GIT TRADE REVIEW
INFORMATION CENTER ISSUE 4 / 2009
สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความเปนมา1 อาเซียน (Association of South East Asian Nations: ASEAN) คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้สถาปนาขึ้นตามปฏิญญาอาเซียนเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ประกอบด้วยสมาชิกแรกเริม่ 5 ประเทศคือ สาธารณรัฐ อิ น โดนี เซี ย สหพั นธรั ฐ มาเลเซี ย สาธารณรั ฐ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ และราชอาณาจักรไทย ได้มีการท�า ความตกลงว่าด้วยการให้สทิ ธิพเิ ศษทางการค้าของอาเซียนขึน้ เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2520 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ โดยมีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะร่วมมือและให้ความอนุเคราะห์แก่กนั และกันในทางเศรษฐกิจและการค้า เพือ่ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ทีม่ อี ยูใ่ นภูมภิ าคอาเซียนให้มากทีส่ ดุ ซึง่ ความตกลงดังกล่าวนี้ เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2521 เป็นต้นมา ต่อมาบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามได้เข้าเป็น สมาชิกเมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและสหภาพพม่าได้เข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 ล่าสุดราชอาณาจักรกัมพูชาได้เข้าเป็น สมาชิกเมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2542 ปัจจุบนั อาเซียนมีสมาชิก รวม 10 ประเทศ และมีประชากรรวมประมาณ 500 ล้านคน จากการให้สทิ ธิพเิ ศษทางการค้าภายใต้ระบบการแลกเปลีย่ น สิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียนหรือ ASEAN PTA (ASEAN Preferential Trading Arrangement) ด้วยการลดหย่อน อัตราภาษีศลุ กากรขาเข้าส�าหรับสินค้าบางอย่างแก่กนั และกัน ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2521 นัน้ ปรากฏว่ารายการสินค้า ทีใ่ ห้สทิ ธิพเิ ศษฯ มักไม่ตรงกับความต้องการของแต่ละประเทศ สมาชิกเป็นเหตุให้การค้าไม่ขยายตัวมากเท่าที่ควร ดังนั้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 4 เมือ่ วันที่ 27-28 มกราคม 2535 ณ สิงคโปร์ อาเซียนได้ตกลง
1
ทีจ่ ะจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียนหรือ AFTA (ASEAN Free Trade Area) ขึน้ โดยได้รว่ มลงนามในข้อตกลงว่าด้วยการใช้ อัตราภาษีศลุ กากรพิเศษทีเ่ ท่ากันส�าหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area) ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อขยายการค้าภายในอาเซียน จูงใจการลงทุนจากต่างประเทศมาสู่ภูมิภาค และเสริมให้มี การปรับโครงสร้างภาษีศลุ กากรเพือ่ ประสิทธิภาพการผลิตของ ประเทศสมาชิก ตลอดจนเพิ่มอ�านาจต่อรองของอาเซียนใน เวทีการเจรจาระหว่างประเทศ
สัญลักษณ์อาเซียน
กระทรวงพาณิชย์. กรมการค้าต่างประเทศ.
เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)
1