oxygen concentrator_ks-5 manual

Page 1

Oxygen Concentrator KS-5 เครื่องผลิตออกซิเจน จากอากาศ รุน KS-5

1


คูมือการใชงาน ขอมูลแนะนําเพื่อความปลอดภัย 1. ใชไฟฟากระแสสลับ (ไฟบาน) Power supply: 220V (50Hz) AC 2. หากมีสิ่งของหรือของเหลวเขาไปในตัวเครื่อง ใหรีบถอดปลั๊กไฟฟาออกทันที และตรวจสอบ โดยผูเชี่ยวชาญ กอนนําไปใชงานใหม 3. หากไมไดใชเครื่องเปนเวลานาน ใหถอดปลั๊กออกจากเตาไฟ คําเตือน - ในกรณีที่เครื่องขัดของใชงานไมไดหรือไฟฟาดับ ควรเตรียมอุปกรณให ออกซิเจนชนิดอื่นสํารองไว เพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน เชน ถังออกซิเจน, ถุง อั ด ออกซิ เ จน เป น ต น สํ า หรั บ ผู ที่ ต อ งการใช อ อกซิ เ จนด ว นและผู ป ว ย อาการหนัก

ขอควรระวังในการใช Oxygen Concentrator รุน KS-5 คําเตือน หามสูบบุหรี่ระหวางการใชงาน 1.ขอแนะนําความปลอดภัยสําหรับเครื่องทําออกซิเจนเขมขน(oxygen concentrator) A. หามใชงานเครื่องใกลกับแหลงความรอนหรือมีประกายไฟ B. เครื่องไมเหมาะสมกับภาวะแวดลอมที่มีความชื้นสูง เชน หองน้ํา หลังการทําความสะอาดสวน กรองตองทําใหแหงกอนใชงานใหมทุกครั้ง C. หามใชงานเครื่องใกลกับวัตถุไวไฟเชนน้ํามันจาระบี ,น้ํายาทําความสะอาด เปนตน และหาม ใชงานกับวัตถุดังกลาว D. หามใชงานเครื่องในบริเวณคับแคบ ควรวางใหหางจากสิ่งกีดขวางเชน ประตู หรือหนาตาง ที่ ขวางการระบายอากาศ อยางนอย 15 ซม. 2. ขอแนะนําความปลอดภัยสําหรับอุปกรณไฟฟา A. ปดเครื่องกอนตอเขากับแหลงไฟ B. ควรระมัดระวังเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา หามเปดเครื่องหากปลั๊กหรือสายไฟชํารุด ตองมั่นใจวาไดตัดไฟฟาขณะทําความสะอาดเครือ ่ ง หรือตัวกรอง C. ควรติดตั้ง หมอควบคุมแรงดันไฟฟา หากกระแสไฟฟาสูงกวาคาปกติหรือมีความผันผวน D. เพื่อขยายอายุการใชงานของเครื่อง ควรทําการเปดเครื่องใหมอีกครั้ง (reboot) 5 นาที หลังจากการปดเครื่องแตละครั้ง เพื่อปองกัน compressor ที่จะเริ่มทํางานภายใตแรงกดดัน E. หามใชงานเครื่องหากเปดชองหนาตางบานเกร็ดที่ดานขางเครื่อง หรือตัวเครื่อง F. หากไมใชผูเชี่ยวชาญ ไมควรเปดตัวเครื่อง เพื่อการซอมแซม G.หามเด็กใชงานเครื่องโดยลําพัง เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุได 3.ขอแนะนําความปลอดภัยสําหรับการหายใจเพื่อสูดออกซิเจนเขา A. ทําตามคําแนะนําของแพทยหากใชเพื่อการรักษา B. หากรูสึกเกิดอาการแพกับการสูดออกซิเจน ใหหยุดใชเครื่อง และปรึกษาแพทย C. อัตราการไหลเขาของออกซิเจนไมควรสูงเกินไป ควรใชตามคําแนะนําของแพทย D.ควรระวังเรื่องภาวะแวดลอมในการใชงาน อุณหภูมิปกติควรอยูระหวาง: 5-40 เซลเซียส และความชื้น ≤80% E. ควรวางเครื่องทํางานในที่มั่นคง ระวังที่ลาดเอียงและการลม

องศา

2


F. อยาบีบถุงออกซิเจนที่เครื่องชวยหายใจ ขณะทีม ่ ีน้ําในขวดตรงเครื่อง G. ไมควรมีน้ําในขวดที่ตัวเครื่องมากเกินไป อาจทําใหเกิดการไหลของออกซิเจนไมสะดวก และ ใหเปลี่ยนน้ําบอย ๆ ระหวางการใชงาน H. ทําความสะอาดและเปลี่ยนตัวกรอง เพราะอาจทําใหเกิดการกีดขวางและลดความสามารถใน การทํางาน I. ควรใชทอหายใจสวนตัวเพื่อรักษาความสะอาดและสุขภาพที่ดี ทําความสะอาดและฆาเชื้อ บอย ๆ 4. ขอแนะนําความปลอดภัยสําหรับ Nebulization A. ตรวจการตอ nebulizer กับเครื่อง oxygen concentrator ระวังการรั่วซึ่งจะมีผลกระทบตอ nebulizer B. คอยดูใหน้ํายาสะอาด ไมมีสารตกตะกอนหรือไมบริสุทธิ์ ทีอ ่ าจทําใหเกิดการกีดขวาง C. ปริมาณของน้ํายาไมควรเกินกวา 15 มล. D. ใช nebulizer ชนิดพิเศษสําหรับคนไขเพื่อหลีกเลี่ยงการติดเชื้อขามกัน E. ถอดการตอทอของขวดจากดานออกของเครื่องแลวตอทอ (canal) กับดานออกของเครื่อง โดยตรงขณะ nebulizering F. อัตราการไหลสูงสุดควรอยูที่ประมาณ 3.5 ลิตรตอนาที หากตอกับ nebulizer ฟงกชัน และพารามิเตอรทางเทคนิคของเครือ ่ ง oxygen concentrator รุน KS ไฟเตือนกระแสไฟ (voltage), เวลาสําหรับการทํางานเดี่ยว , เวลาสําหรับการทํางานทั้งหมด และระบบเตือนการตัดไฟ , ระบบนับเวลา LED . Safety category: B; oxygen pressure: 0.04-0.07MPA. กําลังไฟฟา Power: AC 220V±22V, 50±1HZ อุณหภูมิ : 5~40 ℃. ความชื้นเทียบเคียง : ≤80%; แรงดันอากาศ: 86- 106 Kpa หลักการทํางานและแผนภูมิของ Oxygen Concentrator รุน KS 1. หลักการทํางาน oxygen concentrator รุน KS ประกอบดวยระบบกรอง, การดูดซึม (adsorb tower), gas valve, ระบบความเย็น(cooling system) และทางเดินอากาศ โดยใชหลักการ current world’s advanced transformation absorption(PSA) ทําการแยกออกซิเจนและ ไนโตรเจนภายใตแรงดันและอุณหภูมิปกติ จากนั้นก็จะไดออกซิเจนซึ่งไดมาตรฐานทาง การแพทย ใชหลักการตามธรรมชาติ ไมมีสารปรุงแตง ปลอดมลพิษ สดชื่นและเปนธรรมชาติ 2. ผังการทํางาน a. Drainage nitrogen Air→ filtrate→compress→separate→ b. Collect oxygen→ Constant voltage→wet→Drainage oxygen

3


ฟงกชันและการทํางานของ Oxygen Concentrator รุน KS ออกซิเจนเปนสิ่งสําคัญในการดํารงชีวิต หากมนุษยขาดออกซิเจน 5 นาที จะเสียชีวิตได เมื่อ ความดั น ออกซิ เ จนในเลื อ ดลดลงหรื อ การอิ่ ม ตั ว ของออกซิ เ จนในฮี โ มโกลบิ น ต่ํ า กว า 90% สังเกตจากหนาซีด เหงือกซีด (hypoxemia) ในสภาพนี้มนุษยอาจจะเกิดโรคและอาการมากมาย เครื่อง oxygen concentrator นี้จะชวยในการใหออกซิเจนที่บริสุทธิ์ เพื่อการรักษา เหมาะ สําหรับครอบครัวหรือโรงพยาบาล ในการใชออกซิเจนในการรักษาหรือดูแลสุขภาพ

คําแนะนําการใชงาน Oxygen Concentrator รุน KS วางเครื่องในที่ที่ปลอดภัยและสะดวกตอการใชงาน มีอากาศระบาย และใหดานหลังเครื่องหาง จากผนัง หนาตาง หรือสิ่งกีดขวางอยางนอย 15 ซม. เพื่อไมใหกีดขวางการระบายอากาศ 1. ใหสวิทชเปดปดอยูที่ “off” . 2. ตอ cable pin ของเครื่อง oxygen concentrator เขากับ slot ของสายไฟแลวตอไฟ 3. ใสน้ํากลั่นหรือน้ําเย็นตามระดับที่กําหนดใน humidifier 4. ติด humidifier กับเครื่อง oxygen concentrator ใหแนนดวยปลอกยาง ตอ outlet ของ เครื่อง oxygen concentrator กับ inlet ของ humidifier กับทอแบบนิ่ม 5. ตอสายออกซิเจน (oxygen cannula) กับ humidifier outlet ใหแนน 6. กดสวิทชเปดปดไปที่ตําแหนง “on” ไฟแสดงพลังงานจะเปนสีเขียว ขณะนี้เครื่อง oxygen concentrator อยูในสถานะกําลังทํางานแลว หนาจอ LED จะแสดงเวลาการทํางานเดียวและ เวลาการทํางานทั้งหมดสลับกัน โดยจะแสดงเวลาการทํางานเดียวเมื่อมี “CU” แสดงขึ้น 7. หมุน flowrate ตามอัตราไหลที่ตองการ โดยตําแหนงกลางลูกบอลสีดําที่ลอยอยูเปนอัตรา การไหลจริง ขณะเครื่องทํางานไมสามารถปรับอัตราการไหลเปน “0” กรุณาทํางานตาม คําแนะนําของแพทย คําแนะนําใหใชอัตราไหล 1-2 ลิตรตอนาที หากใชสําหรับการรักษา 4


8. ปรับสายออกซิเจน (cannula) เพื่อใหการหายใจรับออกซิเจนบริสุทธิ์งายและสบายในการ สวมใส 9. กรุณาปดเครื่อง oxygen concentrator หลังใชงาน ดึง power pin ออกและระวังรักษาสาย ออกซิเจน (cannula) สําหรับการใชงานตอไป ระบบตรวจสอบและสัญญาณเตือนของ oxygen concentrator รุน  KS 1. ระบบเตือนตรวจสอบเรื่องการไมไดตอไฟ หรือปริมาณกระแสไฟฟาที่ผิดปกติ หรือ เพื่อ แสดงการทํางานของเครื่อง oxygen concentrator ระบบเปนระบบสัญญาณเตือนแบบเสียง acoustic และ แบบมองเห็นได เมื่อเครื่องเปดอยูจะ มีเสียงหากการตอไฟหลุดและมีไฟสีแดงแสดงขึ้น หากปริมาณกระแสไฟฟาสูงหรือต่ําเกินไป สัญญาณไฟจะเปนสีเหลือง ระหวางการทํางานปกติ ใหปดเครื่อง concentrator หากมี สัญญาณเตือนใด ๆ และใหเริ่มเปดเครื่องใหมอีกครั้งเมื่อปริมาณกระแสไฟฟากลับเปนปกติ เพื่อปองกันการเสียหายของสวนประกอบภายในเครื่อง 2. ตัวแสดงเวลาการทํางานทั้งหมด : หนาจอ LED จะแสดงเวลาการทํางานปจจุบันและเวลา การทํางานทั้งหมดเมื่อเครื่อง oxygen concentrator เปดทํางาน เวลาสูงสุดคือ 99999 ชม การดูแลรักษาและบริการของ oxygen concentrator รุน KS 1. การทําความสะอาดตัวเครื่องดานนอก ใช น้ํ า ยาที่ อ อ นนุ ม และผ า นุ ม ไม เ ป น ขน เช็ ด ตั ว เครื่ อ งด า นนอก ควรตั ด ไฟก อ นเพื่ อ ความ ปลอดภัย 2. การทําความสะอาด humidifier ใหลา งทุกวัน : a. ดึงทออยางนิ่มที่เชื่อมตอออก รวมถึง b. การลาง humidifier ใหเปดฝา ลางดวยน้ํา สามารถใชแปรงสะอาดหรือผาขนหนูหากเปรอะ เปอน สามารถใชน้ํายาที่เปนกลาง หรือน้ําสม vinegar (1 V vinegar กับน้ํา 10 V เติมเพื่อ ฆาเชื้อ) จากนั้นใสน้ําตามระดับที่กําหนด 3. การทําความสะอาดตัวกรอง: ควรทํ า ความสะอาดช อ งหน า ต า งบานเกร็ ด ด า นข า งตั ว เครื่ อ งอย า งน อ ยเดื อ นละครั้ ง ช อ ง สํ า หรั บ วางฟองน้ํ า ที่ ทํ า หน า ที่ ก รองควรทํ า ความสะอาดเดื อ นละครั้ ง หรื อ สองครั้ ง ขณะที่ ฟองน้ํ าที่ ทํา หนา ที่ กรองควรทํ าความสะอาดอาทิตย ละครั้งหรือสองครั้ ง ถอดตั วกรองเพื่ อ กํ า จั ด ฝุ น ทํ า ความสะอาดหากมี สิ่ ง สกปรก ต อ งแน ใ จว า ฟองน้ํ า ที่ ก รองแห ง แล ว จึ ง นํ า ไป ติดตั้งเพื่อใชงาน มิฉะนั้นจะมีผลตออายุการใชงาน 4. การเปลี่ยน over load protector ใหม: เมื่อ over load protector ทํางาน (Power Link normal startup, power outage alarms),ใหกดปุม reset ที่อยูเหนือ over load protector เพื่อใหเริ่มทํางาน

5


การเก็บรักษาและขนยายเครื่อง Oxygen Concentrator รุน KS 1. ควรเก็บเครื่องในที่อุณหภูมิ -40 ~50 , ความชื้นสัมพัทธ ≤93﹪. 2. ควรระมัดระวังในการเคลื่อนยาย อยาใหเครื่องพลิกคว่ําหรือชํารุด การวางไมควรลาดเอียง เกิน 5 °

ปญหาและการแกไขของเครื่อง Oxygen Concentrator รุน KS ปญหา หลังจากเปดสวิทช ไฟและเครื่องไม ทํางาน

สาเหตุที่เปนไปได 1.เสียบปลั๊กไมดี 2.ไมมีไฟ 3.Overload protector ทํางาน ปองกัน

การแกไข 1.เสียบปลั๊กใหดี 2.ตรวจไฟ 3.กดปุมoverload protector

1. Aircompressor protection. 2.Inlet or outlet ติดขัด 3.อุณหภูมิแวดลอมต่ํากวา 5 องศา

1.เปลี่ยนoxygen concentrator ใหม 2.ทําความสะอาดตัวกรอง และตรวจวามีสิ่งสกปรก ติดอยูดานในหรือไม 3.เพิ่มอุณหภูมิแวดลอม

1.ทอสูดอากาศที่จมูกติดขัดหรือ ชํารุดวาง 2.หนากากติดขัดหรือชํารุด 3.ขวดใสน้ําติดขัดหรือชํารุด 4.ทอออกซิเจนพับงอ

1.เปลี่ยนหรือปรับแกทอ ออกซิเจนใหม 2.นําขวดใสน้ํามาลางทํา ความสะอาดหรือเปลี่ยน ขวดใหม

หลังจากเปดสวิทช ไฟทํางานแตเครื่อง ไมทํางาน

ไมไดรับอัตราการ ไหลตามที่ตองการ

6


เครื่องวัด%ออกซิเจนใน กระแสโลหิต

เครื่องกําเนิดออกซิเจน

ผูปวยที่ มาฟอกไต และ บางครั้งตองการไดรับออกซิเจน เราสามารถใหออกซิเจนได ดวยเครื่องกําเนิ ด ออกซิเจน ซึ่งทํางานโดยเสียบปลั๊กไฟฟาธรรมดา เครื่องจะกรองออกซิเจนบริสุทธ 93-95% จากอากาศ กินไฟนอย ถูกกวาการใหออกซิเจนแบบทออัดความความดัน (แตไดออกซิเจนบริสุทธ 97-98%) เราสามารถใชเครื่องวัด%ออกซิเจนในกระแสโลหิต เพื่อเปนการทดสอบวา ผูปวยสมควรไดรับออกซิเจน หรื อ ไม หรื อ เมื่ อ ให อ อกซิ เ จนไปแล ว มี % ออกซิ เ จนในกระแสโลหิ ต เป น เท า ไร ปกติ ผู ป ว ย ควรมี % ออกซิเจนในกระแสโลหิต ประมาณ 95% ขึ้นไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.