คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

Page 1

สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 111 ถนนมิตรไมตรี ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2246 0301-2 www.bangkok.go.th/environment


• • • •

ปัญหาสิ่งแวดล้อม คือปัญหาของเราทุกคน ขยะอันตรายใกล้ตัวกว่าที่คิด โปรดระวัง ! ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ภัยมืดยุคดิจิทัล การจัดการขยะอันตรายและขยะอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อบ้านปลอดภัย ชุมชนน่าอยู ่



คำนำ

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยในกรุงเทพฯ เป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญ ในลำดับต้น เนือ่ งจากปัญหาขยะมูลฝอยส่งผลกระทบทัง้ ในด้านภูมทิ ศั น์ของเมือง สุขอนามัยของประชาชน ระบบนิเวศ การปนเปื้อนของน้ำ การเกิดมลพิษทาง อากาศจากขยะมูลฝอย ฯลฯ ด้วยความเป็นศูนย์กลางในทุก ๆ ด้านของประเทศ ทำให้มีประชาชน

เข้ามาอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ อย่างหนาแน่น ซึ่งสร้างขยะมากถึง 8,700 ตัน

คิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 4 ของขยะทั้งหมดทั่วประเทศ โดยขยะที่สร้างปัญหาแก่ ระบบนิเวศมากที่สุด คือ “ขยะอันตราย” หรือที่เรียกกันว่า “ขยะพิษ” ขยะอันตรายเหล่านี้มีอยู่ทั้งในบ้านเรือน ที่พักอาศัย อาคารสำนักงาน และร้านค้าต่าง ๆ หากไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกวิธี จะก่อให้เกิดผลกระทบ ต่ อ สุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชนทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะยาว นอกจากนี้

ยังก่อให้เกิดปัญหามลพิษต่อแหล่งน้ำ พื้นดิน และอากาศ สำนักสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานหลักที่ทำหน้าที่ในการบริหาร จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอันตรายให้แก่ทุกคน โดยเฉพาะเด็กและ เยาวชน จึงได้จัดทำ “คูม่ อ ื การคัดแยกขยะอันตรายสำหรับเยาวชน” เพื่อ เป็นความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกและการจัดการขยะอันตราย อั น จะนำไปสู่ ก ารจั ด การขยะอย่ า งเป็ น ระบบ และส่ ง ผลให้ ก ารดำเนิ น การ

เป็นไปในแนวทางเดียวกัน สำนักสิ่งแวดล้อม เชื่อว่าหากเรามีการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้แก่เด็กและเยาวชนให้เห็นความสำคัญในการจัดการขยะอันตรายอย่างถูกต้อง เด็กและเยาวชนจะเป็น “กำลังสำคัญ” ในการป้องกัน ดูแลและรักษาสิง่ แวดล้อม ในวันหน้าได้ เพื่อให้กรุงเทพฯ ของเราเป็นเมืองที่ไร้มลพิษ สะอาด สวยงาม

น่าอยู่ตลอดไป สมกับการเป็นมหานครสีเขียว มหานครแห่งความสุขของทุกคน

สำนักสิง่ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร

มหานคร แห่งความปลอดภัย

มหานคร แห่งความสุข

มหานคร แห่งอาเซียน

นโยบายหลัก มหานคร แห่งโอกาส ของทุกคน

มหานคร สีเขียว

มหานคร แห่งการเรียนรู้

10 มาตรการเร่งด่วน • • • • • • • • • •

ติดตั้งกล้อง CCTV และไฟฟ้าส่องสว่างเพิ่ม จัดตั้งอาสาสมัครชุมชน เพื่อเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ปรับลดค่าโดยสารรถไฟฟ้า BTS และ BRT โรงรับจำนำ กทม. ดอกเบี้ย 1 สลึง 5,000 บาทแรก เพิ่มทักษะอาชีพ พร้อมสอนภาษาอังกฤษ จีน มลายู อาสาสมัครผู้ดูแลเด็กเล็ก ปรับตำแหน่งและเพิ่มเงินเดือน เพิ่มจุดบริการงานทะเบียนราษฎร์ในห้างสรรพสินค้า ฟรี Hi-Speed Wi-Fi 4 MB 5,000 จุด เพิ่มบริการเก็บขยะ ไม่ให้ตกค้างในชุมชน เพิ่มแท็กซี่เพื่อคนพิการและผู้สูงอายุ


สารบัญ

บทที่ 1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม คือปัญหาของเราทุกคน • อะไรคือต้นเหตุที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ • ประเภทของขยะมูลฝอย • ขยะอันตราย มีมาก เสี่ยงมาก บทที่ 2 ขยะอันตรายใกล้ตัวกว่าที่คิด • มารู้จักขยะอันตรายให้มากขึ้น • ในบ้านของเรามีขยะอันตรายอะไรบ้าง • ผลกระทบจากการจัดการขยะอันตรายไม่ถูกวิธี • พิษของขยะอันตรายเข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร • รู้ได้อย่างไร ว่าเราอยู่ใกล้สารพิษหรือสารเคมีอันตราย บทที่ 3 โปรดระวัง ! ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ภัยมืดยุคดิจิทัล • ขยะอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร • แนวโน้มขยะอิเล็กทรอนิกส์ล้นเมือง • ดูสิว่า เราทำอย่างไรกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ใช้งานแล้ว • สารอันตรายในขยะอิเล็กทรอนิกส์

6 8 11 12 16 18 22 24 26 30 32 34 40 42 44

บทที่ 4 การจัดการขยะอันตรายและขยะอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อบ้านปลอดภัย ชุมชนน่าอยู ่ • การจัดการขยะอันตรายในกรุงเทพมหานครเป็นอย่างไร • ขยะอันตราย จัดการได้ สบายใจทั้งชุมชน • การจัดการขยะอันตรายแต่ละประเภท • จัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกวิธี ชีวิตปลอดภัยยาวนาน • รู้หรือไม่ว่า...ขยะอันตรายรีไซเคิลได้ • ขยะอิเล็กทรอนิกส์มีค่ามากกว่าที่คิด • ขยะเหลือศูนย์ เราทำได้ ถ้าช่วยกัน บรรณานุกรม ภาคผนวก ศัพท์น่ารู้ ขอเสริมให้เพื่อน

50 52 54 58 66 68 72 78 82 84

86


บทที ่ 1 ปัญหาสิ่งแวดล้อม

สิ่งเหล่านี้เป็นสัญญาณบอกว่า เรากำลังเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

ปัจจุบนั ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสง่ ผลให้

มีวัสดุและผลิตภัณฑ์จำนวนมากที่ช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเรามีความ

สุขสบายมากขึ้น พวกเราบริโภคมากขึน้ ใช้มากขึน้ ทัง้ อาหาร เครือ่ งดืม่ โทรศัพท์มอื ถือ คอมพิวเตอร์ น้ำมัน รถยนต์ ฯลฯ ทุกคนดำเนินวิถีชีวิตพร้อมกับสิ่งอำนวย ความสะดวกต่าง ๆ มากมาย ทุกอย่างดูปกติดี แต่รู้สึกไหมว่า...

ฝุ่นละอองและสารพิษ ปกคลุมท้องฟ้า หายใจไม่ออก

คือปัญหาของเราทุกคน

6

ระยะหลังสภาพแวดล้อม ของเมืองเปลี่ยนแปลง ไปมาก

คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

สัตว์พาหะนำโรคอย่างแมลงวัน หนู แมลงสาบ มีมากขึ้น

น้ำเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น

7


อะไรคือต้นเหตุ

ที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

คำตอบอยู่ไม่ใกล้ ไม่ไกล นั่นคือ มนุษย์อย่างพวกเรานี่เอง ที่เป็นต้นเหตุ สำคัญก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ

เป็นไปได้อย่างไร ?

เป็นไปได้สิ ไม่ว่าจะเป็นใคร ทุกคนมีส่วนก่อให้เกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อม ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การทิ้งของเสียลงสู่แม่น้ำลำคลอง การทิ้งขยะลงบน

ท้ อ งถนน การใช้ ส ารเคมี ที่ มี พิ ษ ในการเกษตรกรรมมากเกิ น ไป การทิ้ ง

กากของเสียอันตรายสู่ที่สาธารณะ การใช้รถยนต์ เป็นต้น แต่หลายคนคงคิดไม่ถงึ ว่าการทิง้ ของเสียหรือขยะเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ของตน จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

เคยลองนับกันบ้างไหมว่า ในแต่ละวันตั้งแต่เช้าจรดเย็น เราได้บริโภค

แล้วรู้หรือไม่คนไทยทิ้งขยะวันละกี่ตัน

สิ น ค้ า ต่ า ง ๆ ไปมากเพี ย งใด และที่ ส ำคั ญ สิ่ ง เหล่ า นั้ น กลายมาเป็ น ขยะ

ที่ เราสร้างขึ้นเองได้ในเวลาไม่นานนัก เช่น กล่องโฟมใส่อาหาร ถุงพลาสติก

ขวดพลาสติก กระป๋องสเปรย์ น้ำยาทาเล็บ หลอดไฟฟ้า แบตเตอรีม่ อื ถือ ในปีหนึ่ง ๆ คนไทยทิ้งขยะประมาณวันละ 67,000 ตัน เทียบเท่ากับ

น้ำหนักของรถยนต์โดยสารขนาด 4 ที่นั่งถึง 67,000 คัน

1วัน

8

คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

67,000 ตัน

67,000 คัน

9


ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาปัญหาขยะมูลฝอยของประเทศไทยมีแนวโน้ม

ทวีความรุนแรงมากขึน้ เนือ่ งมาจากการเพิม่ ขึน้ ของจำนวนประชากร การขยายตัว

ทางเศรษฐกิจ รวมถึงพฤติกรรมการกินการอยูข่ องคนในสังคม ทีบ่ ริโภคสิง่ ของต่าง ๆ ทั้งที่จำเป็นและฟุ่มเฟือย เรียกได้ว่าเราสร้างขยะกันแทบทุกวินาที ยิ่งใช้มาก

ก็ยิ่งทิ้งขยะมาก

ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ในปี 2551-2555*

24.11

ล้านตันต่อปี

ปี

2552

25.35

ล้านตันต่อปี

ประเภทของขยะมูลฝอย

เราลองมาดูสิว่าขยะมากมายที่พวกเราทิ้งไปนั้นมีอะไรบ้าง ขยะอันตราย/ขยะพิษ คือ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เสื่อมสภาพ

หรือภาชนะบรรจุต่าง ๆ ที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ/สารอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ กระป๋องยาฆ่าแมลง ยาหมดอายุ ขวดเครื่องสำอาง ขวดน้ำยาทำความสะอาด เป็นต้น

ปี

2554

ขยะทั่วไป คือ ขยะประเภทอื่นที่นอกเหนือจากขยะย่อยสลาย

ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย มีลักษณะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่า สำหรับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ได้แก่ วัสดุหรือเศษวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เช่น ซองบะหมี่สำเร็จรูป ห่อขนมลูกอม ถุงพลาสติก เศษผ้า เศษหนัง

23.93

ล้านตันต่อปี

ปี

2551

24.22

ล้านตันต่อปี

ปี

2553

*รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2551-2555 10 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

24.73

ล้านตันต่อปี

ปี

2555

ขยะรีไซเคิล คือ บรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสามารถนำกลับ มาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว ขวด กระดาษ แก้วพลาสติก โลหะ กระป๋องอาหาร กระป๋องเครื่องดื่ม เป็นต้น

ขยะย่อยสลายได้ (ขยะเศษอาหาร

หรือขยะอินทรีย์สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้) ขยะที่เน่าเสีย และย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ ใบไม้

11


ขยะอั น ตราย มี ม าก เสี ย ่ งมาก ในจำนวนขยะมูลฝอยเหล่านี้ ขยะที่สร้างปัญหาแก่ระบบนิเวศมากที่สุด คือ “ขยะอันตราย” หรือ “ขยะพิษ” ซึง่ มีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ ทุกปี สิง่ ทีน่ า่ กลัว คื อ หากขยะอั น ตรายเหล่ า นี้ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การจั ด การอย่ า งถู ก วิ ธี จะก่ อ ให้ เ กิ ด

ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพอนามั ย ของประชาชน และคุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล้ อ ม

ในระยะยาว

ปริมาณขยะอันตรายที่เกิดขึ้นในปี 2551-2555*

เชื่อหรือไม่? ในปี 2555 ภาคตะวันออกของประเทศไทย

ภาคเหนื อ

2.64%

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นพื้นที่ที่มีขยะอันตรายเกิดขึ้นมากที่สุด มีสัดส่วนรวมกันร้อยละ 73 ของปริมาณขยะอันตรายที่เกิดขึ้นทั้งหมด

ทั่วประเทศ*

ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

4.06%

ภาคกลาง

17.16%

ภาคตะวันออก

กรุงเทพฯ และปริมณฑล

3.13 ล้า3.07 นตันต่อปี 3.16 ล้านตันต่อปี ปี 2552 ปี 2551

25.43%

3.4

ล้านตันต่อปี ปี 2553 ล้านตันต่อปี ปี 2554

*รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2551-2555 12 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

48.23%

ภาคใต้

4.71

ล้านตันต่อปี ปี 2555

2.48% *รายงานสถานการณ์มลพิษ ของประเทศไทย ปี 2555 13


ขยะอันตรายจากชุมชน

คุ ณ รู้ ไ หมว่ า ... ชุ ม ชนเป็ น แหล่ ง กำเนิ ด ขยะอั น ตรายขนาดใหญ่

และในแต่ละปีมีการทิ้งขยะอันตรายออกสู่สิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น

ขยะอันตรายในกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานครมีขยะอันตรายที่สามารถจัดเก็บจากชุมชน แบ่งออกเป็น

3 กลุ่มหลัก คือ

กลุ่มแบตเตอรี่/ถ่านไฟฉาย

ปี 2551

680,992 ตัน

9%

ปี 2552

698,506 ตัน

ปี 2553

717,577

ปี 2554

707,000

ตัน

ตัน

ปี 2555

712,270 ตัน

ปี 2555 มีขยะอันตรายจากชุมชนเกิดขึ้นทั้งหมด 712,270 ตัน เทียบได้

กลุ่มหลอดไฟ

27%

กับพื้นที่สนามฟุตบอลขนาดมาตรฐาน 285 สนาม

กลุ่มกระป๋องสเปรย์/อื่นๆ

64%

ขยะอันตราย จากชุมชนทั้งหมด

712,270 ตัน 14 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

สนามฟุตบอล

285 สนาม

การจัดการในปัจจุบันพบว่า ขยะอันตรายส่วนใหญ่ยังถูกทิ้งปะปนกับ ขยะมูลฝอยทั่วไป มีเพียงชุมชนไม่กี่แห่งที่มีการคัดแยกขยะและเก็บรวบรวม นอกจากนี้ ซากผลิตภัณฑ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ประกอบด้วย ชิน้ ส่วนทีม่ มี ลู ค่าและชิน้ ส่วนทีเ่ ป็นอันตราย ส่วนใหญ่ถกู จัดการอย่างไม่เหมาะสม ด้วยการถอดแยกชิ้นส่วนที่มีมูลค่าไปขายแล้วทิ้ง ส่วนที่เป็นอันตรายเมื่อลงสู่

สิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนและระบบนิเวศ ขยะอันตรายถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ หากพวกเราไม่ช่วยกัน ลดปริมาณของขยะอันตรายด้วยการแยกทิง้ ให้กรุงเทพมหานครจัดเก็บทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดื อ น เพื่ อ นำไปกำจั ด อย่ า งถู ก วิ ธี ตั้ ง แต่ วั น นี้ บ้ า นของเรา

ชุมชนของเราอาจเต็มไปด้วยมลพิษมากมายโดยที่เราไม่รู้ตัว 15


บทที ่ 2 ขยะอันตรายใกล้ตัวกว่าที่คิด

ถึงเวลาแล้วที่เราควรทำความรู้จักกับขยะอันตรายให้มากขึ้น รวมทั้งวิธีการจัดการขยะอันตรายอย่างถูกวิธี เพื่อลดมลพิษ สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี

ความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ของผูค้ นในชุมชน ทีร่ ว่ มกันทิง้ ขยะออกมาจากบ้าน คิดแต่เพียงว่าจะโยนทิง้ สิง่ สกปรกต่าง ๆ ให้พน้ บ้านไป แล้วบ้านของเราจะสะอาด โดยไม่ได้คำนึงถึงว่าขยะเหล่านัน้ จะเป็นขยะอันตรายทีม่ สี ารพิษหรือวัตถุอนั ตราย ปนเปื้อนอยู่หรือไม่ ใครจะรูว้ า่ เพียงเสีย้ ววินาทีทขี่ ยะอันตรายพ้นจากประตูบา้ น ขยะอันตราย ได้สร้างผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม กลายเป็นมหันตภัยร้ายที่ ค่อย ๆ สะสม มากขึ้น...มากขึ้น...มากขึ้น จนกลายเป็นอันตรายที่อยู่ใกล้ตัวเรา อย่างคาดไม่ถึง

คืนความสดใสให้โลกของเรา

%DROV;9EÿD

16 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

%DR9SgIc=

%DREÿc._'VG

%DROS;7ETD

17


แหล่งกำเนิด ขยะอันตรายในชุมชน* อู่ซ่อมรถ และปั๊มน้ำมัน

มารู้จักขยะอันตราย ให้ ม ากขึ น ้ ขยะอั น ตราย หรื อ ขยะพิ ษ (Hazardous

บ้านพักอาศัย

Waste) คือ ขยะ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เสื่อมสภาพ

หรือภาชนะบรรจุต่าง ๆ ที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ/ สารเคมีอันตรายชนิดต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นพิษ สารไวไฟ สารเคมีที่กัดกร่อนได้ สารเคมีที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง สารทีร่ ะเบิดง่าย สารทีก่ อ่ ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรม สารกัมมันตรังสี สารที่ทำให้เกิดโรค และสารอย่างอื่นไม่ว่า จะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่ บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สิน และสิ่งแวดล้อม

18 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

เกษตรกรรม โรงพยาบาล คลินิก และห้องปฏิบัติการ สถานประกอบการ ร้านค้า และแหล่งอื่น ๆ

*กรมควบคุมมลพิษ

19


รูไ้ ด้อย่างไร ว่าผลิตภัณฑ์ หรื อ ภาชนะใดเป็ น ขยะอั น ตราย หลายคนอาจไม่รวู้ า่ ในบ้านของเราแทบทุกคนมีวตั ถุอนั ตรายเก็บสะสมอยูม่ าก ซึ่งเมื่อใช้ไม่หมดหรือติดอยู่ก้นขวดหรือก้นกระป๋องแล้วถูกทิ้งออกไปเป็นขยะ ขยะเหล่านี้จะกลายเป็นขยะอันตรายหรือขยะพิษ

นอกจากนี้ ต้องสังเกตคำเตือนที่ระบุ อยู่ข้างภาชนะบรรจุด้วยนะครับ เช่น ห้ามรับประทาน ห้ามเผา อันตราย DANGER TOXIC CORROSIVE และ FLAMMABLE เป็นต้น

วิธีสังเกตง่าย ๆ ว่าผลิตภัณฑ์หรือภาชนะใดเป็นขยะอันตราย ให้ดูจากฉลาก หรือ สัญลักษณ์ที่ติดอยู่บนผลิตภัณฑ์ หรือภาชนะบรรจุ เช่น

สารไวไฟ

ติ ด ไฟง่ า ยเมื่ อ ถู ก ประกายไฟ เช่ น ก๊าซหุงต้ม น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันก๊าด น้ำมันจาระบี ทินเนอร์ ผงกำมะถัน น้ำยาทาเล็บ น้ำยาล้างเล็บ ยาขัดเงาพืน้

20 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

สารมีพิษ

อาจทำให้เสียชีวิต หรือบาดเจ็บอย่าง รุ น แรงจากการกิ น สู ด ดม หรื อ จาก การสั ม ผั ส เช่ น น้ ำ ยาล้ า งห้ อ งน้ ำ

ยาฆ่าแมลงและกำจัดศัตรูพชื ลูกเหม็น ยาเบือ่ หนู ยาฆ่าเชือ้ รา เทอร์โมมิเตอร์ หลอดไฟ

สารกัดกร่อน

สารที่ระเบิดได้

มีปฏิกิริยาทางเคมีที่สามารถเผาไหม้ ระเบิดได้เมื่อถูกการเสียดสี หรือถูก หรือทำลายผิวหนังและเป็นอันตราย ความร้อน เช่น ดอกไม้ไฟ กระป๋อง

ต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น แบตเตอรี-่ สเปรย์ต่าง ๆ รถยนต์ น้ำมันเคลือบเงารถ น้ำยาที่มี ส่ ว นผสมของแอมโมเนี ย น้ ำ ยาที่ มี สารฟอกขาว น้ำยาฆ่าเชื้อ สีย้อมผ้า น้ำยาทำความสะอาดท่อน้ำทิ้ง

21


ห้องนอน :

โรงรถ :

แบตเตอรี่รถยนต์ แบตเตอรี่รถจักรยานยนต์ น้ำมันเครื่องใช้แล้ว น้ำกรด ทินเนอร์ น้ำมันสน กระป๋องสี กระป๋องสเปรย์ แลคเกอร์ ยาฆ่าหญ้า ยาฆ่าแมลง ยาเบื่อหนู ยากันยุง ยาขัดรองเท้า

หลอดไฟ กระบอกไฟฉาย ถ่านไฟฉาย เครื่องสำอางหมดอายุ น้ำยาเปลี่ยนสีผม น้ำยาทาเล็บ น้ำยาล้างเล็บ กาว ปากกาเคมี

ในบ้านของเรา มีขยะอันตรายอะไรบ้าง ห้องน้ำ :

น้ำยาแก้ท่อตัน น้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาฟอกขาว น้ำยาฆ่าเชื้อ

ห้องทำงาน :

ยาหมดอายุ ปรอทวัดไข้ โคมไฟ เครื่องสำรองไฟฉุกเฉิน ตลับหมึกเครื่องพิมพ์

ห้องครัว :

น้ำยาเช็ดกระจก น้ำยาทำความสะอาด


ผลกระทบจากการจัดการ ขยะอันตรายไม่ถูกวิธี

กลับคืนสู่มนุษย์

รู้หรือไม่ หากเราทิ้งขยะอันตรายปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไป อาจเกิด

วงจรขยะอันตราย

อันตรายหรือทำให้สารอันตรายปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม ได้ทั้งในระหว่างขั้นตอน การเก็บขนและการกำจัด

ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค

การได้ รั บ สารอั น ตรายบางชนิ ด เข้าไปในร่างกาย อาจทำให้เจ็บป่วย เป็นโรคต่าง ๆ จนอาจถึงตายได้

การจัดการ ขยะอันตรายไม่ถูกวิธี ส่งผลกระทบ ต่ออะไรบ้าง

แพร่ไปในอากาศ ปนเปื้อนเข้าไปในดิน และแหล่งน้ำ

ผลกระทบต่อระบบนิเวศ

หากสารอั น ตรายซึ ม หรื อ ไหลลงสู่ พื้นดิน หรือแหล่งน้ำ จะไปสะสมใน ห่วงโซ่อาหาร เป็นอันตรายต่อสัตว์นำ้ และพืชผัก เมื่อเรานำไปบริโภคจะ ได้รับสารนั้นเข้าสู่ร่างกายเหมือนเรา กินยาพิษเข้าไปอย่างช้า ๆ

กลับคืนสู่มนุษย์ ขยะอันตรายที่ทิ้งรวม กับขยะมูลฝอยทั่วไป ลงน้ำ สัตว์

ดินและพืช

ผลเสียหายต่อทรัพย์สินและสังคม

สารอั น ตรายบางชนิ ด นอกจากทำให้ เ กิ ด โรค ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการรั ก ษาพยาบาลแล้ ว อาจทำให้เกิดไฟไหม้ เกิดการกัดกร่อนเสียหาย ของวัสดุ เกิดความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ทำให้ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบำรุ ง รั ก ษา

สภาพแวดล้อมและทรัพย์สินอีกด้วย

24 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

เมื่อเราทิ้งขยะอันตรายไปพร้อมกับขยะทั่วไป สารอันตรายหรือสารพิษต่าง ๆ อาจปนเปื้อนเข้าสู่ระบบนิเวศ และระบบห่วงโซ่อาหาร ผ่านทางดิน น้ำ และอากาศ ก่อให้เกิดอันตราย ต่อชีวิตมนุษย์ สัตว์ และพืช 25


แบบเฉียบพลัน

เมื่อได้รับสารเคมีเข้าไปจะมีอาการทันทีทันใด ดังต่อไปนี ้

_$6V > ;Yg ';S

พิษของ ขยะอันตราย ส่งผลกระทบ ต่อร่างกาย 2 แบบ คือ

ทางการหายใจ

โดยการรั บ ประทานเข้ า ไปโดยตรง ทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ เช่น สารพิษที่ ปนเปื้อนจากภาชนะใส่อาหาร หรือ จากมือ รวมถึงสารพิษที่สะสมอยู่ใน ผักและเนื้อสัตว์

ทางผิวหนัง

26 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

โดยการสั ม ผั ส หรื อ จั บ ต้ อ งสารพิ ษ

ซึง่ สามารถซึมเข้าสูผ่ วิ หนังและจะดูดซึม ได้มากยิ่งขึ้นหากมีบาดแผลที่ผิวหนัง หรือเป็นโรคผิวหนังอยู่ก่อนแล้ว

_ L WD

f*

ทางปาก

C R_ E

โดยการสูดดมเอาไอ ผง หรือละออง สารพิษเข้าสูร่ า่ งกาย เช่น สี ตัวทำละลาย

น้ำมันรถยนต์

>IV M;*S O$S _L <cM C

; I*þ _IDÿ T C6Y M;

พิษของขยะอันตรายสามารถ เข้าสู่ร่างกายของเรา จาก 3 ทาง คือ

_'OY * D T ER'

- ÿI þ7

พิษของขยะอันตราย เข้าสู่ร่างกายได้อย่างไร

O SC @

T7

9T > G 7 O

E$

แบบเรื้อรัง

เป็นการรับสารพิษแบบทีละน้อย ๆ และค่อย ๆ เข้าไปสะสมจนก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสุขภาพแบบค่อยเป็นค่อยไป โดยอาการทีไ่ ด้รบั จะมากหรือน้อยนัน้ ขึ้นอยู่กับความเป็นพิษของสารแต่ละตัว และปริมาณที่รับเข้าไปในร่างกาย

27


ตัวอย่างขยะอันตราย และอาการเจ็บป่วย เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย

ปรอท

แมงกานีส ถ่านไฟฉาย

กระป๋องสี

สารพิษ

ปรอท หลอดไฟ สารฆ่าแมลง ฟลูออเรสเซนต์

ถ่านกระดุม

แมงกานีส

ผลต่อสุขภาพ เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย ทำให้ปวดศีรษะ ง่วงนอน อ่อนเพลีย ซึมเศร้า ประสาทหลอน เกิดตะคริวกินที่แขน ขา

ผลต่อสุขภาพ เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย เกิดการระคายเคือง ต่อผิวหนัง เหงือกบวม อักเสบ เลือดออกง่าย กล้ามเนื้อ กระตุก หงุดหงิด โมโหง่าย

สารพิษ

ตะกั่ว

ตะกั่ว แบตเตอรี่รถยนต์ สารฆ่าแมลง

กระป๋องสี

สารพิษ อื่น ๆ สเปรย์

น้ำยาย้อมผม

สารพิษ

น้ำยาทาเล็บ น้ำยาล้างเล็บ เครื่องสำอาง หมดอายุ 28 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

สารพิษ

ผลต่อสุขภาพ เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย ทำให้ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ตัวซีด ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ความจำเสื่อม

สารพิษอื่นๆ

ผลต่อสุขภาพ เมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง คัน หรือเห่อ บวม ปวดศีรษะ หายใจขัด เป็นลม

29


รูไ้ ด้อย่างไร ว่าเราอยูใ่ กล้สารพิษ หรือสารเคมีอนั ตราย

ง่าย ๆ เพียงลองสังเกตดูว่า รอบ ๆ ตัวเรา พบเหตุการณ์อย่างหนึ่งอย่างใด ต่อไปนี้บ้างหรือเปล่า ถ้าพบเห็นสิ่งเหล่านี้ ให้ระวังตัวไว้ก่อนว่าอาจมีสารพิษ หรือสารเคมีอันตรายในบริเวณนั้น

พบต้นไม้เปลี่ยนสีหรือเหี่ยวเฉา หรือตายโดยไม่มีปรากฏการณ์ ของความแห้งแล้งมาก่อน

พบซากสัตว์ เช่น นก ปลา ตายอยู่ใน บริเวณเดียวกันเป็นจำนวนมาก

พบผู้ที่มีอาการคลื่นไส้ เหงื่อออกมาก ผิวหนังเป็นผื่น หมดสติ หรือตาย โดยไม่ทราบสาเหตุเป็นจำนวนมาก 30 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ได้กลิ่นที่ไม่สามารถระบุได้ อาจเป็นกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นหอม ที่ผิดแผกไปจากสภาพแวดล้อม ในพื้นที่อย่างมาก

พบเห็นอุบัติเหตุ รถบรรทุกสารเคมีพลิกคว่ำ

เห็นไฟไหม้ที่มีควันเป็นสีเหลืองครีม เพื่อน ๆ รู้หรือไม่ ของใกล้ตัวที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน อย่างเครื่องสำอางหมดอายุ น้ำยาทาเล็บ กระป๋องสเปรย์ ยาฆ่าแมลง สีทาบ้าน น้ำยาขัดเงาพื้น เป็นอันตรายได้ หากทิ้งไม่ถูกที่ คนรุ่นใหม่อย่างพวกเรา ควรหันมาสนใจทำความรู้จัก กับขยะอันตรายให้มากขึ้น

มีเสียงผิดปกติ เช่น เสียงฟู่ หรือในบริเวณที่เปียกน้ำ/ น้ำท่วม มีฟองอากาศผุดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แสดงว่า อาจมีการรั่วไหลของก๊าซได้

31


บทที ่ 3 โปรดระวัง ! ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ภัยมืดยุคดิจทิ ลั “ตื่นเช้ามาต้องอัพ Facebook”

“ชอบใครต้อง Add Line”

“ก่อนกินข้าวต้องถ่ายรูป อัพ Instagram”

จากความหลากหลายนี้เองเป็นผลให้การผลิต และการบริโภคเกินความพอดี สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ มีแนวโน้มของอายุการใช้งานที่สั้นลง เนื่องจากล้าสมัยอย่างรวดเร็ว ของที่ตกรุ่นจะกลายสภาพ เป็นภูเขาขยะกองใหญ่ที่ชื่อ “ขยะอิเล็กทรอนิกส์” หรือเรียกสั้น ๆ ว่า E-waste ขยะที่เป็นพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ

“บ่าย ๆ กด Like รูปแฟน Comment รูปเพื่อน”

“เปิด iPad เช็กเมล”

ทั้ ง หมดนี้ ล้ ว นเป็ น กิ จ กรรมในชี วิ ต ประจำวั น ที่ ค นในยุ ค ดิ จิ ทั ล ทำกั น

เป็นเรื่องปกติ ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้ ว ยความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ส่ ง ผลให้ มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์

เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องมือเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์อย่างต่อเนื่อง และมี

ความหลากหลาย ประกอบกับพฤติกรรม หรือไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค ที่เน้น

ความสะดวกสบาย ต้องการเข้าถึง “ข้อมูล” เพียงปลายนิว้ สัมผัส เป็นส่วนสำคัญ ให้การบริโภคสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ด้วยสินค้าเหล่านีร้ าคาถูกลง หาซื้อได้ง่าย แทบทุกคนต้องมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตัวอย่างน้อย 1 เครื่อง 32 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

33


ขยะอิเล็กทรอนิกส์คอื อะไร

ขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-waste) หรื อ ซากผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า

และอิเล็กทรอนิกส์ (Waste Electrical and Electronic Equipment: WEEE) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เป็นที่ต้องการแล้ว ล้าสมัย

หมดอายุการใช้งานแล้ว และไม่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้อีกต่อไป กล้องถ่ายวิดีโอ เครื่องเล่นซีดี และดีวีดี ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ

ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ มีอะไรบ้าง

โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก แท็บเล็ต

โทรศัพท์บ้าน เครื่องซักผ้า เครื่องปิ้งขนมปัง เตาไมโครเวฟ เครื่องดูดฝุ่น เตารีด หลอดไฟ ฟลูออเรสเซนต์ เครื่องต้มกาแฟ

จอมอนิเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนภาพ เครื่องถ่ายเอกสาร วิดีโอเกมส์ โทรทัศน์ วิทยุ กล้องดิจิทัล 34 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

35


แหล่งกำเนิดขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย

ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปี 2551-2555* = ¯²²±

°²­©¶°¶ 7S;

โรงงานอุตสาหกรรม

บ้านเรือน/บริษัท/ห้างร้านต่าง ๆ

เศษจากขยะเหลือทิ้ง ในกระบวนการผลิตสินค้า

เครื่องเสีย ไม่สามารถซ่อมได้

ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่หมดอายุ

= ¯²²²

°²¶©­´­ 7S;

= ¯²²°

°±®©¶µ¶ 7S;

= ¯²²¯

°°¯©µ°¶ 7S;

*รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2551-2555 36 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

= ¯²²®

°¯¯©°µ­ 7S; ขยะอิเล็กทรอนิกส์กองโต

37


รู้หรือไม่ในหนึ่งครัวเรือน มีขยะอิเล็กทรอนิกส์อะไรบ้าง

อายุการใช้งานผลิตภัณฑ์

อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน ที่เราเปลี่ยนใหม่ ตามเทรนด์กันเป็นว่าเล่น ใครจะรู้บ้างว่ามีอายุการใช้งานจริงเท่าไร

โทรศัพท์มือถือ

อายุการใช้งาน 4-5 ปี

a9E9SJ;

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 18 เดือน

_,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO;

โทรทัศน์

_'EāgO*bMC 98.98% CYOLO* 1.02%

อายุการใช้งาน 8-10 ปี

_'EāgO*=ES<OT$TJ

7[ _Df;

_,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO;

_,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO;

_'EāgO*bMC 99.15% CYOLO* 0.85%

_'EāgO*bMC 98.27% CYOLO* 1.73%

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 7 ปี

โน้ตบุ๊ก

อายุการใช้งาน 5-6 ปี

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 3-5 ปี

กล้องดิจิทัล

อายุการใช้งาน 5-7 ปี

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 3 ปี

a9EJS@9 CYO8YO

a9EJS@9 < T; _,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO;

_,GWgD ¯ _'EāgO*¬'ESI_EāO;

_'EāgO*bMC 98.46% CYOLO* 1.54%

_'EāgO*bMC 99.67% CYOLO* 0.33%

ตู้เย็น

อายุการใช้งาน 10-13 ปี

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 7 ปี

เครื่องปรับอากาศ

อายุการใช้งาน 7-10 ปี

อัตราการเปลี่ยนเครื่อง 5 ปี

a; 7<Z $ _,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO; _'EāgO*bMC 98.57% CYOLO* 1.43%

38 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

$G O*6V+þ9SG

_,GWgD ® _'EāgO*¬'ESI_EāO; _'EāgO*bMC 99.76% CYOLO* 0.24%

เราเปลี่ยนเครื่องใหม่ ก่อนที่เครื่องเก่าจะหมดอายุการใช้งานกันเสียอีก ถ้าเราซื้อของใหม่แบบนี้ไปเรื่อย ๆ จะเป็นอย่างไรนะ

39


แนวโน้ม ขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ล น ้ เมื อ ง ทุ ก วั น นี้ มี ใ ครขาดคอมพิ ว เตอร์ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ แท็ บ เล็ ต กั น ได้ บ้ า ง

เหลียวไปทางไหนก็จะเห็นภาพของผูค้ นทุกเพศทุกวัย ไม่วา่ จะเดินตามท้องถนน ยืนอยู่ในรถไฟฟ้า หรือนั่งรับประทานอาหาร ต่างก้มมองและพุ่งความสนใจ

ไปที่จอโทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ตของตัวเอง หากเรายิ่งซื้อ ยิ่งใช้กันมากขึ้น ก็จะยิ่งเร่งเพิ่มปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่เมืองของเรา

ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่กำลังเพิ่มขึ้น

เฉพาะปี 2556 มีขยะอิเล็กทรอนิกส์

รวม 20.8 ล้านเครื่อง

ปี 2556

ปี 2558

20.8 19.6

ล้านเครื่อง

ล้านเครื่อง

ปี 2555

22.0 ล้านเครื่อง

ปี 2557

โทรทัศน์

23.4

ล้านเครื่อง

โทรศัพท์มือถือ และโทรศัพท์บ้าน

2.4 ล้านเครื่อง

27.3

9.1 ล้านเครื่อง

โน้ตบุ๊ก

1.9 ล้านเครื่อง

เครื่องเล่นซีดีและดีวีดี

3.3 ล้านเครื่อง

เครื่องพิมพ์และโทรสาร

1.5 ล้านเครื่อง

ล้านเครื่อง

40 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ปี 2559

ตู้เย็น

872,000 เครื่อง

เครื่องปรับอากาศ

717,000 เครื่อง

กล้องถ่ายภาพและวิดีโอ

785,000 เครื่อง 41


ดูสวิ า่ เราทำอย่างไร กับขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที ่ไม่เมื่อไม่ใช้ใช้งงานผลิานแล้ ว ตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์แล้ว

ผู้บริโภคส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 50 จะขายต่อให้ซาเล้ง หรือรถขายของเก่า ของที่ ซ่อมได้ก็จะซ่อมแล้วใช้ต่อ ส่วนที่ขายไม่ได้ที่เหลือเก็บรวบรวมไว้ทิ้งปนกับ

ขยะทั่วไปและให้ผู้อื่น

ปัญหาสำคัญ คือ การทิ้งซากผลิตภัณฑ์ ปะปนกับขยะทั่วไป และการจัดการซากผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ถูกต้อง จะก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมได้

ให้ผู้อื่น

7.84%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

15.60%

ขาย

51.27%

เก็บไว้

25.32%

พฤติกรรมของผู้บริโภคกลุ่มครัวเรือน

ในการจัดการกับผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อไม่ใช้งานแล้วแยกตามประเภท*

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

8.70%

เก็บไว้

21.42%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

32.69%

10.26% เก็บไว้

ขาย

48.72%

ให้ผู้อื่น

7.24% ให้ผู้อื่น

ขาย

62.60% โทรทัศน์ (CRT/LCD/Plasma) เก็บไว้

17.38% ให้ผู้อื่น

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

22.44%

เก็บไว้

21.39%

6.60%

ขาย

4.63%

เก็บไว้

21.17%

17.52%

8.76%

ขาย

ขาย

52.55%

54.19% อุปกรณ์เล่นภาพ/เสียง ขนาดพกพา 42 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

15.38% กล้องถ่ายวิดีโอ

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

ให้ผู้อื่น

สำหรับเยาวชน

ให้ผู้อื่น

40.24% กล้องถ่ายภาพ

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

25.64%

เครื่องพิมพ์

เก็บไว้

19.89%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

36.60%

เก็บไว้

25.00% ให้ผู้อื่น

12.50%

เก็บไว้

23.95% ขาย

โทรศัพท์มือถือ เก็บไว้

17.78%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

9.01%

ให้ผู้อื่น

45.83% เครื่องโทรสาร

61.81% คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล

เก็บไว้

18.43%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

8.82%

ให้ผู้อื่น

6.47% ขาย

ขาย

ให้ผู้อื่น

50.18% 6.80%

5.77%

38.99% โทรศัพท์บ้าน

7.77% เก็บไว้

ให้ผู้อื่น

ขาย

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

12.39%

31.66%

ให้ผู้อื่น

4.51%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

16.67%

ทิ้งรวมกับขยะทั่วไป

7.53% ขาย

66.74% เครื่องปรับอากาศ

ขาย

65.21%

ตู้เย็น *รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2555 43


สารอันตราย ในขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เรามาดู กั น ว่ า ขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส่ ว นใหญ่ มั ก มี ส ารอั น ตรายชนิ ด ใด

โทรศัพท์มือถือ

เป็นส่วนประกอบบ้าง

โทรทัศน์รุ่นเก่า

มีตะกั่วเป็นส่วนประกอบ ในกรวยแก้วที่อยู่ด้านหลัง จอภาพ และมีตะกั่ว ในแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

คอมพิวเตอร์

โทรทัศน์ชนิด จอแอลซีดี

จะมีปรอทในหลอดไฟ ที่ให้ความสว่างกับภาพ

คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ มีตะกั่วเป็นส่วนประกอบ ในจอแสดงผล และในแผงวงจร

มีโครเมียมเป็นส่วนประกอบ ในฝาครอบ มีตะกั่ว สารหนู และโบรมีนในแผงวงจร ส่วนคอมพิวเตอร์ มีนิกเกิล-แคดเมียม แบบพกพา จะมีปรอท ในแบตเตอรี่ ในแผ่นจอแอลซีดี และมีเบริลเลียม และนิกเกิล- ในปุ่มสัมผัส แคดเมียม ในแบตเตอรี ่

เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็นรุ่นเก่า

มีโพลียูรีเทนโฟม ฉนวนกันความร้อน และสารทำความเย็น ซึ่งเป็นสาร ที่ทำลายชั้นโอโซน

มีสารทำความเย็น และน้ำมันหล่อลื่น เป็นส่วนประกอบ

เครื่องซักผ้า

มีน้ำเกลือ อยู่ใน อุปกรณ์รักษาสมดุล

นอกจากนี้ ในโครงพลาสติกของผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่มีสารหน่วงไฟเป็นส่วนผสม 44 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

45


สารอันตรายในขยะอิเล็กทรอนิกส์ ส่งผลอย่างไรต่อร่างกายของเรา ตะกั่ว ทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ หากสะสม อาจทำให้เกิดโรค พิษตะกั่วได้

ปรอท เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ ปวดท้อง ท้องร่วง หัวใจเต้นอ่อน ความจำเสื่อม ทำลายสมองและไต นิกเกิล หากสัมผัสอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ผิวหนังมีอาการแพ้ อย่างรุนแรง คัน เป็นผื่นแดง มีแผลไหม้ แคดเมียม เกิดการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินหายใจ และผิวหนัง เจ็บคอ ปวดท้อง ท้องร่วง อาเจียน 46 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

โครเมียม เป็นสารก่อมะเร็งชนิดหนึ่ง หากหายใจเข้าไปจะทำให้เกิด การระคายเคืองต่อระบบ ทางเดินหายใจ และเมื่อสัมผัส จะทำให้เกิดอาการคันที่ผิวหนัง และเป็นแผล

สารหนู มีผลทำลายระบบประสาท ผิวหนัง และระบบการย่อยอาหาร หากได้รับปริมาณมากเกินไป อาจทำให้ถึงตายได้

สารทำความเย็น เกิดการระคายเคืองต่อระบบ

ทางเดินหายใจ และระคายเคืองตา ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว หากสัมผัส อาจเกิดอาการชาเหมือนน้ำแข็งกัด สารหน่วงไฟ มีผลกระทบต่อ ฮอร์โมนไทรอยด์ ซึ่งส่งผลต่อการเติบโต และพัฒนาการ

โบรมีน เป็นสารก่อมะเร็ง มีผลเสียต่อระบบการย่อยอาหาร และน้ำเหลือง ทำลายการทำงาน ของตับ มีผลต่อระบบประสาท และภูมิต้านทาน

เบริลเลียม เป็นสารก่อมะเร็งชนิดหนึ่ง น้ำเกลือ หากหายใจเข้าไปอย่างต่อเนื่อง จะเป็นโรคที่มีผลกับปอด เกิดการระคายเคืองต่อระบบ หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผล ทางเดินหายใจและผิวหนัง หากสัมผัสเป็นเวลานาน ที่ผิวหนังอย่างรุนแรง ทำให้ปวดแสบปวดร้อน และแผลไหม้ 47


สารอันตรายที่แฝงอยู่ในซากขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ แตกต่างกันไป

ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สารเหล่านี้จะไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ หากอยู่ ในสภาพการใช้งานปกติ ดังนัน้ ถ้านำขยะอิเล็กทรอนิกส์มากองรวมกัน อาจส่งผล เพียงแค่ทำให้รกหูรกตาและเปลืองพื้นที่

แต่เมีอ่ ใดทีเ่ ราทิง้ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ปะปนรวมกับขยะมูลฝอยทัว่ ไปในชุมชน เวลาผ่ า นไป ส่ ว นประกอบของขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ หล่ า นั้ น จะเสื่ อ มสภาพ

หรือผุกร่อน สารเคมีที่เสื่อมสภาพภายในจะซึมหรือรั่วไหลกระจายปนเปื้อน

สูส่ งิ่ แวดล้อม หรือหากมีการกำจัดไม่ถกู วิธี สารอันตรายเหล่านีจ้ ะปนเปือ้ นเข้าสู่ ระบบนิเวศ และระบบห่วงโซ่อาหารผ่านทางดิน น้ำ และอากาศ ก่อให้เกิด อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม

อีก 10 ปีข้างหน้า ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้น จะสร้างปัญหาให้กับตัวเราและสิ่งแวดล้อม ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่เราควรหันมาช่วยกันจัดการ ขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพ

48 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

49


บทที่ 4

การจัดการขยะอันตราย และขยะอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ บ้านปลอดภัย ชุมชนน่าอยู่

50 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ผลกระทบจากขยะอันตรายและขยะอิเล็กทรอนิกส์นั้น ใกล้ตัวกว่าที่คิด พวกเราจะนิ่งดูดาย ปล่อยให้ชุมชนของเรา เต็มไปด้วยขยะอันตรายแบบนี้ต่อไปไม่ได้ เราต้องเริ่มเรียนรู้การจัดการขยะอันตรายที่ถูกต้อง กันตั้งแต่วันนี้ รักกรุงเทพฯ ร่วมสร้างกรุงเทพฯ ภารกิจที่ทุกคนต้องช่วยกัน

51


การจัดการขยะอันตราย ในกรุงเทพมหานครเป็นอย่างไร

รถขยะ กทม. ส่งไปเก็บรวบรวม

%DROS;7ETD +S6_$f<9Z$IS;9Wg ® `GR ®² %O*_6YO;

การจัดการขยะอันตรายในปัจจุบัน กรุงเทพมหานครได้ดำเนินการจัดเก็บ ทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน โดยขยะอันตรายจากบ้านเรือนที่จัดเก็บ

ได้ทั้งหมดจะถูกส่งไปรวบรวม ณ สถานที่เก็บรวบรวมภายในสถานีขนถ่าย มูลฝอยของกรุงเทพมหานคร จากนั้นส่งไปกำจัดอย่างถูกต้องโดยผู้รับเหมา

นำไปกำจัดของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นบริษัทที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม

J[;D $U+S6C[G?OD O O;;Z-

L *c=$U+S6 รถขยะ กทม. ส่งไปเก็บรวบรวม

J[;D $U+S6C[G?OD M;O*`%C ;Uc=$U+S6OD T*8[$7 O*

รถขยะ กทม. ส่งไปเก็บรวบรวม 52 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

J[;D $U+S6C[G?OD LTDcMC

53


ขยะอันตราย จัดการได้ สบายใจทั ง ้ ชุ ม ชน การจั ด การ ขยะอันตรายภายในครัวเรือน เช่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่

หลอดไฟ ภาชนะบรรจุน้ำยาทำความสะอาด กระป๋องสเปรย์ ยาฆ่าแมลง

ยาและเครือ่ งสำอางหมดอายุ ถือเป็นเรื่องสำคัญที่เราต้องใส่ใจให้มีการคัดแยก และการจั ด การที่ ถู ก ต้ อ งเหมาะสม เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี ย หายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น

ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางดังนี ้

ซือ้ และใช้ผลิตภัณฑ์ ทีม่ สี ารอันตรายเท่าทีจ่ ำเป็น เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามปลอดภัย หรือเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม

อย่าเปลีย่ นถ่ายผลิตภัณฑ์ใส่ภาชนะอืน่ ให้เก็บผลิตภัณฑ์ทเี่ หลือ หรือไม่ใช้แล้ว ในภาชนะบรรจุเดิมทีม่ ปี า้ ยแสดงข้อความ/คำเตือน เพือ่ ความปลอดภัยและรอการเก็บขนจากเจ้าหน้าที่ รวบรวมขยะอันตรายใส่ถงุ หรือติดฉลาก เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีม่ องเห็นได้ชดั เจน

54 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ใช้ผลิตภัณฑ์ตาม คำแนะนำในฉลาก และใช้ในปริมาณ ทีแ่ นะนำเท่านัน้

ใช้ผลิตภัณฑ์ ให้หมดก่อนทิง้

ผลิตภัณฑ์ทรี่ ไี ซเคิลได้ ให้สง่ ไปยังสถานทีท่ รี่ บั ซือ้ หรือจุดรับทิง้ ขยะอันตราย

55


สิ่งที่ต้องระวัง

การเก็บผลิตภัณฑ์ให้ปลอดภัย

อย่าให้เด็กจัดการ หรือ ทิง้ ขยะอันตราย

อย่าผสม ผลิตภัณฑ์ เหลือใช้อนื่ ๆ เข้าด้วยกัน

อย่าวางผลิตภัณฑ์ ไว้ในทีท่ เี่ ด็ก และสัตว์เข้าถึงได้ อย่านำ บรรจุภณ ั ฑ์ ขยะอันตราย กลับมาใช้ใหม่ เพือ่ วัตถุประสงค์ อย่างอืน่

56 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

อย่าทิง้ ขยะอันตรายปะปนกับ ขยะมูลฝอยทัว่ ไป

อย่าเผา หรือ ฝังขยะอันตราย อย่าทิง้ ขยะอันตราย ลงสนามหญ้า ท่อระบายน้ำ หรือแหล่งน้ำ

ปิดฝาภาชนะให้แน่นเพือ่ ไม่ให้ผลิตภัณฑ์ ระเหยหรือรัว่ ไหลได้

เก็บผลิตภัณฑ์ไว้ในตูท้ ลี่ อ็ ก หรือให้หา่ งไกลจากเด็กและสัตว์เลีย้ ง

เก็บผลิตภัณฑ์ไว้ในทีแ่ ห้งและเย็น ให้หา่ งไกลจากแหล่งทีม่ คี วามร้อน หรือติดไฟได้ ให้เก็บผลิตภัณฑ์ในภาชนะบรรจุเดิม ทีม่ สี ญ ั ลักษณ์ หรือข้อความระบุชดั เจน ถ้าภาชนะบรรจุเสือ่ มหรือชำรุด ให้ใส่ผลิตภัณฑ์พร้อมภาชนะทีบ่ รรจุนนั้ ลงในถังพลาสติกพร้อมปิดฝาให้สนิท ให้แยกเก็บผลิตภัณฑ์ตามลักษณะ ความเป็นอันตราย เช่น สามารถติดไฟได้ มีฤทธิก์ ดั กร่อน หรือมีความเป็นพิษ เป็นต้น 57


การจัดการขยะอันตราย แต่ละประเภท วิธีทิ้งถ่านไฟฉาย ใช้แล้วอย่างง่ายที่สุด เก็บรวบรวม

ถ่านที่ใช้แล้ว ใส่รวมกัน ไว้ในถุงพลาสติก หรือถุงดำ

เขียนข้อความติด ข้างถุงว่าเป็น “ขยะพิษ” หรือ “ถ่านไฟฉายใช้แล้ว” เพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ มองเห็นชัดเจน

ทิง้ ในภาชนะรองรับ ขยะอันตรายทีก่ ำหนด หรือทิง้ กับรถขยะของ กทม. ทุกวันที่ 1 และ 15 หรือตามทีส่ ำนักงานเขต กำหนด

58 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ทิ้งหลอดไฟอย่างไรดี นำหลอดไฟทีจ่ ะทิง้ แล้ว ใส่ปลอกกระดาษทีเ่ คยใส่มา ตอนซือ้ หรือห่อด้วยกระดาษ หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ชัน้ เพือ่ ป้องกันหลอด แตกหักเสียหาย

ถ้าเป็นหลอดกลม หรือหลอดตะเกียบ ให้หอ่ กระดาษเพือ่ ป้องกัน การแตกเสียหาย แล้วบรรจุใส่ถงุ หรือกล่อง

เขียนข้อความ ติดข้างถุงว่าเป็น “หลอดไฟใช้แล้ว” เพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ มองเห็นชัดเจน

ทิง้ ทีจ่ ดุ ทิง้ ขยะอันตราย หรือทิง้ กับรถขยะ ของกรุงเทพมหานคร หรือวางในจุดทีเ่ ห็นชัดเจน ไม่เสีย่ งต่อการแตกหัก เสียหาย

59


ดูอย่างไร...จึงรู้ว่ายาหมดอายุ

ยาที่ใช้ทุกชนิดมีวันหมดอายุเสมอ ดังนั้น ทุกครั้งที่ใช้ยา จึงควรต้องทราบ

วันหมดอายุของยาด้วย เพราะยาหมดอายุนนั้ ไม่เพียงกินแล้วไม่ได้ผลในการรักษา แต่อาจเกิดโทษแก่รา่ งกายเราได้ มีวธิ สี งั เกตยาหมดอายุงา่ ย ๆ ดังนี้

แย่แล้ว...กินยาหมดอายุเข้าไป ควรทำอย่างไร ตัง้ สติ อย่าตกใจเกินเหตุ

ยาเม็ด เมื่อหมดอายุ สีของเม็ดจะจางซีดลงอย่างเห็นได้ชัด แตก

ร่อนง่าย เป็นผงง่าย เมือ่ เอามือจับจะรูส้ กึ เม็ดยานิม่ บีบเบา ๆ ก็แตก

ยาเม็ดทีเ่ ป็นแบบเคลือบน้ำตาล เช่น วิตามินรวมต่าง ๆ หากหมดอายุ

เม็ดยาจะมีกลิน่ หืน เม็ดยามีลกั ษณะเยิม้ เหนียว

ดืม่ น้ำตามเข้าไป ไม่ตอ้ งล้วงคอ ไม่ตอ้ งดืม่ นม

ยาแคปซูล เมือ่ หมดอายุจะมีลกั ษณะบวมโป่ง ผงยาภายในแคปซูล

จะเปลีย่ นสี อาจมีเชือ้ ราขึน้ ทีเ่ ปลือกแคปซูล จับกันเป็นก้อน ยาน้ำแขวนตะกอน เช่น ยาคล้ายแป้งน้ำใช้ทาแก้คัน ยาลดกรด

หากหมดอายุจะตกตะกอน จับกันเป็นก้อน และเกาะติดกันแน่น เขย่าอย่างไรก็ไม่กระจายตัว ทัง้ กลิน่ สี หรือรสก็เปลีย่ นไปจากเดิม ยาน้ำเชือ่ ม จะกลายเป็นสีขนุ่ ๆ ตกตะกอนเป็นผง ๆ ไม่ละลาย หรือ เห็นน้ำเป็นคนละสีลอยปะปนเป็นเส้น ๆ อยู่ อาจมีกลิน่ เหม็นเปรีย้ ว

เก็บฉลากชนิดยาทีก่ นิ จำจำนวนทีก่ นิ สังเกต ลักษณะทีผ่ ดิ ปกติ เช่น สี กลิน่

ยาขี้ผึ้งและครีม หากหมดอายุ เนื้อยาจะแข็ง แห้ง หรือเปลี่ยนสีไป

จากเดิม

ยาหยอดตา มีอายุจำกัด หากเก็บเกิน 1 เดือนในตู้เย็น ให้ทิ้งได้

หากนำมาใช้อาจเกิดอันตรายได้ 60 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ติดต่อสอบถาม ทีศ่ นู ย์พษิ วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี สายด่วน 1367 เปิดตลอด 24 ชัว่ โมง

61


ทิ้งเครื่องสำอางเมื่อไรดี

ผูห้ ญิงแทบทุกคนต้องมีเครือ่ งสำอางไว้ในครอบครอง ไม่วา่ จะเป็นสาวน้อย สาวใหญ่ แต่รหู้ รือไม่วา่ เครือ่ งสำอางทีใ่ ช้กนั มีอายุการใช้งานเท่าใด และเมือ่ ไร

ทีเ่ ราควรจะทิง้ อย่ามัวเสียดายกับเครือ่ งสำอางทีห่ มดอายุ เพราะอาจเป็นสาเหตุ ของการเกิดสิว หรืออาการแพ้ตา่ ง ๆ เราลองเช็กกันหน่อยว่า เครือ่ งสำอางทีม่ นี นั้ หมดอายุหรือยัง มาสคาร่า

อายุการใช้งาน 3 เดือน ลักษณะเมื่อหมดอายุ

เหนียวข้น ติดกันเป็นเม็ด เมื่อปัดแล้ว เกิดการระคายเคือง ที่เปลือกตา

อายไลเนอร์

อายุการใช้งาน 2 ปี ลักษณะเมื่อหมดอายุ

เหนียวข้น ติดกันเป็นเม็ด เมื่อทาแล้ว เกิดการระคายเคือง ที่เปลือกตา

ลิปสติก

แป้งฝุน่ /บลัชออน/อายแชโดว์ อายุการใช้งาน 2 ปี

อายุการใช้งาน 2 ปี

ลักษณะเมื่อหมดอายุ

ลักษณะเมื่อหมดอายุ

เนื้อฝุ่นสีซีด จาง ไม่ติดผิว

กลิ่นและสีจะเปลี่ยนไป มีกลิ่นค่อนข้างฉุน ยาทาเล็บ

ลิปสติกกลอส

อายุการใช้งาน 1 ปี

อายุการใช้งาน 1 ปี

ลักษณะเมื่อหมดอายุ

ลักษณะเมื่อหมดอายุ

สีซีดจาง สีและน้ำมัน จะแยกชั้นกัน เห็นได้ชัดเจน

สีและน้ำมัน จะแยกชั้นกัน เห็นได้ชัดเจน

น้ำหอม

ดินสอเขียนขอบตา/ดินสอเขียนคิว้ อายุการใช้งาน 2 ปี ลักษณะเมื่อหมดอายุ

สีซีด จาง ไม่ติดผิว

62 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

รองพื้น/เบส

อายุการใช้งาน 1 ปีครึ่ง

อายุการใช้งาน 1 ปี ลักษณะเมื่อหมดอายุ

เนื้อรองพื้นที่เคยเหลว เริ่มแข็งเป็นเม็ด มีแป้งสีขาวขุ่นมัว

ลักษณะเมื่อหมดอายุ

มีกลิ่นแอลกอฮอล์ฉุน น้ำเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

หากตรวจดูแล้วพบว่าเครื่องสำอางชิ้นใดหมดอายุ ก็ควรทิ้งทันที ห้ามเสียดายเก็บไว้ใช้ต่อ โดยเก็บรวบรวมทิ้งในภาชนะรองรับขยะอันตราย 63


วิธจี ดั การผลิตภัณฑ์อนั ตราย จากบ้านเรือน

ยาฆ่าแมลงและกำจัดศัตรูพืช ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับรถ

ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน น้ำยา ขจัดคราบ

น้ำยาทำความสะอาด สุขภัณฑ์ และน้ำยาฆ่าเชื้อ พิษ/อันตราย ฤทธิ์กัดกร่อน ติดไฟได้ เป็นพิษ พิษ/อันตราย ฤทธิ์กัดกร่อน เป็นพิษ

กาว ทินเนอร์ สีน้ำมัน สีย้อม น้ำมันเคลือบเงา น้ำยาป้องกันเนื้อไม้ 64 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

น้ำยาทำความสะอาด ท่อน้ำทิ้ง

พิษ/อันตราย ฤทธิ์กัดกร่อน เป็นพิษ ทำให้ระเบิด

วิธจี ดั การ คัดแยก ไม่ทงิ้ รวมกับขยะทัว่ ไป รวบรวมรอการเก็บขน

พิษ/อันตราย ติดไฟได้ เป็นพิษ

ยาฆ่าแมลง ยาเบื่อหนู ลูกเหม็น ยากำจัดวัชพืช ยาฆ่าเชื้อรา ภาชนะบรรจุที่ใช้หมดแล้ว

พิษ/อันตราย เป็นพิษ

ยาขัดเงาพื้น เฟอร์นิเจอร์

วิธจี ดั การ คัดแยก ไม่ทงิ้ รวมกับขยะทัว่ ไป รวบรวมรอการเก็บขน

พิษ/อันตราย ฤทธิ์กัดกร่อน เป็นพิษ

พิษ/อันตราย เป็นพิษ

สียางไม้

พิษ/อันตราย ฤทธิ์กัดกร่อน เป็นพิษ

พิษ/อันตราย ติดไฟได้ เป็นพิษ

แบตเตอรี่รถยนต์ น้ำมันเคลือบเงาขัดรถ น้ำยาเช็ดกระจก น้ำมันจาระบี

วิธจี ดั การ นำไปรีไซเคิล

พิษ/อันตราย ติดไฟได้ เป็นพิษ

น้ำมันดีเซล น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันก๊าด

พิษ/อันตราย เป็นพิษ

น้ำมันเบรก น้ำมันเครื่อง 65


จัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ อย่างถูกวิธี ชีวติ ปลอดภัยยาวนาน คิดก่อนซือ้

เลื อ กซื้ อ ผลิ ต ภั ณฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ ได้มาตรฐาน เพือ่ ยืดอายุการใช้งาน ลดการกลายเป็นขยะ

ทิง้ ตามสถานที ่ หรือตามเวลาทีก่ ำหนด

สำหรับเยาวชน

เลือกซื้อรุ่นที่เหมาะสมกับการใช้งาน ใช้ อ ย่ า งระมั ด ระวั ง ดู แ ลรั ก ษาตาม คูม่ อื การใช้งาน

เพราะผลิ ต ภั ณ ฑ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ออกรุ่ น ใหม่ เ ร็ ว มาก เมื่ อ ซื้ อ ใหม่ ของเก่าจะเป็นแค่ขยะ ไม่มคี ณ ุ ค่า และเป็นพิษแก่สิ่งแวดล้อม หาก ของเก่าสภาพยังดี ใช้ได้ ให้ใช้ไปก่อน

ให้คนทีเ่ ขาต้องการ

แยกทิง้

66 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

ใช้อย่างคุม้ ค่า

อย่ามัวแต่วงิ่ ตามเทคโนโลยี

นำขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปทิง้ ยังสถานที่ หรือจุดรับทิง้ ทีผ่ ผู้ ลิต หรือผูใ้ ห้บริการ เครื อ ข่ า ยโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ จั ด ไว้ ใ ห้ หรือทิ้งให้กับรถจัดเก็บขยะมูลฝอย ของสำนักงานเขตต่าง ๆ ซึ่งมีช่องรับ ขยะอั น ตรายด้ า นหน้ า ตั ว รถหรื อ

รถจัดเก็บขยะอันตรายเฉพาะ ตามวัน และเวลาที่สำนักงานเขตกำหนด

ไม่ทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ปะปนกับขยะทั่วไป รวมถึงไม่นำไปเผา ฝังดิน หรือทิง้ ในแหล่งน้ำ

เราลองมาเรียนรู้การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างละเอียดกันดู ว่ามีวิธ ี ลดปริมาณอย่างไร ทิง้ อย่างไรจึงจะถูกต้อง

ส่งต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ทีเ่ ราไม่ใช้แล้ว เพราะอาจมีหลายคนได้ใช้ประโยชน์ จากของทีเ่ ราไม่ใช้ 67


รูห้ รือไม่วา่ ... ขยะอั น ตรายรี ไ ซเคิ ล ได้ เมื่อเหลียวมองไปรอบ ๆ บ้าน เห็นขยะอันตรายและขยะอิเล็กทรอนิกส์

การรู้ว่าขยะอันตรายประเภทใด รีไซเคิลได้หรือไม่ จะช่วยให้การคัดแยกขยะ มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อนำไปขาย ก็จะเพิ่มมูลค่าของขยะมากขึ้น และง่ายต่อการนำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล ของขยะประเภทนั้น ๆ

วางกองอยูม่ ากมาย ช่วยกันลดปริมาณขยะ ช่วยนำขยะเหล่านัน้ ไปขายเพือ่ เข้าสู่ กระบวนการรีไซเคิล ได้ทั้งเงิน ได้ทั้งช่วยโลก แต่รู้หรือไม่...ขยะอันตรายและ

ขยะอิเล็กทรอนิกส์อะไรบ้างทีร่ ไี ซเคิลได้หรือรีไซเคิลไม่ได้

ขยะอันตรายและขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่รีไซเคิลได้

ส่งขาย แบตเตอรีร่ ถยนต์ แบตเตอรีร่ ถจักรยานยนต์ กระป๋องสเปรย์ กระป๋อง/ถังสี หลอดฟลูออเรสเซนต์ ถ่านไฟฉายอัดประจุ/ถ่านชาร์จ ตลับหมึกพิมพ์เลเซอร์ และอิงก์เจ็ต โทรศัพท์มอื ถือ ซากผลิตภัณฑ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

ขยะอันตรายที่รีไซเคิลไม่ได้

ส่งต่อ สถานีรไี ซเคิล ศูนย์รไี ซเคิล หรือ ร้านรับซือ้ ของเก่าทัว่ ประเทศ

โรงงานอุตสาหกรรมรีไซเคิล

คัดแยก/ รวบรวม หลอดไฟทีไ่ ม่ใช่หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดตรง ถ่านไฟฉาย ถ่านกระดุม ยาหมดอายุ เครือ่ งสำอางหมดอายุ 68 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

ส่งต่อ

เทศบาล หรือหน่วยงาน ผูร้ บั ผิดชอบ

บริษทั ทีห่ น่วยงาน ทางราชการอนุญาตให้รบั กำจัด

69


เราได้อะไรจากการคัดแยกขยะ

ขยะอั น ตราย นี้มีราคา หากเราสังเกตขยะอันตรายรอบ ๆ บ้านของเราให้ดี จะพบว่าขยะอันตรายเหล่านัน้ ไม่ใช่ของไร้ประโยชน์ แต่มมี ลู ค่า สามารถสร้างรายได้ให้กบั เราได้

ความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้าน

คัดแยกแล้วนำไปขาย มีรายได้เสริมอีกทาง

24.50 บาท/กก. แบตเตอรี่ขาว

ลดขยะในระบบ

ลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

18.60 บาท/กก. แบตเตอรี่รถจักรยานยนต์

ลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ

ลดการแพร่กระจาย ของเชื้อโรค

13.50 บาท/กก. ขวดพลาสติก ใส่น้ำยาต่าง ๆ

20.25 บาท/กก. แบตเตอรี่ดำ

0.20-0.50 บาท/กก. ขวดยาฆ่าแมลงขนาดเล็ก

3-4.30 บาท/กก. กระป๋องสเปรย์/ กระป๋องสี

ลดภาวะโลกร้อน (ราคา ณ ธันวาคม 2556) 70 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

71


ขยะอิเล็กทรอนิกส์ มี คใครจะรู่ามากกว่ า ที ค ่ ด ิ บ้ า้ งว่า ขยะอิเล็กทรอนิกส์ทวี่ างไว้หลังบ้านหรือกองไว้ในห้องเก็บของ

ปล่อยให้ฝนุ่ จับ จะสามารถนำมารีไซเคิลและสกัดโลหะทีม่ คี า่ ออกมาได้มากกว่า

ทีเ่ ราคิด

ในประเทศญี่ปุ่นสามารถสกัดทองคำ 1 กิโลกรัม จากโทรศัพท์มือถือ จำนวน 200,000 เครื่อง ชิ้นส่วนตัวต้านทาน ในวงจรคอมพิวเตอร์สามารถสกัดแยกทองคำและพาลาเดียม ได้อย่างละประมาณ 50-100 กรัมต่อซากเครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ หนัก 1 ตัน รวมทั้งยังได้ทองแดงอีก 200 กิโลกรัม

คอมพิวเตอร์

ส่ ว นประกอบในคอมพิ ว เตอร์ 1 เครื่ อ ง ทั้ ง ซี พี ยู (CPU) หลอดภาพ

แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก และโลหะทีใ่ ช้การไม่ได้แล้ว สามารถนำกลับ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ หม่ ไ ด้ ทั้ ง หมด ซี พี ยู โน้ ต บุ๊ ก จอคอมพิ ว เตอร์ เครื่ อ งพิ ม พ์

เครือ่ งสแกน และเครือ่ งสำรองไฟ มีราคาสามารถขายได้

คีย์บอร์ด จอคอมพิวเตอร์ 2 บาท/กก.

ซีพียู เมาส์ เครื่องพิมพ์ เครื่องสำรองไฟ (UPS) 5 บาท/กก.

โทรศัพท์มือถือ ทองคำ 1 กิโลกรัม

200,000

สกัด ทองคำ 50-100 กรัม

เครื่อง

พาลาเดียม 50-100 กรัม ซากเครื่องใช้ไฟฟ้า

หนัก1ตัน

72 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

สกัด

ทองแดง 200 กิโลกรัม

1

กิโลกรัม (ราคา ณ ธันวาคม 2556) 73


โทรศัพท์มอื ถือ

โทรศัพท์มอื ถือ 1 เครือ่ ง สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ 80% ช่องทางง่ายทีส่ ดุ คือ การนำไปคืนร้านที่ซื้อมา หรือนำไปหย่อนลงกล่องรับซากโทรศัพท์มือถือ

ตามจุดต่าง ๆ เช่น ร้านผูใ้ ห้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มอื ถือ ร้านขายโทรศัพท์มอื ถือ สำนักงานเขต หรือสำนักงานเทศบาล

เครื่องใช้สำนักงาน

เครือ่ งใช้สำนักงานนอกเหนือจากคอมพิวเตอร์แล้ว ยังมีเครือ่ งใช้สำนักงาน อี ก หลายประเภทที่ ส ามารถนำมาขายเพื่ อ รี ไ ซเคิ ล ได้ เช่ น เครื่ อ งโทรสาร

เครือ่ งถ่ายเอกสาร โทรศัพท์สำนักงาน เป็นต้น โทรศัพท์ สำนักงาน 2 บาท/กก.

โทรศัพท์มือถือ 2 บาท/กก. เครื่องโทรสาร เครื่องถ่ายเอกสาร 5 บาท/กก.

เครื่องสำรองไฟ ฉุกเฉิน 5.50 บาท/กก.

พัดลมดูดอากาศ เครื่องกรองอากาศ 4 บาท/กก. กล้องถ่ายรูป 1 บาท/กก.

1

กิโลกรัม

ก่อนบริจาคหรือขายชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือ อย่าลืมลบข้อมูลสำคัญทิ้งให้หมด เพื่อป้องกันการถูกนำไปใช้ประโยชน์ หรือภาพลับถูกนำไปเผยแพร่

74 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

1

กิโลกรัม (ราคา ณ ธันวาคม 2556) 75


เครือ่ งใช้ไฟฟ้า

เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านของเราสามารถขายได้ราคา ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์

ตูเ้ ย็น เครือ่ งเล่นวีซดี /ี ดีวดี ี กระติกน้ำร้อน ตูล้ ำโพง พัดลม ไดร์เป่าผม เครือ่ งทำน้ำอุน่ เครื่องตัดกระแสไฟ เครื่องปิ้งขนมปัง เครื่องปรับอากาศ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า

เตาไฟฟ้า ฯลฯ พัดลมตั้งโต๊ะ/เพดาน เครื่องปั๊มน้ำ กระทะไฟฟ้า เครื่องดูดฝุ่น 7 บาท/กก. ตู้เย็นและ เครื่องซักผ้า คอมเพรสเซอร์ เครื่องทำน้ำเย็น เครื่อง หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 6 บาท/กก. เตาอบ/ ปรับอากาศ 6.50 บาท/กก. เตาไมโครเวฟ 8.50 บาท/กก. เตาไฟฟ้า 5 บาท/กก.

กระติกน้ำร้อน เครื่องกรองน้ำไฟฟ้า เครื่องทำน้ำอุ่น 4 บาท/กก. เครื่องปิ้งขนมปัง เครื่องตัดกระแสไฟ 5 บาท/กก.

1

เช็กก่อนขาย ●

1

กิโลกรัม

กิโลกรัม

(ราคา ณ ธันวาคม 2556)

(ราคา ณ ธันวาคม 2556)

ตรวจดู ซ ากเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ แ ตกหั ก มี ร อยรั่ ว ว่ า มี ส ารเป็ น พิ ษ

รั่วออกมาจากรอยเหล่านั้นหรือไม่ ● ตรวจสอบป้ายบ่งชี้ด้านหลังว่ามีวัตถุไวไฟหรือวัตถุอันตรายที่เป็น ส่วนประกอบหรือไม่ หากมี ขณะรวบรวมส่งและขนส่ง หลีกเลี่ยง บริเวณที่อยู่ใกล้เปลวไฟหรือมีอุณหภูมิสูง เพราะเสี่ยงต่อการเกิด เพลิงไหม้หรือระเบิดได้ 76 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย สำหรับเยาวชน

ตู้ลำโพง เครื่องเล่น ไดร์ เป่าผม วีซีดี/ดีวีดี เครื่องเสียง/สเตอริโอ 1 บาท/กก. เครื่องบดอาหาร โทรทัศน์ 3 บาท/กก. 0.5 บาท/กก.

เห็นไหมว่า... ขยะใกล้ตัวที่เรามองข้ามนั้น มีค่ามีราคา สามารถนำไปขาย สร้างรายได้เสริมให้แก่ตนเอง และครอบครัวได้ เพราะฉะนั้น ก่อนทิ้ง โปรดคิดสักนิด

ขณะขนส่งเครือ่ งซักผ้าหรือตูเ้ ย็น ไม่ควร

ตั้ ง ตะแคงหรื อ เอี ย ง เพราะอาจทำให้

สารทำความเย็ น น้ ำ มั น หล่ อ ลื่ น หรื อ

น้ำเกลือในเครื่องซักผ้ารั่วออกมาได้

77


ขยะเหลือศูนย์ เราทำได้ ถ้าช่วยกัน

กรุ ง เทพมหานครเพี ย งหน่ ว ยงานเดี ย ว ย่ อ มไม่ ส ามารถแก้ ไ ขปั ญ หา

การจัดการขยะอันตรายได้อย่างสมบูรณ์ ที่สำคัญคือ ประชาชนต้องมีส่วนร่วม

ในการแก้ไขปัญหา ซึ่งแนวทางการจัดการขยะอันตรายที่ทุกคนสามารถทำได้ และมีประสิทธิภาพในระยะยาว คือ การจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste)

การจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) เป็นการลดปริมาณขยะให้เหลือน้อยที่สุด โดยคำนึงถึง ความจำเป็นที่จะต้องใช้สิ่งของเหล่านี้อย่างรู้คุณค่า และมองว่า

“ขยะทุกชิ้นมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้” เราสามารถช่วยลดปริมาณขยะอันตรายให้เหลือน้อยที่สุดได้ ตั้งแต่ต้นทางโดยใช้หลัก 1A 3Rs

Avoid : หลีกเลี่ยง คือ การหลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดขยะอันตราย หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ครั้งเดียวทิ้ง เช่น ถ่านนิกเกิลแคดเมียม หรือถ่านราคาถูก

Reuse : การใช้ซ้ำ คือ การนำกลับมาใช้ซ้ำหรือนำกลับมาใช้อีก เป็นการช่วยยืดอายุการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ โดยอาจซ่อมแซม (Repair) หรือปรับปรุงให้ทันสมัย (Upgrade)

Reduce : การลด คือ การลดการใช้ฟุ่มเฟือย ใช้เท่าที่จำเป็นจริง ๆ หากจำเป็นต้องซื้อให้เลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย ประหยัดพลังงานและสามารถรีไซเคิลได้ อาจพิจารณาเลือกซื้อสินค้าที่มีฉลาก มอก. หรือฉลากเขียว หรือฉลากสินค้าที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Recycle : การนำกลับมาใช้ใหม่ คื อ การนำหรื อ เลื อ กชิ้ น ส่ ว นของขยะอั น ตรายที่ ยั ง เป็ น ประโยชน์ ม าเข้ า สู่ กระบวนการแปรรูปของแต่ละประเภท ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ นำกลับมาใช้ใหม่

78 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

79


ทุกสิ่งสำเร็จได้

ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกคน

การจัดการขยะอันตรายนัน้ มีมากมายหลายวิธแี ละทำได้งา่ ย ๆ เพียงปฏิบตั ิ ตามหลัก 1A 3Rs เป็นประจำ คิดก่อนใช้ คัดแยกขยะอันตรายออกจาก ขยะอืน่ ๆ เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถนำกลับมารีไซเคิลหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะแล้วยังช่วยลดการปนเปือ้ นของสารพิษอันตราย ในสิง่ แวดล้อมได้อกี ด้วย

แม้จะดูเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ถ้าพวกเราทุกคนร่วมมือร่วมใจกัน ความหวัง

ในการลดขยะเหลือศูนย์กไ็ ม่ไกลเกินความจริง

รักกรุงเทพฯ ร่วมสร้างกรุงเทพฯ ให้เป็นมหานครสีเขียว สิ่งแวดล้อมของเราเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ เพียงช่วยกันคนละไม้คนละมือ เริ่มต้นที่ตัวเราเองตั้งแต่วันนี้ เพื่อให้กรุงเทพฯ ของเราเป็นเมืองที่น่าอยู่ น่าเยือนตลอดไป


บรรณานุกรม

ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คู่ มื อ

การดำเนิ น งานลด คั ด แยกขยะมู ล ฝอยภายในอาคารสำนั ก งาน. กรุงเทพฯ: ฮีซ,์ 2552. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คู่ มื อ

การจัดการซากผลิตภัณฑ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: ไทยเอฟเฟคท์สตูดโิ อ, 2551. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คู่ มื อ ประชาชน เพือ่ การแยกขยะอันตรายจากชุมชน. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์, 2549. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คู่ มื อ ประชาชน เพื่อการลด คัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยชุมชน. กรุงเทพฯ: กชกร พับลิชชิง, 2550. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงาน สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2551. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2551. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงาน สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2552. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2552. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงาน สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2553. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2553. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงาน สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2554. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2554. 82 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงาน สถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2555. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2555. ควบคุมมลพิษ, กรม, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. อันตรายจาก ซากโทรศัพท์มือถือ-แบตเตอรี่และแนวทางการจัดการในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ฮีซ,์ 2553. จางซูมนิ . หนูนอ้ ยนักคัดแยกขยะ. แปลและเรียบเรียงโดย กัญญารัตน์ วุฒวิ ฒ ั น์. กรุงเทพฯ: ดรีม พับลิชชิง, 2555. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, กรม, กระทรวงแรงงาน. คู่มือการคัดแยก

ขยะอันตรายในสำนักงาน. กรุงเทพฯ: รำไทยเพรส, 2554. สมไทย วงษ์เจริญ. คูม่ อื คัดแยกขยะประจำบ้าน. นนทบุร:ี วงษ์พาณิชย์ กรุป๊ , 2551. สิง่ แวดล้อม, สำนัก, กรุงเทพมหานคร. การคัดแยกขยะมูลฝอยและนำกลับมา ใช้ ใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2555. สิ่งแวดล้อม, สำนัก, กรุงเทพมหานคร. คู่มือการจัดการมูลฝอยอันตราย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป. สิ่งแวดล้อม, สำนัก, กรุงเทพมหานคร. ทางออก “สดใส” ของสิ่งเหลือใช้ “ขยะ”. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., 2555. สิง่ แวดล้อม, สำนัก, กรุงเทพมหานคร. รัก ชุมชน รักษ์สงิ่ แวดล้อม. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2554. 83


ภาคผนวก

ส่งขยะไปรีไซเคิลทีไ่ หนได้บา้ ง

• กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ขยะทัว่ ไป

ซาเล้ง ร้านรับซือ้ ของเก่า สถานีรไี ซเคิล หรือธนาคารขยะใกล้บา้ น หรือติดต่อเครือข่ายร้านรับซือ้ ขยะเพือ่ รีไซเคิลวงษ์พาณิชย์ (สำนักงานใหญ่ จ.พิษณุโลก) โทร. 0 5532 1555 (ตรวจสอบรายชือ่ ประเภทและราคากลางที่ www.wongpanit.com)

• หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดตรง

บ. ไทยโตชิบาไลท์ตงิ้ จำกัด โทร. 0 2501 1425-9 บ. ฟิลปิ ส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด โทร. 0 2652 8652 (เฉพาะลูกค้าทีส่ งั่ ซือ้ จำนวนมาก)

• แบตเตอรีอ่ ปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ถ่านชาร์จ (Li-ion และ Ni-MH) กล่องรับคืนซากแบตเตอรีแ่ ละถ่านชาร์จในห้างสรรพสินค้า กล่องรับรีไซเคิลของโครงการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรักษ์โลก (www.facebook.com/ChulaLovestheEarth)

แบ่งปัน ส่งต่อของไม่ใช้แล้ว ให้เพือ่ นร่วมสังคม

• ตลาดนัดสีเขียว

เครือข่ายตลาดสีเขียว โทร. 0 2222 5698, 0 2622 0955 (www.thaigreenmarket.com)

• โครงการ “คุณไม่ใช้เราขอ” มูลนิธสิ วนแก้ว

รับบริจาคสิง่ ของเพือ่ นำไปซ่อม ประกอบ หรือใช้ประโยชน์ตอ่ ติดต่อแผนกรับบริจาค โทร. 0 2595 1946

• โครงการ “คอมพิวเตอร์เพือ่ น้อง” มูลนิธกิ ระจกเงา

รับบริจาคคอมพิวเตอร์เก่าไม่ใช้แล้ว เพือ่ นำไปซ่อมแซม หรือประกอบใหม่จนใช้งานได้ แล้วส่งให้แก่โรงเรียนในท้องถิน่ ทุรกันดาร โทร. 0 2973 2237 ต่อ 112 (www.com4child.org)

• อะลูมเิ นียม

มูลนิธขิ าเทียม ในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รับทัง้ ห่วงเปิดกระป๋อง ตัวกระป๋อง และอะลูมเิ นียมทุกชนิด โทร. 0 2224 5764, 0 5311 2271-3

84 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

85


ศั พท์น่ารู้ ขอเสริมให้เพื่อน

• ขยะทัว่ ไป (General waste) ขยะประเภทอืน่ นอกเหนือจากขยะย่อยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย มีลกั ษณะทีย่ อ่ ยสลายยากและไม่คมุ้ ค่าสำหรับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

• ขยะย่อยสลาย (Compostable waste)

คือ ขยะทีเ่ น่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนำมาหมักทำปุย๋ ได้

• ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste)

คือ ขยะของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ได้ โดยการนำมาแปรรูปเป็นวัตถุดิบในขบวนการผลิตหรือใช้ สำหรับผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ • ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) คือ การลดปริมาณขยะทีจ่ ะทิง้ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ โดยยึดหลักทีว่ า่ “ขยะทุกชิน้ มีมลู ค่าทางเศรษฐกิจ สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้” • ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic waste หรือ E-waste) หรือซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (Waste Electrical and Electronic Equipment: WEEE) คื อ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เป็นที่ต้องการแล้ว ล้าสมัย หมดอายุการใช้งานแล้วและ

ไม่สามารถนำกลับมาใช้ซำ้ ได้อกี ต่อไป

• ขยะอันตราย หรือขยะพิษ (Hazardous waste)

คือ วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เสื่อมสภาพหรือภาชนะบรรจุต่าง ๆ ที่ม ี องค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ/สารอันตราย ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม 86 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน

• มลพิษ หรือมลภาวะ (Pollution)

คือ ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือ

สิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้นที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ใน

สิง่ แวดล้อมตามธรรมชาติ ซึง่ ก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ สิง่ แวดล้อม หรือภาวะทีเ่ ป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้

• ระบบนิเวศ (Ecosystem)

คือ ระบบความผูกพันของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ

จะประกอบด้วยสิง่ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ในพืน้ ทีเ่ ฉพาะแห่งทีต่ อ้ งพึง่ พากันและกัน

ตัง้ แต่หว่ งโซ่อาหาร การค้ำจุนชีวติ เช่น ระบบนิเวศป่าของป่าไม้ ระบบนิเวศของ ทะเล เป็นต้น

• สารกัดกร่อน (Corrosive)

คือ สารซึง่ มีปฏิกริ ยิ าทางเคมี ทีส่ ามารถเผาไหม้หรือทำลายผิวหนังเมือ่ สัมผัส และเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจจากการสูดดม ไอ และจากการกลืนกิน

• สารทีร่ ะเบิดได้ (Explosive)

คือ ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมี

ด้วยตัวมันเอง ทำให้เกิดก๊าซทีม่ คี วามดันและความร้อนอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิด การระเบิด สร้างความเสียหายแก่บริเวณโดยรอบได้

• สารมีพษิ (Poison)

คือ สารเคมีทเี่ ข้าสูร่ า่ งกาย หรือสัมผัสส่วนใดส่วนหนึง่ ของร่างกาย แม้เพียง จำนวนเล็กน้อย ก็ทำให้เกิดอันตรายต่ออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เป็นผลให้เกิด ความเสียหาย หรือถึงแก่ความตายได้

• สารไวไฟ (Flammable and combustible)

คือ วัตถุ/ของเหลวทีง่ า่ ยต่อการติดไฟและเผาไหม้ในทีท่ มี่ อี ากาศ

87


ISBN 978-616-272-087-1 พิมพ์ครัง้ แรก จำนวน 75,000 เล่ม ปีทพี่ มิ พ์ พ.ศ. 2556 ดำเนินการผลิตโดย สำนักสิง่ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 111 ถนนมิตรไมตรี ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2246 0301-2 www.bangkok.go.th/environment

88 คู่มือการคัดแยกขยะอันตราย

สำหรับเยาวชน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.