การดูแลสัตว์ป่วยในตู้ ICU ต้องทำอย่า�

Page 1

การดูแลสัตวปวยในตู ICU รวมกับเครื่องผลิตออกซิเจน ควรตองทําอยางไรบาง


คุณสมบัติของตูดูแลสัตวปวย Pet pavilion คือ 1. ตูสามารถตั้งอุณหภูมิความอบอุนไดตั้งแต อุณหภูมิหองขณะนั้น ขึ้นไปจนถึง 38 องศาเซลเซียส เพื่อชวยทําใหลูกสัตว และ สัตวปวย ไดรับความอบอุน หรือ ไม เกิดอาการช็อกเนื่องมาจากการหนาวสั่นได (หากตั้งต่ํากวาอุณหภูมิหอง เครื่อง จะไมปรับอุณหภูมิลงตามที่ตั้ง เพราะไมมีเครื่องทําความเย็น) 2. สามารถตั้งความชื้นไดตั้งแต ความชื้นหองขณะนั้น จนถึง 60 เปอรเซ็นต และ โดยเติมน้ําเขาไปในชองบรรจุน้ํา 3. มีชองระบายอากาศ และ ทําใหอากาศในตูมีการหมุนเวียน ดวยพัดลม 4. มีชองสํ าหรับ ตอ ออกซิเจน เพื่อเพิ่ม ออกซิเจน โดยใชเครื่องผลิตออกซิเจน หรือทอออกซิเจนอัดความดันใหกับสัตวที่ตองการโดยเฉพาะ สามารถพนน้ํายา เปนละอองควันน้ําละเอียดเพื่อการรักษาทางระบบหายใจรวมดวย 5. ภายในตูพื้นเรียบ โคงมนทําใหทําความสะอาดไดงาย หมดจดไมมีซอกมุม เก็บ กลิ่นตกคางของอุจจาระหรือปสสาวะของสัตวปวย จากข อ มู ล และคุ ณ สมบั ติ ข องตู ดั ง กล า วนี้ ผู ใ ช จ ะต อ งพิ จ ารณา ปรั บ อุ ณ หภู มิ ความชื้น และการพ นละอองน้ํา ยา ให เ หมาะกั บ สภาพของสั ต ว ป ว ยแต ล ะตั ว และเป น กรณี ๆ ไป การหมั่ น มาดู แ ลเอาใจใส อ าการของสั ต ว ป ว ยหนั ก บ อ ย ๆ เช น ทุ ก ครึ่ ง ชั่ ว โมง และมี ก ารให ย าหรื อ ให ก ารรั ก ษาอื่ น ๆ ประกอบด ว ย เป น สิ่ ง จํ า เป น ซึ่ ง ไม ส ามารถ ทดแทนไดดวย การปรับอุณหภูมิหรือ การใหออกซิเจนเพียงอยางเดียว ภายในตู เปน เพี ย งการปรั บ สภาพสิ่ ง แวดล อ มให สั ต ว ป ว ยได อ ยู ส บายมากขึ้ น เท า นั้ น ไม ส ามารถ ทดแทนการรักษา และการเอาใจใสดูแลประกอบรวมกันได ทั้งนี้การปรับอุณหภูมิใหเหมาะสม ขึ้นอยูกับดุลยพิจารณาของสัตวแพทย และ อาการของสัตวที่ตอบสนอง จึงจะไดผลดี ห า มปล อ ยให สั ต ว อ ยู ต ามลํ า พั ง ในตู น านๆ โดยเด็ ด ขาด ต อ งมาสั ง เกตอาการ อย า ง ใ ก ล ชิ ด เพ ร า ะ ว า สั ต ว ป ว ย วิ ก ฤ ต อ า จ จะ ต อ ง ก า ร ก า ร ป รั บ อุ ณ ห ภู มิ แ ล ะ สภาพแวดลอมเปลี่ยนไปบอย ๆ ขึ้นอยูกับอาการที่สัตวตอบสนองดวย เชน แรก ๆ สัตวที่ หนาวสั่นอาจจะตองการอุณหภูมิอบอุนสูง และเมื่อมีอาการดีขึ้น อาจตองการอุณหภูมิที่ อบอุนสูงนอยลง เปนตน


แม ว า ตู จ ะสามารถ ปรั บ อุ ณ หภู มิ ได จากอุ ณ หภู มิ ห อ งขณะนั้ น ขึ้ น ไปถึ ง 38 องศาเซลเซียสตามคุณสมบัติ ก็จริง แตในการใชงานจริง สตวแตละตัวที่ปวย และมีไข สูงซึ่งอาจไมเหมือนกัน หรือ มีสภาพรางกาย ที่แข็งแรงออนแอไมเทากัน อาจมีความ ตองการอุณหภูมิที่เหมาะสมแตกตางกัน ดังนั้น ในการใชงานตู ICU จึงตองอยูภายใต การดู แ ลของสั ต วแพทย ซึ่ ง จะต อ งค อ ย ๆ ปรั บ อุ ณ หภู มิ ภ ายในตู จ ากอุ ณ หภู มิ ห อ ง ขณะนั้น ขึ้นทีละนอย ๆ เชน เพิ่มขึ้นทีละ 1 – 2 องศาเซลเซียส แลวรอดูอาการ สังเกต การตอบสนองของสัตวดวย เชน หากสัตวยังมีไข และ มีอาการหนาวสั่นอยู พอนําเขาตู ก็ลองปรับอุณหภูมิขึ้นจากอุณหภูมิหองครั้งละ 1 องศาเซลเซียส รอดูอาการอยาง ใกลชิด จนเห็นวา สัตวสบายดีในอุณหภูมิใดก็ใหหยุดคงอุณหภูมิ นั้นไว สิ่งสําคัญคือ ตองอยูในการดูแลของสัตวแพทยอยางใกลชิดดวยตลอดเวลา เพราะเวลาที่เปลี่ยนไป อาจตองมีการปรับเพิ่มหรือลดอุณหภูมิเพิ่มหรือลดอีกตามความเหมาะสมของอาการของ สัตว การตั้ งอุ ณ หภู มินั้น ห า มตั้ งอุ ณ หภูมิ สู งสุ ดที เดีย ว หรื อ จุ ดเดี ย ว เช น ตั้ งที่ 37 องศาเซลเซียสใหสูงเลย โดยคิดเอาวาสัตวมีไข ก็ปรับอุณหภูมิสูงมากไปที่ 37 องศา เซลเซียส เลย แลวปลอยใหสัตวอยูลําพัง โดยไมรอดูอาการหรือเวียนมาดูอาการบอย ๆ เปนการไมถูกตอง สัตวอาจจะไมไดรับอุณหภูมิที่ถูกตองเหมาะสม ซึ่งจะมีผลตออาการ ตอบสนอง ตอการรักษา หรือ การรอดชีวิตของสัตวได ผูใชตองรูจักหลักการทํางานของ ตูนี้ และตองอยูในความดูแลอาการที่เปลี่ยนไปของสัตวแพทยประกอบดวยเสมอ สวนใหญแลวสัตวที่มีอาการปวยหนัก เรามักนิยมนํามาใสไวในตูนี้ เพื่อใหไดรับ ออกซิ เ จน และความอบอุ น (หรื อ ยาพ น เป น ละอองไอน้ํ า ร ว มด ว ย)เพื่ อ ได รั บ สภาพ อากาศแวดลอมรอบตัวที่เหมาะสม ดังนั้น ในการใชตู ICU จึงขอใหพิจารณาการใชตู ICU ใหถูกตอง เหมาะสม และอธิ บ ายให เ จ า ของไข ฟ ง ว า การนํ า สั ต ว ป ว ยวิ ก ฤติ เ ข า ในตู นี้ เป น การช ว ยปรั บ สภาพแวดลอม ที่ ป กติไมเหมาะสม ทั้ งอุณ หภูมิ และปริมาณออกซิเจนในอากาศ ให มี ความเหมาะสมมากขึ้น


การใหออกซิเจนที่มีความเขมขน หรือ ยาพน (Nebulizer) ก็เชนกัน เราตองเริ่ม ใหที่ อัตราไหลของกาซ ที่ 5 ลิตรตอนาทีหรือทีละนอยกอน และหากสัตวยังมีผิวเยื่อบุ ซีด เนื่องจากการขาดออกซิเจน ก็คอยๆ ปรับ เพิ่มขึ้น (หากวัดดวย Pulse Oximeter จะ รูเปอรเซ็นตออกซิเจนในกระแสโลหิตที่แนนอน และเพื่อรับทราบวาสัตวไดรับออกซิเจน เพียงพอแลวหรือไม) การเลือกวิธีการใหออกซิเจนที่เหมาะสม 1. การใหออกซิเจนแกสัตวปวยโดยใชเครื่องกําเนิดออกซิเจน (อัตรา Flow rate สูงสุด 5 ลิตร ตอ นาที เปนการกรองออกซิเจนจากอากาศ ไดออกซิเจนบริสุทธิ์ ประมาณ 90-95% เป น วิ ธี ก ารให ที่ ป ระหยั ด ค า ใช จ า ยกว า ใช อ อกซิ เ จนจากท อ อั ด อากาศ) เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือดใหกลับสูงขึ้น การใหออกซิเจนตอง พิจารณาอาการของสัตว โดยสังเกตวาสัตวอาจมีผิวหนังซีด ลิ้นซีด หรืออาจใชเครื่อง Pulse oximeter ในการตรวจวัดเปอรเซ็นตออกซิเจนอิ่มตัวในกระแสเลือด ถาพบวา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ขึ้นจากเดิมที่ต่ํากวาปกติอยูแลว เชน ต่ํากวา 90 % มาอยู สภาวะปกติได (คือ 95% ขึ้นไป) ก็ถือวานาจะใชไดแลว เปนตน ในกรณีที่ สัตวที่ปวยหนัก และ ตองการออกซิเจนเขมขน แลวนํามาไวในตู pet pavilion ปริมาณออกซิเจนเขมขนที่เจือจางกับอากาศในตู นั้น บางครั้งอาจไมเพียงพอ (ใหดูอาการสัตวประกอบ) ดังนั้นกรณีนี้ ควรที่จะใชวิธีตอสายสอดทอออกซิเจนเขาไปใน ชองจมูกโดยตรงแกสัตวเลย หรือ นํา collar มาคลุมและปดทึบดานหนา แลวใหตอสาย ออกซิเจนเขาไปดานในใหสัตวหายใจไดรับ ออกซิเจน% ที่สูงขึ้นโดยตรง

ภาพที่ 1 : การสอดทอเขาไปในโพรงจมูก

ภาพที่ 2: การนํา collar และแผนพลาสติกมาคลุมปดโดยใหสอดทอออกซิเจนเขาไป เพื่อเพิ่มความเขมขนของออกซิเจนในพื้นที่จํากัด หรือ เพื่อใชทดแทนที่ครอบ ปาก จมูก จากนั้นทําการวัดคา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ดวยเครื่อง Pulse oximeter กับตัวสัตวอีกครั้ง ถาหากพบวา % ออกซิเจนในกระแสเลือด วัดไดต่ํากวา 90% และไม สามารถกลั บ ขึ้ นมาถึ ง อยู ใ นสภาวะปกติ ไ ด (คื อ 95% ขึ้ นไป) ก็ ถื อ ว า ยั งดี ไม พ อ (แต แนนอนดีกวาไมมีการใหออกซิเจนเลย) ดังนั้น ควรเปลี่ยนวิธีการใหออกซิเจนโดยอาจ


ใชออกซิเจนบริสุทธจากถังออกซิเจนอัดความดัน ซึ่งมีความบริสุทธิ์ และเขมขนมากกวา (ปกติทอออกซิเจนอัดจากออกซิเจนเหลวมีความบริสุทธมากกวา 97 % ขึ้นไป แตการ ใหระยะนานเปนชั่วโมงจะสิ้นเปลืองมาก จึงตองเลือกใชตามความเหมาะสม) 2. การใหออกซิเจนแกสัตวปวยโดยใชออกซิเจนบริสุทธจากถังออกซิเจน จาก ทออัดความดัน ของโรงงาน (ออกซิเจนบริสุทธิ์ประมาณ 97% ขึ้นไป มีคาใชจายที่สูง) หลังใหแลว จากนั้นทําการทดสอบวัดคา % ออกซิเจนในกระแสเลือด ดวยเครื่อง pulse oximeter กั บ ตั ว สั ตว หรื อ สั ง เกตอาการ สี ที่ เ หงื อ ก ดู อี ก ครั้ งหนึ่ ง หากพบว า % ออกซิ เ จนในกระแสเลื อ ด ขึ้ น จากเดิ ม ที่ ต่ํ า กว า ปกติ เ ช น ต่ํ า กว า 90% และหลั ง ให ออกซิเจนแลวสามารถกลับขึ้นมาถึงอยูในสภาวะปกติได (คือ 95% ขึ้นไป) ก็ถือวานาจะ ใชได และเปนทางเลือกที่ดีกวา ขอสงสัย และคําถาม จากผูใชงานตูดูแลสัตวปวย Pet pavilion 1. ก า ร นํ า สั ต ว ป ว ย เ ข า ไ ป ใ น ตู เ มื่ อ สั ต ว ห า ย ใ จ อ อ ก ม า จ ะ นํ า ก า ซ คาร บ อนไดออกไซด อ อกมา ในตู ผู ใ ช ง านจะมั่ น ใจได อ ย า งไร ว า ตู จ ะ สามารถระบายกาซคารบอนไดออกไซดออกมาไดดี ตอบ การนําสัตวปวยเขาไปในตู ซึ่งเมื่อสัตวหายใจออกมา การระบายอากาศจะระบาย ไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับปริมาณ กาซ คารบอนไดออกไซด ที่สัตวหายใจออกมา วามีมาก น อ ยเพี ย งใด หากมี ม ากว า ปริ ม าณออกซิ เ จนที่ เ ติ ม เข า ไปในตู สั ต ว ก็ อ าจจะรู สึ ก ไม สบาย ระบบตูมีพัดลมทําใหอากาศหมุนเวียนโดยนําอากาศจากภายนอก และหากมีการ ตอออกซิเจนเขาไปทดแทนอากาศภายในตัวตูดวย และเวลาสัตวหายใจออกมาสวนหนึ่ง ก็ จ ะถู ก ขั บ ออกมาข า งนอก (ตามช อ ง) การใช ตู ใ นกรณี สั ต ว ป ว ย หรื อ มี ไ ข สู ง ควรให ออกซิเจนดวย การต อ ออกซิ เ จนเข า ในตู ซึ่ ง ให ใ นอั ต ราไหลที่ 5 ลิ ต ร ต อ นาที แล ว ลองนํ า เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนไปวัดในตูดูวา จะพบวามี % ออกซิเจนภายในสูงกวา 21 % (ปกติในอากาศจะมี % ออกซิเจน ประมาณ 21%) ปกติขนาดปอดของสัตว พอที่จะวัด และคาดคะเนจากขนาดของสัตว ไดคราวๆ เชน สุนัขเล็ก หนัก 5 กิโลกรัม ดูจากชองอก ขนาดปอดใหญประมาณ ไมเกิน 0.15 ลิตร นั บ การหายใจ ประมาณ 12 ครั้ ง ต อ นาที หรื อ สมมติ ว า อากาศทั้ ง หมดที่ สั ต ว ห ายใจ ออกมาเปนคารบอนไดออกไซดทั้งหมด ไดอยางมากเต็มที่เทากับ 0.15x12 = 1.8 ลิตร ตอนาทีเทานั้น แตเครื่องผลิตออกซิเจน สามารถตั้งใหปลอยกาชออกซิเจนไหลเขาไป ในตูไดถึง 5 ลิตร ตอนาที มากกวากาชคารบอนไดออกไซดที่หายใจออกมา สัตวนาจะ หายใจไดพอสบาย หากสุนัขตัวไมใหญ จนคับตูเกินไป อยางไรก็ตาม ขณะใหออกซิเจน การสังเกตอาการของสัตวประกอบดวย 2. ความชื้นกับอุณหภูมิทํางานควบคูกันใชหรือไม ตอบ ไมใช เพราะ ความชื้ น และอุณ หภู มิ ในตู ส ามารถแยกตั้ งได เ อง ตามคู มื อ เช น ขณะอุณหภูมิหองอยูที่ 28 องศา เมื่อทดลองตั้งอุณหภูมิที่ 35 องศาเซลเซียส และตั้ง ความชื้นที่ 50 % เมื่ออุณหภูมิคอย ๆ เพิ่มสูงถึง 35 องศาเซลเซียสอุณหภูมิก็จะหยุดอยู แค นั้ น แต ถ า หากเราตั้ ง อุ ณ หภู มิ ล งมาที่ 20 องศา ขณะอุ ณ หภู มิ ห อ งอยู ที่ 28 องศา จอภาพจะไม แ สดงแสดงอุ ณ หภู มิ 20 องศาตามที่ ตั้ ง แต จ ะแสดง 28 องศา เท า กั บ อุณหภูมิหอง เพราะเราไมสามารถบังคับตั้งอุณหภูมิในตูไดต่ํากวาอุณหภูมิจริงของหอง เพราะภายในตู ไ ม มี ร ะบบทํ า ความเย็ น ความชื้นก็ เชน เดี ย วกั น หากเราตั้ งที่ ต่ํ า กว า %


ความชื้นจริงของหอง จอภาพก็จะแสดงความชื้นที่แทจริงขณะนั้นของหอง ไมใชแสดง ตามที่เราตั้งไวต่ํากวา % ความชื้นของหอง สรุปคือ เราสามารถตั้งความชื้น และอุณหภูมิใหอยูคงที่ ไดตั้งแตอุณหภูมิ และ ความชื้นของหอง ขณะนั้นเพิ่มขึ้นไป (ไมสามารถตั้งลดลงต่ํากวาอุณหภูมิ และความชื้น ภายในห อ ง) เนื่ อ งจากความชื้ น ในบ า นเรามี ค วามชื้ น สู ง มากอาจถึ ง 70 % แม เ ราตั้ ง ความชื้นไดสูงสุดได 60 % จอภาพก็จะไมแสดงความชื้นที่ 60 % แตแสดงคาความชื้น ตามความเปนจริง 3. ทําไมตูทําความเย็นไมได ถาตูทําความเย็นได สัตวนาจะสบายกวาไหม ตอบ “สัตวที่ตองการมาอยูในตูนี้ปกติแลวตองการความเย็นจริงหรือ” เพราะ สัตวที่มี อาการปวย เปนไข ไมสบาย หนาวสั่น มักตองการความอบอุนของรางกายเพิ่มขึ้น จาก สภาพแวดลอมในหอง ไมใชเย็นลง อยางที่เราคิด แตหากตองการใหอากาศในตูเย็นลง เพื่อสัตวปกติที่ไมปวยไดอยูเย็นสบายเหมือนเราอยูในหองแอรก็ตองนําตูนี้ไปไวในหอง แอรเชนกัน 4. ผูใชงานจะทราบไดอยางไรวาสัตวไดรับออกซิเจนที่ใหอยูเพียงพอ หรือไม ตอบ 1. สังเกตจากอาการของสัตวเปนอันดับแรกโดยดูจากเหงือก ลิ้น ที่เดิมซีดวามี สีชมพูเพิ่มขึน ้ หรือไม 2. หลังจากสัตวไดรับออกซิเจนแลว สังเกตวาสัตวมีอาการสดชื่นขึ้นไหม 3. ใชเครื่อง Pulse oximeter วัด % ออกซิเจนในกระแสโลหิตดูวาเพิ่มขึ้นถึง ปกติหรือยัง (95-100 %) 4. ตองเลือกวิธีการใหออกซิเจนในสัตวปวยอยางเหมาะสม เชน ถาหากสัตว ตองการออกซิเจนไมมาก เชน สัตวปวยซึม มีไข หรือ พึ่งฟนจากการผาตัด หรือพึ่ งคลอดออกมาใหม การให ออกซิเจนแก สัตวในตูที่ 5 ลิตร/นาทีอาจ เพี ย งพอแล ว แต ต อ งสั ง เกตอาการ และการตอบสนองประกอบด ว ย ซึ่ ง สามารถตรวจสอบได จ าก 3 ข อ ด า นบนที่ ก ล า วมา บางกรณี แ ม เ ราให ออกซิเจนแกสัตว ในตูที่ 5 ลิ ตร/นาที แล วแตก็ อาจจะยังไมเพี ย งพอ โดย สั ง เกตจากอาการของสั ต ว เช น ลิ้ น และเหงื อ กยั ง ซี ด อยู ไ ม ดี ขึ้ น หรื อ % ออกซิเจนในกระแสโลหิต ที่วัดไดของเครื่อง Pulse oximeter ยังต่ํา กวา ปกติ มาก ก็ตองเปลี่ย นวิ ธีการให มาเปนใชที่ครอบจมู ก หรือต อทอโดยตรง เขาสูชองจมูก จากนั้นก็ทําการวัดดวยเครื่อง Pulse oximeter ดังวิธีที่กลาว มาด า นบน เพื่ อ เป น การทดสอบอี ก ครั้ ง หนึ่ ง ทุ ก อย า งต อ งขึ้ น อยู กั บ ดุ ล ย พิจารณาของสัตวแพทย น.สพ.สมพล ศิริอุดมเศรษฐ ผูเรียบเรียงขอมูล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.