GIT TRADE REVIEW
INFORMATION CENTER ISSUE 3 / 2011
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
รุกตลาดออสเตรเลีย ขยายโอกาสส่งออกเครื่องประดับไทย ออสเตรเลียเป็นประเทศพัฒนาแล้วที่มีเสถียรภาพ และความมัน่ คงทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองสูง มีการเติบโต ทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งด้วยอัตราการขยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ 2.77 ต่อปีในช่วงปี 2549-2553 และคาดว่าในปี 2554-2555 จะมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงราวร้อยละ 2.97 และ 3.48 ตามล�ำดับ ทัง้ ยังเป็นประเทศทีม่ คี า่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศ (GDP) ถึง 882.40 พันล้านเหรียญสหรัฐ สูงเป็นอันดับ 6 ของภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ และนับเป็นอันดับที่ 18 ของโลก โดยมีแรงขับเคลือ่ นส�ำคัญจากภาคการส่งออกโดยเฉพาะสินค้า ประเภทแร่ธาตุและการลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ที่ส่ง ผลเชื่อมโยงสู่การบริโภคภายในประเทศผ่านการจ้างงานและ ช่องทางอืน่ ๆ ปัจจุบนั ออสเตรเลียมีจ�ำนวนประชากรเพียง 21.77 ล้านคน จึงอาจถือเป็นตลาดผูบ้ ริโภคทีม่ ขี นาดไม่ใหญ่นกั หาก แต่ประชากรกว่าร้อยละ 86 มีอายุตำ�่ กว่า 65 ปี และมีสดั ส่วน ประชากรในวัยท�ำงานสูงเกือบร้อยละ 70 กอปรกับผู้บริโภค ชาวออสเตรเลียส่วนใหญ่มกี ำ� ลังซือ้ สูง โดยมีรายได้เฉลีย่ ต่อคน
ราว 41,000 เหรียญสหรัฐ ซึง่ นับว่าสูงเป็นอันดับ 4 ของภูมภิ าค เอเชียแปซิฟิก รองจากสิงคโปร์ บรูไน และฮ่องกง ตามล�ำดับ ท�ำให้ออสเตรเลียเป็นประเทศที่มีความต้องการบริโภคสูง ซึ่ง รวมถึงสินค้าฟุม่ เฟือยอย่างอัญมณีและเครือ่ งประดับทีผ่ บู้ ริโภค ในตลาดต่างนิยมเลือกซื้อสินค้าที่มีดีไซน์ร่วมสมัยตามกระแส แฟชั่น โดยมองว่าเป็นไลฟ์สไตล์ในชีวิตประจ�ำวันและหันมา เปิดรับเครื่องประดับน�ำเข้าจากต่างประเทศกันมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันออสเตรเลียยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่ ผู้คนทั่วโลกต่างแสวงหาโอกาสในการเดินทางมายังดินแดน แห่งนี้ ซึง่ นักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติลว้ นมีบทบาทส�ำคัญในการ ใช้จ่ายซื้อสินค้าอย่างเครื่องประดับตกแต่งอัญมณีด้วย ส่งผล ให้ตลาดอัญมณีและเครื่องประดับออสเตรเลียเติบโตได้อย่าง รวดเร็วและต่อเนื่อง จึงนับเป็นตลาดที่มีศักยภาพทางการค้า และการลงทุนสูง ซึ่งผู้ประกอบการอัญมณีและเครื่องประดับ ไทยควรจะได้เร่งหาโอกาสรุกเข้าสูต่ ลาดใหม่แห่งนีเ้ พือ่ กระจาย ความเสี่ยงจากการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าหลักเดิมที่ก�ำลัง เผชิญกับภาวะการชะลอตัวทางเศรษฐกิจอยู่ในขณะนี้
1. ภาวะการผลิต ออสเตรเลี ย เป็ น แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ อั ญ มณี แ ละโลหะ มีคา่ หลากหลายประเภททีม่ คี ณ ุ ภาพสูง ทัง้ ทองค�ำ เพชร โอปอ ไข่มกุ เซ้าท์ซี และแซปไฟร์ เป็นต้น โดยในปี 2553 ออสเตรเลีย สามารถผลิตทองค�ำได้มากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากจีน ด้วยปริมาณการผลิตกว่า 260 ตัน มีปริมาณการผลิตเงินถึง 60 ล้าน ออนซ์ หรือราว 1,864 ตันสูงเป็นอันดับ 4 ของโลก ผลิตโอปอได้มาก ถึงกว่าร้อยละ 95 ของการผลิตโอปอทัว่ โลกทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรม เครือ่ งประดับ เป็นหนึง่ ในประเทศผูผ้ ลิตไข่มกุ เซ้าท์ซคี ณ ุ ภาพสูง ที่ส�ำคัญของโลก รวมทั้งยังเป็นแหล่งผลิตแซปไฟร์คุณภาพดี หลากหลายชนิดทีส่ ง่ ออกไปยังตลาดโลก
จากเหมืองเพชรแหล่งอาร์ไกล์ (Argyle) ทีต่ งั้ อยูท่ างตะวันตก ของประเทศ ซึง่ ได้ชอื่ ว่าเป็นเหมืองเพชรทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก และ สามารถขุดพบเพชรดิบได้เฉลีย่ ถึงปีละประมาณ 34 ล้านกะรัต ดังนั้น จึงนับว่าออสเตรเลียมีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่าง มหาศาลที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมการผลิต อัญมณีและเครือ่ งประดับภายในประเทศได้เป็นอย่างดี
ในส่วนของวิสาหกิจการผลิตอัญมณีและเครือ่ งประดับ ในออสเตรเลียนัน้ ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก บางส่วนเริม่ ต้นจากธุรกิจของครอบครัวและพัฒนาต่อยอดไปสู่ โรงงานผลิตเครื่องประดับขนาดใหญ่ ซึ่งบางรายได้พัฒนาไป นอกจากนี้ ออสเตรเลียยังเป็นแหล่งผลิตเพชรแฟนซี เป็นแบรนด์เนมทีม่ ชี อื่ เสียงของประเทศ อาทิเช่น Percy Marks, สีชมพูเข้มจนถึงสีแดง รวมถึงเพชรแฟนซีสแี ชมเปญแหล่งใหญ่ Hardy Brothers, Anania Jewellers และ Flame Opals ทีม่ ชี อื่ เสียงในเรือ่ งคุณภาพอันเป็นทีร่ จู้ กั กันทัว่ โลก โดยเฉพาะ เป็นต้น โดยผู้ผลิตชาวออสเตรเลียราวครึ่งหนึ่งเป็นผู้ผลิต รุกตลาดออสเตรเลีย ขยายโอกาสส่งออกเครื่องประดับไทย
1