MSU x Urban Action
MSU x Urban Action
นางเลิ้ง เป็นย่านเก่าแก่ท่ม ี ีบทบาทสาคัญของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ย่านนางเลิ้ง ในอดีต ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 แต่เดิมเรียกว่าบ้านสนามควาย ก่อนจะเรียกว่า “อีเลิ้ง” คือตุ่มชนิดหนึ่งของชาวมอญ จนในยุคจอมพล ป. พิ บูลสงคราม ได้มีการเปลี่ยนชื่อ อีกครั้งเป็น “นางเลิ้ง” จนถึงปัจจุบัน ที่ย่านนางเลิ้งมีเสน่ห์ของความเป็นเครือญาติท่อ ี ยู่ในวิถีชีวิตประจาวัน ยังคงทาให้ชุมชนนางเลิ้งเป็น เสมือนกับ “ชนบทกลางเมือง”
ชนบทกลางเมือง
MSU x Urban Action
Strengths
Weaknesses
• • •
มีอาคารเก่าที่สวยงามและยังคงเอกลักษณ์อยู่จานวนมาก มีการเข้าถึงทั้งทางบกและทางน้า พื้ นที่ติดคลองผดุงกรุงเกษมและคลองมหานาคทาให้มีช่องทางการสัญจรเพิ่ มมากขึ้น
• • •
เป็นย่านที่ขายอาหารและขนมโบราณ ที่หารับประทานได้ยาก เป็นย่านการค้าปลีกและค้าส่งที่สาคัญของกรุงเทพมหานคร การท่องเที่ยวแบบ One day trip
• • •
มีวัดที่เก่าแก่และสาคัญของพื้ นที่ มีพิพิธภัณฑ์เพื่ อการเรียนรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ เป็นพื้ นที่ประวัติศาสตร์ท่เี ก่าแก่และแรกเริ่มของ กรุงเทพมหานคร
•
•
มีความแออัดของพื้ นที่และการจราจรบนท้องถนน • มีความเสื่อมโทรมทางด้านภูมิทัศน์และอาคาร
• ขาดแรงจูงใจในการเข้ามาใช้งานในบางพื้ นที่ Business Model มีความล้าสมัยขาดการปรับตัวให้เข้ากับ ปัจจุบัน
•
• ชุมชนกาลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แนวโน้มประชากรในพื้ นที่ลดลงเรื่อย ๆ
SWOT • • • • •
•
มีโครงสร้างพื้ นฐานระบบราง MRT สายสีส้มเข้ามาใน พื้ นที่ มีโอกาสที่จะได้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ต่าง ๆในพื้ นที่ ชุมชนมีความพร้อมที่จะร่วมกันพั ฒนาทางด้านการค้าและบริการ คนในชุมชนมีความรู้ความสามารถในการที่จะต่อยอดสินค้าและ บริการ การเข้ามาของระบบรางทาให้เข้าถึงพื้ นที่ได้ง่าย สามารถกระตุ้น เศรษฐกิจ ศาสนสถานมีพ้ื นที่จานวนมากทาให้สามารถจะพั ฒนาทางด้านสังคมและคนในชุมชนได้
Opportunities
•
• ขาดแคลนพื้ นที่จอดรถ • ช่องทางสัญจรมีความคับแคบ • ทางเดินเท้าถูกรุกล้าโดยร้านค้าต่าง ๆ มีข้อกฎหมายควบคุมความสูงของอาคารอยู่ในพื้ นที่ • ปัญหาการเข้ามาของ MRT • •
ทางภาครัฐมีการแก้ไขปัญหาได้ไม่ตรงจุด ขาดการส่งเสริมด้านเศรษฐกิจของชุมชน
• ขาดกลุ่มคนรุ่นใหม่ท่จ ี ะเป็นแรงผลักดันในการพั ฒนา • ไม่มีการโฆษณาประกาศเชิญชวนหรือส่งเสริมชุมชน
Threats
MSU x Urban Action
ย้อนความหลัง ่ ่ง วัฒนธรรมทีย ิ ใหญ่ในศตวรรษที่ 20
MSU x Urban Action
MSU x Urban Action
CONCEPTUAL PLAN
โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุด เปลี่ยนถ่ายการสัญจร
(MRT สถานีหลานหลวง)
โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม ตลาดนางเลิ้ง โรงหนังเฉลิมธานี อาคารสีชมพู
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และจุด เปลี่ยนถ่ายริมคลอง คลองแสนแสบ , คลองผดุงกรุงเกษม
01 02
03
MSU x Urban Action
MASTER PLAN โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุด เปลี่ยนถ่ายการสัญจร โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และจุดเปลี่ยนถ่าย ริมคลอง
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบปรับปรุงเพื่ อรองรับจุด (MRT สถานีหลานหลวง) เปลี่ยนถ่ายการสั ญจร แนวคิดโครงการ พั ฒนาพื้ นที่บริเวณโดยรอบสถานีรถไฟด้วยการนาพื้ นที่บางส่วนมาสร้างให้เป็นโครงการแบบ ผสมผสาน ซึ่งจะมีการเพิ่ มพื้ นที่เชื่อมต่อระหว่างโครงการแบบผสมผสานและสถานีรถไฟฟ้ากับ พื้ นที่อยู่อาศัยให้เกิดความต่อเนื่องกัน เพิ่ มการจับจ่ายใช้สอยในชุมชนโดยรอบได้ผ่านการเดิน หรือขี่จักรยาน และสร้างโอกาสแก่ผู้ค้ารายย่อยในการร่วมพั ฒนาเศรษฐกิจ และเป็นการส่งเสริม ธุรกิจรายย่อยไปด้วยในตัว
ปรับปรุงและฟื้ นฟู ทางเท้าให้มีเอกลักษณ์และสอดคล้องกับเมือง เพิ่ มสตรีทเฟอร์นิเจอร์ที่นั่งพักเพื่อให้เมืองเป็นเมืองที่น่าเดินมากยิง ่ ขึ้น อาคารรกร้างที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์นามาปรับปรุงให้เป็นสถานี MRT แห่งใหม่ (Transit Oriented Development)
OBJECTIVE พัฒนาพื้นที่รองรับการเข้ามาของรถไฟฟ้า MRT ที่จะเกิดขึ้นที่ บริเวณถนนหลานหลวง ปรับปรุงพื้นที่บริเวณจุดขึ้น-ลงชอง สถานี เพื่อให้เกิดกิจกรรมที่หลากหลาย ออกแบบปรับปรุง โครงข่ายการสัญจรให้เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่ ทางวัฒนธรรม
TOD หลานหลวง
ทีด ่ น ิ โดยรอบสถานีจะถูกนามาใช้ประโยชน์แบบผสมผสาน (Mixed Use Development) จะ ถูกพัฒนาอย่างกระชับ ซึ่งเป็นการพัฒนาให้พื้นที่นั้นมีความหนาแน่นสูง ผู้คนสามารถเดิน สัญจรได้อย่างสะดวก งมีบรรยากาศที่น่าเดิน ประชาชนมีทางเลือกในการเดินทางที่ หลากหลาย เช่นมีทั้งรถไฟฟ้า รถเมล์ ทางเดินเท้า ทางจักรยาน
TOD URBAN CORE
TOD URBAN CENTER
TOD URBAN GENERAL
TOD EDGE
MSU x Urban Action
MSU x Urban Action
โครงการออกแบบฟื้ นฟู พื้นที่ทางวัฒนธรรม แนวคิดโครงการ ปรับปรุงพื้นที่ทางเดินเท้า ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้งานทุกช่วงวัย และปรับปรุงให้เป็นย่าน Entertain ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เชื่อมกับตลาดเก่านางเลิ้ง ที่เป็นพื้ นที่ใช้งานหลักในการ จับจ่ายซื้อขาย มีปัญหาการจราจรติดขัด และขาดพื้นที่จอดรถ พื้นที่ทางเดินเท้าแคบและไม่ปลดภัยต่อ การเดิน อาคารสีชมพู เป็นย่านอาคารพาณิชยกรรมเก่า ที่ปัจจุบันมีการใช้งาน คือชั้นบนเป็นที่อยู่ อาศัย ชั้นล่างขายของ ร้านอาหารดัง และขนมขึ้นชื่อ เนื่องจากบางอาคารไม่มีการใช้งาน จึงทาให้เศรษฐกิจซบเซาลง
สินค้า ตลาดเปิดวินเทจ ยุค 60 – 90
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปัตยกรรมและพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ยังหลงเหลืออยู่ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตและคุณค่าทางประวัติศาสตร์ในอดีต จนถึงปัจจุบัน ปรับปรุงพื้นที่เหล่านี้ให้เกิดความร่วมสมัย และ สอดคล้องกับการเติบโตของเมือง
MSU x Urban Action
ตลาดนางเลิ้ง
MSU x Urban Action
ปัญหา
• ภายในอาคารดูเก่าทรุดโทรม • และอาคารอยู่ในขัน ้ ตอนการปรับปรุงให้เป็นพิ พิธภัณฑ์
เสนอแนะ
• ปรับปรุงโครงสร้างอาคารให้แข็งแรง แต่ไม่ทาลายภาพเดิม • ปรับปรุงภายในให้ดท ู ันสมัย และโชว์โครงสร้างไม้ให้เห็นความเก่าในความใหม่ • เพิ่ มพื้ นที่จัดแสดงภาพยนตร์ตรงกลาง และโดยรอบจัดเป็นนิทรรศการ
โรงหนังเฉลิมธานี
MSU x Urban Action
ย่านนางเลิง ้ อาคารสีชมพู ถนนนครสวรรค์ แนวคิด การฟื้ นฟู ย่านเพื่อเพิ่มเศรฐกิจให้กับพื้นที่ และอนุรักอาคารเก่าทีม่ ีการควบคุมสีของอาคาร ฟาสาด ที่มีสถาปัตยกรรมทีง ่ ดงาม และยังฟื้ นฟู ให้เป็นย่าน Entertainment ย้อนรอยอดีตนางเลิง ้
และมีการจัดงานการเปิดตลาด Night Vintage บริเวณย่านอาคารสีชมพู ตลอดเส้นถนน ในทุกวัน อังคารและวันอาทิตย์ พร้อมทัง ้ ทุกครั้งที่มง ี านประจาปี
MSU x Urban Action
ถนนพะเนียง
โครงการออกแบบทางเดินเท้าเพื่ อเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวและ พื้ นที่ทางวัฒนธรรม
MSU x Urban Action
MSU x Urban Action
โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง คลองผดุงกรุงเกษม , คลองแสนแสบ คลองผดุงกรุงเกษม ปัจจุบัน ไม่มีการใช้งานการคมนาคมทางน้า ใช้เป็นเพียงที่ระบายน้า มี คอนกรีตตลอดคลอง มีถนนขนาบทั้ง 2 ข้าง อีกทั้งคลองผดุงกรุงเกษมเป็นคลองที่ตื้นเขินเร็ว จึงต้องมีการขุดลอกคลองอยู่เป็นประจา
แนวคิดโครงการ ใช้พื้นผิวแยกเฉพาะสาหรับจักรยาน เหมาะกับพื้นที่บนเส้นทางสายหลักของเมือง มีการ ใช้งานบนถนนจานวนมาก และมีความเร็วในระดับที่ไม่เป็นมิตรกับทางเดินเท้า จัดให้พื้นผิวการสัญจรที่อานวยต่อทางเท้าและทางจักรยานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยมีพื้นที่กันชนกับพื้นที่สาหรับยานพาหนะแบบเครื่องยนต์ แยกพื้นที่ทางเท้าแออกจากทางจักรยาน มีทางเข้าออกเฉพาะ และเชื่อมโยงกิจกรรม รวมถึงระบบขนส่งมวลชน ปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารและพื้นที่ริมคลอง ให้เกิดการใช้งานและปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ มีความหลากหลายเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
OBJECTIVE ฟื้ นฟู สถาปั ต ยกรรมและพื้ น ที่ ท างวั ฒ นธรรมให้ เ กิ ด ความร่ ว ม สมั ย รวมถึ ง การปรั บ ปรุ ง พื้ น ที ท างเดิ น ทางจั ก รยาน พื้ น ที่ ริ ม คลอง ให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย และเหมาะสม อีกทั้งยังมีประโยชน์ด้านการใช้งานเพื่ อนันทนาการ และการออกกาลังกาย
การใช้พื้นผิวแยกเฉพาะสาหรับจักรยานและทางเท้า ที่มารูป : คู่มือการออกแบบระบบกายภาพเพื่อสนับสนุนการใช้จักรยาน (ฉบับร่าง)
MSU x Urban Action
MSU x Urban Action