปลูกไม้ลักษณะ สามอย่างนี้ เราจะได้อย่างที่สี่ตามมานั่นคือ ดิน นา ถ้ามีการปลูก ต้นไม้ที่มีการเกื้อกูลกัน สุดท้ายจะได้เรื่องระบบนิเวศกลับมา ได้ดิน ได้น า ได้อากาศ ใบไม้ที่หล่นลงมากลับกลายเป็นปุ๋ย พอมีต้นไม้มีสรรพสิ่งอยู่ในพื้นที่
พื้นที่สีเขียวของเบโด้คือพื้นที่ที่มีระบบนิเวศ มีต้นไม้หลาย
ซึ่งเมื่อเทียบการเติบโตจะน้อยเพราะไม่เหมือนไม้
เป็นทุนระยะยาว เพราะมีมูลค่าสูง ระยะเวลาในการปลูกยาวนาน เราก็ต้องปลูกพวกไม้ผลที่สามารถเก็บกิน เก็บขาย มีรายได้เข้า มาหมุนเวียน การทำา พื้นที่สีเขียวสามารถตัดฟันไปใช้ประโยชน์ ได้ ไม่ใช่ปลูกแล้วเก็บไว้อย่างนั้น ลักษณะของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร มีทั้งที่ทำา พื้นที่สีเขียวอยู่แล้ว ถ้าเขามีพื้นที่ดั้งเดิมอยู่แล้วสิ่งที่ เขาจะได้จากบริการระบบนิเวศคือ อาหารตามธรรมชาติ เช่น ไข่มดแดง เห็ด ฯลฯ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งคือมีประสบการณ์ในการทำาพืช เกษตรเชิงเดี่ยวและเห็นว่ามีความเสี่ยง เลยหันมาทำา พื้นที่ สีเขียวแนวผสมผสานให้มีพืชที่หลากหลายขึ้น ที่มาของโครงการไม้มีค่า ป่าครอบครัว โครงการไม้มีค่า ป่าครอบครัว เป็นโครงการที่เกิดขึ้นตามมติ ครม. เมื่อปี 2561 รัฐบาลอนุมัติให้เกิดโครงการนี้ขึ้นมา ซึ่งมี 4 หน่วยงานขับเคลื่อนหลักคือ 1.กรมป่าไม้ ดูแลเรื่องต้นกล้าพันธุ์ 2.สำา นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ วช. ดูแลเรื่องการให้
เมื่อปี 2562 มีการแก้ไข พรบ. ป่าไม้มาตรา 7 โดยกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ก็เลยกลายเป็นประเด็นที่ ถกเถียงกันว่า ไม้ปลูกอยู่ในที่ของเราแต่ทำา ไมถึงทำา อะไรกับมัน ไม่ได้เลย ไม้หวงห้ามมีทั้งหมด 58 ชนิด เป็นไม้เนื้อแข็งทั้งหมด แต่พอแก้ พรบ. ไม่มีคำา ว่า ไม้หวงห้ามอีกต่อไป BEDO MAGAZINE 9

ถ้าเราจะเน้นเครื่องดนตรีไทยจ๋า ตลาดก็ จะแคบ ก็เลยมองไปที่เครื่องดนตรีสากลแต่ใช้วัตถุดิบที่มาจาก ไม้ไทยเลยกลายเป็นที่มาของโครงการ การท ำา กีต้าร์จากไม้ไทย ที่เบโด้ริเริ่มและให้การสนับสนุน

เขาสั่งทำา แต่เบโด้สั่งทำา เพื่อเป็นสาธารณะเพื่อให้คนที่สนใจได้

แหล่งข้อมูลของการซื้อไม้ เป้าหมายในการทํา กีต้าร์จากไม้ไทยเพื่อเป็นการ Showcase จะมีการต่อยอดต่อไปหรือไม่ พอเราได้ทำา

ต่อเนื่องไปถึงเรื่องของเศรษฐกิจคือคนอยากจะกลับไปใช้ไม้ไทย ใช้ช่างไทย หรือบางคนอยากจะไปเรียนการทำา กีต้าร์ก็เป็นอีกหนึ่ง วิชาชีพ แต่ฐานเลยคือไม้ต้องมาจากพื้นที่กรรมสิทธิ์ตาม พรบ. ป่าไม้มาตรา 7 ไม่ได้ไปเอาไม้มาจากป่า

ความหมายของคํา ว่า ไม้มีค่า ไม้มีค่า มีค่าตั้งแต่มีชีวิต ไม่จำา เป็นต้องตัดเขาก็มีค่า ให้ดิน ให้น า ให้อากาศที่ดีได้ เรียกว่าประโยชน์ทางอ้อมของต้นไม้ ประโยชน์ ทางตรงคือให้เนื้อไม้ ตัดไปทำา เป็นไม้ท่อน ไม้ซุง หรือแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ ทำา เป็นเฟอร์นิเจอร์และอื่น ๆ จริง ๆ แล้ว คุณภาพไม้ เนื้อแข็งของไทยเราเป็นที่ต้องการสูงมาก ที่เรียกว่า Rosewood ทางการค้า เช่น พะยูง ชิงชัน ซึ่งคอนเซ็ปต์ของเบโด้คือ อยากให้ ทำา น้อย ๆ ได้ มาก ๆ เราก็จะมองไปที่สินค้าที่ไม่ใช่สินค้าขั้นต้น หมายถึงว่าพอตัดไม้มาก็ขายไปแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์ แต่ผม กลับมองไปที่เครื่องดนตรี ซึ่งมีราคาที่น่าสนใจมาก เช่น การนำา มาทำา เป็นกีตาร์ ที่มีราคาตั้งแต่หลักพันไปจนถึงหลักแสน ผมเล็ง เห็นถึงความละเอียด ปราณีตในการทำา เครื่องดนตรีของคนไทย โดยเฉพาะช่างทำา กีตาร์ ผมว่างานช่างฝีมือไทยเป็นที่ขึ้นชื่อไป ทั่วโลก บวกกับภูมิปัญญาในการทำา เครื่องดนตรีของไทยทำา มา จากไม้เกือบทั้งหมด
ไม้ที่นํา มาใช้ในการทํา กีต้าร์ เราใช้ไม้ 5 ชนิด ได้แก่ พะยูง ประดู่ ชิงชัน ตะแบก และจามจุรี ถ้าถามว่าไม้ชนิดไหนให้เสียงดีกว่ากันอันนี้ตอบไม่ได้ เพราะมัน ขึ้นอยู่กับรูปทรง แต่สิ่งที่ทำา ให้เกิดความแตกต่างคือลวดลายของ เนื้อไม้แต่ละชนิด ในการทำา กีต้าร์ เรานำา ไม้ไทยมาใช้ในส่วน ของด้านข้างและด้านหลัง ส่วนด้านหน้ายังคงเป็นไม้สนของ ต่างประเทศ เพราะเป็นที่ยอมรับของสากล หลักการของการ ทำา กีต้าร์คือเรื่องการสะท้อนของเสียง ด้านหลังจะต้องเป็นไม้ที่ แข็งกว่าไม้ด้านหน้า และไม้ด้านหลังจะต้องเป็นไม้แผ่นเดียวกัน แล้วแบะออกมาเป็นสองฝั่ง เพื่อความ Balance ของเสียงที่ดี หลักการในการดํา เนินงาน เราแบ่งเป็นต้นน า กลางน า และปลายน า ต้นน า คือแหล่งวัตถุดิบ ซึ่งได้จากชุมชน แต่เมื่อถึงการที่ต้องแปรรูป ศักยภาพของชุมชน มีไม่พอแต่ผมว่าพัฒนาได้ เพราะวิชาช่างไม้มีอยู่ในชุมชนอยู่แล้ว กลางน า คือกลุ่มช่างทำา กีต้าร์ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ ปลายน า เป็นเรื่องของการค้า การขาย พอเป็นงานแฮนด์เมด การผลิต ต่อชิ้นใช้เวลานานก็เลยทำา ให้มีต้นทุนที่แพงกว่า ส่วนใหญ่ก็จะ เป็นคนที่สั่งทำา เมื่อผลิตเสร็จก็จะ ไปอยู่กับเจ้าของทันที คนทั่วไป ไม่ได้สัมผัส เป้าหมายของเบโด้ คือ อยากให้ทุกคนได้ลองสัมผัสกับกีต้าร์ไม้ไทย เราไม่ได้ทำา ขาย แต่เราทำา เพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจว่า ไม้ไทยสามารถน ำา มาทำา กีต้าร์ได้ เสียงเป็นอย่างไร ทำา ได้ขนาดไหน คนที่ไม่เคยได้ลอง เล่นกีต้าร์ไม้ไทย สามารถติดต่อมาที่เบโด้ได้เลย กีต้าร์ 5 ตัวนี้ จะอยู่ที่เบโด้ตลอด ในห้องทำา งานของผม ทํา อย่างไรให้ประชาชนได้เข้าใจถึง การนํา ไม้ไทยมาทํา กีต้าร์ เรามีการสื่อสารออกไป โดยการให้สัมภาษณ์รายการต่าง ๆ ล่าสุดรายการของคุณว่าน ธนกฤต มาสัมภาษณ์ผม ช่วงท้าย ก็ได้ประชาสัมพันธ์ไปแล้วว่าถ้าใครสนใจสามารถติดต่อเข้ามา ที่เบโด้ได้เลย
การกระตุ้นตลาด ให้คนได้เห็น ได้ลองสัมผัส ก็จะ
และที่ก ำา ลังจะต่อยอด ต่อไปคือ การนำา ไม้ไทยมาทำา ลำา โพง ซึ่งจะได้เห็นกันเร็ว ๆ นี้ ไม้มีค่า มีค่าตั้งแต่มีชีวิต ไม่จํา เป็นต้องตัดเขาก็มีค่า ให้ดิน ให้น า ให้อากาศที่ดีได้ เรียกว่าประโยชน์ทางอ้อมของต้นไม้ ประโยชน์ทางตรงคือให้เนื้อไม้ ตัดไปทํา เป็นไม้ท่อน ไม้ซุง หรือ
BEDO MAGAZINE 10
ปัจจุบันกีต้าร์ไม้ไทยมีอยู่จริง แต่อยู่กับบุคคลที่
เข้ามาเรียนรู้
ถ้าอยากจะสั่งทำา เราก็จะมีแหล่งข้อมูลของช่าง
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
COMMUNITY TRADE SECRET ชัยรัตน์ บุญนาค ต้นไม้ เงินออมระยะยาว พื้นที่สีเขียวมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตขั้นพื้นฐาน และสํา คัญต่อการสนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดังนั้น สัดส่วนของพื้นที่สีเขียวของประเทศจะต้องมี ความสมดุลกันระหว่างพื้นที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจ รวมถึงกิจกรรมอื่น ๆ ของมนุษย์ เพื่อให้มีความ สามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ของระบบ นิเวศสามารถบริการอย่างสมดุล BEDO MAGAZINE 12

พื้นที่ป่าและพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 55 โดยแบ่งเป็นพื้นที่สีเขียว ที่เป็นป่าธรรมชาติร้อยละ 35 พื้นที่สีเขียวเพื่อการใช้ประโยชน์ร้อยละ 15 และป่าในเมืองและพื้นสีเขียวเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพื่อการ

55%

35% 15% 5%

ภาครัฐได้ตระหนักถึงสถานการณ์ โดยกำา หนดเป้าหมายพื้นที่สีเขียว ของประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการ สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยตั้งเป้าหมาย
เรียนรู้ร้อยละ 5 โครงการชุมชนไม้มีค่า ป่าครอบครัว ก ำา หนดเป้าหมายให้มีชุมชนไม้มีค่า ให้ได้ 20,000 แห่งทั่วประเทศ ได้พื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น 26 ล้านไร่ ภายในระยะ เวลา 10 ปี ให้ประชาชนจำานวน 2.6 ล้านครัวเรือน มีความมั่นคงในอาชีพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ สร้างมูลค่าทาง เศรษฐกิจประมาณ 1.04 ล้านล้านบาท โดยคาดหวังที่จะทำา ให้คุณภาพ ชีวิตของประชาชนดีขึ้น ด้วยการมีหลักประกันระยะยาว สามารถใช้เป็น เงินออม หรือเป็นธนาคารต้นไม้ของประชาชนเอง สพภ. ได้ใช้แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ สีเขียวนอกเขตจากค่าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ และเป้าหมายตาม โครงการชุมชนไม้มีค่า ป่าครอบครัว การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคประชาชน ซึ่งเป็นภาคที่ถือครองพื้นที่กรรมสิทธิ์ จึงเป็นปัจจัยสำาคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนและนำาไปสู่การบรรลุเป้าหมาย เป้าหมายพื้นที่ป่า และพื้นที่สีเขียวไม่น้อยกว่า เป้าหมายให้มีชุมชนไม้มีค่า ให้ได้ 20,000 แห่งทั่วประเทศ ได้พื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น 26 ล้านไร่
โดยแบ่งเป็น พื้นที่สีเขียวที่เป็นป่าธรรมชาติ พื้นที่สีเขียวเพื่อการใช้ประโยชน์ ป่าในเมืองและพื้นสีเขียว เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อการเรียนรู้
BEDO MAGAZINE 13
ผลการดําเนินงาน การเพิ่มพื้นที่สีเขียว นอกเขตอนุรักษ์ และมูลค่าบริการระบบนิเวศ พื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์ที่ สพภ. ดำา เนินการจำา แนกไปตามภูมินิเวศ ได้แก่ ภูมินิเวศเหนือ ภูมินิเวศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมินิเวศกลาง-ตะวันออก-ตะวันตก และภูมินิเวศใต้ โดยระบบนิเวศหนึ่ง ๆ มีความ แตกต่างตามโครงสร้างของระบบนิเวศนั้น ๆ ผันแปรไปตามลักษณะพื้นที่ ซึ่งจะปรากฏในค่าตัวแปรตาม นิยมของระบบนิเวศ โดยแต่ละพื้นที่ของภูมินิเวศจะเป็นตัวแทนการประเมิน ฯ ตามประเภท/ชนิดของป่า ลักษณะป่าไม้ตามความสูงและความลาดชัน ได้แก่ ภูมินิเวศเหนือเป็นประเภทของป่าเบญจพรรณ/ ป่าเต็งรัง ภูมินิเวศตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นประเภทของป่าดิบแล้ง/เต็งรัง ภูมินิเวศใต้ เป็นประเภทของ ป่าดิบชื้น และภูมินิเวศกลาง/ตะวันออก/ตะวันตก เป็นประเภทของป่าดิบแล้ง สพภ. สามารถดํา เนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์และมูลค่าบริการระบบนิเวศ สะสม จํา นวน 4 ปี โดยมีผลการดํา เนินงานสะสมตั้งแต่ปี 2562-2565 มีสมาชิกสะสม 1,770 ราย แปลงสะสม 2,129 แปลง รวมจํา นวน 20,012 ไร่ และมูลค่าจากบริการระบบ นิเวศรวมสะสม 1,902.54 ล้านบาท 1,770 2,129 20,012 1,902.54 แปลงสะสม รวมจํา นวน รวมจํา นวน สมาชิกสะสม ล้านบาท ไร่ แปลง ราย พื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์ และมูลค่าบริการระบบนิเวศ สะสม จํา นวน 4 ปี ปี 2562-2565 BEDO MAGAZINE 14

BEDO ได้เกียรติเป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ Memorandum

BULLETIN BEDO จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาโครงการสนับสนุนการดํา เนินงานด้านธนาคาร ความหลากหลายทางชีวภาพระดับชุมชน BEDO จัดพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างชุมชนและผู้ประกอบการที่ร่วมจับคู่ธุรกิจ นางสุวรรณา เตียรถ์สุวรรณ ผู้อำา นวยการ
Of Understanding : MOU การจับคู่ธุรกิจเพื่อยกระดับสินค้าชุมชน ภายใต้ “โครงการ ยกระดับสินค้าชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ด้วยวิธีการเหมาะสม” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พร้อมด้วย ดร.ธนิต ชังถาวร รองผู้อำา นวยการ และผู้บริหาร BEDO เข้าร่วมประชุม ณ ห้องปีติพงศ์พึ่งบุญ สพภ. ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ ดร.ธนิต ชังถาวร รองผู้อำา นวยการ BEDO พร้อมด้วย นายสุวีร์ งานดี รองผู้อำา นวยการ BEDO และคณะกรรมการ พิจารณาโครงการสนับสนุนการดำา เนินงานด้านธนาคารความ หลากหลายทางชีวภาพระดับชุมชน ได้เข้าร่วมประชุมติดตาม ผลการดำา เนินงานรอบ 9 เดือน โครงการ Community BioBank ได้รับการสนับสนุนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และพิจารณา ข้อเสนอโครงการ (ประเภทต่อเนื่อง) ในการประชุมคณะกรรมการ พิจารณาโครงการ ฯ ครั้งที่ 3/2566 ณ ห้องประชุมปีติพงศ์พึ่งบุญ สพภ. ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ และประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Meeting) BEDO MAGAZINE 15

า คัญ

สนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปมะไฟจีนบ้านมะกอก 89 หมู่ 1 ตํา บลท่าน้าว อํา เภอภูเพียง จังหวัดน่าน 55000 โทร. 0866448344 มะไฟจีน เพียงตะวัน มะไฟจีน พืชท้องถิ่นของจังหวัดน่านที่ได้รับการอนุรักษ์และส่งเสริมให้เป็นพืชเศรษฐกิจส�
ของจังหวัด
แสงอาทิตย์ ให้รสชาติอร่อยกลมกล่อม หวานอมเปรี้ยว และยังน� า มาท�
เป็นน�้ า มะไฟจีน คราฟต์ โซดา ภายใต้แบรนด์ เพียงตะวัน
นอกจากรับประทานผลสดแล้วยังสามารถน�ามาแปรรูปเป็นมะไฟแช่อิ่มอบแห้งด้วยพลังงาน

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.