หนังสือสวดมนต์ วัดถ�้ำพระสบาย
ข
ค�ำอนุโมทนา
เนื่ อ งด้ ว ย โยมสุ ภ าพ เลิ ฟ แวล และคณะอุ บ าสก อุ บ าสิ ก า วัดถ�ำ้ พระสบาย ล�ำปาง ได้มจี ติ ศรัทธาทีจ่ ะบ�ำเพ็ญทานแสดงฉันทเจตนา ทีจ่ ะพิมพ์หนังสือ ท�ำวัตร-สวดมนต์ ประจ�ำวัดถ�ำ้ พระสบาย เพือ่ เผยแพร่ ให้เป็นประโยชน์กว้างขวางออกไป แก่พุทธศาสนิกชนผู้ใคร่ในการสวด สาธยาย อันเป็นเครื่องน�ำพาไปสู่ความสงบทางด้านจิตใจไปตามล�ำดับ ถึงขั้นจิตเป็นสมาธิ ใครก็ตามทีม่ ที รัพย์แล้วใช้ทรัพย์นนั้ ให้เป็นประโยชน์ทงั้ แก่ตนเอง และบุคคลอืน่ เขาย่อมชือ่ ว่าเป็นบัณฑิตโดยแท้ เพราะคนเช่นนีน้ อกจาก มีทรัพย์ภายในคือ บุญกุศลที่ตนได้บ�ำเพ็ญแล้ว และคนที่มีอริยทรัพย์ ถึงแม้วา่ ทรัพย์ภายนอกจะมีนอ้ ย แต่ไม่ชอื่ ว่าเป็นคนจนเพราะเขาไม่จนใจ ดังทีพ ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ในอริยทรัพย์ ๗ ว่า ทรัพย์คอื ศรัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ ศีล รักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย หิริ ความละอายต่อบาปทุจริต โอตัปปะ สะดุ้งกลัวต่อบาป พาหุสัจจะ ความเป็นคนเคยได้ยนิ ได้ฟงั มามาก คือ ทรงจ�ำธรรม และรูศ้ ลิ ปวิทยามาก จาคะ สละให้เป็นสิ่งของ ปัญญา รอบรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ สิ่งเหล่านี้มีแก่ผู้ใด จะเป็นหญิงหรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียกผู้นั้น ว่าเป็นผู้ไม่ยากจน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ ขอให้ทา่ นผูม้ ศี รัทธาในการบ�ำเพ็ญบุญกุศลในคราวครัง้ นีจ้ งสัมฤทธิ์ ผลด้วยประโยชน์สขุ และเจริญงอกงามในสัมมาปฏิบตั สิ บื ต่อไป
พระครูนันทธรรมสุนทร เจ้าอาวาสวัดถ�้ำพระสบาย มีนาคม 2556
ค�ำน�ำ
ค
การท�ำวัตรสวดมนต์ที่วัดถ�้ำพระสบายได้มีทุกวันเป็นประจ�ำ เสมอมา นับเป็นเวลานาน ได้มีศาสนิกชนผู้ได้เห็นคุณค่าของการ สวดมนต์เป็นจ�ำนวนไม่นอ้ ยมาร่วมสวดมนต์ ฟังธรรม และปฏิบตั ธิ รรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันธรรมสวนะ และช่วงเข้าพรรษา ข้ าพเจ้ า ได้ทราบมาว่ า หนั ง สือ สวดมนต์ มีไ ม่ เ พีย งพอ และ ศิษยานุศษิ ย์ของทางวัดอยากจะพิมพ์หนังสือเพิม่ ขึน้ ข้าพเจ้าจึงได้รบั อาสาจัดท�ำให้ โดยได้ขออนุญาตจากท่านเจ้าอาวาส (พระครูนันทธรรมสุนทร) ซึ่งท่านก็ขออนุโมทนาและเห็นชอบด้วย ข้าพเจ้าได้รับความเมตตาจากท่านพระครูนันทธรรมสุนทร ได้แก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม บทสวดมนต์ต่างๆ ให้สมบูรณ์ขึ้น ขออานิสงส์ผลบุญอันยิ่งใหญ่นี้ ข้าพเจ้าและผู้ร่วมบุญขอถวาย เป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา และขออุทิศให้กับพ่อแม่พี่น้อง ผู้วายชนม์ และเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย และสรรพสัตว์ทั้งหลายที่มี ทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายใน วัดถ�้ำพระสบาย จงดลบันดาลให้ผู้ร่วมบุญทุกท่านจงประสพแต่ ความสุข ความเจริญ มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ ตลอดจนเจริญ ก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรม เพื่อบรรลุ มรรค ผล นิพพาน ด้วยเทอญ
ผู้ด�ำเนินการจัดพิมพ์ สุภาพ จิตราทร เลิฟแวล มีนาคม 2556
ง
ขาพเจาตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้แผไปใหไพศาล ถึงมารดาบิดาและอาจารย ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน ทั้งเจากรรมนายเวรและเทวัญ ขอใหทานไดกุศลผลนี้ เทอญ
เจาภาพผูจัดพิมพ
พระครูภาวนา ทัศนวิสุทธิ
หลวงปู่แว่น ธนปาโล
ถ�้ำพระสบาย อ�ำเภอแม่ทะ จังหวัดล�ำปาง
จ
ฉ
ประวัติ พระครูภาวนาทัศนวิสุทธิ (หลวงปู่แว่น ธนปาโล)
หลวงปู่แว่น ธนปาโล ท่านเป็นศิษย์ของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต อีกองค์หนึ่งที่มีจริยาวัตรที่เรียบร้อย งดงาม เสมอต้นเสมอปลาย ตลอดชีวิตที่ท่านด�ำรงตนอยู่ในสมณเพศ ท่านอยู่ด้วยความสันโดษ มักน้อยและเรียบง่าย หนักแน่น ในธุดงควัตร ชอบอยู่ในที่สงบสงัด ของป่าเขาล�ำเนาไพร เพื่อปลีกตัวหาความวิเวกในการเจริญภาวนา ด้ ว ยปฏิ ป ทาเครื่ อ งด� ำ เนิ น ที่ เ คร่ ง ครั ด ละเอี ย ดลออ ในด้ า น พระธรรมวิ นั ย ที่ ถู ก ต้ อ งแม่ น ย� ำ และงดงามบนเส้ น ทางธรรมของ หลวงปู่ที่ผ่านมานี้ จึงท�ำให้กิตติศัพท์ของท่านฟุ้งขจรไปทั่วทุกสารทิศ ก่ อ ให้ เ กิ ด ศรั ท ธาปสาทะ ความเชื่ อ ถื อ และความเลื่ อ มใสของ พุทธศาสนิกชนอย่างกว้างไกล จวบจนทุกวันนี้
ชาติภูมิ หลวงปู่แว่น ธนปาโล เกิดในสกุลทุมกิจจะ บิดาชื่อ นายวันดี มารดานางค�ำไพ และในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ อายุ ๑๘ ปี ได้บรรพชาเป็น สามเณรกับพระอุปัชฌาย์ ชื่อพระอาจารย์สีทอง พันธุโล สังกัด มหานิกาย ๑ พรรษา ที่วัดศรีรัตนาราม แล้วติดตามออกธุดงค์ไปกับ หลวงปูส่ มิ พุทธาจาโร ไปยังส�ำนักสงฆ์โคกป่าเหล่างา จังหวัดขอนแก่น เพื่อฝึกหัดปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม พ.ศ.๒๔๗๓ ได้แปรญัตติเป็นสามเณร สังกัดธรรมยุตินิกาย โดยมีหลวงปูส่ งิ ห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระอุปชั ฌาย์ เมือ่ วันที่ ๑ มิถนุ ายน
ช พ.ศ.๒๔๗๓ ณ วัดศรีจนั ทราวาส ต.พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแก่น และ กลับไปจ�ำพรรษากับหลวงปู่สิงห์ และหลวงปู่สิม ที่เสนาสนะป่าช้า บ้านโคกเหล่างา (วัดป่าวิเวกธรรม) อ.เมือง จ.ขอนแก่น พ.ศ. ๒๔๗๔ เมือ่ อายุ ๒๑ ปี หลวงปูส่ มิ ไปพาหลวงปูแ่ ว่นกลับมา คั ด เลื อ กทหารที่ บ ้ า นเกิ ด และอุ ป สมบทเมื่ อ วั น ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๔ ณ พัทธสีมา วัดเทพประดิษฐาราม อ.เมือง จ.นครพนม โดยมี พระสารภาณมุนี (หลวงปู่จันทร์ เขมิโย) เจ้าคณะจังหวัด นครพนม เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ฉายาว่า ธนปาโล แปลว่า ผู้รักษา ทรัพย์ และได้มาจ�ำพรรษากับหลวงปู่เกิ่ง อธิมตฺตโก วัดโพธิ์ชัย บ้านสามผง อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม เป็นเวลา ๕ พรรษา หลวงปูแ่ ว่นได้รบั ค�ำแนะน�ำหลักการปฏิบตั กิ รรมฐานเพิม่ ขึน้ จาก หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล, หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และท่านพ่อลี ธมฺมธโร เป็นล�ำดับ หลวงปู่ได้ออกปฏิบัติธรรมเร่งความเพียรโดยไม่ท้อถอย ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ (พรรษา ที่ ๑๓) ท่านได้พบหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต ที่วัดป่าวารินทร์ (วัดแสนส�ำราญ) อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ หลวงปู่แว่นได้เดินทางไปบ�ำเพ็ญภาวนากับ หลวงปู่สิม พุทธาจาโร ที่วัดป่าบ้านกาด อ.สันก�ำแพง (วัดโรงธรรม สามัคคี) จ.เชียงใหม่ หลังจากนัน้ หลวงปูแ่ ว่นได้เดินธุดงค์ไป อ.จอมทอง และได้จ�ำพรรษาที่ถ�้ำพระธรรม อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปู่แว่นพ�ำนักอยู่ที่ส�ำนักสงฆ์โรงธรรม สามัคคีกับหลวงปู่สิม ชาวอ�ำเภอเกาะคา จ.ล�ำปาง ได้ไปนิมนต์ท่าน ให้มาพ�ำนักอยู่ที่วัดโรงน�้ำตาล (วัดป่าส�ำราญนิวาส) และท่านได้อยู่ จ�ำพรรษาถึง ๕ พรรษา คณะศรัทธาญาติโยมเลือ่ มใสมารับการอบรม วิปสั สนากรรมฐานเป็นจ�ำนวนมาก และหลวงปูแ่ ว่นเป็นผูจ้ ดุ ประกาย ให้มีวัดป่าวงศ์ธรรมยุติที่เป็นวัดปฏิบัติธรรมเกิดขึ้นในจังหวัดล�ำปาง
ซ วันหนึง่ หลวงปูไ่ ด้นมิ ติ เห็นดอยลูกหนึง่ เห็นรูปทรงเจดียอ์ ยูไ่ ม่ไกลจาก วัดป่าส�ำราญนิวาส ท่านจึงออกส�ำรวจ และพบเจอสถานที่ตรงตาม นิมิต ซึ่งชาวบ้านเรียกดอยน�้ำขุม และมีถ�้ำหลายถ�้ำ แต่มีถ�้ำใหญ่ ถ�้ ำ หนึ่ ง ที่ อ ากาศปลอดโปร่ ง เย็ น สบาย ชาวบ้ า นเรี ย ก ถ�้ ำ แกเก๊ า (นกเค้า) หลังจากนั้นหลวงปู่จึงบูรณะตกแต่งสถานที่แห่งนี้เป็นที่ ปฏิบัติธรรม ต่อมาหลวงปู่สิม พุทธาจาโร มาเยี่ยมสถานที่แห่งนี้ หลวงปู่สิมจึงตั้งชื่อใหม่ว่า “ถ�้ำพระสบาย” ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ หลวงปูแ่ ว่นกลับไปจ�ำพรรษาทีว่ ดั สันติสงั ฆาราม วัดทีบ่ า้ นเกิดทีโ่ ยมมารดาได้ถวายทีด่ นิ ให้สร้างวัดดังกล่าวให้หลวงปูส่ มิ เพื่ อ สร้ า งวั ด ป่ า เพื่ อ โปรดโยมมารดาและชาวบ้ า นบั ว อยู ่ จ นถึ ง ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ โยมมารดาถึงแก่กรรมแล้วจึงธุดงค์ไปที่อื่น และแวะ มาภาวนาที่ถ�้ำพระสบายในปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ตั้งใจว่าจะอยู่จ�ำพรรษาที่ ถ�้ำพระสบาย ชาวคณะบ้านบัวได้มานิมนต์ให้กลับไปจ�ำพรรษาที่วัด สันติสังฆาราม ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๑๐ หลวงปู่แว่นได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอ หลวงปู่แว่นได้จ�ำพรรษา ณ วัดป่าสุทธาวาสถึง ๑๓ พรรษา และท่าน ก็ได้ดูแลควบคุมการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์บริขารหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลั ง จากนั้ น ท่ า นจึ ง ลาออกจากเจ้ า คณะอ� ำ เภอและเจ้ า อาวาส วัดป่าสุทธาวาส และกลับมาจ�ำพรรษาที่วัดบ้านเกิดอีก ๑ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ พรรษาที่ ๕๐ หลวงปูจ่ ึงกลับมาจ�ำพรรษาและ พัฒนาถ�ำ้ พระสบาย หนองถ้อย ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ล�ำปาง จนเจริญ รุ่งเรืองสืบมาจนทุกวันนี้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ที่พระครู ภาวนาทัศนวิสุทธิ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
ฌ หลวงปูแ่ ว่นท่านเป็นพระสุปฏิปนั โนทีเ่ คร่งครัดในพระธรรมวินยั และการปฏิบัติสมาธิวิปัสสนา หลวงปู่ได้อบรมพร�่ำสอนพระภิกษุ สามเณร อุบาสก-อุบาสิกา มิได้ขาด จวบจนวาระที่ท่านละสังขาร เมื่อวันที่ ๘ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ สิริรวมอายุได้ ๘๘ ปี ๘ เดือน ๖๘ พรรษา
ญ
สารบัญ
ค�ำขอขมาโทษต่อท่านผู้ควรเคารพ ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย (ระตะนัตตะเย....) ค�ำขอขมาพระเถระ (เถเร...........) ค�ำขอขมาพระอุปัชฌาย์ (อุปัชฌาเย.....) ค�ำขอขมาพระอาจารย์ (อาจาริเย....) ค�ำขอขมาพระสงฆ์ (สังเฆ.....) ค�ำขอขมาบุคคลทั่วไป (อายัสมันเต....) ค�ำนมัสการพระบรมธาตุ (วันทามิ ภันเต เจติยัง.....) ค�ำไหว้พระ (แปล) ค�ำท�ำวัตรเช้า ปุพพะภาคะนะมะการ (นะโม ตัสสะ......) พุทธาภิถุติง (โยโสตะถาคะโต.....) ธัมมาภิถุติง (โยโส สวากขาโต.....) สังฆาภิถุติง (โยโส สุปะฏิปันโน....) ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา (พุทโธ สุสุทโธ....) สังเวควัตถุ ปะริทีปะกะปาฐะ (อิธะ ตะถาคะโต...) ค�ำท�ำวัตรเย็น พุทธานุสสะติ (ตังโข ปะนะ...) พุทธาภิคีติ (พุทธวาระหัน....) ธัมมานุสสติ (สวากขาโต...) ธัมมาภิคีติ (สวากขาตะตาหิคุณะ...) สังฆานุสสติ (สุปะฏิปันโน....) สังฆาภิคีติ (สัทธัมมะโช....)
หน้า ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๔ ๕ ๕ ๕ ๖ ๖ ๗ ๘ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๑๒ ๑๓
ฎ
มนต์พิธี ชุมนุมเทวดา (สะมันตา...) ๑๔ สะระนะคะมะนะปาฐะ (พุทธัง สะระนัง....) ๑๕ สัจจะกิริยะคาถา (นัตถิ เม....) ๑๖ มหาการุณิโกนาโถอาทิคาถา (มหาการุณิโก นาโถ...) ๑๗ เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริทีปิกาคาถา (พาหุง เว....) ๑๗ ปัพพะโตปะมะคาถา (ยะถาปิ เสลา....) ๑๘ อะริยะธะนะคาถา (ยัสสะ สัทธา....) ๑๘ นะมะสิทธิคาถา (โย จักขุมา...) ๑๙ สัมพุทเธ (พระอรหันต์ ๘ ทิศ) (สัมพุทเธ...) ๒๐ นะโมการะอัฏฐะกะ (นะโม ๘.....) ๒๐ มังคะละสุตตัง (อะเสวะนา....) ๒๑ ระตะนะสุตตัง (ยานีธะ ภูตานิ...) ๒๒ กะระณียะเมตตะสุตตัง (กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ) ๒๖ ขันธะปะริตตัง (วิรูปักเข) ๒๘ โมระปะริตตัง (อุเทตะ) ๒๙ วัฏฏะกะปะริตตัง (อัตถิ โลเก) ๓๐ อาฏานาฏิยะปะริตตัง (วิปัสสิสสะ) ๓๑ อังคุลิมาละปะริตตัง (ยะโตหัง) ๓๕ โพชฌังคะปะริตตัง (โพชฌังโค) ๓๕ อะภะยะปะริตตัง (ยันทุนนิมิตตัง) ๓๖ เทวะตาอุยโยชะนะคาถา (ทุกขัปปัตตา....) ๓๗ (ภะวะตุสัพ) (นักขัตตะยักขะ...)
ฏ พระสูตร ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง (เทวะเม ภิกขะเว) อะนัตตะลักขะณะสุตตัง (รูปัง ภิกขะเว) อาทิตตะปะริยายะสุตตัง (สัพพัง ภิกขะเว) มหาสะมะยะสุตตะ (สักเกสุ วิหะระติ) ทิพย์มนต์ หรือสวดธาตุ (พุทธัง อายุวัฑฒะนัง...) พระคาถาชินบัญชร (ชะยาสะนากะตา....) บารมี ๓๐ ทัศ (ทานะปาระมี...) ชัยมังคะละคาถา (ชัยยะน้อย) (นะโมเม......) มาติกา ธัมมะสังคิณีมาติกาปาฐะ (กุสะลา ธัมมา...) วิปัสสะนาภูมิปาฐะ (ปัญจักขันธา...) พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ พระสังคิณี (กุสะลา ธัมมา...) พระวิภังค์ (ปัญจักขันธา...) พระธาตุกะถา (สังคะโห...) พระปุคคะละปัญญัตติ (ฉะ ปัญญัตติโย...) พระกะถาวัตถุ (ปุคคะโล...) พระยะมะกะ (เย เกจิ กุสะลา ธัมมา...) พระมหาปัฏฐาน (เหตุปัจจะโย...) บังสุกุลตาย บังสุกุลเป็น อุณหิสสะวิชะยะคาถา (อัตถิ อุณณะหิสสะวิชะโย...) ธัมมะนิยามะสุตตัง (เอวัมเม สุตัง...)
๓๙ ๔๕ ๔๙ ๕๒ ๖๒ ๖๔ ๖๖ ๖๗ ๗๐ ๗๒ ๗๔ ๗๔ ๗๔ ๗๔ ๗๕ ๗๕ ๗๕ ๗๖ ๗๖ ๗๖ ๗๗ ๗๘
ฐ ติลักขะณาทิคาถา (สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ...) ๗๙ พระวินัย (ยันเตนะ...) ๘๐ ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐะ (ปะฏิสังขา...) ๘๑ อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐะ (อัชชะ มะยา...) ๘๒ ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะปาฐะ(ยะถาปัจจะยัง...) ๘๓ กายะคะตาสติภาวนา (อะยังโข เม กาโย...) ๘๔ อะภิณหะปัจจะเวกขะณะ (ชะราธัมโมมหิ...) ๘๕ ทะสะธรรม (แปล) (เววัณณิยัมหิ...) ๘๖ สีลุทเทสะปาฐะ (ภาสิตะ มิทัง...) ๘๗ ตายะนะคาถา (ฉินทะ โสตัง...) ๘๘ โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาโฐ (อุททิฏฐัง...) ๘๘ ปัตติทานะคาถา (ยา เทวะตา...) ๘๙ เจริญพรหมวิหาร (อะหัง สุขิโต โหมิ..) ๙๐ ค�ำแผ่เมตตาอุทิศส่วนกุศล (สัพเพ สัตตา...) ๙๐ ถวายพรพระ (อิติปิโส, พาหุง..) ๙๑ ชะยะปะริตตัง (มะหาการุณิโก นาโถ...) ๙๔ (ชะยันโต...) ๙๔ (โส อัตถะลัทโธ) ๙๔ อนุโมทนาวิธี (ยะถา, สัพพีติโย...) ๙๕ มงคลจักรวาลน้อย (สัพพะพุทธานุภาเวนะ...) ๙๖ มงคลจักรวาลใหญ่ (สิริธิติมะติเตโช...) ๙๖ อาทิยะสุตตะคาถา (ภุตตา โภคา...) ๙๗ วิหาระทานะคาถา (สีตัง อุณหัง...) ๙๘ โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา (อายุโท...) ๙๘ อาฏานาฏิยะปะริตตัง (ย่อ) (สัพพะโรคะวินิมุตโต...) ๙๙
ฑ เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา (ยัสมิง ปะเทเส...) ๙๙ มงคลจักรวาลน้อย (ย่อ) (ระตะนัตตะยานุภาเวนะ...) ๑๐๐ เกณิยานุโมทะนาคาถา (อัคคิหุตตัง...) ๑๐๐ กาละทานะสุตตะคาถา (กาเล ทะทันติ...) ๑๐๑ ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาค (อะทาสิ เม...) ๑๐๑ อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา (อัคคะโต เว...) ๑๐๒ ค�ำกรวดน�้ำ (อิมินา...) ๑๐๒ สัพพปัตติทานคาถา (แปล) (ปุญญัสสิทานิ...) ๑๐๓ อนุโมทนารัมภะคาถา (แปล) (ยะถา วาริวะหา...) ๑๐๕ สามัญญานุโมทนาคาถา (แปล) (สัพพีตีโย...) ๑๐๖ ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาค (แปล)(อะทาสิ เม...) ๑๐๘ อัคคัปปะสาทะสุตตะ คาถา (แปล) (อัคคะโต เว...) ๑๐๙ ทานานุโมทนาคาถา (แปล) (อันนัง ปานัง...) ๑๑๐ ภะวันตุสัพ (ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง...) ๑๑๑ ปัจฉิมโมทนาคาถา (โหตุ สัพพัง...) ๑๑๒ ศาสนพิธีส�ำหรับพระภิกษุ-สามเณร ศาสนพิธีส�ำหรับอุบาสก-อุบาสิกา บรรพชาอุปสมบทพิธี ค�ำอาราธนาศีล ๕ ๑๔๐ ศีล ๕ ค�ำอาราธนาศีล ๘ ๑๔๐ ศีล ๘ ค�ำอาราธนาอุโบสถศีล ๑๔๐ อุโบสถศีล ค�ำอาราธนาธรรม ๑๔๕
ค�ำอาราธนาพระปริตร วันมาฆบูชา ค�ำบูชาในวันมาฆะปุณณะมี และค�ำแปล วันวิสาขบูชา ค�ำบูชาในวันวิสาขะปุณณะมี และค�ำแปล วันอาสาฬหบูชา ค�ำบูชาในวันอาสาฬหะปุณณะมี และค�ำแปล ค�ำถวายสังฆทาน ค�ำถวายสังฆทาน (เพื่ออุทิศผู้ตาย) ค�ำถวายเทียนเข้าพรรษา ค�ำถวายผ้าป่า ค�ำถวายพระพุทธรูป ค�ำถวายผ้าอาบน�้ำฝน ค�ำถวายผ้าไตรจีวร ค�ำถวายผ้ากฐิน
ฒ ๑๔๖ ๑๔๗ ๑๕๐ ๑๕๒ ๑๕๕ ๑๕๕ ๑๕๖ ๑๕๖ ๑๕๗ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๕๘
ณ
อานิสงส์ของบทสวดมนต์พระปริตร
ค�ำว่า ปริตร มีความหมายว่า ความต้านทาน, เครื่องคุ้มครอง ป้องกัน เมตตปริตร การเจริญเมตตา, สวดแล้วท�ำให้หลับเป็นสุข, ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย, เป็นที่รักของมนุษย์ ไม่ หลงสติขณะสิ้นชีวิต ขันธปริตร สวดแล้วป้องกันภัยจากอสรพิษ และสัตว์รา้ ยอืน่ ๆ โมรปริตร สวดแล้ ว พิ ทั ก ษ์ คุ ้ ม ครอง ป้ อ งกั น ภั ย จาก ผู้คิดร้ายได้, แคล้วคลาดจากภยันตรายต่างๆ อาฏานาฏิยปริตร สวดแล้วป้องกันภัยจากอมนุษย์ได้ ท�ำให้มี สุขภาพดีและมีความสุข โพชฌังคปริตร สวดแล้วท�ำให้มีสุขภาพดี, หายจากเจ็บไข้ได้ ป่วย ท�ำให้อายุยืน อภยปริตร เคราะห์ร้ายพินาศไป, ไม่มีภัย, ไม่ฝันร้าย ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร ในสมั ย พุ ท ธกาลท� ำ ให้ โ กณฑั ญ ญะมี ดวงตาเห็นธรรม อนัตตลักขณะสูตร ท�ำให้พระปัญจวัคคีย์สิ้นอาสวะ อาทิตตปริยายะสูตร ท�ำให้ภิกษุหนึ่งพันรูปพ้นอาสวะ รัตนปริตร สวดก�ำจัดภยันตรายได้ แล้วท�ำให้ได้รับความ สวัสดี, สงบสุข วัฏฏกปริตร สวดแล้วท�ำให้ผ่านพ้นจากอัคคีภัย มงคลปริตร สวดแล้วท�ำให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต ฯลฯ และ ปราศจากอันตราย ธชัคคปริตร ท� ำ ให้ พ ้ น จากอุ ป สรรคอั น ตราย, และการ ตกจากที่สูง
ด
อานุภาพของการสวดมนต์พระปริตรมีอานุภาพมาก ผู้สวดถึงพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ:๑) มีเมตตาจิตมุ่งประโยชน์แก่ผู้ฟัง ๒) สวดถูกอักษร ๓) รู้ความหมายของบทสวด
แม้ผู้ฟังพระปริตรก็ต้องมีองค์ ๓ คือ:-
๑) ไม่เคยท�ำ อนันตริยกรรม ๕ (ฆ่าบิดา, มารดา, ฆ่าพระอรหันต์ ประทุษร้ายนางภิกษุณีและสังฆเภท) ๒) ไม่มีมิจฉาทิฐิที่เห็นผิดว่ากรรมและผลกรรมไม่มี ๓) เชื่อมั่นในอานุภาพของพระปริตรว่ามีจริง สามารถคุ้มครอง ผู้สวดและผู้ฟังได้
อานิสงส์ของการสวดมนต์ ๑. ไล่ความขี้เกียจ ขณะสวดมนต์ อารมณ์เบื่อ เซื่องซึม ง่วงนอน เกียจคร้านจะหมดไป เกิดความแช่มชื่นกระฉับกระเฉงขึ้น ๒. ตัดความเห็นแก่ตัว เพราะขณะนั้นอารมณ์ของเราไปหน่วงอยู่ที่ การสวด ไม่ได้คิดถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิได้กล�้ำกราย เข้าสู่วาระจิต ๓. ได้ปญ ั ญา การสวดมนต์โดยรูค้ ำ� แปล รูค้ วามหมาย ย่อมท�ำให้ผสู้ วด ได้ปัญญาความรู้ ๔. จิตเป็นสมาธิ เพราะขณะนั้นผู้สวดต้องส�ำรวมใจแน่วแน่ มิฉะนั้น จะสวดผิด เมื่อจิตเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเย็นในจิตจะเกิดขึ้น ๕. ได้เฝ้าพระพุทธเจ้า เพราะขณะนั้นผู้สวดมีกาย วาจาปกติ (มีศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรูร้ ะลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มีปญ ั ญา) เท่ากับได้เฝ้าพระองค์ดว้ ยการปฏิบตั บิ ชู า ครบไตรสิกขา อย่างแท้จริง
ระเบียบ ค�ำขอขมาโทษต่อท่านผู้ควรเคารพ
1
ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย
ระตะนั ต ตะเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตั ง สั พ พั ง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
ค�ำขอขมาพระเถระ
เถเร ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
ค�ำขอขมาพระอุปัชฌาย์
อุปชั ฌาเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
ค�ำขอขมาพระอาจารย์
อาจาริเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
ค�ำขอขมาพระสงฆ์
สังเฆ ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
ค�ำขอขมาบุคคลทั่วไป
อายัสมันเต ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
2
ค�ำขอขมาโทษพระรัตนตรัย
ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ, ทะวารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราทัง ขะมะตุ โน ภันเต.
ค�ำช�ำระศีลของตนให้บริสุทธิ์
ปาริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปาริสุทโธ ติมัง พุทโธ ธัมโม สังโฆ ธาเรตุ.
ค�ำนมัสการพระบรมธาตุพระอรหันตธาตุ และพระพุทธรูป
วันทามิ ภันเต เจติยัง, สัพพัง สัพพัตถะ ฐาเน, สุปะติฏฐิตัง สารีรัง กะธาตุง, มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สักการัตถัง, อะหัง วันทามิ ธาตุโย, อะหัง วันทามิ สัพพะโส, อิจเจตัง รัตตะนัตตะยัง, อะหัง วันทามิ สัพพะทา. พุทธปูชามะหาเตชะวันโต, ข้าพเจ้าขอถวายบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, ผู้มีเดชศักดานุภาพอันยิ่งใหญ่, ล่วงเสียซึ่งอ�ำนาจของ เทวดาและมนุ ษ ย์ ทั้ ง หลาย, ข้ า พเจ้ า ขอถวายบู ช าพระสั ม มาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น, เพราะเหตุนั้นการบูชาพระพุทธเจ้า, จึงเป็น เหตุน�ำมาซึ่งเดชานุภาพอันยิ่งใหญ่, พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึง พระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึกของข้าพเจ้าตลอดไป, จนกว่า จะบรรลุได้อาสะวักขะยะญาณนั้นเทอญฯ ธั ม มะปู ช า มะหั ป ปั ญ โญ, ข้า พเจ้ า ขอถวายบู ช าพระธรรม ค�ำสัง่ สอน, ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, อันเป็นบ่อเกิดแห่งสติปญ ั ญา, ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย, ข้ า พเจ้ า ขอถวายบู ช าพระธรรม
3 เหล่านั้น, เพราะเหตุนั้นการบูชาพระธรรม, จึงเป็นเหตุน�ำมาซึ่ง สติปัญญาอันยิ่งใหญ่, ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึง พระธรรมเจ้า, ว่าเป็นสรณะทีพ ่ งึ่ ทีร่ ะลึกของข้าพเจ้าตลอดไป, จนกว่า จะบรรลุได้อาสะวักขะยะญาณนั้นเทอญฯ สังฆะปูชา มะหาโภคาวะโห, ข้าพเจ้าขอถวายบูชาพระสงฆ์ สาวก, ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, ผู้ปฏิบัติชอบแล้วด้วยกาย วาจา ใจ, และเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งทรัพย์ทั้งหลายมีอริยทรัพย์เป็นต้น, ข้าพเจ้า ขอถวายบูชาพระสงฆ์หมูน่ นั้ , เพราะเหตุนนั้ การบูชาพระสงฆ์, จึงเป็น เหตุนำ� มาซึง่ โภคทรัพย์สมบัตอิ นั ยิง่ ใหญ่, สังฆัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ, ข้าพเจ้าขอถึงพระสังฆเจ้า, ว่าเป็นสรณะที่พึ่ง ที่ระลึกของข้าพเจ้าตลอดไป, จนกว่าจะบรรลุได้อาสะวักขะยะญาณ นั้นเทอญฯ.
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ผู้ท�ำกรรมดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ท�ำกรรมชั่ว ย่อมได้รับผลชั่ว
4
ค�ำไหว้พระแปล
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาค ซึ่งเป็นที่พึ่ง ที่นับถือของเราทั้งหลาย, พระองค์เป็นอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเองแล้ว, ละกิเลส ขาดจากสันดานกับทัง้ วาสนา เป็นผูไ้ ม่หลงมีความไม่หลงเป็น ธรรมดา, ตรัสรู้อริยสัจสี่ แจ้งประจักษ์โดยล�ำพังพระองค์, ตรัสรู้ชอบ ไม่วปิ ริต สอนผูอ้ นื่ ให้ตรัสรูไ้ ด้ดว้ ย, เราทัง้ หลายขอนมัสการกราบไหว้ พระผู ้ มี พ ระภาคพุ ท ธเจ้ า อะระหั ง สั ม มาสั ม พุ ท โธ พระองค์ นั้ น มีพระสถูปและพระพุทธรูปนีเ้ ป็นพยาน, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบลงหนึ่งครั้ง) สะวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม, ธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้า กล่าวดีแล้ว, แสดงหนทางอันดับกิเลสและกองทุกข์ ให้ผู้ปฏิบัติตาม ถึงความสิ้นทุกข์ได้โดยชอบ, เราทั้งหลายขอนมัสการธรรมที่พระผู้มี พระภาคเจ้ากล่าวดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบลงหนึ่งครั้ง) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสั งโฆ, หมู ่ ส งฆ์ ส าวกของ พระผู้มีพระภาคปฏิบัติดีแล้ว ได้ปัญญาตรัสรู้อริยสัจสี่ ท�ำกิเลส ในสันดานให้สนิ้ ไป, ตามก�ำลังอริยมรรคทีใ่ ห้เกิดขึน้ แล้วในสันดานตน, ความละกิเลสได้จริงเป็นการปฏิบัติชอบแท้ เราทั้งหลายขอนอบน้อม หมู่สงฆ์สาวก, ที่พระผู้มีพระภาคสอนให้ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ (กราบลงหนึ่งครั้ง) อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเป็นหนี้ เป็นทุกข์ในโลก
ท�ำวัตรเช้า
5
ปุพพะภาคะนะมะการ (ผูน้ ำ� กล่าว) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะ การัง กะโรมะ เส นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
พุทธาภิถุติ (ผู้น�ำกล่าว) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส (รับ) โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมงั โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะพรัหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจจิกัตตะวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลละยาณัง มัชเฌกัลละยาณัง ปะริโยสานะกัลละยาณัง, สาตถัง สัพพะยัญชะนัง, เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิฯ. (กราบร�ำลึกถึงพระพุทธคุณ)
6
ธัมมาภิถุติ
(ผู้น�ำกล่าว) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เสฯ โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตพ ั โพ วิญญูห,ิ ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. (กราบร�ำลึกถึงพระธรรมคุณ)
สังฆาภิถุติ
(ผู้น�ำกล่าว) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส (รับ) โย โส สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามี จิ ป ะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, ยะทิ ทั ง จั ต ตาริ ปุริสะยุคคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. (กราบร�ำลึกถึงพระสังฆคุณ) (นั่งพับเพียบ)
นิสมฺม กรณํ เสยฺโย คิดให้รอบคอบก่อนแล้วจึงท�ำดีกว่า
ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา
7
(ผูน้ ำ� กล่าว) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุ ปะริทีปะกะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เส ฯ พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก วันทามิ พุทธัง อะหะมะทะเรนะ ตัง ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต โย ทิฏฐะสันโตสุคะตานุโพธะโก โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา, มาโหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา ฯ ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารี ธรรมะย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม
8
สังเวควัตถุปะริทีปะกะปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, สัมโพธะคามี สุคะตัปปะ เวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุตตะวา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุ ปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุ ก ขา, เสยยะถี ทั ง , รู ปู ป าทานั ก ขั น โธ, เวทะนู ป าทานั ก ขั น โท, สัญญูปาทานักขันโธ, สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาญูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี, พะหุลา ปะวัตตะติ, รูปงั อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา, สัพเพสังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต (ตา-หญิง) มะยัง, โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา, อัปเปวะนามิ มัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ, จิ ร ะปะริ นิ พ พุ ตั ม ปิ ตั ง ภะคะวั น ตั ง อุ ท ทิ ส สะ อะระหั น ตั ง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา อะคารัสมา อะนะคาริยงั ปัพพะชิตา, ตัสมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยงั จะรามะ, ภิกขูนงั สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตัง โน พรัหมะจะริยงั อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตุ.
9 (สามเณรสวดพึงลบค�ำว่า ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา ทีข่ ดี เส้นใต้ออกเสีย ส�ำหรับคฤหัสถ์ สวดตัง้ แต่ อิธะ ตะถาคะโต จนถึง ปัญญาเยถาติ แล้วสวดดังนี้ จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ, สา สา โน ปะฏิปัตติ, อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. อนึ่งถ้าสตรีสวด เต มะยัง นั้น ให้แปลงเป็น ตา มะยัง บทว่า ปะรินิพพานิโก มีในฉบับ สีหฬ เป็น ปะรินิพพายิโก เป็นฉะนี้ทุกแห่ง)
มาตาปิตุอุปฏฐานํ การเลี้ยงดูมารดาบิดาเป็นมงคลสูงสุด
10
ค�ำท�ำวัตรเย็น
(ค�ำบูชาพระรัตนตรัย และปุพพะภาคะนะมะการ ให้ใช้เหมือนท�ำวัตรเช้า) พุทธานุสสะติ (ผู้น�ำกล่าว) หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. ตั ง โข ปะนะ ภะคะวั น ตั ง เอวั ง กั ล ละยาโณ กิ ต ติ สั ท โท อัพภุคคะโต, อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชา จะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ, ภะคะวาติ.
พุทธาภิคีติ (น�ำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับพร้อมกัน) พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง. พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (หมอบกราบลงว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.
ธัมมานุสสติ
11
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (รับพร้อมกัน) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก, อะกาลิโก, เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก, ปัตจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
ธัมมาภิคีติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับพร้อมกัน) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง. ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร
12 ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (หมอบกราบลงว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.
สังฆานุสสติ (น�ำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส. (รับพร้อมกัน) สุ ป ะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, สามี จิ ป ะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
สังฆาภิคีติ
(น�ำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส. (รับพร้อมกัน) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต, โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง. สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. (หมอบกราบลงว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. (จบแล้วพึงนั่งราบ)
13
14
ชุมนุมเทวดา
สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัต๎ราคัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทังฯ สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน, ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต, ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา, ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุนันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตาฯ
ปุพพะภาคะนะมะการะปาฐะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกว่าจะประสบผลสำ�เร็จ
ไตรสรณคมน์
15
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
สะระณะคะมะนะปาฐะ (ผู้น�ำกล่าว) หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะนะปาฐัง ภะณามะ เส. พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. (ถ้าสวดให้คนไข้ฟังหรือสวดให้งานท�ำบุญสะเดาะเคราะห์ต่อ ชะตาอายุสวดดังนี้)
16
พุทธัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง อายุวัฒนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สัจจะกิริยะคาถา นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
พุทโธ เม สะระณัง วะรัง โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ธัมโม เม สะระณัง วะรัง โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา สังโฆ เม สะระณัง วะรัง โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา
ปาปานํ อกรณํ สุขํ การไม่ทำ�บาป นำ�สุขมาให้
มะหาการุณิโกนาโถติอาทิกาคาถา มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
17
อัตถายะ สัพพะปาณินัง, ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง, มา โหนตุ สัพพุปัททะวา. หิตายะ สัพพะปาณินัง, ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง, มา โหนตุ สัพพุปัททะวา. สุขายะ สัพพะปาณินัง, ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง, มา โหนตุ สัพพุปัททะวา.
เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริทีปิกาคาถา พะหุง เว สะระณัง ยันติ อารามะรุกขะเจตยานิ เนตัง โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมาคัมมะ โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมาคัมมะ
ปัพพะตานิ วะนานิ จะ, มะนุสสา ภะยะตัชชิตา. เนตัง สะระณะมุตตะมัง, สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ. สังฆัญจะ สะระณัง คะโต, สัมมัปปัญญายะ ปัสสะติ. ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง, ทุกขูปะสะมะคามินัง. เอตัง สะระณะมุตตะมัง, สัพพะทุกขา ปะมุจจะตีติ.
18
ปัพพะโตปะมะคาถา
ยะถาปิ เสลา วิปุลา สะมันตา อะนุปะริเยยยุง เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ขัตติเย พ๎ราห๎มะเณ เวสเส นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ นะ ตัตถะ หัตถีนัง ภูม ิ นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ ตัส๎มา หิ ปัณฑิโต โปโส พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ โย ธัมมะจารี กาเยนะ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ
นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา, นิปโปเถนตา จะตุททิสา. อะธิวัตตันติ ปาณิโน, สุทเท จัณฑาละปุกกุเส. สัพพะเมวาภิมัททะติ, นะ ระถานัง นะ ปัตติยา. สักกา เชตุง ธะเนนะ วา, สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน. ธีโร สัทธัง นิเวสะเย, วาจายะ อุทะ เจตะสา, เปจจะ สัคเค ปะโมทะติ.
อริยธนคาถา
ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต สีลัญจะ ยัสสะ กัลฺยาณัง สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ ตัสฺมา สัทธัญจะ สีลัญจะ อะนุยุญเชถะ เมธาวี
อะจะลา สุปะติฏฐิตา อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง สะรัง พุทธานะ สาสะนันติ.
นะมะการะสิทธิคาถา๑ โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏ โฐ, สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต. มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต, ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง. พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ, โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ. ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ, สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ, ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง. นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี, สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ. ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ, โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง. ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ, สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย, โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา. สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ, สฺวากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ. สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ, พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง. ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ, สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
๑
19
20
สัมพุทเธ
สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ปัญจะสะตะสะหัสสานิ เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ นะมะการานุภาเวนะ อะเนกา อันตะรายาปิ สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ ทะสะสะตะสะหัสสานิ เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ นะมะการานุภาเวนะ อะเนกา อันตะรายาปิ สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต วีสะติสะตะสะหัสสานิ เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ นะมะการานุภาเวนะ อะเนกา อันตะรายาปิ
ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก นะมามิ สิระสา อะหัง อาทะเรนะ นะมามิหัง หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ จะตุวีสะติสะหัสสะเก นะมามิ สิระสา อะหัง อาทะเรนะ นะมามิหัง หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก นะมามิ สิระสา อะหัง อาทะเรนะ นะมามิหัง หันต๎วา สัพเพ อุปัททะเว วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ
นะโมการะอัฏฐะกัง
นะโม อะระหะโต สัมมา นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ นะโม มะหาสังฆัสสาปิ นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ นะโม โอมะกาตีตัสสะ นะโม การัปปะภาเวนะ นะโม การานุภาเวนะ นะโม การัสสะ เตเชนะ
สัมพุทธัสสะ มเหสิโน ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา วิธิม๎หิ โหมิ เตชะวาฯ
มังคะละสุตตัง (มงคล ๓๘ ประการ)
21
เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกสั สะ อาราเม อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา, อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง โอภาเสต๎วา เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ, อุปะสังกะมิตว๎ า ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ, เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ. พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง, อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง. อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา, ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต, สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห, อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห, อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม, อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา, กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
22
ขันตี จะ โสวะจัสสะตา กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา ตะโป จะ พ๎รัห๎มะจะริยัญจะ นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ
สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง, เอตัมมังคะละมุตตะมัง. อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง, เอตัมมังคะละมุตตะมัง. จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ, เอตัมมังคะละมุตตะมัง. สัพพัตถะมะปะราชิตา, ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.
ระตะนะสุตตัง ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข. สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ, อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง. ตัส๎มา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ, เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ. ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง, ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา. ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา, สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง. นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ, อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง, ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต.
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ, อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง, สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ. สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ, อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัตถา, จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ. เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา, เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬ๎เหนะ, นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัม๎หิ. เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัย๎หะ, ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา, จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย. ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ, โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.
23
24 เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ, คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ. กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา, นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ, ต๎ยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ. สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ, สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ. จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต, ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง, กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา. อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ, อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค, คิม๎หานะมาเส ปะฐะมัส๎มิง คิม๎เห. ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ, นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ. อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง,
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร, อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ. อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง, วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง. เต ขีณะพีชา อะวิรุฬ๎หิฉันทา, นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป. อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ. ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข. ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข. ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ. ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ, ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข. ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง, สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ.
25
26
กะระณียะเมตตะสุตตัง
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ, สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ, สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ. นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง, สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา. เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา, ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา. ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร, ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา. นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ, พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ.
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข, เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง. เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง. ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ, เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รัหม๎ะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ. ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน, กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ.
หนฺติ กุทฺโธ สมาตรํ คนโกรธ ย่อมฆ่าได้แม้มารดาของตน
27
28
ขันธะปะริตตะคาถา
วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม, ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ. อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม, จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม, มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก, มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท. สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัท๎รานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา. อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปะมาโณ ธัมโม, อัปปะมาโณ สังโฆ, ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ, อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสกิ า, กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา, ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ, โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.
หิยฺโยติ หิยฺยติ โปโส ปเรติ ปริหายติ คนที่ผัดวันประกันพรุ่ง ย่อมมีแต่เสื่อมกับเสื่อมไปเรื่อยๆ
โมระปะริตตัง
29
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส. ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง, ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง. เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม, เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ. นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา, นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. อิมัง โส ปะริตตัง กัตตะวา โมโร จะระติ เอสะนา. อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง, ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง. เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม, เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ. นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา. นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา. อิมัง โส ปะริตตัง กัตตะวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ.
ทุกฺโข พาเลหิ สํวาโส คบคนชั่วนำ�แต่ความทุกข์มาให้
30
วัฏฏะกะปะริตตัง
อัตถิ โลเก สีละคุโณ เตนะ สัจเจนะ กาหามิ อาวัชชิต๎วา ธัมมะพะลัง สัจจะพะละมะวัสสายะ สันติ ปักขา อะปัตตะนา มาตา ปิตา จะ นิกขันตา สะหะ สัจเจ กะเต มัย๎หัง วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ
สัจจัง โสเจยยะนุททะยา, สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง. สะริต๎วา ปุพพะเก ชิเน, สัจจะกิริยะมะกาสะหัง. สันติ ปาทา อะวัญจะนา, ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ. มะหาปัชชะลิโต สิขี, อุทะกัง ปัต๎วา ยะถา สิขี, เอสา เม สัจจะปาระมีติ.
ยถาวาที ตถาการี พูดอย่างไร ต้องทำ�อย่างนั้น
อาฏานาฏิยะปะริตตัง วิปัสสิสสะ นะมัตถุ สิขิสสะปิ นะมัตถุ เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ กัสสะปัสสะ นะมัตถุ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ เย จาปิ นิพพุตา โลเก เต ชะนา อะปิสุณา หิตัง เทวะมะนุสสานัง วิชชาจะระณะสัมปันนัง (วิชชาจะระณะสัมปันนัง นะโม เม สัพพะพุทธานัง ตัณ๎หังกะโร มะหาวีโร สะระณังกะโร โลกะหิโต โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข สุมะโน สุมะโน ธีโร โสภิโต คุณะสัมปันโน ปะทุโม โลกะปัชโชโต ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุชาโต สัพพะโลกัคโค อัตถะทัสสี การุณิโก สิทธัตโถ อะสะโม โลเก
31
จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต, สัพพะภูตานุกัมปิโน. น๎หาตะกัสสะ ตะปัสสิโน, มาระเสนัปปะมัททิโน. พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต, วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ. สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต, สัพพะทุกขาปะนูทะนัง. ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง, มะหันตา วีตะสาระทา. ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง, มะหันตัง วีตะสาระทัง. พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ.) อุปปันนานัง มะเหสินัง, เมธังกะโร มะหายะโส. ทีปังกะโร ชุตินธะโร, มังคะโล ปุริสาสะโภ. เรวะโต ระติวัฑฒะโน, อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม. นาระโท วะระสาระถี, สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล. ปิยะทัสสี นะราสะโภ, ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท. ติสโส จะ วะทะตัง วะโร,
32 ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ สิขี สัพพะหิโต สัตถา กะกุสันโธ สัตถะวาโห กัสสะโป สิริสัมปันโน เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ ทะสะพะลูเปตา สัพเพ เต ปะฏิชานันติ สีหะทานัง นะทันเตเต พ๎รัห๎มะจักกัง ปะวัตเตนติ อุเปตา พุทธะธัมเมหิ ท๎วัตติงสะลักขะณูเปตา พ๎ยามัปปะภายะ สุปปะภา พุทธา สัพพัญญุโน เอเต มะหัปปะภา มะหาเตชา มะหาการุณิกา ธีรา ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ คะตี พันธู มะหัสสาสา สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ เตสาหัง สิระสา ปาเท วะจะสา มะนะสา เจวะ สะยะเน อาสะเน ฐาเน สะทา สุเขนะ รักขันตุ เตหิ ต๎วัง รักขิโต สันโต สัพพะโรคะวินิมุตโต
วิปัสสี จะ อะนูปะโม. เวสสะภู สุขะทายะโก, โกนาคะมะโน ระณัญชะโห, โคตะโม สัก๎ยะปุงคะโว. อะเนกะสะตะโกฏะโย, สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา. เวสารัชเชหุปาคะตา, อาสะภัณฐานะมุตตะมัง. ปะริสาสุ วิสาระทา, โลเก อัปปะฏิวัตติยัง. อัฏฐาระสะหิ นายะกา, สีต๎ยานุพ๎ยัญชะนาธะรา. สัพเพ เต มุนิกุญชะรา, สัพเพ ขีณาสะวา ชินา. มะหาปัญญา มะหัพพะลา, สัพเพสานัง สุขาวะหา. ตาณา เลณา จะ ปาณินัง, สะระณา จะ หิเตสิโน. สัพเพ เอเต ปะรายะนา, วันทามิ ปุริสุตตะเม. วันทาเมเต ตะถาคะเต, คะมะเน จาปิ สัพพะทา. พุทธา สันติกะรา ตุวัง, มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ. สัพพะสันตาปะวัชชิโต,
สัพพะเวระมะติกกันโต เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ ปุรัตถิมัส๎มิง ทิสาภาเค เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ ทักขิณัส๎มิง ทิสาภาเค เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ ปัจฉิมัส๎มิง ทิสาภาเค เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ อุตตะรัส๎มิง ทิสาภาเค เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข จัตตาโร เต มะหาราชา เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เตปิ ตุม๎เห อะนุรักขันตุ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ
นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ. ขันติเมตตาพะเลนะ จะ, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. สันติ ภูตา มะหิทธิกา, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. สันติ เทวา มะหิทธิกา, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. สันติ นาคา มะหิทธิกา, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. สันติ ยักขา มะหิทธิกา, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. ทักขิเณนะ วิรุฬ๎หะโก, กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง. โลกะปาลา ยะสัสสิโน, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. เทวา นาคา มะหิทธิกา, อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ. พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, โหตุ เต ชะยะมังคะลัง. ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, โหตุ เต ชะยะมังคะลัง. สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, โหตุ เต ชะยะมังคะลัง. วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ, ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต.
33
34 ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ สักกัต๎วา พุทธะระตะนัง หิตัง เทวะมะนุสสานัง นัสสันตุปัททะวา สัพเพ สักกัต๎วา ธัมมะระตะนัง ปะริฬาหูปะสะมะนัง นัสสันตุปัททะวา สัพเพ สักกัต๎วา สังฆะระตะนัง อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง นัสสันตุปัททะวา สัพเพ สัพพีติโย วิวัชชันตุ มา เต ภะวัตวันตะราโย อะภิวาทะนะสีลิสสะ จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ
วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ, ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต. วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ, ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต. โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, พุทธะเตเชนะ โสตถินา, ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต. โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, ธัมมะเตเชนะ โสตถินา, ภะยา วูปะสะเมนตุ เต. โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง, สังฆะเตเชนะ โสตถินา, โรคา วูปะสะเมนตุ เต. สัพพะโรโค วินัสสะตุ, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.
อตฺตตฺถปัญญา อสุจี มนุสสา มนุษย์ผู้เห็นแก่ตัว เป็นคนสกปรก
อังคุลิมาละปะริตตัง
35
ยะโตหั ง ภะคิ นิ อะริ ย ายะ ชาติ ย า ชาโต, นาภิ ช านามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ. (กล่าว ๓ ครั้ง)
โพชฌังคะปะริตตัง โพชฌังโค สะติสังขาโต วิริยัมปีติปัสสัทธิ สะมาธุเปกขะโพชฌังคา มุนินา สัมมะทักขาตา สังวัตตันติ อะภิญญายะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ คิลาเน ทุกขิเต ทิส๎วา เต จะ ตัง อะภินันทิต๎วา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ เอกะทา ธัมมะราชาปิ จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ปะหีนา เต จะ อาพาธา มัคคาหะตะกิเลสา วะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
ธัมมานัง วิจะโย ตะถา, โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร. สัตเตเต สัพพะทัสสินา, ภาวิตา พะหุลีกะตา. นิพพานายะ จะ โพธิยา, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง, โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ. โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. เคลัญเญนาภิปีฬิโต, ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง. ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. ติณณันนัมปิ มะเหสินัง, ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง, โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
36
อะภะยะปะริตตัง
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ, โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท, ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง, พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ, โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท, ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง, ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ, โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท, ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง, สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.
อปฺปมตฺตา น มี ยนฺติ ผู้ไม่ประมาท ย่อมไม่ตาย
เทวะตาอุยโยชะนะคาถา ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา โสกัปปัตตา จะ นิสโสภา เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัพเพ เทวานุโมทันตุ ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ ภาวะนาภิระตา โหนตุ สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา อะระหันตานัญจะ เตเชนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะพุทธานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะธัมมานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะสังฆานุภาเวนะ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริตตัสสานุภาเวนะ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริสตัสสานุภาเวนะ นักขัตตะยักขะภูตานัง ปะริสตัสสานุภาเวนะ
37
ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สีลัง รักขันตุ สัพพะทา คัจฉันตุ เทวะตาคะตาฯ ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง รักขัง พันธามิ สัพพะโสฯ รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ปาปัคคะหะนิวาระณะ, หันตะวา เตสัง อุปัททะเว. ปาปัคคะหะนิวาระณา, หันตะวา เตสัง อุปัททะเว. ปาปัคคะหะนิวาระณะ, หันตะวา เตสัง อุปัททะเว.
38 พระครูภาวนา ทัศนวิสุทธิ
หลวงปู่แว่น ธนปาโล
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง (ปฐมเทศนา)
39
เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ, อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย. ตัตร๎ ะ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ. เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา, โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค, หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต, โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค, ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ, มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ, กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ, อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค, เสยยะถีทัง, สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป, สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ, อะยั ง โข สา ภิก ขะเว มั ช ฌิ ม า ปะฏิ ป ะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ. อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง. ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา.
40 อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง. ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัต๎ระ ตัต๎ราภินันทินี. เสยยะถีทัง. กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา. อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง. โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย. อิ ทั ง โข ปะนะ ภิ ก ขะเว ทุ ก ขะนิ โ รธะคามิ นี ปะฏิ ป ะทา อะริยะสัจจัง. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป, สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ. อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. อิ ทั ง ทุ ก ขะสะมุ ท ะโย อะริ ย ะสั จ จั น ติ เม ภิ ก ขะเว, ปุ พ เพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
41 ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. อิทงั ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทะวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ.
42 เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รหั ม๎ ะเก, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง. ยะโต จะ โข เม ภิ ก ขะเว อิ เ มสุ จะตู สุ อะริ ย ะสั จ เจสุ , เอวันติปะริวฏั ฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตงั ญาณะทัสสะนัง สุวสิ ทุ ธัง อะโหสิ. อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง. ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ, อะกุปปา เม วิมุตติ, อะยะมันติมา ชาติ, นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวา, อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง. อิมัสสะมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสสะมิง ภัญญะมาเน, อายัสม๎ ะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ, ยังกิญจิ สะมุทะยะ ธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ. ปะวั ต ติ เ ต จะ ภะคะวะตา ธั ม มะจั ก เก, ภุ ม มา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิ ค ะทาเย อะนุ ต ตะรั ง ธั ม มะจั ก กั ง ปะวั ต ติ ตั ง , อั ป ปะฏิ วั ต ติ ยั ง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ. ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา, ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา, ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา,
43 ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา, นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง, นิมมานะระตีนงั เทวานัง สัททัง สุตตะวา, ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ปะระนิมมิ ตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา (เมื่อจะสวดย่อเพียงสวรรค์ ๖ ชั้น ครั้นสวดมาถึงตรงนี้แล้วสวด พ๎รัห๎มะกายิกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง, แล้วลง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯลฯ เหมือนกันไปจนจบ) พ๎ รั ห๎ ม ะปาริสั ช ชา เทวา สั ท ทะมะนุ ส สาเวสุ ง . พ๎ รั ห๎ ม ะปาริ สัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. พ๎รหั ม๎ ะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. พ๎รหั ม๎ ะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. มะหาพ๎ รั ห๎ ม า เทวา สั ท ทะมะนุ ส สาเวสุ ง . มะหาพ๎ รั ห๎ ม านั ง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา.
44 สุภะกิณ๎หะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. สุภะกิณหะ กานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. (อะสัญญิสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อะสัญญิสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา), เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา. อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยงั อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตงั , อัปปะฏิวตั ติยงั สะมะเณนะวา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ. อิตหิ ะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหตุ เตนะ, ยาวะ พ๎รหั ม๎ ะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ. อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ, สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ. อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ, อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง. อะถะโข ภะคะวา อุ ท านั ง อุ ท าเนสิ , อั ญ ญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ, อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ. อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ, อัญญาโกณฑัญโญ เต๎ววะ นามัง อะโหสีติ.
อะนัตตะลักขะณะสุตตัง
45
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ, อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย. ตัตร๎ ะ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ. รูปงั ภิกขะเว อะนัตตา. รูปญ ั จะหิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว รูปัง อะนัตตา, ตัส๎มา รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ รูเป, เอวัง เม รูปัง โหตุ-เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติ. เวทะนา อะนัตตา. เวทะนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ, เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อะนัตตา, ตัส๎มา เวทะนา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ เวทะนายะ, เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ. สัญญา อะนัตตา. สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง สัญญา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สัญญา อะนัตตา, ตัส๎มา สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ. สังขารา อะนัตตา. สังขารา จะ หิทงั ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ, นะยิทัง สังขารา อาพาธายะ สังวัตเตยยุง, ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ,
46 เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อะนัตตา, ตัส๎มา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ, นะ จะ ลัพภะติ สังขาเรสุ, เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ. วิ ญ ญาณั ง อะนั ต ตา. วิ ญ ญาณั ญ จะ หิ ทั ง ภิ ก ขะเว อั ต ตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ วิญญาเณ, เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อะโหสีต.ิ ยัสม๎ า จะ โข ภิกขะเว วิญญาณัง อะนัตตา, ตัสม๎ า วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเณ, เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อะโหสีติ. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปงั นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ. อะนิจจัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนา นิจจา วา อะนิจจา วาติ. อะนิจจา ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญา นิจจา วา อะนิจจา วาติ. อะนิจจา ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนา นิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
47 ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขารา นิจจา วา อะนิจจา วาติ. อะนิจจา ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโหสะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต. ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญาณัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ. อะนิจจัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต. ตัสมาติหะ ภิกขะเว, ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง, อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา, โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หีนัง วา ปะณีตัง วา, ยันทูเร สันติเก วา, สัพพัง รูปงั , เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง. ยา กาจิ เวทะนา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา, อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา, โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, ยา ทูเร สันติเก วา, สัพพา เวทะนา, เนตัง มะมะ เนโสหะมัสสะมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง. ยา กาจิ สัญญา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา, อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา, โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, ยา ทูเร สันติเก วา, สัพพา สัญญา, เนตัง มะมะ เนโสหะมัสสะมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง. เย เกจิ สังขารา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา, อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา, โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, เย ทูเร
48 สันติเก วา, สัพเพ สังขารา, เนตัง มะมะ เนโสหะมัสสะมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง. ยังกิญจิ วิญญาณัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง, อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา, โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หีนัง วา ปะณีตัง วา, ยันทูเร สันติเก วา, สัพพัง วิญญาณัง, เนตัง มะมะ เนโสหะมัสสะมิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง. เอวั ง ปั ส สั ง ภิ ก ขะเว สุ ต ตะวา อะริ ย ะสาวะโก, รู ป ั ส๎ มิ ง ปิ นิพพินทะติ, เวทะนายะปิ นิพพินทะติ, สัญญายะปิ นิพพินทะติ, สังขาเรสุปิ นิพพินทะติ, วิญญาณัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิราคา วิมุจจะติ. วิมุตตัสสะมิง วิมุตตะมิติ ญาณัง โหติ, ขีณา ชาติ, วุสิตัง พรัหมะจะริยัง, กะตัง กะระณียัง, นาปะรัง อิตถัต ตายาติ ปะชานาตีติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง. อิ มั ส สะมิ ญ จะ ปะนะ เวยยากะระณั ส สะมิ ง ภั ญ ญะมาเน, ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนงั อะนุปาทายะ, อาสะเวหิ จิตตานิ วิมจุ จิงสูต.ิ
สุกรํ สาธุนา สาธุ ความดี อันคนดีทำ�ได้ง่าย
อาทิตตะปะริยายะสุตตัง
49
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, คะยายัง วิหะระติ คะยาสีเส, สัทธิง ภิกขุสะหัสเสนะ. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ. สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง, กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง, จักขุง ภิ ก ขะเว อาทิ ต ตั ง , รู ป า อาทิ ต ตา, จั ก ขุ วิ ญ ญาณั ง อาทิ ต ตั ง , จักขุสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. โสตัง อาทิตตัง, สัททา อาทิตตา, โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง, โสตะสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. ฆานัง อาทิตตัง, คันธา อาทิตตา, ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง, ฆานะสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. ชิวหา อาทิตตา, ระสา อาทิตตา, ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง, ชิวหาสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ
50 เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริ เ ทเวหิ ทุ ก เขหิ โทมะนั ส เสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. กาโย อาทิตโต, โผฏฐัพพา อาทิตตา, กายะวิญญาณัง อาทิตตัง, กายะสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. มะโน อาทิตโต, ธัมมา อาทิตตา, มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง, มะโนสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัมปิ อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ. เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตตะวา อะริยะสาวะโก, จักขุสะมิงปิ นิพพินทะติ, รูเปสุปิ นิพพินทะติ, จักขุวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, จักขุสมั ผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทงั จักขุสมั ผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตงั , สุขงั วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขงั วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. โสตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, สัทเทสุปิ นิพพินทะติ, โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ.
51 ฆานั ส สะมิ ง ปิ นิ พ พิ น ทะติ , คั น เธสุ ป ิ นิ พ พิ น ทะติ , ฆานะ วิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ฆานะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. ชิวหายะปิ นิพพินทะติ, ระเสสุปิ นิพพินทะติ, ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ชิวหาสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. กายั ส สะมิ ง ปิ นิ พ พิ น ทะติ , โผฏฐั พ เพสุ ป ิ นิ พ พิ น ทะติ , กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, กายะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. มะนั ส สะมิ ง ปิ นิ พ พิ น ทะติ , ธั ม เมสุ ป ิ นิ พ พิ น ทะติ , มะโน วิญญาเณปิ นิพพินทะติ, มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิราคา วิมุจจะติ. วิมุตตัสสะมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ, ขีณา ชาติ, วุสิตัง พรัหมะจะริยัง, กะตัง กะระณียัง, นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง. อิมัสสะมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสสะมิง ภัญญะมาเน, ตัสสะ ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ, อาสะเวหิ จิตตานิ, วิมุจจิงสูติ.
52
บทขัดมะหาสะมะยะสุตตะ
ทุลละภัง ทัสสะนัง ยัสสะ โลกัมหิ อันธะภูตัสมิง สักเกสุ กะปิละวัตถุสมิง ตันทัสสะนายะ สัมพุทธัง ทะสะธา สังคะเณยยาสุ อะเนกา อัปปะเมยยา วะ ตาสัง ปิยัง มะนาปัญจะ ยัง โส เทเสสิ สัมพุทโธ เทวะกายัปปะหาสัตถัง
สัมพุทธัสสะ อะภิณหะโส ทุลละภูปปาทะสัตถุโน วิหะรันตัง มะหาวะเน ภิกขุสังฆัญจะ นิมมะลัง โลกาธาตูสุ เทวะตา โมทะมานา สะมาคะตา จิตตัสโสทัคคิยาวะหัง หายะยันโตติ เม สุตัง ตัง สุตตันตัง ภะณามะ เส.
มะหาสะมะยะสุตตัง เอวั ม เม สุ ตั ง , เอกั ง สะมะยั ง ภะคะวา, สั ก เกสุ วิ ห ะระติ กะปิละวัตถุสมิง มะหาวะเน, มะหะตา ภิกขุสงั เฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ สัพเพเหวะ อะระหันเตหิ, ทะสะหิ จะ โลกะธาตูหิ เทวะตา เยภุยเยนะ สันนิปะติตา โหนติ ภะคะวันตัง ทัสสะนายะ ภิกขุสงั ฆัญจะ, อะถะโข จะตุนนัง สุทธาวาสะกายิกานัง เทวานัง เอตะทะโหสิ, อะยัง โข ภะคะวา สักเกสุ วิหะระติ กะปิละวัตถุสมิง มะหาวะเน, มะหะตา ภิกขุสงั เฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ สัพเพเหวะ อะระหันเตหิ, ทะสะหิ จะ โลกะธาตูหิ เทวะตา เยภุยเยนะ สันนิปะติตา โหนติ ภะคะวันตัง ทัสสะนายะ ภิกขุสงั ฆัญจะ, ยันนูนะ มะยัมปิ เยนะ ภะคะวา เตนุ ป ะสั ง กะเมยยามะ, อุ ป ะสั ง กะมิ ต วา ภะคะวะโต สั น ติ เ ก ปัจเจกะคาถา ภาเสยยามาติ.
53 อะถะโข ตา เทวะตา เสยยะถาปิ นามะ พะละวา ปุรโิ ส สัมมิญชิตงั วา พาหัง ปะสาเรยยะ ปะสาริตัง วา พาหัง สัมมิญเชยยะ, เอวะเมวะ สุทธาวาเสสุ เทเวสุ อันตะระหิตา ภะคะวะโต ปุระโต ปาตุระหังสุ, อะถะโข ตา เทวะตา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา เอกะมันตัง อัฏฐังสุ, เอกะมันตัง ฐิตา โข เอกา เทวะตา ภคะวะโต สันติเก อิมงั คาถัง อะภาสิ, มะหาสะมะโย ปะวะนัสมิง เทวะกายา สะมาคะตา อาคะตัมหะ อิมัง ธัมมะสะมะยัง ทักขิตาเยวะ อะปะราชิตะสังฆันติ, อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ. ตัตระ ภิกขะโว สะมาทะหังสุ จิตตัง อัตตะโน อุชุกะมะกังสุ, สาระถีวะ เนตตานิ คะเหต๎วา อินทริยานิ รักขันติ ปัณฑิตาติ, อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ. เฉต๎วา ขีลัง เฉต๎วา ปะลีฆัง อินท๎ะขีลัง โอหัจจะมะเนชา, เต จะรันติ สุทธา วิมะลา จักขุมะตา สุทันตา สุสู นาคาติ, อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ. เย เกจิ พุทธัง สะระณังคะตา เส นะ เต คะมิสสันติ อะปายะภูมิง, ปะหายะ มานุสัง เทหัง เทวะกายัง ปะริปูเรสสันตีติ,
54 อะถะโข ภะคะวา ภิ ก ขู อามั น เตสิ , เยภุ ย เยนะ ภิ ก ขะเว ทะสะสุ โลกะธาตูสุ เทวะตา สันนิปะติตา โหนติ ตะถาคะตัง ทัสสะนายะ ภิกขุสังฆัญจะ, เยปิ เต ภิกขะเว อะเหสุง อะตีตะมัทธานัง อะระหันโต สัมมาสัมพุทธา, เตสัมปิ ภะคะวันตานัง เอตะปะระมาเยวะ เทวะตา สันนิปะติตา อะเหสุง, เสยยะถาปิ มัยหัง เอตะระหิ, เยปิ เต ภิกขะเว ภะวิสสันติ อะนาคะตะมัทธานัง อะระหันโต สัมมาสัมพุทธา, เตสัมปิ ภะคะวันตานัง เอตะปะระมาเยวะ เทวะตา สันนิปะติตา ภะวิสสันติ, เสยยะถาปิ มัยหัง เอตะระหิ, อาจิกขิสสามิ ภิกขะเว เทวะกายานัง นามานิ, กิตตะยิสสามิ ภิกขะเว เทวะกายานัง นามานิ, เทสิสสามิ ภิกขะเว เทวะกายานัง นามานิ, ตัง สุณาถะ สาธุกัง มะนะสิ กะโรถะ ภาสิสสามีต,ิ เอวัมภันเตติ โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง, ภะคะวา เอตะทะโวจะ, สิโลกะมะนุสกัสสามิ ยัตถะ ภุมมา ตะทัสสิตา เย สิตา คิริคัพภะรัง ปะหิตัตตา สะมาหิตา ปุถู สีหาวะ สัลลีนา โลมะหังสาภิสัมภุโน โอทาตะมะนะสา สุทธา วิปปะสันนะมะนาวิลา ภิยโย ปัญจะสะเต ญัต๎วา วะเน กาปิละวัตถะเว ตะโต อามันตะยิ สัตถา สาวะเก สาสะเน ระเต เทวะกายา อะภิกกันตา เต วิชานาถะ ภิกขะโว เต จะอาตัปปะมะกะรุง สุต๎วา พุทธัสสะ สาสะนัง เตสัมปาตุระหุ ญาณัง อะมะนุสสานะ ทัสสะนัง อัปเปเก สะตะมัททักขุง สะหัสสัง อะถะ สัตตะริง สะตัง เอเก สะหัสสานัง อะมะนุสสานะมัททะสุง อัปเปเกนันตะมัททักขุง ทิสา สัพพา ผุฏา อะหุง ตัญจะ สัพพัง อะภิญญายะ วะวักขิต๎วานะ จักขุมา
ตะโต อามันตะยิ สัตถา เทวะกายา อะภิกกันตา เย โวหัง กิตตะยิสสามิ สัตตะสะหัสสาวะ ยักขา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง ฉะสะหัสสา เหมะวะตา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง สาตาคิรา ติสะหัสสา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง อิจเจเต โสฬะสะสะหัสสา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง เวสสามิตตา ปัญจะสะตา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง กุมภิโร ราชะคะหิโก ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง กุมภีโร ราชะคะหิโก ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา คันธัพพานัง อาธิปะติ ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อิทธิมันโต ชุติมันโต
สาวะเก สาสะเน ระเต เต วิชานาถะ ภิกขะโว คิราหิ อะนุปุพพะโส, ภุมมา กาปิละวัตถะวา วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง, ยักขา นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง, ยักขา นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง, ยักขา นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง, ยักขา นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. เวปุลลัสสะ นิเวสะนัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ โสปาคะ สะมิติง วะนัง. ธะตะรัฏโฐ ปะสาสติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส อินทะนามา มะหัพพะลา วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
55
56 โมทะมานา อะภิกกามุง ทักขิณัญจะ ทิสัง ราชา กุมภัณฑานัง อาธิปะติ ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง ปัจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา นาคานัง อาธิปะติ ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา ยักขานัง อาธิปะติ ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข จัตตาโร เต มะหาราชา ทัททัลละมานา อัฏฐังสุ เตสัง มายาวิโน ทาสา มายา กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ
ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. วิรุฬโห ตัปปะสาสะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส อินทะนามา มะหัพพะลา วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. วิรูปักโข ปะสาสติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส อินทะนามา มะหัพพะลา วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. กุเวโร ตัปปะสาสะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส อินทะนามา มะหัพพะลา วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง. สะมันตา จะตุโร ทิสา วะเน กาปิละวัตถะเว. อาคู วัญจะนิกา สะฐา วิฏู จะ วิฏุโต สะหะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ นะโฬราชา ชะโนสะโภ
อาคู ปัญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สุริยะวัจฉะสา เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา สะหะ ราชุภิ โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิตัง วะนัง. อะถาคู นาภะสา นาคา เวสาลา สะหะตัจฉะกา กัมพะลัสสะตะรา อาคู ปายาคา สะหะ ญาติภิ. ยามุนา ธะตะรัฏฐา จะ อาคู นาคา ยะสัสสิโน เอราวัณโณ มะหานาโค โสปาคะ สะมิติง วะนัง. เย นาคะราเช สะหะสา หะรันติ ทิพพา ทิชา ปักขิ วิสุทธะจักขู เวหายะสา เต วะนะมัชฌะปัตตา จิตรา สุปัณณา อิติ เตสะ นามัง อะภะยันตะทา นาคะราชานะมาสิ สุปัณณะโต เขมะมะกาสิ พุทโธ สัณหาหิ วาจาหิ อุปะวะหะยันตา นาคา สุปัณณา สะระณะมะกังสุ พุทธัง. ชิตา วะชิระหัตเถนะ สะมุททัง อะสุรา สิตา ภาตะโร วาสะวัสเสเต อิทธิมันโต ยะสัสสิโน กาละกัญชา มะหาภิส๎มา อะสุรา ทานะเวฆะสา เวปะจิตติ สุจิตติ จะ ปะหาราโท นะมุจี สะหะ สะตัญจะ พะลิปุตตานัง สัพเพ เวโรจะนามะกา สันนัยหิต๎วา พะลิง เสนัง ราหุภัททะมุปาคะมุง สะมะโยทานิ ภัททันเต ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. อาโป จะ เทวา ปะฐะวี จะ เตโช วาโย ตะทาคะมุง วะรุณา วารุณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ เมตตากะรุณากายิกา อาคู เทวา ยะสัสสิโน
57
58 ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. เวณฑู จะ เทวา สะหะลี จะ อะสะมา จะ ทุเว ยะมา จันทัสสูปะนิสา เทวา จันทะมาคู ปุรักขิตา สุริยัสสูปะนิสา เทวา สุริยะมาคู ปุรักขิตา นักขัตตานิ ปุรักขิตวา อาคู มันทะพะลาหะกา วะสูนัง วาสะโว เสฏโฐ สักโก ปาคะ ปุรินทะโท ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. อะถาคู สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมมา ปุปผะนิภาสิโน วะรุณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา สุเลยยะรุจิรา อาคู อาคู วาสะวะเนสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา ขิฑฑาปะทูสิกา อาคู อาคู มะโนปะทูสิกา อะถาคู หะระโย เทวา เย จะ โลหิตะวาสิโน ปาระคา มะหาปาระคา อาคู เทวา ยะสัสสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
สุกกา กะรุมหา อะรุณา โอทาตะคัยหา ปาโมกขา สะทามัตตา หาระคะชา ถะนะยัง อาคา ปะชุนโน ทะเสเต ทะสะธา กายา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง เขมิยา ตุสิตา ยามา ลัมพิตะกา ลามะเสฏฐา นิมมานะระติโน อาคู ทะเสเต ทะสะธา กายา อิทธิมันโต ชุติมันโต โมทะมานา อะภิกกามุง สัฏเฐเต เทวะนิกายา นามันวะเยนะ อาคัญฉุง ปะวุตถะชาติมักขีลัง ทักเข โมฆะตะรัง นาคัง สุพ๎รัห๎มา ปะระมัตโต จะ สันนังกุมาโร ติสโส จะ สะหัสสะพ๎รัห๎มะโลกานัง อุปะปันโน ชุติมันโต ทะเสตถะ อิสสะรา อาคู เตสัญจะ มัชฌะโต อาคา เต จะ สัพเพ อะภิกกันเต มาระเสนา อะภิกกามิ
อาคู เวฆะนะสา สะหะ อาคู เทวา วิจักขะณา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน โย ทิสา อะภิวัสสะติ สัพเพ นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. กัฏฐะกา จะ ยะสัสสิโน โชติมานา จะ อาสะวา อะถาคู ปะระนิมมิตา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน วัณณะวันโต ยะสัสสิโน ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง. สัพเพ นานัตตะวัณณิโน เย จัญเญ สะทิสา สะหะ โอฆะติณณะมะนาสะวัง จันทังวะ อะสิตาสิตัง ปุตตา อิทธิมะโต สะหะ โสปาคะ สะมิติง วะนัง. มะหาพ๎รัห๎มาภิติฏฐะติ ภิสมากาโย ยะสัสสิ โส. ปัจเจกะวะสะวัตติโน หาริโต ปะริวาริโต. สินเท เทเว สะพ๎รัห๎มะเก ปัสสะ กัณหัสสะ มันทิยัง
59
60 เอถะ คัณหะถะ พันธะถะ ราเคนะ พันธะมัตถุ โว สะมันตา ปะริวาเรถะ มา โว มุญจิตถะ โกจิ นัง. อิติ ตัตถะ มะหาเสโน กัณหะเสนัง อะเปสะยิ ปาณินา ตะละมาหัจจะ สะรัง กัตวานะ เภระวัง. ยะถา ปาวุสสะโก เมโฆ ถะนะยันโต สะวิชชุโก ตะทา โส ปัจจุทาวัตติ สังกุทโธ อะสะยังวะเส. ตัญจะ สัพพัง อะภิญญายะ วะวักขิต๎วานะ จักขุมา ตะโต อามันตะยิ สัตถา สาวะเก สาสะเน ระเต มาระเสนา อะภิกกันตา เต วิชานาถะ ภิกขะโว. เต จะ อาตัปปะมะกะรุง สุต๎วา พุทธัสสะ สาสะนัง วีตะราเคหิ ปักกามุง เนสัง โลมัมปิ อิญชะยุง. สัพเพ วิชิตะสังคามา ภะยาตีตา ยะสัสสิโน โมทันติ สะหะ ภูเตหิ สาวะกา เต ชะเนสุตาติ. มะหาสะมะยะสุตตัง นิฏฐิตัง.
โกธํ ฆตฺวา สุขํเสติ ฆ่าความโกรธได้ ย่อมอยู่เป็นสุข
61
62
“ทิพย์มนต์ หรือ สวดธาตุ” บ่นท่องป้องกันภัย – ให้สุขภาพดี – ทวีสิริมงคล
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยิ มั ปิ พุทธัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยิ มั ปิ ธัมมัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยิ มั ปิ สังฆัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมั ปิ พุทธัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมั ปิ ธัมมัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมั ปิ สังฆัง อายุวฑ ั ฒะนัง ชีวติ งั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง อะระหั ง สั ม มาสั ม พุ ท โธ, วิ ช ชาจะระณะสั ม ปั น โน สุ ค ะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, ญายะปะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ,
63 สามีจปิ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทงั จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมจุ จันติ, อิติ อุทธะมะโธ ติรยิ งั , สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพะวันตัง โลกั ง , เมตตา กรุ ณ า มุ ทิต า อุ เ บกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุททิสงั ผะริตว๎ า วิหะระติ, สุขงั สุปะติ สุขงั ปะฏิพชุ ฌะติ, นะปาปะกัง สุปนิ งั ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโยโหติ, อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุฬะโห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง, อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน, กะตัง ปุญญังพะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต, ภะวันตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สัพพะพุทธานุภาเวนะ, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติปิ โส ภะคะวา นะมามิหัง. ล�ำดับต่อไปให้เปลี่ยนชื่อธาตุตามหมวด ดังนี้ ๑. หมวดธาตุ : วาโย จะ, เตโช จะ, อาโป จะ, ปะฐะวี จะ, อากาสา จะ, วิญญาณัญ จะ ๒. หมวดขันธ์ : รูปัญ จะ, เวทนา จะ, สัญญา จะ, สังขารา จะ, วิญญาณัญ จะ ๓. หมวดอายตนะ : จักขุญํ จะ, โสตัญ จะ, ฆานัญ จะ ชิวหา จะ, กาโย จะ, มะโน จะ, รูปัญ จะ สัทโท จะ, คันโธ จะ, ระโส จะ, โผฏฐัพพา จะ ธัมมารัมมะณัญ จะ
64
๔. หมวดอาการ ๓๒ : เกสา จะ, โลมา จะ, นะขา จะ, ทันตา จะ ตะโจ จะ, มังสัญ จะ, นะหารู จะ, อัฏฐี จะ อัฏฐิมิญชัญ จะ, วักกัญ จะ, หะทะยัญ จะ, ยะกะนัญ จะ กิโลมะกัญ จะ, ปิหะกัญ จะ, ปัปผาสัญ จะ, อันตัญ จะ อันตะคุณญ ั จะ, อุทะริยญ ั จะ, กะรีสญ ั จะ, มัตถะลุงคัญ จะ ปิตตัญ จะ, เสมหัญ จะ, ปุพโพ จะ, โลหิตัญ จะ เสโท จะ, เมโท จะ, อัสสุ จะ, วะสา จะ เขโฬ จะ, สังฆาณิกา จะ, ละสิกา จะ, มุตตัญ จะ
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
พระคาถาชินบัญชร
ชะยาสะนากะตา พุทธา จะตุสัจจาสะภัง ระสัง ตัณหังกะราทะโย พุทธา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง หะทะเย เม อะนุรุทโธ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัส๎มิง ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง กัสสะโป จะ มะหานาโม เกสะโต ปิฏฐิภาคัส๎มิง นิสินโน สิริสัมปันโน
เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา อัฏฐะวีสะติ นายะกา มัตถะเก เต มุนิสสะรา พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน อุเร สัพพะคุณากะโร สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โมคคัลลาโน จะ วามะเก อาสุง อานันทะราหุโล อุภาสุง วามะโสตะเก สุริโยวะ ปะภังกะโร โสภีโต มุนิปุงคะโว
๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.
กุมาระกัสสะโป เถโร โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา เสสาสีติ มะหาเถรา เอเตสีติ มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ ขันธะโมระปะริตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ ชินา นานา วะระสังยุตตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต
มะเหสี จิตตะวาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร อุปาลีนันทะสีวะลี นะลาเฏ ติละกา มะมะ วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง อาฏานาฏิยะสุตตะกัง เสสา ปาการะสัณฐิตา สัตตัปปาการะลังกะตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา อะนันตะชินะเตชะสา สะทา สัมพุทธะปัญชะเร วิหะรันตัง มะหีตะเล เต มะหาปุริสาสะภา สุคุตโต สุรักโข ชิตูปัททะโว ชิตาริสังโฆ ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติ.
65
66
บารมี ๓๐ ทัศ
ทานะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ทานะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ทานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สีละปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สิละอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สีละปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ปัญญาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ปัญญาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา วิริยะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ขันติปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ขันติปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สัจจะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา สัจจะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อะธิฏฐานะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อะธิฏฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
เมตตาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา เมตตาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อุเปกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อุเปกขาอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา อุเปกขาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ทะสะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
67
ชัยะมังคะละคาถา นะโม เม พุทธะเตชัสสา ระตะนัตตะยะธัมมิกา เตชะปะสิทธิ ปะสีเทวา นารายะปะระเมสุรา สิทธิพรหมา จะ อินทา จะ จะตุโลกา คัมภีรักขะกา สะมุททา ภูตุงคังคา จะ สะพรัหมพะชัยะปะสิทธิ ภะวันตุ เต ชัยะ ชัยะ ธะระณิ ธะระณี อุทะธิ อุทะธี นาทิ นาที ชัยะ ชัยะ คะคนละตนละนิสัย นิรัยสัยเสนนะเมรุราชชะพลนระชี ชัยะ ชัยะ คัมภีระโสภี นาเคนทะนาคี ปีสาจจะ ภูตะกาลี ชัยะ ชัยะ ทุนนิมิตตะโรคี ชัยะ ชัยะ สิงคีสุทาทานะมุขะชา ชัยะ ชัยะ วารุณณะมุขาสาตรา ชัยะ ชัยะ จัมปา ทินาคะกุละคัณถก ชัยะ ชัยะ คัชชะคนนะตุรง สุกระภุชงสีหา เพียคฑะทีปา ชัยะ ชัยะ วะรุณณะมุขาสาตรา ชิตะ ชิตะ เสนนารีปุนะสุทธินะระดี ชัยะ ชัยะ สุขาสุขาชีวี ชัยะ ชัยะ ธะระณีตะเลสะทาสุชัยยา ชัยะ ชัยะ ธะระณีสานตินสะทา ชัยะ ชัยะ มังกะราชรัญญาภะวัคเค
68 ชัยะ ชัยะ วะรุณณะยักเข ชัยะ ชัยะ รักขะเสสุระภู ชะเตชา ชัยะ ชัยะ พรหมเมนทะคะณา ชัยะ ชัยะ ราชาธิราชสาชชัย ชัยะ ชัยะ ปะฐะวิง สัพพัง ชัยะ ชัยะ อะระหันตา ปัจเจกะพุทธะสาวัง ชัยะ ชัยะ มะเหสุโร หะโรหะรินเทวา ชัยะ ชัยะ พรัหมาสุรักโข ชัยะ ชัยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิ อินโท จะ เวนะเตยโย จะ กุเวโร วะรุโณปิ จะ อัคคิ วาโย จะ ปาชุณณะโห กุมาโร ธะตะรัฏฏะโก อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย อิสิโน สาวะกา สัพพา ชัยะ ราโม ภะวันตุ เต ชัยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยะกัง เอเตนะ ชัยะ เตเชนะ ชัยะ โสตถี ภะวันตุ เต เอเตนะ พุทธะ เตเชนะ โหตุ เต ชัยะมังคะลัง ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธิมณ ั เฑ ปะโมทิตา ชัยะ ตะทา พรัหมะคะณา มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธิมณ ั เฑ ปะโมทิตา ชัยะ ตะทา อินทะคะณา มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะ ตะทา เทวะคะณา มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธิมณ ั เฑ ปะโมทิตา ชัยะ ตะทา สุปณ ั ณะคะณา มะเหสิโน
69 ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุคโฆ สะยัมโพธิมณ ั เฑ ปะโมทิตา ชัยะ ตะทา นาคะคะณา มะเหสิโน ชัยโยปิ พุทธัส สะ สิรีม ะโต อะยั ง มารั ส สะ จะ ปาปิ มะโต ปะราชะโย อุ ค โฆ สะยั ม โพธิ มั ณ เฑ ปะโมทิ ต า ชั ย ะ ตะทา สะพรัหมพะคะณา มะเหสิโน ชะยันโต โพธิยา มูเล สักก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน, เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล. อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร, อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง, สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ, ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง, ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา, ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ. เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬหา พุทธะสาสะเน, อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ. สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัส๎มิง ฐาเน อะธิคะตา ฑีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง ยา กาจิ ปัตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วัสสัง วัสสา วะลาหะกา โรคา จุปัททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา กายะสุขัง จิตติ (จิตตะ) สุขัง อะระหันตุ ยะถาระหัง. อิติ จุลละชัยะสิทธิมังคะลัง สะมันตัง ฯ
70
ธัมมะสังคิณีมาติกาปาฐะ
กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา. สุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ทุกขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา อะทุกขะมะสุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา. วิปากา ธัมมา วิปากะธัมมะ ธัมมา เนวะวิปากะนะวิปากะธัมมะ ธัมมา. อุ ป าทิ น นุ ป าทานิ ย า ธั ม มา อะนุ ป าทิ น นุ ป าทานิ ย า ธั ม มา อะนุปาทินนานุปาทานิยา ธัมมา. สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลฏิ ฐาสังกิเลสิกา ธัมมา. สะวิ ตั ก กะสะวิ จ ารา ธั ม มา อะวิ ตั ก กะวิ จ าระมั ต ตา ธั ม มา อะวิตักกาวิจารา ธัมมา. ปีตสิ ะหะคะตา ธัมมา สุขะสะหะคะตา ธัมมา อุเปกขาสะหะคะตา ธัมมา. ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพา ธัมมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา. ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะ ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา. อาจะยะคามิโน ธัมมา อะปะจะยะคามิโน ธัมมา เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามิโน ธัมมา. เสกขา ธัมมา อะเสกขา ธัมมา เนวะเสกขา นาเสกขา ธัมมา. ปะริตตา ธัมมา มะหัคคะตา ธัมมา อัปปะมาณา ธัมมา. ปะริตตารัมมะณา ธัมมา มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา.
71
หีนา ธัมมา มัชฌิมา ธัมมา ปะณีตา ธัมมา. มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา อะนิยะตา ธัมมา. มัคคารัมมะณา ธัมมา มัคคะเหตุกา ธัมมา มัคคาธิปะติโน ธัมมา. อุปปันนา ธัมมา อะนุปปันนา ธัมมา อุปปาทิโน ธัมมา. อะตีตา ธัมมา อะนาคะตา ธัมมา ปัจจุปปันนา ธัมมา. อะตี ต ารั ม มะณา ธั ม มา อะนาคะตารั ม มะณา ธั ม มา ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา. อัชฌัตตา ธัมมา พะหิทธา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา. อัชฌัตตารัมมะณา ธัมมา พะหิทธารัมมะณา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา. สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา.
ททมาโน ปิโย โหติ ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก
72
วิปัสสะนาภูมิปาฐะ
ปัญจักขันธา, รูปักขันโธ, เวทะนากขันโธ, สัญญากขันโธ, สังขารักขันโธ, วิญญาณักขันโธ. ท๎วาทะสายะตะนานิ, จักข๎วายะตะนัง รูปายะตะนัง, โสตายะตะนัง สั ท ทายะตะนั ง , ฆานายะตะนั ง คั น ธายะตะนั ง , ชิ ว หายะตะนั ง ระสายะตะนัง, กายายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง, มะนายะตะนัง ธัมมายะตะนัง อัฏฐาระสะ ธาตุโย. จักขุธาตุ รูปะธาตุ จักขุวิญญาณะธาตุ, โสตะธาตุ สัททะธาตุ โสตะวิญญาณะธาตุ, ฆานะธาตุ คันธะธาตุ ฆานะวิญญาณะธาตุ, ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ ชิวหาวิญญาณะธาตุ, กายะธาตุ โผฏฐัพพะธาตุ กายะวิญญาณะธาตุ, มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ มะโนวิญญาณะธาตุ. พาวี ส ะติ น ท๎ ริ ย านิ . จั ก ขุ น ท๎ ริ ยั ง โสติ น ท๎ ริ ยั ง ฆานิ น ท๎ ริ ยั ง ชิว๎หินท๎ริยัง กายินท๎ริยัง มะนินท๎ริยัง, อิตถินท๎ริยัง ปุริสินท๎ริยัง ชีวติ นิ ท๎รยิ งั , สุขนิ ท๎รยิ งั ทุกขินท๎รยิ งั โสมะนัสสินท๎รยิ งั โทมะนัสสินท๎รยิ งั อุเปกขินท๎ริยัง, สัทธินท๎ริยัง วิริยินท๎ริยัง สะตินท๎ริยัง สะมาธินท๎ริยัง ปั ญ ญิ น ท๎ ริ ยั ง , อะนั ญ ญะตั ญ ญั ส สามี ติ น ท๎ ริ ยั ง อั ญ ญิ ณ ท๎ ริ ยั ง อัญญาตาวินท๎ริยัง. จัตตาริ อะริยะสัจจานิ. ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง, ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง, ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง.
ปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ
73
อะวิ ช ชาปั จ จะยา สั ง ขารา, สั ง ขาระปั จ จะยา วิ ญ ญาณั ง , วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง, นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง, สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส, ผัสสะปัจจะยา เวทะนา, เวทะนาปัจจะยา ตัณ๎หา, ตัณ๎หาปัจ จะยา อุป าทานั ง, อุ ป าทานะปั จจะยา ภะโว, ภะวะปัจจะยา ชาติ, ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุ ก ขะโทมะนั ส สุ ป ายาสา สั ม ภะวั น ติ. เอวะเมตั ส สะ เกวะลั ส สะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ. อะวิ ช ชายะเต๎ ว วะ อะเสสะวิ ร าคะนิ โ รธา สั ง ขาระนิ โ รโธ, สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ, วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ, นามะรู ป ะนิ โ รธา สะฬายะตะนะนิ โ รโธ, สะฬายะตะนะนิ โ รธา ผัสสะนิโรโธ, ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ, เวทะนานิโรธา ตัณห๎ านิโรโธ, ตั ณ๎ ห านิโ รธา อุ ป าทานะนิโ รโธ, อุ ป าทานะนิโ รธา ภะวะนิโ รโธ, ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ, ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุ ก ขะโทมะนั ส สุ ป ายาสา นิ รุ ช ฌั น ติ . เอวะเมตั ส สะ เกวะลั ส สะ ทุกขักขันธัสสะ, นิโรโธโหติ.
ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
74
พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพพะยากะตา ธัมมา. กะตะเม ธัมมา กุสะลา. ยัสสะมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ, โสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา, คันธารัมมะณัง วา ระสารัมมะณัง วา, โผฏฐัพพารัมมะณัง วา ธัมมารัมมะณัง วา, ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, ตัสสะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัสสะมิง สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา, อะรูปิโน ธัมมา, อิเม ธัมมา กุสะลา.
พระวิภังค์ ปัญจักขันธา, รูปักขันโธ, เวทะนากขันโธ, สัญญากขันโธ, สังขารักขันโธ, วิญญาณักขันโธ. ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ. ยังกิญจิ รูปงั อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง, อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา, โอฬาริกงั วา สุขุมัง วา, หีนัง วา ปะณีตัง วา, ยัง ทูเร วา สันติเก วา, ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิต๎วา อะภิสังขิปิต๎วา, อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ.
พระธาตุกะถา สังคะโห อะสังคะโห. สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตงั , อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง. สัมปะโยโค วิปปะโยโค. สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง, วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง, อะสังคะหิตัง.
พระปุคคะละปัญญัตติ
75
ฉะ ปั ญ ญั ต ติ โ ย. ขั น ธะปั ญ ญั ต ติ , อายะตะนะปั ญ ญั ต ติ , ธาตุปญ ั ญัตติ, สัจจะปัญญัตติ, อินทะริยะปัญญัตติ, ปุคคะละปัญญัตติ. กิ ต ตาวะตา ปุ ค คะลานั ง ปุ ค คะละปั ญ ญั ต ติ . สะมะยะวิ มุ ต โต อะสะมะยะวิมุตโต, กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม, ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม, เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ, ปุถุชชะโน โคตตะระภู, ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, ภัพพาคะมะโน อะภัพพา คะมะโน, นิยะโต อะนิยะโต, ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน.
พระกะถาวัตถุ
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ. อามันตา. โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ, ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะ ปะระมัตเถนะ, เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ, โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, มิจฉา.
พระยะมะกะ
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, สัพเพ เต กุสะละมูลา. เย วา ปะนะ กุสะละมูลา, สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา.
76
พระมะหาปัฏฐาน
เหตุ ป ั จ จะโย, อารั ม มะณะปั จ จะโย, อะธิ ป ะติ ป ั จ จะโย, อะนันตะระปัจจะโย, สะมะนันตะระปัจจะโย, สะหะชาตะปัจจะโย, อัญญะมัญญะปัจจะโย, นิสสะยะปัจจะโย, อุปะนิสสะยะปัจจะโย, ปุ เ รชาตะปั จ จะโย, ปั จ ฉาชาตะปั จ จะโย, อาเสวะนะปั จ จะโย, กัมมะปัจจะโย, วิปากะปัจจะโย, อาหาระปัจจะโย, อินท๎รยิ ะปัจจะโย, ฌานะปั จ จะโย, มั ค คะปั จ จะโย, สั ม ปะยุ ต ตะปั จ จะโย, วิปปะยุตตะปัจจะโย, อัตถิปัจจะโย, นัตถิปัจจะโย, วิคะตะปัจจะโย, อะวิคะตะปัจจะโย.
บังสุกุลตาย
อนิจจา วะตะ สังขารา อุปปัชชิตตะวา นิรุชฌันติ สัพเพ สัตตา มะรันติ จะ ตะเถวาหัง มะริสสามิ
อุปปาทะวะยะธัมมิโน เตสัง วูปะสะโม สุโข. มะริงสุ จะ มะริสสะเร นัตถิ เม เอตถะ สังสะโย.
บังสุกุลเป็น
อะจิรัง วะตะยัง กาโย ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ
ปะฐะวิง อะธิเสสะติ นิรัตถังวะ กะลิงคะรัง.
อุณหิสสะวิชะยะคาถา
อัตถิ อุณณะหิสสะวิชะโย สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ปะริวัชเช ราชะทัญเฑ พะยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต สัพพัสสะมา มะระณา มุตโต ตัสเสวะ อานุภาเวนะ สุทธะสีลัง สะมาทายะ ตัสเสวะ อานุภาเวนะ ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง ปะเรสัง เทสะนัง สุตตะวา
77
ธัมโม โลเก อะนุตตะโร ตัง ตะวัง คัณหาหิ เทวะเต อะมะนุสเสหิ ปาวะเก อะกาละมะระเณนะ วา ฐะเปตตะวา กาละมาริตัง โหตุ เทโว สุขี สะทา ธัมมัง สุจะริตัง จะเร โหตุ เทโว สุขี สะทา ธาระณัง วะจะนัง คะรุง ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ.
สุโข ปุญญสฺส อุจฺจโย การสั่งสมบุญ นำ�สุขมาให้
78
ธัมมะนิยามะสุตตัง
เอวัมเม สุตงั . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยงั วิหะระติ, เชตะ วะเน อะนาถะปิณฑิกสั สะ, อาราเม. ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะ ทะโวจะ, อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ สังขารา อะนิ จ จาติ . ตั ง ตะถาคะโต อะภิ สั ม พุ ช ฌะติ อะภิ ส ะเมติ อะภิสัมพุชฌิตตะวา อะภิสะเมตตะวา อาจิกขะติ เทเสติ, ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ, สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ. อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ สังขารา ทุ ก ขาติ ฯ ตั ง ตะถาคะโต อะภิ สั ม พุ ช ฌะติ อะภิ ส ะเมติ , อะภิสัมพุชฌิตตะวา อะภิสะเมตตะวา อาจิกขะติ เทเสติ, ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ, สัพเพ สังขารา ทุกขาติ. อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง, ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ ธัมมา อะนั ต ตาติ . ตั ง ตะถาคะโต อะภิ สั ม พุ ช ฌะติ อะภิ ส ะเมติ , อะภิสัมพุชฌิตตะวา อะภิสะเมตตะวา อาจิกขะติ เทเสติ, ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. อิทะมะโว จะ ภะคะวา. อัตตะ มะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง, อะภินันทุนติ.
ติลักขะณาทิคาถา
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข สัพเพ สังขารา ทุกขาติ อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข อัปปะกา เต มะนุสเสสุ อะถายัง อิตะรา ปะชา เย จะ โข สัมมะทักขาเต เต ชะนา ปาระเมสสันติ กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ โอกา อะโนกะมาคัมมะ ตัต๎ราภิระติมิจเฉยยะ ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง เยสัง สัมโพธิยังเคสุ อาทานะปะฏินิสสัคเค ขีณาสะวา ชุติมันโต
79
ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ, เอสะ มัคโค วิสุทธิยา. ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ, เอสะ มัคโค วิสุทธิยา. ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ, เอสะ มัคโค วิสุทธิยา. เย ชะนา ปาระคามิโน, ตีระเมวานุธาวะติ. ธัมเม ธัมมานุวัตติโน, มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง. สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต, วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง. หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน, จิตตะเก๎ลเสหิ ปัณฑิโต. สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง, อะนุปาทายะ เย ระตา, เต โลเก ปะรินิพพุตาติ.
สุวิชาโน ภวํ โหติ ผู้รู้ดี เป็นผู้เจริญ
80
พระวินัย
ยั น เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปั ส สะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, ปะฐะมัง ปาราชิกัง กัตถะ ปัญญัตตันติ. เวสาลิยัง ปัญญัตตันติ. กัง อารัพภาติ. สุทินนัง กะลันทะปุตตัง อารัพภาติ. กิสสะมิง วัตถุสสะมินติ. สุทินโน กะลันทะปุตโต ปุราณะทุติยิกายะ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิ, ตัสสะมิง วัตถุสสะมินติ. เตนะ สะมะเยนะ พุ ท โธ ภะคะวา เวรั ญ ชายั ง วิ ห ะระติ นะเฬรุปุ จิมันทะมูเล มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ, สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ. อัสโสสิ โข เวรัญโช พราหมะโณ สะมะโณ ขะลุ โภ โคตะโม สักกะ ยะปุตโต สักยะกุลา ปัพพะชิโต, เวรัญชายัง วิหะระติ นะเฬรุปุ จิมนั ทะมูเล มะหะตา ภิกขุสงั เฆนะ, สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ. ตัง โข ปะนะ ภะวันตัง โคตะมัง เอวัง กัลละยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. โส อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง สัสสะมะณะ พราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตตะวา ปะเวเทติ, โส ธัมมัง เทเสติ อาทิกลั ละยาณัง มัชเฌกัลละยาณัง ปะริโย สานะกั ล ละยาณั ง สาตถั ง สั พ พะยั ญ ชะนั ง เกวะละปะริ ปุ ณ ณั ง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสติ, สาธุ โข ปะนะ ตะถารูปานัง อะระหะตัง ทัสสะนัง โหตีติ.
ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี
81
(ผู้น�ำว่า) หั น ทะ มะยั ง ตั ง ขะณิ ก ะปั จ จะเวกขะณะปาฐั ง ภะณามะ เสฯ (รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิรโิ กปินะปะฏิจฉาทะนัตถังฯ. ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภสู ะนายะ, ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติ ยา พรัหมะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาตตะรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติฯ. ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง. ปะฏิสงั ขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติฯ
82
อะตีตะปัจจะเวกขะณะวิธี
(ผู้น�ำว่า) หั น ทะ มะยั ง อะตี ต ะปั จ จะเวกขะณะปาฐั ง ภะณามะ เส ฯ (รับ) อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตตะวา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑั ง สะมะกะสะวาตาตะปะสิ ริ ง สะปะสั ม ผั ส สานั ง ปะฏิ ฆ าตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง. อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตตะวา โย ปิณฑะปาโต ปะริภุตโต, โส เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา พ๎รัห๎มะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตตะวา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑั ง สะมะกะสะวาตาตะปะสิ ริ ง สะปะสั ม ผั ส สานั ง ปะฏิ ฆ าตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง. อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตตะวา โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะ ปะริกขาโร ปะริภุตโต, โส ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพพะยาปัชฌะปะระมะตายาติ.
ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะวิธี
83
(ผู้น�ำว่า) หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เสฯ (รับ) ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตัง, ยะทิทงั จีวะรัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมตั ตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคจุ ฉะนียานิ, อิมงั ปูตกิ ายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ. ยะถาปั จ จะยั ง ปะวั ต ตะมานั ง ธาตุ มั ต ตะเมเวตั ง , ยะทิ ทั ง ปิณฑะปาโต, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมัตตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ. ยะถาปั จ จะยั ง ปะวั ต ตะมานั ง ธาตุ มั ต ตะเมเวตั ง ยะทิ ทั ง เสนาสะนัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ, สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ, อิมัง ปูติกายัง ปัต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ. ยะถาปั จ จะยั ง ปะวั ต ตะมานั ง ธาตุ มั ต ตะเมเวตั ง , ยะทิ ทั ง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมตั ตะโก, นิสสัตโต, นิชชีโว, สุญโญ, สัพโพ ปะนายัง คิลานะปัจจะยะ เภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย, อิมัง ปูติกายัง ปัตตะวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ. (เมื่อจบบท ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธีแล้ว มีการสวดมนต์ บทต่างๆ เช้าละ ๑ บทบ้าง ๒ บทบ้าง หมุนเวียนกันไป แล้วจึงขึ้นบท ปัตติทานะคาถา เป็นบทสุดท้าย)
84
กายะคะตาสะติภาวนา
อะยัง โข เม กาโย กายของเรานี้แล อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องต�่ำแต่ปลายผมลงไป ตะจะปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ ปุโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาด
มีประการต่างๆ อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย มีอยู่ในกายนี้ เกสา คือ ผมทั้งหลาย โลมา คือ ขนทั้งหลาย นะขา คือ เล็บทั้งหลาย ทันตา คือ ฟันทั้งหลาย ตะโจ คือ หนัง มังสัง คือ เนื้อ นะหารู คือ เอ็นทั้งหลาย อัฏฐิ คือ กระดูกทั้งหลาย อัฏฐิมิญชัง เยื่อในกระดูก วักกัง ม้าม หะทะยัง หัวใจ ยะกะนัง ตับ กิโลมะกัง พังผืด ปิหะกัง ไต ปัปผาสัง ปอด อันตัง ไส้ใหญ่ อันตะคุณัง ไส้น้อย อุทะริยัง อาหารใหม่ กะรีสัง อาหารเก่า มัตถะเก มัตถะลุงคัง เยื่อในสมองศีรษะ ปิตตัง น�้ำดี เสมหัง น�้ำเสลด ปุพโพ น�้ำเหลือง โลหิตัง น�้ำเลือด เสโท น�้ำเหงื่อ เมโท น�้ำมันข้น อัสสุ น�้ำตา วะสา น�้ำมันเหลว เขโฬ น�้ำลาย สิงฆาณิกา น�้ำมูก ละสิกา น�้ำไขข้อ มุตตัง น�้ำมูตร
เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานี้อย่างนี้ อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องต�่ำแต่ปลายผมลงไป ตะจะปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ ปุโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อย่างนี้แล.
85
อะภิณหะปัจจะเวกขะณะ ชะราธัมโมมหิ, ชะรัง อะนะตีโต (ตา),
เรามีความแก่เป็นธรรมดา, จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้
พะยาธิธัมโมมหิ พะยาธิง อะนะตีโต (ตา),
เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต (ตา),
เรามีความตายเป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความตายไปไม่ได้
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ, นานาภาโว วินาภาโว,
เราจะละเว้นเป็นต่างๆ คือว่า จะต้องพลัดพรากจากของรัก ของเจริญใจทั้ง สิ้นไป
กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ เรามีกรรมเป็นของๆ ตน มีกรรมเป็นผู้ให้ผล มีกรรมเป็นแดนเกิด มีกรรม เป็นผู้ติดตาม มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ,
เราจะท�ำกรรมอันใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เราจะเป็นทายาท คือว่าจะต้อง ได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป
86 เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง.
เราทั้งหลายควรพิจารณาอย่างนี้ทุกวันๆ เทอญ.
(หมายเหตุ : ค�ำว่า อะนะตีโต สตรีพึงว่า อะนะตีตา)
ทสธรรม (แปล)
ทะสะ อิเม ภิกขะเว ธัมมา ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปัจจะเวก ขิตัพพา, กะตะเม ทะสะ, ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง,
ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ธรรมทั้ง ๑๐ ประการนี้ บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ ประการไฉนบ้าง เววัณณิยัมหิ อัชฌูปะคะโต บัดนี้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้วกิริยา อาการใดๆ อันบรรพชิตควรประพฤติ เราต้องท�ำกิริยาอาการนั้นๆ ปะระปะฏิพทั ธา เม ชีวกิ า, ความเลีย้ งชีพของเราเนือ่ งด้วยผูอ้ นื่ เราควร ท�ำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย อัญโญ เม อากัปโป กะระณีโย, อาการกายวาจาอย่างอืน่ ทีเ่ ราจะต้อง ท�ำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ ยังมีอยู่อีกไม่ใช่เพียงเท่านี้ กัจจิ นุ โข เม อัตตา สีละโต นะ อุปะวะทันตีต,ิ ตัวของเราเองติเตียน ตัวเราเองโดยศีลได้หรือไม่
กัจจิ นุ โข มัง อะนุวิจจะ วิญญู สะพรัหมะจารี สีละโต นะอุปะวะทันตี ผู้รู้ใคร่ครวญแล้ว ติเตียนตัวเราโดยศีลได้หรือไม่ สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว, เราจะละเว้น เป็นต่างๆ คือว่า จะต้องพลัดพรากจากของรักของเจริญใจทั้งสิ้นไป
กัมมัสสะโกมหิ, กัมมะทายาโท, กัมมะโยนิ, กัมมะพันธุ, กัมมะปะฏิสะระโณ, เรามีกรรมเป็นของๆ ตน, มีกรรมเป็นผู้ให้ผล, มีกรรมเป็นแดน
เกิด, มีกรรมเป็นผู้ติดตาม, มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
87 ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลละยาณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ, เราจะท�ำกรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรือเป็นบาป, เราจะเป็นทายาท, คือ
ว่าจะต้องได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป
กะถัมภูตัสสะ เม รัตตินทิวา วีติปะตันตีติ, วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เรา
ท�ำอะไรอยู่
กัจจิ นุ โข หัง สุญญาคาเร อะภิระมามิติ, เรายินดีในเสนาสนะสงัด หรือไม่, อัตถิ นุ โข เม อุตตะริมะนุสสะธัมมา, อะละมะริยะญาณะ ทัส สะ นะวิเสโส อะธิคะโต, คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ โสหัง ปัจฉิเม กาเล สะพรัหมะจารี หิ ปุฏโฐ นะ มังกุ ภะวิสสามี, ที่จะให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขินใน เวลาเพื่อนบรรพชิตถาม ในกาลภายหลัง อิเม โข ภิกขะเว ทะสะ ธัมมา ธรรมทัง้ ๑๐ ประการนีแ้ ล ปัพพะชิเตนะ อะภิณหังปัจจะเวก ขิตัพพัง อันบรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ เทอญ.
สีลุทเทสะปาฐะ อุโปสะถาวะสาเน สัชฌายิตัพโพ ภาสิตะมิทัง เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมา สัมพุทเธนะ, สัมปันนะสีลา ภิกขะเว วิหะระถะ สัมปันนะปาฏิโมกขา, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะระถะ อาจาระโคจะระสัมปันนา, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขะถะ สิกขาปะเทสูต.ิ ตัสมาติ หัมเหหิ สิกขิตพ ั พัง, สัมปันนะสีลา วิหะริสสามะ สั ม ปั น นะปาฏิ โ มกขา, ปาฏิ โ มกขะสั ง วะระสั ง วุ ต า วิ ห ะริ ส สามะ อาจาระโคจะระสัมปันนา, อะณุมตั เตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขิสสามะ สิกขาปะเทสูติ. เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง.
88
ตายะนะคาถา
ฉินทะ โสตัง ปะรักกัมมะ นัปปะหายะ มุนิ กาเม กะยิรา เจ กะยิราเถนัง สิถิโล หิ ปะริพพาโช อะกะตัง ทุกกะฏัง เสยโย กะตัญจะ สุกะตัง เสยโย กุโส ยะถา ทุคคะหิโต สามัญญัง ทุปปะรามัตถัง ยังกิญจิ สิถิลัง กัมมัง สังกัสสะรัง พรัหมะจะริยัง
กาเม ปะนูทะ พราหมะณะ, เนกัตตะมุปะปัชชะติ. ทัฬหะเมนัง ปะรักกะเม, ภิยโย อากิระเต ระชัง. ปัจฉา ตัปปะติ ทุกกะฏัง, ยัง กัตตะวา นานุตัปปะติ. หัตถะเมวานุกันตะติ, นิระยายูปะกัฑฒะติ. สังกิลิฏฐัญจะ ยัง วะตัง, นะ ตัง โหติ มะหัปผะลันติ.
โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาโฐ
อุททิฏฐัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, โอวาทะปาฏิโมกขัง ตีหิ คาถาหิ, ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต. สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสัมปะทา. สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะ สาสะนัง. อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร, มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสสะมิง ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, อะธิจิตเต จะ อาโยโค เอตัง พุทธานะ สาสะนันติ.
เทวตาทิปัตติทานคาถา
89
(น�ำ) หันทะ มะยัง เทวะตาปัตติทานะคาถา โย ภะณามะ เส. ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี ถูเป ฆเร โพธิฆเร ตะหิง ตะหิง ตา ธัมมะ ทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต.
มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร บิดามารดาเป็นเพื่อนที่ดีในบ้าน
90
แผ่เมตตาตนและสัตว์ (เจริญพรหมวิหาร)
อะหัง สุขิโต โหมิ นิททุกโข โหมิ อะเวโร โหมิ อัพ๎ยาปัชโฌ โหมิ อะนีโฆ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ, สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ, สัพเพ สัตตา อัพยาปัชฌา โหนตุ, สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ, สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ, สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ. สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ, กัลย๎ าณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
ค�ำแผ่เมตตา (แบบย่อ) สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน, ขอให้สตั ว์ทงั้ หลาย อย่าได้มเี วรต่อกันและกันเลย จงเป็นผูด้ ำ� รง ชีพอยู่ เป็นสุขทุกเมือ่ เทอญ กะตัง ปุญญัง พะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต. ขอให้สัตว์ทั้งหลาย จงได้เสวยผลบุญ ที่ข้าพเจ้าได้บ�ำเพ็ญด้วย กาย วาจา ใจ แล้วนั้นเทอญ.
ถวายพรพระ (อิติปิ โส ฯ)
91
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุรสิ ะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก, อะกาลิโก, เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, ญายะปะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, สามี จิ ป ะฏิ ป ั น โน ภะคะวะโต สาวะกะสั ง โฆ, ยะทิ ทั ง , จั ต ตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
นตฺถิ พาเล สหายตา ความเป็นเพื่อนไม่มีในคนพาล
92
ชัยมังคลคาถา (พาหุงฯ) พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ
______________________________________________________ *สวดให้คนอื่น เปลี่ยนเป็น เต
สังจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พ๎รัห๎มัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตตะวานะเนกะวิธินานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ
อพฺยาปัชฌํ สุขํ โลเก ความไม่เบียดเบียนเป็นสุขในโลก
93
94
ชะยะปะริตตัง
มะหาการุณิโก นาโถ ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ชะยันโต โพธิยา มูเล เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ อะปะราชิตะปัลลังเก อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ โส อัตถะลัทโธ สุขิโต อะโรโค สุขิโต โหหิ สา อัตถะลัทธา สุขิตา อะโรคา สุขิตา โหหิ เต อัตถะลัทธา สุขิตา อะโรคา สุขิตา โหถะ
หิตายะ สัพพะปาณินัง, ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง, โหตุ เต ชะยะมังคะลัง. สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน, ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล. สีเส ปะฐะวิโปกขะเร, อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง, สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ. วาจากัมมัง ปะทักขิณัง, ปะณิธี เต ปะทักขิณา, ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ, วิรุฬ๎โห พุทธะสาสะเน, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ. วิรุฬ๎หา พุทธะสาสะเน, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ. วิรุฬ๎หา พุทธะสาสะเน, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ.
อนุโมทนาวิธี (ผู้เป็นประธานเริ่มต้น) ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท ปัณณะระโส ยะถา มะณิ โชติระโส ยะถา. (รับพร้อมกัน) สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ, มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ, มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ, มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน. จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.
นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี
95
96
มงคลจักรวาลน้อย
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณังระตะนานัง อานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปัททะวา สัพเพ เต ทุ น นิ มิ ต ตา สั พ เพ เต อะวะมั ง คะลา วิ นั ส สั น ตุ , อายุ วั ฑ ฒะโก ธะนะวั ฑ ฒะโก สิ ริ วั ฑ ฒะโก ยะสะวั ฑ ฒะโก พะละวั ฑ ฒะโก วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทา ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททะวา, อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา. ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง, สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต.
มงคลจักรวาลใหญ่
สิรธิ ติ มิ ะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมติ ะปุญญาธิการัสสะ สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ท๎วตั ติงสะมะหาปุรสิ ะลักขะณานุภาเวนะ อะสีตย๎ านุพย๎ ญ ั ชะนานุภาเวนะ อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรั ง สิ ย านุ ภ าเวนะ เกตุ ม าลานุ ภ าเวนะ ทะสะปาระมิ ต านุ ภ าเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ
97 สี ล ะสะมาธิ ป ั ญ ญานุ ภ าเวนะ พุ ท ธานุ ภ าเวนะ ธั ม มานุ ภ าเวนะ สังฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสจั จะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุ ภ าเวนะ สั พ พั ญ ญุ ต ะญาณานุ ภ าเวนะ เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปะริตตานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ, สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สั พ พะสั ง กั ป ปา ตุ ย หั ง สะมิ ช ฌั น ตุ , ที ฆ ายุ ต า ตุ ย หั ง โหตุ , สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา, อากาสะปัพพะตะวะนะภูมคิ งั คามะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรกั ขันตุ.
อาทิยะสุตตะคาถา
ภุตตา โภคา ภะฏา ภัจจา อุทธัคคา ทักขิณา ทินนา อุปัฏฐิตา สีละวันโต ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต เอตัง อะนุสสะรัง มัจโฉ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ
วิติณณา อาปะทาสุ เม, อะโถ ปัญจะ พะลี กะตา. สัญญะตา พรัหมะจาริโน, ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง. กะตัง อะนะนุตาปิยัง, อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร. เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ.
98
วิหาระทานะคาถา
สีตัง อุณหัง ปะฏิหันติ สิริงสะเป จะ มะกะเส ตะโต วาตาตะโป โฆโร เลนัตถัญจะ สุขัตถัญจะ วิหาระทานัง สังฆัสสะ ตัสสะมา หิ ปัณฑิโต โปโส วิหาเร การะเย รัมเม เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ
ตะโต วาฬะมิคานิ จะ, สิสิเร จาปิ วุฏฐิโย. สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ, ฌายิตุง จะ วิปัสสิตุง. อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง, สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน. วาสะเยตถะ พะหุสสุเต, วัตถะเสนาสะนานิ จะ. วิปปะสันเนนะ เจตะสา, สัพพะทุกขาปะนูทะนัง, ปะรินิพพาตตะยะนาสะโวติ.
โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา อายุโท พะละโท ธีโร สุขัสสะ ทาตา เมธาวี อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง ทีฆายุ ยะสะวา โหติ
วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, สุขัง โส อะธิคัจฉะติ. สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท, ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตีติ.
อาฏานาฏิยะปะริตตัง (ย่อ) สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะเวระมะติกกันโต สัพพีติโย วิวัชชันตุ มา เต ภะวัตวันตะราโย อะภิวาทะนะสีลิสสะ จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ
สัพพะสันตาปะวัชชิโต, นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ. สัพพะโรโค วินัสสะตุ, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.
เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา ยัส๎มิง ปะเทเส กัปเปติ สีละวันเตตถะ โภเชต๎วา ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง ตา ปูชิตา ปูชะยันติ ตะโต นัง อะนุกัมปันติ เทวะตานุกัมปิโต โปโส
วาสัง ปัณฑิตะชาติโย, สัญญะเต พ๎รัห๎มะจาริโน. ตาสัง ทักขิณะมาทิเส, มานิตา มานะยันติ นัง. มาตา ปุตตังวะ โอระสัง, สะทา ภัทรานิ ปัสสะติ.
ธมฺโมสุจิณฺโณ สุขมาวหาติ ธรรมะที่ประพฤติดีแล้วย่อมนำ�สุขมาให้
99
100
มงคลจักรวาลน้อย (ย่อ)
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ทุกขะโรคภะยา เวรา อะเนกา อันตะรายาปิ ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ สะตะวัสสา จะ อายู จะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะพุทธานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะธัมมานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะสังฆานุภาเวนะ
ระตะนัตตะยะเตชะสา, โสกา สัตตุ จุปัททะวา. วินัสสันตุ อะเสสะโต, โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง. โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต. รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. รักขันตุ สัพพะเทวะตา, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
เกณิยานุโมทะนาคาถา อัคคิหุตตัง มุขา ยัญญา ราชา มุขัง มะนุสสานัง นักขัตตานัง มุขัง จันโท ปุญญะมากังขะมานานัง ภะณิสสามะ มะยัง คาถา เอตา สุณันตุ สักกัจจัง
สาวิตติ ฉันทะโส มุขัง, นะทีนัง สาคะโร มุขัง. อาทิจโจ ตะปะตัง มุขัง, สังโฆ เว ยะชะตัง มุขัง. กาละทานัปปะทีปิกา, ทายะกา ปุญญะกามิโน.
หมายเหตุ :- แบบนี้ น�ำ กาละทานะสุตตะคาถา ถ้าน�ำ วิหาระทานะคาถา เปลี่ยนที่ขีดเส้นใต้เป็น วิหาระทานะทีปิกา
กาละทานะสุตตะคาถา
101
กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ. วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา. นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ.
ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาค อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมิตตา สะขา จะ เม, เปตานัง ทักขิณัง ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง. นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยา วัญญา ปะริเทวะนา, นะ ตัง เปตานะมัตถายะ เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย. อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ. โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา, พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ.
102
อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา
อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี เทวะภูโต มะนุสโส วา
อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง, ทักขิเณยเย อะนุตตะเร. วิราคูปะสะเม สุเข, ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร. อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง อัคคะธัมมะสะมาหิโต อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ.
อุททิสสนาธิฏฐานคาถา
(น�ำ) หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส. อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ พ๎รห๎มะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง. อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง นัสสันตุ สัพพะทาเยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อุชุจิตตัง สะติปัญญา มารา ละภันตุ โนกาสัง พุทธาทิปะวะโร นาโถ นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ เตโสตตะมานุภาเวนะ ทะสะปุญญานุภาเวนะ
103
สัลเลโข วิริยัมหินา กาตุญจะ วิริเยสุ เม ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง มาโรกาสัง ละภันตุ มา มาโรกาสัง ละภันตุ มา.
ปัตติทานะคาถา (แปล) คาถากรวดน�้ำ พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๔
ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม, เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา,
ขอสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีที่สุดไม่มีประมาณ จงเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้ ท�ำในบัดนี้ แลแห่งบุญทั้งหลายอื่นที่ข้าพเจ้าได้ท�ำไว้ก่อนแล้ว
เย ปิยา คุณะ วันตา จะ, คือชนเหล่าใดเป็นที่รัก ผู้มีคุณ มัยหัง มาตาปิตาทะโย, มีมารดาและบิดาของข้าพเจ้า เป็นต้น ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐา วา, ที่ข้าพเจ้าได้เห็นหรือแม้ไม่ได้เห็น อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน, สัตตา ติฏฐันติ โลกัสมิง, แลสัตว์ทั้งหลายอื่นที่เป็นกลาง, แลมีเวรกันตั้งอยู่ในโลก
104 เตภุมมา จะตุโยนิกา, เกิดในภูมิ ๓ เกิดในก�ำเนิด ๔ ปัญเจกะจะตุโวการา, มีขันธ์ ๕ แลขันธ์ ๑ และขันธ์ ๔ สังสะรันตา ภะวาภะเว, ท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยแลภพใหญ่ ญาตัง เย ปัตติทานัมเม, สัตว์เหล่าใดทราบการให้ส่วนบุญของข้าพเจ้าแล้ว อนุโมทันตุ เต สะยัง, ขอสัตว์เหล่านั้น จงอนุโมทนาเองเถิด เย จิมัง นัปปะชานันติ, ก็สัตว์เหล่าใด ย่อมไม่ทราบการให้ส่วนบุญของข้าพเจ้านี้ เทวา เตสัง นิเวทะยุง, ขอเทพทั้งหลาย, พึงแจ้งแก่สัตว์เหล่านั้น มะยะ ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา, เพราะเหตุคืออนุโมทนา, บุญทั้งหลายที่ข้าพเจ้าให้แล้ว สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน, ขอสัตว์ทั้งปวง จงอย่ามีเวรอยู่เป็นสุขเสมอเถิด เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ, แลจงถึงทางอันเกษมเถิด เตสาสา สิชฌะตัง สุภา. ขอความหวังอันดีของสัตว์เหล่านั้น จงส�ำเร็จเทอญ
อนุโมทนารัมภะคาถา
105
ยะถา วาริวะหา ปุรา ปะริปเุ รนติ สาคะรัง, บรรดาแม่นำ�้ ในห้วยหนอง
คลองบึงบางต่างๆ ย่อมไหลลงไปยังสมุทรสาครให้เต็มเปี่ยมฉันใด เอวะ เมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ. ด้วยอ�ำนาจกุศล ผลสุจริตทาน อันท่านทั้งหลาย ได้บ�ำเพ็ญให้เป็นไปแล้วโดยชอบธรรม จงเข้าไป ส�ำเร็จแก่เปรตชนทั้งหลาย มีมารดา บิดา ปู่ ย่า ตา ยาย ญาติมิตรสหาย เป็นต้น ซึ่งล่วงลับไปแล้วยังปรโลกฉันนั้นเถิด. อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะสมิชฌะตุ, ความปรารถนาอันใด ที่ท่านทั้งหลายได้ตั้งไว้แล้วโดยชอบ จงส�ำเร็จดังความมุ่งมาดปรารถนาอย่าได้ช้า อย่าได้นาน สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา ความด�ำริในใจอันใด ที่ท่านทั้งหลายได้ด�ำริไว้ แล้วโดยชอบ จงสมบูรณ์โดยชอบสมดังมโนรสทุกอย่างทุกประการ จันโท ปันนะระโส ยะถา, อนึ่งเล่าพระจันทร์มณฑลย่อมโสภณในวัน เพ็ญปุณณะมีดิถีที่ ๑๕ ค�่ำ แลมีฉันใด ความด�ำริมีในใจของท่านทั้งหลายจงเข้าไป เต็มเปี่ยมฉันนั้นเถิด มณิ โชติระโส ยะถา. อนึ่งเล่า แก้วมณีอันมีนามว่า โชติรสย่อมยังความ ปรารถนาของพระเจ้าจักรพรรดิราชให้สำ� เร็จได้ฉนั ใดขอให้ความปรารถนาของท่าน ทั้งหลาย จงเข้าไปส�ำเร็จเหมือนดังแก้วมณีโชติรส ยังความปรารถนาของพระเจ้า จักรพรรดิให้ส�ำเร็จฉันนั้นเถิด
106
สามัญญานุโมทนาคาถา
สัพพีตโิ ย วิวชั ชันตุ สัพพะเสนียดจัญไรทัง้ หลายจงเสือ่ มสูญหาย สัพพะ โรโค วินัสสะตุ, สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย, จงพินาศ สาบสูญไป มา เต ภะวัตวันตะราโย ขอสัพพะอันตรายทั้งหลายจงอย่าได้มา พ้องพานในจิตตะสันดานของท่านทั้งหลาย สุขี ทีฑายุโก ภะวะ. ขอให้ท่าน ทั้งหลายจงมีความสุขทุกคืนวันมิได้ขาด
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, อนึ่งเล่าวุฒิธรรม
๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขขะ พละ ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้เคารพนอบน้อมใน วุฒะบุคคล คือ ชาติวุฒิโฑ ผู้เจริญด้วยชาติ วัยยะวุฒิโฑ ผู้เจริญด้วยวัย คุณะวุฒิโฑ ผู้เจริญด้วยคุณเป็นนิจ กิจเหล่านี้เป็นอันว่าท่านทั้งหลายได้กระท�ำ มาแล้วโดยชอบ จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขงั พะลัง วุฒธิ รรม ๔ ประการ คือ อายุ ขอให้ทา่ นทัง้ หลายจงมีอายุยนื ยงทน ตลอดชัว่ อายุขยั วรรณะ ขอให้ทา่ นทัง้ หลาย จงมีผวิ พรรณผ่องใส สะอาด ปราศจากมลทิน เหมือนพระจันทร์ อันโสภณในวันเพ็ญ ปุณณะมี สุขขะ ขอให้ทา่ นทัง้ หลาย จงมีความสุขกายสบาย จิต เป็นนิมิตเครื่องหมายตลอดไปทุกอิริยาบถ พละ ขอให้ปรากฏสมบูรณ์ด้วย ก�ำลังกายและวาจา ทั้งปัญญาและก�ำลังทรัพย์พร้อมทั้งลาภยศ วัฑฒันตุ ขอให้ พระพรทั้งหลายที่บรรยายมานี้ จงปรากฏวัฒนการให้ประสพความสุขส�ำราญ ทุกเมื่อ
กาละทานะสุตตะคาถา
107
กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชภู เู ตสุ ตาทิสุ วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปลุ า โหติ ทักขิณา,
ทายกทั้งหลายเหล่าใด เป็นผู้มีปัญญา มีปกติรู้จักค�ำพูด ปราศจากตระหนี่ มีใจ เลื่อมใสแล้วในพระอริยเจ้าทั้งหลาย ซึ่งเป็นผู้ตรงคงที่บริจาคทาน ท�ำให้เป็นของที่ ตนถวายโดยกาลนิยมในกาลสมัย ทักขิณาของทายกนัน้ เป็นคุณสมบัติ มีผลไพบูลย์ เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา, ชนทั้งหลาย เหล่าใดอนุโมทนาหรือช่วยกระท�ำการขวนขวายในทานนั้น นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน, ทักขิณาทาน ของเขามิได้บกพร่องไป ด้วยเหตุนั้น ชนทั้งหลายเหล่านั้นย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญนั้นด้วย
ตัสสะมา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง,
เหตุนั้นทายกควรเป็นผู้มีจิตไม่ท้อถอย ให้ในที่ใดมีผลมากควรให้ในที่นั้น ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ. บุญย่อมเป็น ที่พึ่งอาศัยของสัตว์ทั้งหลาย ในโลกหน้า ฉะนี้ ฯ.
ทนฺโต เสฏโฐ มนุสฺเสสุ มนุษย์ที่ฝึกตนเองดีแล้วเป็นคนประเสริฐ
108
ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาค
อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมติ ตา สะขา จะ เม, เปตานัง ทักขิณงั ทัชฌา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง. บุคคลมาระลึกถึงอุปการะ อันท่านได้ท�ำแก่
ตนในกาลก่อนว่า ผู้นี้ได้ให้สิ่งนี้แก่เรา ผู้นี้ได้ท�ำกิจนี้ของเรา ผู้นี้เป็นญาติเป็นมิตร เป็นเพื่อนของเราดังนี้ ก็ควรให้ทักขิณาทานเพื่อผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้ว นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยา วัญญา ปะริเทวะนา, การร้องไห้ก็ดี การเศร้าโศกก็ดี หรือการร�่ำไรร�ำพันอย่างอื่นก็ดี บุคคลไม่ควรท�ำทีเดียว นะ ตัง เปตานะมัตถายะ เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย เพราะว่าการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่เป็นประโยชน์แก่ญาติทั้งหลาย ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว ญาติทั้งหลายย่อมตั้งอยู่อย่าง นั้น อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ก็ทักขิณานี้แล อันท่านให้แล้ว ประดิษฐานไว้ดีแล้วในสงฆ์ ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปปะกัปปะติ. ย่อมส�ำเร็จประโยชน์เกือ้ กูลแก่ผ้ทู ลี่ ะโลกนีไ้ ปแล้วนัน้ ตลอดกาล นานตามฐานะ โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, เปตานะ ปูชา จะ กะ ตา อุฬารา, ญาติธรรมนี้นั้น ท่านได้แสดงให้ปรากฏแล้ว และบูชาอันยิ่งท่านก็ได้ ท�ำแล้วแก่ญาติทั้งหลาย ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว
พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ. ก�ำลังแห่งภิกษุทงั้ หลาย ชือ่ ว่าท่านได้เพิม่ ให้แล้ว ด้วยบุญไม่น้อย
ท่านได้ขวนขวายแล้ว ดังนี้แลฯ.
อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา
109
อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคังธัมมัง วิชานะตัง, เมื่อบุคคลมารู้จัก ธรรมอันเลิศ เลื่อมใสแล้วโดยเป็นของเลิศแท้จริง อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง ทักขิเณยเย อะนุตตะเร. เมื่อบุคคลมาเลื่อมใสแล้วในพระพุทธเจ้า ท่านผู้รู้จัก ของจริงแล้วเป็นผู้เลิศ ควรวัตถุอันบุคคลพึงให้หาสิ่งอื่นยิ่งกว่าไม่มี อัคเคธัมเม ปะสันนานัง วิราคูปะสะเม สุเข, เมื่อบุคคลใดมาเลื่อมใสแล้วในพระธรรมอัน เลิศ เป็นธรรมปราศจากเครื่องย้อม และเป็นธรรมมีความสุขสงบ อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร, เมื่อบุคคลมาเลื่อมใสแล้ว ในพระ สงฆ์หมู่อันเลิศเป็นนาบุญ หาเขตนาบุญอื่นยิ่งกว่าไม่มี อัคคัสสะมิง ทานัง ทะทะตัง ทานวัตถุอันบุคคลให้แล้วในเขตอันเลิศ อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, บุญกุศลอันเลิศย่อมเจริญ อัคคังอายุ จะ วัณโณ จะ ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง. อายุด้วยวรรณะผิวกายด้วย ยศบรรดาศักดิ์ด้วย ความสรรเสริญด้วย ความสุขกายสุขใจด้วย พละก�ำลังด้วยอันเลิศย่อมเจริญ อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี อัคคะธัมมะสะมาหิโต, บุคคลผู้มีปัญญาตั้งอยู่แล้วในธรรมอันเลิศ ให้แล้วซึ่ง ทานวัตถุอันเลิศ เทวะภูโต มะนุสโส วา อัคคัปปัตโต ปะโมทะตีติ ไปเกิด เป็นเทวดา หรือไปเกิดเป็นมนุษย์ ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศ อันบันเทิงยินดี อิติ ดังนี้ ฯ.
110
ทานานุโมทนาคาถา
อันนัง ปานัง วัตถัง ยานัง มาลาคันธัง วิเลปะนัง, เสยยาวะสะถัง ปะทีเปยยัง ทานะวัตถู อิเมทะสะ, ทานวัตถุ ๑๐ อย่างเหล่านี้ คือ ข้าว น�้ำ ผ้า
ยาน ระเบียบดอกไม้ ของหอม เครือ่ งลูบไล้ ทีน่ อน ทีพ่ กั อาศัย เครือ่ งประทีป อันนะ โท พะละโท โหติ ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้ก�ำลัง, วัตถะโท โหติ วัณณะโท ผู้ให้ผ้า ชื่อ ว่าให้วรรณะ, ยานะโท สุขะโท โหติ ผูใ้ ห้ยาน ชือ่ ว่าให้ความสุข, ทีปะโท โหติ จักขุโท ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ, มะนาปะทายี ละภะเต มะนาปัง ผู้ให้ของ ที่พอใจ ย่อมได้ของที่พอใจ, อัคคัสสะ ทาตา ละภะเต ปุนัคคังุ ผู้ให้วัตถุอัน เลิศ ย่อมได้วตั ถุอนั เลิศ, วะรัสะ ทาตา วะระลาภี โหติ ผูใ้ ห้ของดี ย่อมได้ของดี, เสฏฐันทะโท เสฏฐะมุเปติ ฐานัง ผู้ให้ฐานะอันประเสริฐ ย่อมเข้าถึงฐานะ อันประเสริฐ, อัคคะทายี วะระทายี เสฏฐะทายี จะ โย นะโร นระใดให้ของ ที่เลิศ ให้ของที่ดี และให้ฐานะอันประเสริฐ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถู ปะ ปัชชะตีติ นระนั้นเกิดในที่ใดๆ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน และมียศ ในทีน่ นั้ ๆ ดังนีแ้ ล, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ด้วยสัจจวาจาภาษิตนี,้ สุวัตถิโหตุ สัพพะทา, อาโรคิ
ยะสุขัญเจวะ กุสะลัญจะ อะนามะยัง ขอความสวัสดี และความสุขอัน เกิดแต่ความไม่มีโรค และอนามัยเป็นอันดี, จงมีแก่ท่านทั้งหลายทุก เมื่อ, สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ อิทัง ผะลัง เอตัสสะมิง ระตะ นัตตะยัสสะมิง สัมปะสาทะนะเจตะโส ขอผลแห่งจิต อันเลื่อมใสใน พระรัตนตรัยนี้ จงเป็นผลส�ำเร็จ จงเป็นผลส�ำเร็จ จงเป็นผลส�ำเร็จ.
ภะวันตุสัพ
111
ภ ะ ว ะ ตุ สั พ พ ะ มั ง ค ะ ลั ง , ข อ ส ร ร พ ม ง ค ล จ ง มี แ ก ่ ท ่ า น รั ก ขั น ตุ สั พ พะ เทวะตา, ขอเหล่ า เทวดาทั้ ง ปวงจงรั ก ษาท่ า น, สั พ พะพุ ท ธานุ ภ าเวนะ, ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง พระพุ ท ธเจ้ า ทั้ ง ปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุเต, ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ภ ะ ว ะ ตุ สั พ พ ะ มั ง ค ะ ลั ง , ข อ ส ร ร พ ม ง ค ล จ ง มีแ ก ่ ท ่ า น , รั ก ขั น ตุ สั พ พะเทวะตา, ขอเหล่ า เทวดาทั้ ง ปวงจงรั ก ษาท่ า น, สั พ พ ะ ธั ม ม า นุ ภ า เ ว น ะ , ด ้ ว ย อ า นุ ภ า พ แ ห ่ ง พ ร ะ ธ ร ร ม ทั้ ง ป ว ง , สะทา โสตถี ภะวันตุเต, ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพศิริสวัสดิ์พิพัฒน์มงคล จงเกิดมี, รั ก ขั น ตุ สั พ พะ เทวะตา, ขอทวยเทพเจ้ า เหล่ า อะทิ ส สะมานะกาย,
ซึง่ สถิตอยูใ่ นทีท่ กุ สถานพิมานมาศ, จงช่วยวางอ�ำนาจปกครองป้องกันท่านทัง้ หลาย สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุเต. ขอสรรพศิริสวัสดิ์พิพัฒน์มงคล จงมีแก่ท่านทั้งหลาย, ให้ได้บ�ำเพ็ญ กุศลมีทานศีลภาวนาเป็นต้น, ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาสืบไปสิ้นกาลนาน, สมดัง ปณิธานความปรารถนาทุกประการเทอญ.
112
ปัจฉิมโมทนาคาถา
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง ขอศุ ภ มงคลทั้ ง สิ้ น จงมี ขอเทพดาทั้ ง ปวงจงรั ก ษา ด้ ว ยอานุ ภ าพแห่ ง
พระพุทธเจ้าทั้งหมด ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีเสมอ ไม่มีระหว่าง ขอศุภมงคลทัง้ สิน้ จงมี ขอเทพดาทัง้ ปวงจงรักษา ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ทั้งหมด ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีเสมอ ไม่มีระหว่าง ขอศุภมงคลทัง้ สิน้ จงมี ขอเทพดาทัง้ ปวงจงรักษา ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ทั้งหมด ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีเสมอ ไม่มีระหว่าง.
113
114
ศาสนพิธี บรรพชาอุปสมบทพิธี
กุลบุตรผู้มศี รัทธามุ่งบรรพชาหรืออุปสมบท เมือ่ ถึงวันท�ำพิธแี ล้วพึงปลงผม หนวด คิ้ว แล้วนุ่งขาวห่มขาว เรียกว่าเป็น “นาค” นาคเมื่อเข้าไปสู่อุโบสถแล้ว ให้ น�ำดอกไม้ธูปเทียนไปนมัสการพระรัตนตรัยยังแท่นโต๊ะหมู่บูชา เบื้องหน้าพระ ประธานในอุโบสถ จากนั้นมากราบพ่อแม่หรือผู้มีอุปการะในการบวช แล้วรับผ้าไตรพร้อมทั้ง เครื่องสักการะ คือ ดอกไม้ธูปเทียน อุ้มประณมมือเข้าไปในสังฆนิบาตถวายเครื่อง สักการะพร้อมกับผ้าไตรแด่พระอุปชั ฌายะแล้วกราบลงด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง นั่งคุกเข่ารับผ้าไตรจากพระอุปัชฌาย์ แล้วประณมมือเปล่งวาจา ขอบรรพชา และอุปสมบทด้วยค�ำมคธว่า:
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คั จ ฉามิ , ธั ม มั ญ จะ ภิ ก ขุ สั ง ฆั ญ จะ, ละเภยยาหั ง ภั น เต, ตั ส สะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง.๑ ทุตยิ มั ปาหัง ภันเต, สุจริ ะปะรินพ ิ พุตมั ปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสงั ฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง. ตะติยัมปาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสงั ฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง. ______________________________________________________ ๑
ถ้าบวชเป็นสามเณร ให้เว้นไม่กล่าวค�ำว่า ละเภยยัง อุปะสัมปทัง.
115
(ค�ำแปล : “ท่านเจ้าขา ! ข้าพเจ้าถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้ปรินพิ พานมาช้านานแล้วอีกทัง้ พระธรรมและพระสงฆ์เป็นสรณะทีพ่ งึ่ ท่านเจ้าขา ! ขอข้าพเจ้าพึงได้บรรพชา (พึงได้อุปสมบท) ในพระธรรมวินยั ของพระผูม้ พี ระภาค เจ้า พระองค์นนั้ ” “แม้ครัง้ ที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓...ท่านเจ้าข้า ฯลฯ พระองค์นั้น”)
อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมินา กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ. ทุตยิ มั ปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมนิ า กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ. ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมินา กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
(ค�ำแปล : “ท่านเจ้าขา ! ข้าพเจ้าขอบรรพชา ขอท่านโปรดรับผ้ากาสายะ เหล่านี้แล้ว ยังข้าพเจ้าให้บรรพชาเถิด แม้ครั้งที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓...”)
ในล�ำดับนั้น พระอุปชฌายะจะรับผ้าไตรจีวรจากผู้มุ่งบรรพชา วางไว้เบื้อง หน้าของท่านแล้ว ท่านจะกล่าวสอนถึงพระพุทธศาสนา มีพระรัตนตรัยเป็นต้น และ จะบอก “ตะจะปัญจะกะกัมมัฏฐาน” ให้ผู้มุ่งบรรพชาว่าตามไปทีละบท โดย อนุโลมและปฏิโลม ดังนี้ เกสา, โลมา, นะขา, ทันตา, ตะโจ, (ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง,) ตะโจ, ทันตา, นะขา, โลมา, เกสา, (หนัง ฟัน เล็บ ขน ผม.) ครั้ น จบแล้ ว พระอุ ป ั ช ฌาย์ จ ะดึ ง ผ้ า อั ง สะออกจากผ้ า ไตร แล้ ว สั่ ง ให้ ผู้มุ่งบรรพชานั่งคุกเข่า สวมอังสะให้แล้ว สั่งให้ออกไปครองไตรจีวรตามระเบียบ ซึ่งจะมีพระพี่เลี้ยงคอยช่วยห่มให้ เมื่อเสร็จแล้วให้รับเครื่องสักการะเข้าไปพระ อาจารย์ จะเป็นภิกษุรูปใดรูปหนึ่งแล้วแต่พระอุปัชฌายะจะเป็นผู้บอกถวายเครื่อง สักการะแล้วให้กราบ ๓ หน นัง่ คุกเข่า ประณมมือเปล่งวาจาขอสรณะและศีล ดังนี้
116 อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ. ข้าพเจ้าขอสรณะและศีล ขอรับ. ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ. แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าขอสรณะและศีล ขอรับ. ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ. แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าขอสรณะและศีล ขอรับ. ล�ำดับนัน้ พระอาจารย์จะกล่าวค�ำนมัสการให้ผมู้ งุ่ บรรพชากล่าวตามไป ดังนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. [ว่า ๓ หน] [แปล:ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์นนั้ ผูเ้ ป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ ชอบได้โดยพระองค์เอง.] แต่นนั้ ท่านจะสัง่ ด้วยค�ำว่า “เอวัง วะเทหิ” [แปล:เจ้าจงว่าอย่างนี]้ พึงรับว่า “อามะ ภันเต” [แปล:ขอรับกระผม] ครั้นแล้วให้เปล่งวาจาว่า สรณคมน์ตามพระอาจารย์ไปทีละบทว่า : พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นทีพ่ งึ่ ;] ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง;] สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง;]
ทุติยัมปิ พุทธธัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง;] ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง;] ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง;] ตะติยัมปิ พุทธธัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง;]
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง;] ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง;]
117
จากนั้นท่านจะบอกว่า “ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง” [แปล: การถึงสรณะ เสร็จแล้ว] ให้รับว่า “อามะ ภันเต” [แปล: ขอรับกระผม] ล�ำดับนั้น พระอาจารย์จะบอกให้รู้ว่า การบรรพชาเป็นสามเณรส�ำเร็จด้วย สรณคมน์เพียงเท่านี้ แต่นั้นพึงตั้งใจสมาทานสิกขาบท ๑๐ ประการ ของสามเณร ต่อไป ให้ว่าตามดังนี้
ปาณาติปาตา เวระมะณี. [เว้นจากการฆ่าสัตว์;] อะทินนาทานา เวระมะณี. [เว้นจากการลักขโมย;] อะพ๎รัห๎มจะริยา เวระมะณี. [เว้นจากการกระท�ำที่มิใช่พรหมจรรย์;] มุสาวาทา เวระมะณี. [เว้นจากการพูดเท็จ;] สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี. [เว้นจากการดื่มน�ำ้ เมา คือ สุราเมรัยและมัชชะอันเป็นที่ตั้งของความ ประมาท;]
วิกาละโภชะนา เวระมะณี. [เว้นจากการบริโภคอาหารในยามวิกาล (เลยตะวันเที่ยงจนสว่าง);] นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา เวระมะณี. [เว้นจากการฟ้อน เต้นร�ำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นรืน่ เริง;] มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภสู ะนัฏฐานา เวระมะณี. [เว้นจากการทาของหอม และประดับเครื่องแต่งกาย;]
118 อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี. [เว้นจากการนอนบนทีน่ อนอันสูงใหญ่ วิจติ ร สวยงาม ยัดนุน่ และส�ำลี;] ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณี. [เว้นจากการรับเงินทอง;] อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ. (ว่า ๓ หน) [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท ๑๐ เหล่านี้]
[เสร็จแล้วให้กราบ ๓ หน] ในล� ำ ดั บ นั้ น สามเณรพึ ง รั บ บาตรและเครื่ อ งสั ก การะ อุ ้ ม เข้ า ไปหา พระอุปชั ฌาย์ วางบาตรไว้ขา้ งตัว ถวายเครือ่ งสักการะแด่พระอุปชั ฌายะแล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่าประณมมือ กล่าวค�ำขอนิสัย ดังนี้ :
อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ. [ข้าพเจ้าขออยู่ในปกครองท่าน ขอรับ;] ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าขออยู่ในปกครองท่าน ขอรับ;] ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ. (แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าขออยู่ในปกครองท่าน ขอรับ;) อุปัชฌาโย เม ภันเต โหหิ. (ว่า ๓ หน) (ขอท่าน จงเป็นพระอุปัชฌายะของข้าพเจ้าเถิด;)
จากนั้นพระอุปัชฌายะจะกล่าวว่า: “โอปายิกงั ” [ชอบด้วยวิธแี ล้ว] พึงรับว่า “สาธุ ภันเต” [ขอรับกระผม] “ปะฏิ รู ป ั ง ” [สมควรแล้ ว ] พึ ง รั บ ว่ า “สาธุ ภั น เต” [ขอรับกระผม] “ปาสาทิ เ กนะ สั ม ปาเทหิ ” [จงท� ำ การอั น น่ า เลื่ อ มใสเถิ ด ] พึงรับว่า “สาธุ ภันเต” [ขอรับกระผม]
จากนั้นสามเณรพึงกล่าวรับเป็นธุระให้ท่าน ว่าดังนี้:
119
อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโร. [ว่า ๓ หน]
[ตัง้ แต่วนั นีไ้ ปพระเถระย่อมเป็นภาระของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าย่อมเป็นภาระของ พระเถระ] เสร็จแล้วกราบลง ๓ หน พระอาจารย์จะเอาบาตรมีสายโยงคล้องตัวผู้มุ่ง อุปสมบท พระอุปัชฌาย์จะบอกว่า เป็นเวลาที่สงฆ์จะอุปสมบทกรรม ซึ่งจะต้อง ออกชื่ออุปัชฌาย์และผู้มุ่งอุปสมบท รวมทั้งการบอกบาตรและจีวรในการนีพ้ ระกร รมวาจาจารย์จะเป็นผูบ้ อกดังนี้ : อะยันเต ปัตโต [นี้บาตรของเธอ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ขอรับ] อะยัง สังฆาฏิ [นี้ผ้าสังฆาฏิ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ขอรับ] อะยัง อุตตะราสังโฆ [นี้ผ้าจีวร] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ขอรับ] อะยัง อันตะระวาสะโก [นี้ผ้าสงบ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ขอรับ] ต่อจากนั้น พระอาจารย์จะสั่งด้วยภาษาบาลีว่า คัจฉะ อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ (เธอจงไปยืน ณ โอกาสนัน้ ) ผู้ม่งุ อุปสมบทถึงถอยออกมา ลุกขึน้ เดินพนม มือไปยืนอยู่ในที่ที่ก�ำหนดไว้ อย่าเหยียบหรือข้ามผ้าขาวที่ปูไว้ พระอาจารย์จะสวด สมมติ ตนเป็นผู้สอนซ้อมแล้วออกไปถามอันตรายิกธรรม พึงคอยฟังค�ำถาม และ ตอบรับ ดังต่อไปนี.้
ค�ำถาม ค�ำตอบ กุฏฐัง [โรคเรื้อน] พึงรับว่า นัตถิ ภันเต [ไม่มีขอรับ] คัณโฑ [โรคฝี กามโรค] พึงรับว่า นัตถิ ภันเต [ไม่มีขอรับ] กิลาโส [โรคผิวหนัง] พึงรับว่า นัตถิ ภันเต [ไม่มีขอรับ] โสโส [โรคหืด] พึงรับว่า นัตถิ ภันเต [ไม่มีขอรับ] อะปะมาโร [โรคลมบ้าหมู] พึงรับว่า นัตถิ ภันเต [ไม่มีขอรับ] มะนุสโสสิ๊ [เธอเป็นมนุษย์หรือ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ]
120 พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] ปุริโสสิ๊ [เธอเป็นผู้ชายหรือ] ภุชิสโสสิ๊ [เธอเป็นอิสระแก่ตัวหรือ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] อะนะโณสิ๊ [เธอไม่มีหนี้สินใช่ไหม] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] นะสิ๊ ราชะภะโฏ [เธอไม่ใช่ข้าราชการใช่ไหม] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ [แม่พ่ออนุญาตแล้วหรือ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊ [เธออายุครบยี่สิบแล้วหรือ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง [เธอมีบาตรจีวรครบแล้วหรือ] พึงรับว่า อามะ ภันเต [ใช่ขอรับ] กินนาโมสิ๊ [เธอชื่ออะไร] พึงรับว่า อะหัง ภันเต...นามะ [กระผมชื่อ...] โก นามะ เต อุปัชฌาโย [อุปัชฌายะของเธอชื่ออะไร] พึงรับว่า อุปชฌาโย เม ภันเต อายัส๎มา...นามะ [อุปัชฌายะของกระผมชื่อ...] ในการบอกชื่อของตนเองและชื่อพระอุปัชฌาย์นี้ให้บอกเป็นภาษาบาลี ครั้น
สอนซ้อมแล้ว พระอาจารย์จะกลับเข้าสังฆสันนิบาต แล้วสวดขออนุญาตเรียกผู้ม่งุ อุปสมบท ท่านจะเรียกด้วยค�ำบาลีว่า “อาคัจฉาหิ” หรือ “อาคัจฉะถะ” [เธอ จงเข้ามาหรือเธอทัง้ หลายจงเข้ามา] ให้ผ้มู ่งุ อุปสมบทเข้ามาในสังฆสันนิบาต กราบ ลงตรงหน้าพระอุปชั ฌาย์ ๓ หน นัง่ คุกเข่า ประณมมือ เปล่งวาจาขออุปสมบทว่า:
สังฆัมภันเต อุปะสัมปะทัง ยาจามิ๑, อุลลุมปะตุ มัง๒ ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
121 ทุติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ. ตะติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
[แปล: “ข้าพเจ้าขออุปสมบทต่อสงฆ์ ขอรับ, ขอสงฆ์โปรดยกข้าพเจ้าขึน้ (เป็น ภิกษุ) เถิด แม้ครั้งที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓...”]
______________________________________________________ ๑. ถ้าอุปสมบทพร้อมกันตั้งแต่ ๒ รูปขึ้นไป ให้ว่า ยาจามะ.
๒. ถ้าอุปสมบทพร้อมกันตั้งแต่ ๒ รูปขึ้นไป ให้ว่า โน. ล�ำดับนัน้ พระอุปชั ฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์ แล้วพระกรรมวาจารย์สวดสมมติตน ถามอันตรายิกธรรม เริ่มถาม-ตอบ ตั้งแต่ค�ำว่า กุฏฐัง จนถึง โก นามะ เต อุปัชฌา โย ดังก่อนอีกครัง้ ผูข้ ออุปสมบทพึงตอบดังตอนต้นเสร็จแล้ว พระกรรมวาจาจารย์ จะสวดญัตติไปจนจบ ครั้นจบแล้วการบรรพชาอุปสมบทเป็นเสร็จบริบรู ณ์ ให้เอา บาตรทีค่ ล้องอยูอ่ อกจากตัวแล้วให้ภิกษุใหม่กราบ ๓ หน นั่งพับเพียบประณมมือฟัง พระอุ ป ั ช ฌาย์ บ อกอนุ ศ าสน์ เมื่ อ จบอนุ ศ าสน์ แ ล้ ว พึ ง รั บ ว่ า “อามะ ภันเต” นั่งคุกเข่ากราบลงอีก ๓ หน จากนั้นถวายเครื่องไทยธรรมแด่ พระสงฆ์ใน พิธสี วดอนุโมทนาให้ภกิ ษุใหม่ แล้วให้ภกิ ษุใหม่กรวดน�ำ้ อุทศิ ส่วนกุศลแก่ผมู้ พี ระคุณ ที่ล่วงลับไปแล้ว และประณมมือรับพรไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธีการบรรพชา อุปสมบทแต่เพียงเท่านีี้
122
อนึง่ หลังจากเสร็จพิธกี ารบรรพชาอุปสมบทแล้ว ญาติโยมมักจะถวายบริขาร เครื่องใช้ที่ควรแก่สมณะ เช่น ผ้าปูนอน แปรงสีฟัน มุ้ง รองเท้า เป็นต้น และจะรับ พรจากภิกษุใหม่ ดังนั้นผู้มุ่งบวชเป็นภิกษุหรือสามเณรก็ตามพึงท่องบทให้พรดังนี้
ยะถา วาริวะหา ปูรา เอวะเมะ อิโต ทินนัง อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา มะณิ โชติระโส ยะถา. สัพพีติโย วิวัชชันตุ มา เต ภะวัตวันตะราโย อะภิวาทะนะสีลิสสะ จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ
ปูริปูเรนติ สาคะรัง, เปตานัง อุปะกัปปะติ. ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จันโท ปัณณะระโส ยะถา สัพพะโรโค วินัสสะตุ, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.
ข้อวัตร – กิจวัตรควรปฏิบัติและควรรู้
123
กิจวัตร ๑๐ อย่าง ๑. ลงอุโบสถ ๒. บิณฑบาตเลี้ยงชีพ ๓. ท�ำวัตรสวดมนต์ ๔. กวาดลานวัด ๕. รักษาผ้าครอง (สบง, จีวร, สังฆาฏิ) ๖. อยู่ปริวาสกรรม ๗. โกนผม ปลงหนวด ตัดเล็บ ๘. ศึกษาสิกขาบทและปฏิบัติพระอาจารย์ ๙. เทศนาบัต ิ ๑๐. พิจารณาปัจเวกขณะทั้ง ๔ กิจวัตร ๑๐ อย่างนี้ ควรที่ภิกษุจะต้องศึกษาให้ทราบความชัด และจดจ�ำไว้เพื่อปฏิบัติสมควรแก่สมณสารูปแห่งตน
บริขาร ๘ ของพระภิกษุ ๑. ผ้าอันตรวาสก คือ ผ้าสบง ๒. ผ้าอุตตราสงค์ คือ ผ้าจีวร ๓. ผ้าสังฆาฏิ คือ ผ้าสองชั้น ใช้ห่มซ้อนเข้าบ้าน หรือใช้พาดบ่า ๔. บาตร พร้อมทั้งฝา-เชิงรอง (ตีนบาตร) และถุงบาตร ๕. มีดโกน พร้อมทั้งหินลับ (เพิ่มเครื่องตัดเล็บ) ๖. กล่องเข็ม มีเข็มและด้ายเย็บด้วย ๗. ประคดเอว มีทั้งชนิดแผ่นและชนิดไส้สุกร (เป็นถุงยาว) ๘. ธรกรก (เครื่องกรองน�้ำ) ป้องกันตัวสัตว์น�้ำตาย หมายเหตุ บริขารอย่างอืน่ ทีน่ อกไปจากนี้ ทีจ่ ำ� เป็นก็จะต้องมีเพิม่ เติม อีกตามสมควร เช่น บริขารส�ำหรับธุดงค์ ผ้าอาบน�้ำ อังสะ ผ้าห่ม ร่ม รองเท้าแตะ โคมไฟ ไฟฉาย เป็นต้น
124
มังสะ (เนื้อ) ที่ห้ามฉัน ๑๐ อย่าง
๑. เนื้อมนุษย์ ๒. เนื้อช้าง ๓.เนื้อม้า ๔. เนื้อสุนัข ๕. เนื้องู ๖. เนื้อหมี ๗. เนื้อราชสีห์ ๘. เนื้อเสือโคร่ง ๙. เนื้อเสือดาว ๑๐. เนื้อเสือเหลือง
ค�ำอุปโลกน์ในกิจสงฆ์ทั่วไป
(ว่า นโม ๓ จบ) ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ชานาตุ, อะยัง ปะฐะมะภาโค เถรัสสะ (มหาเถรัสสะ) ปาปุณาติ, อะวะเสสา ภาคา อะวะเสสานัง ภิกขุสามะ เณรานัง ปาปุณันตุ, ยะถาสุขัง ปริภุญชันตุ (ว่า ๓ จบ) (พระสงฆ์พร้อมกันรับด้วยเสียงอันดังว่า “สาธุ”)
ค�ำอุปโลกน์อีกแบบหนึ่ง ค�ำกัปปิยะพืชคาม (พืชที่จะเพาะปลูกได้อีก)
(พระว่า) “กัปปิยัง กะโรหิ” (เจ้าจงท�ำให้ควร) (สามเณรหรือคฤหัสถ์วา่ ) “กัปปิยงั ภันเต” (ท�ำให้ควรแล้วเจ้าข้า)
ค�ำพินทุผ้าต่างๆ
ท�ำจุดวงกลม ๓ จุด หรือ ๑ จุดก็ได้ เพื่อหมายให้จ�ำได้หรือท�ำให้ เสียสี พึงเปล่งวาจาหรือผูกใจในขณะที่ท�ำอยู่ว่า “อิมัง พินทุกัปปัง กะโรมิ” (ว่า ๓ จบ)
ค�ำอธิษฐานผ้าต่างๆ
125
(ว่า ๓ จบ) ๑. อธิฏฐาน “ผ้าอันตะระวาสก” (สบง) ว่า “อิมัง อันตะระวาสะกัง อธิฏฐามิ” ๒. อธิฏฐาน “ผ้าอุตตะราสงค์” (จีวร) ว่า “อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ” ๓. อธิฏฐาน “ผ้าสังฆาฏิ” ว่า “อิมัง สังฆาฏิ อะธิฏฐามิ” ๔. อธิฏฐาน “บาตร” ว่า “อิมัง ปัตตัง อะธิฏฐามิ” ๕. อธิฏฐาน “ผ้านิสีทะนะ” (ผ้าปูนั่ง) ว่า “อิมัง นิสีทะนัง อะธิฏฐามิ” ๖. อธิฏฐาน “ผ้าปิดฝี” ว่า “อิมัง กัณฑุปะฎิจฏาทิง อะธิฏฐามิ” ๗. อธิฏฐาน “ผ้าอาบน�้ำฝน” ว่า “อิมัง วัสสิกาสาฏิกัง อะธิฏฐามิ” ๘. อธิฏฐาน “ผ้าปูที่นอน” ว่า “อิมัง ปัจจัตตังถะระณัง อะธิฏฐามิ” ๙. อธิฏฐาน “ผ้าเช็ดหน้าเช็ดปาก” ว่า “อิมัง มุขะปัญฉะนะโจลัง อะธิฏฐามิ” ๑๐. อธิฏฐาน “ผ้าบริขารเล็กๆ น้อยๆ” ว่า “อิมัง ปะริกขาระโจลัง อะธิฏฐามิ” หมายเหตุ ตั้งแต่ ๑ ถึง ๘ ถ้ามีมากเพิ่มเป็นผืนที่ ๒-๓ แล้วจะต้อง “วิกัป” ภายใน ๑๐ วัน จะอธิฏฐานซ�้ำไม่ได้ ตั้งแต่ล�ำดับ ๙-๑๐ ถ้ามีมากเพิ่มขึ้นเป็นผืนที่ ๒-๓ แล้ว ก็ให้ อธิฏฐานตามชื่อนั้น ไม่ต้อง “วิกัป” แต่ให้เปลี่ยนเป็นค�ำ “พหูพจน์” (ค�ำมาก) ขึ้น
126
ค�ำถอนอธิษฐานไตรจีวร (ปัจจุทธรณ์)
(ว่า ๓ จบ) ผ้าอันตรวาสก (สบง) ว่า “อิมัง อันตะระวาสะกัง ปัจจุทธะรามิ” ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร) ว่า “อิมัง อุตตะราสังคัง ปัจจุทธะรามิ” ผ้าสังฆาฏิ ว่า “อิมัง สังฆาฏิง ปัจจุทธะรามิ” รวมทั้ง ๓ ผืน ว่า “อิมัง ตีจีวะรัง ปัจจุทธะรามิ”
ค�ำวิกัปผ้าและบาตร
(ว่า ๓ จบ) ผ้าและบาตร นอกจากอธิษฐาน พึงท�ำให้เป็นของ ๒ เจ้าของ ค�ำวิกัปผ้าผืนเดียว ว่า “อิมัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิ” ผ้ามากผืน ว่า “อิมานิ จีวะรานิ ตุยหัง วิกัปเปมิ” บาตรใบเดียว ว่า “อิมัง ปัตตัง ตุยหัง วิกัปเปมิ” บาตรมากใบ ว่า “อิมานิ ปัตตานิ ตุยหัง วิกัปเปมิ”
ถอนวิกัปผ้าและบาตร (ว่า ๓ จบ)
(ส�ำหรับผู้ถอนมีพรรษาแก่กว่า) ค�ำถอนวิกัปผ้าผืนเดียวว่า “อิมัง จีวะรัง มัยหัง สันตะกัง ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ” ผ้ามากผืน ว่า “อิมานิ จีวะรานิ มัยหัง สันตะกานิ ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ” บาตรใบเดียว ว่า “อิมัง ปัตตัง มัยหัง สันตะกัง ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถาปัจจะยัง วา กะโรหิ” บาตรมากใบ ว่า “อิมานิ ปัตตานิ มัยหัง สันตะกานิ ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา ยะถา ปัจจะยัง วา กะโรหิ” หมายเหตุ ถ้าผูถ้ อนมีพรรษาอ่อนกว่า ให้เปลีย่ นค�ำว่า “กะโรหิ” เป็น “กะโรถะ”
ค�ำเสียสละไตรจีวรที่เป็นนิสสัคคีย์
127
จี ว รเป็ น นิ ส สั ค คี ย ์ เพราะอยู ่ ป ราศจากเขตล่ ว งราตรี หรื อ เก็บผ้าอดิเรกไว้เกิน ๑๐ วัน (ว่า ๓ จบ) อิทัง เม ภันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัตตะระ ภิกขุสัมมะ ติยา นิสสัคคิยัง อิมาหัง อายัสสะมะโต นิสสัชชามิ. (ถ้า ๒ ผืนว่า ทะวิจีวะรัง ถ้าทั้ง ๓ ผืนว่า ติจีวะรัง)
ค�ำมอบคืนไตรจีวรให้แก่เจ้าของเดิม (ว่า ๓ จบ) ผ้าผืนเดียว ผ้า ๒ ผืน ผ้า ๓ ผืน
ว่า “อิมัง จีวะรัง อายัสสะมะโต ทัมมิ” ว่า “อิมัง ทวิจีวะรัง อายัสสะมะโต ทัมมิ” ว่า “อิมัง ติจีวะรัง อายัสสะมะโต ทัมมิ”
ค�ำเสียสละผ้าทั่วไปที่เป็นนิสสัคคีย์
ใช้เกิน ๑๐ วัน (ว่า ๓ จบ) ผ้าผืนเดียว ว่า “อิทัง เม ภันเต จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง อิมาหัง อายัสสะมะโต นิสสัชชามิ” ผ้ามากผืน ว่า “อิมานิ เม ภันเต จีวะรานิ ทะสาหาติกกันตานิ นัสสัคคิยานิ อิมานาหัง อายัสสะมะโต นิสสัชชามิ”
ค�ำมอบคืนผ้าทั่วไปให้แก่เจ้าของเดิม (ว่า ๓ จบ) ผ้าผืนเดียว ผ้ามากผืน
ว่า “อิมัง จีวะรัง อายัสสะมะโต ทัมมิ” ว่า “อิมานิ จีวะรานิ อายัสสะมะโต ทัมมิ”
128
ค�ำชักผ้าป่าที่เขาทอดทิ้งไว้
อิทัง วัตถัง อัสสามิกัง ปังสุกูละจีวะรัง มัยหัง ปาปุณาติ ผ้าบังสกุลจีวร อันหาเจ้าของมิได้นี้ ย่อมถึงแก่เรา
ค�ำชักผ้าป่าที่มีเจ้าของคอยรับพร
อิทัง วัตถัง สัสสามิกัง ปังสุกูละจีวะรัง มัยหัง ปาปุณาติ ผ้าบังสกุลจีวร อันนี้มีเจ้าของ ย่อมถึงแก่เรา
ค�ำอธิษฐานเข้าพรรษา
(ว่า นะโม ๓ จบ) รูปเดียว ว่า “อิมสั สะมิง อาวาเส อิมงั เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ” (ว่า ๓ จบ) มากรูป ว่า “อิมสั สะมิง อาวาเส อิมงั เตมาสัง วัสสัง อุเปมะ” (ว่า ๓ จบ)
ค�ำปวารณาออกพรรษา
สังฆัม ภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา วะทั น ตุ มั ง อายั ส สะมั น โต อะนุ กั ม ปั ง อุ ป าทายะ ปั ส สั น โต ปะฏิกกะรัสสามิฯ ทุตยิ มั ปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสงั กายะ วา วะทันตุ มัง อายัส สะมันโต อะนุ กัมปั ง อุ ป าทายะ ปั ส สั น โต ปะฏิกกะริสสามิ. ตะติยมั ปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทิเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสงั กายะ วา วะทันตุ มัง อายัส สะมันโต อะนุ กัมปั ง อุ ป าทายะ ปั ส สั น โต ปะฏิกกะริสสามิ.
กิจที่ต้องลาพรรษาหรือสัตตาหะ
129
เมื่อมีกิจจ�ำเป็นตามที่วินัยบัญญัติให้ลาได้ ภิกษุจะลาพรรษาไป ภายใน ๗ วัน วิธีล านั้นบางแห่งเป็นแต่ท� ำความอาลัย ไว้เท่า นั้น บางแห่งมีวิธี คือต้องบอกแก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ดังนี้ สัตตาหะกะระณียัง กิจจัง เม นัตถิ, ตัสสะมา มะยา คันตัพพัง อิมัสสะมิง สัตตาหัพภันตะเร นิวัตติสสามิ กิจที่ต้องท�ำสัตตาหะของผมมีอยู่ เพราะฉะนั้น ผมจ�ำต้องไป ผมจักกลับมาภายใน ๗ วันนี้
ค�ำลาสิกขา (สึก)
ผู้จะลาสิกขาพึงแสดงอาบัติ แล้วเข้าไปหาพระที่เป็นประธาน กราบ ๓ ครั้ง แล้วว่า นะโม... ๓ จบ แล้วกล่าวค�ำลาสิกขาดังนี้ “ข้าพเจ้าขอปฏิญาณว่า ไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์เป็น ภิกษุต่อไปได้ สิกขัง ปัจจักขามิ คิหิติ มัง ธาเรถะ ข้าพเจ้าขอลาสิกขา ขอท่านทัง้ หลาย จงจ�ำข้าพเจ้าว่าเป็นคฤหัสถ์ ณ บัดนี้” (ว่า ๓ หน)
พระผู้เป็นประธานชักสังฆาฏิออกจากบ่าแล้ว กราบ ๓ ครั้ง เปลี่ยนผ้านุ่งห่มแล้วกลับมาที่เดิมสมาทานศีล ๕ กราบ ๓ ครั้ง ตั้งใจ ฟังโอวาท ถวายไทยทาน (ถ้ามี) พระสงฆ์อนุโมทนาเป็นเสร็จพิธี.
130
กฐิน
เดือนหนึง่ ท้ายฤดูฝน ตัง้ แต่แรมค�ำ่ ๑ เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒ เป็นคราวทีภ่ กิ ษุทงั้ หลายหาผ้าท�ำจีวรเปลีย่ นของเดิม เป็นคราวที่ ทายกถวายผ้าแก่สงฆ์เพือ่ ประโยชน์นมี้ พ ี ระพุทธานุญาตเป็นพิเศษไว้ เพื่อสงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งรับเอาไปท�ำจีวร ผืนใดผืนหนึ่งในไตรจีวร ภิกษุนั้นท�ำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อมเสร็จ ในวันนั้น ท�ำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครองเป็นจีวรกฐิน เรียกว่า กรานกฐิน แปลว่าขึงไม้สะดึง อธิบายว่า ครั้งก่อนพระไม่ช�ำนาญใน การเย็บจีวร ต้องเอาเข้าขึงที่ไม้สะดึงเย็บ เสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้ง หลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่า นัน้ อนุโมทนา ทัง้ ภิกษุผกู้ รานทัง้ ภิกษุผอู้ นุโมทนา ย่อมได้อานิสงส์แห่ง การกรานกฐิน เลื่อนเขตหาผ้าท�ำจีวรออกไปได้อีก ๔ เดือน ตลอดฤดู เหมันต์
ค�ำอุปโลกน์กฐิน (องค์ที่ ๑ ว่า)
อิทานิ โข อาวุโส, (หรือ อิทานิ โข ภันเต), อิทัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง สังฆัสสะ กะฐินตั ถาราระหะ กาเลเยวะ อุปปันนัง, อีทเิ ส จะ กาเล เอวัง อุปปันเนนะ ทุสเสนะ กะฐินัตถาโร, วัสสัง วุตถานัง ภิกขูนัง ภะคะวะตา อะนุญญาโต, เยนะ อากังขะมานัสสะ สังฆัสสะ ปัญจะ กัปปิสสันติ. อะนามันตะจาโร อะสะมาทานะจาโร คะณะโภชะนัง ยาวะทัตถะจีวะรัง, โย จะ ตัตถะ จีวะรุป ปาโท โส เนสัง ภะวิสสะติ. จะตูสุปิ เหมันติเกสุ มาเสสุ จีวะระกาโล มะหันตีกะโต ภะวิสสะติ. อิทานิ ปะนะ สังโฆ อากังขะติ นุ โข กะฐินัตถารัง, อุทาหุ นากังขะติ. ภิกษุทั้งหลายพึงรับว่า “อากังขามะ ภันเต” ผู้แก่พรรษากว่า พึงว่า “อากังขามะ”
(องค์ที่ ๒ ว่าดังนี้)
131
โส โข ปะนะ ภันเต กะฐินัตถาโร, ภะคะวะตา ปุคคะลัสสะ อัตถาระวะเสเนวะ อะนุญญาโต, นาญญัตตะระ ปุคคะลัสสะ อัตถารา อัตถะตัง โหติ กะฐินันติ หิ วุตตัง ภะคะวะตา. นะ สังโฆ วา คะโณ วา กะฐินงั อัตถะระติ. สังฆัสสะ จะ คะณัสสะ จะ สามัคคิยา ปุคคะลัสเสวะ อัตถารา, สังฆัสสะปิ คะณัสสะปิ ตัสเสวะ ปุคคะลัสสะปิ อัตถะตัง โหติ กะฐินัง. อิทานิ กัสสิมัง กะฐินะทุสสัง ทัสสามะ กะฐินัง อัตถะริตุง, โย ชิณณะจีวะโร วา ทุพพะละจีวะโร วา, โย วา ปะนะ อุสสะหิสสะติ, อัชเชวะ จีวะระกัมมัง นิฏฐาเปต๎วา, สัพพะวิธานัง อะปะริหาเปต๎วา กะฐินัง อัตถะริตุง, สะมัตโถ ภะวิสสะติ. (สงฆ์พึงนิ่งอยู่)
(องค์ที่ ๓ ว่าดังนี้)
อิธะ อัมเหสุ อายัสม๎ า (อิตถันนาโม) สัพพะมะหัลละโก พะหุสสุโต ธัมมะธะโร วินะยะธะโร, สะพรัหมะจารีนงั สันทัสสะโก สะมาทะบ่ะโก สะมุตเตชะโก สัมปะหังสะโก, พะหุนนัง อาจะริโย วา (อุปัชฌาโย วา) หุต๎วา โอวาทะโก อะนุสาสะโก, สะมัตโถ จะ ตัง ตัง วินะยะกัมมัง อะวิโก เปต๎วา กะฐินัง อัตถะริตุง. มัญญามะหะเมวัง สัพโพยัง สังโฆ อิ มั ง สะปะริ ว ารั ง กะฐิ น ะทุ ส สั ง , อายั ส๎ ม ะโต (อิ ต ถั น นามั ส สะ) ทาตุกาโม. ตัส๎มิง กะฐินัง อัตถะรันเต, สัพโพยัง สังโฆ สัมมะเทวะ อะนุโมทิสสะติ, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสเสวะ), อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุง, รุจจะติ วา โน วา, สัพพัสสิมัสสะ สังฆัสสะ. สงฆ์พึงรับว่า รุจจะติ ภันเต. หมายเหตุ : ถ้าเป็นอาจารย์อย่างเดียวให้ตัดค�ำว่า อุปัชฌาโย วา ออกเสีย
132
(องค์ที่ ๔ ว่าดังนี้)
ยะทิ อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ), อิมงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุง, สัพพัสสิมัสสะ สังฆัสสะ รุจจะติ, สาธุ ภันเต สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสะปะริวาระภูตงั ติจวี ะรัง วัสสาวาสิกฏั ฐิตกิ ายะ อะคาเหต๎วา, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสเสวะ), อิมินา อะปะโลกะเนนะ ทะทาตุ, กะฐินะทุสสังปะนะ อะปะโลกะเนนะ ทิยยะมานัมปิ นะ รูหะติ. ตัส๎มา ตั ง อิ ท านิ ญั ต ติ ทุ ติ เ ยนะ กั ม เมนะ อะกุ ป เปนะ ฐานาระเหนะ, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ) เทมาติ, กัมมะสันนิฏฐานัง กะโรตุ. สงฆ์พึงรับว่า สาธุ ภันเต.
ค�ำอธิบาย
บทว่า อิตถันนาโม และอิตถันนามัสเสวะ ทีว่ งเล็บไว้นนั้ ให้เปลีย่ น ตามชื่อฉายาท่านผู้จะกรานกฐิน ตัวอย่างเช่น ท่านผู้กรานกฐินชื่อ สุมังคะโล. ถ้าในวงเล็บว่าอิตถันนาโม ก็เปลี่ยนเป็น สุมังคะโล ถ้าใน วงเล็บว่าอิตถันนามัสเสวะ ก็เปลี่ยนเป็น สุมังคะลัสเสวะ ค�ำอปโลกน์จบแต่เท่านี้
ค�ำสวดญัตติทุติยกรรมวาจาให้ผ้ากฐิน (๑) (๒) (๓) (๔)
(น�ำด้วย นะโม ๕ ชั้น)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ (หยุด) ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (หยุด) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต (หยุด) อะระหะโต สัมมา (หยุด)
133
(๕) สัมพุทธัสสะ (หยุด) สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ. อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ อิมัง กะฐินะ ทุสสัง, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ), ทะเทยยะ กะฐินัง อัตถะริตุง, เอสา ญัตติ. สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ. อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปันนัง, สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ), เทติ กะฐินัง อัตถะริตงุ , ยัสสายัสม๎ ะโต ขะมะติ, อิมสั สะ กะฐินะทุสสัสสะ, อายัสม๎ ะโต (อิ ต ถั น นามั ส สะ) ทานั ง , กะฐิ นั ง อั ต ถะริ ตุ ง , โส ตุ ณ หั ส สะ, ยัสสะนักขะมะติ, โส ภาเสยยะ. ทินนัง อิทงั สังเฆนะ กะฐินะทุสสัง, อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ), กะฐินัง อัตถะริตุง. ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัส๎ม า ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ.
ค�ำอธิบาย
บทว่า อิตถันนาโม และ อิตถันนามัสสะ ทีว่ งเล็บไว้นนั้ ให้เปลีย่ น ตามชื่อฉายาท่านผู้จะกรานกฐิน ตัวอย่างเช่น ท่านผู้กรานกฐินชื่อ สุมังคะโล. ถ้าในวงเล็บว่าอิตถันนาโมก็เปลี่ยนเป็น สุมังคะโล ถ้าใน วงเล็บว่า อิตถันนามัสสะ ก็เปลี่ยนเป็น สุมังคะลัสสะ จบญัตติทุติยกรรมวาจาเท่านี้
อย่าไปก�ำหนดอะไรทั้งสิ้น ก�ำหนด “สติ” อย่างเดียว สติมันเกิดที่จิต สมาธิมันเกิดที่จิต ความชั่วความดี มันเกิดที่จิต อย่าไปเที่ยวดูที่อื่น ให้ดูที่จิตอย่างเดียว
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ
134
ค�ำกรานกฐิน
ถ้ากรานด้วยผ้าสังฆาฏิว่า “อิมายะ สังฆาฏิยา กะฐินัง อัตถะรามิ.” “ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าสังฆาฏิผืนนี้.” ถ้ากรานด้วยผ้าห่ม (จีวร) ว่า “อิมินา อุตตะราสังเคนะ กะฐินัง อัตถะรามิ.” “ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าห่มผืนนี้.”
ถ้ากรานด้วยผ้านุ่ง (สบง) ว่า
“อิมินา อันตะระวาสะเกนะ กะฐินัง อัตถะรามิ.” “ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้านุ่งผืนนี้.”
ค�ำเสนออนุโมทนากฐิน “อัตถะตัง อาวุโส สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก กะฐินัตถาโร อะนุโมทะถะ” ถ้าอ่อนกว่าผู้อนุโมทนา แม้รูปหนึ่งว่า “ภันเต” แทน “อาวุโส” ถ้าว่ากับ ภิกษุรูปเดียวที่อ่อนกว่า พึงว่า “อะนุโมทาหิ” แทน “อะนุโมทะถะ” ค�ำแปล “ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย กฐินของสงฆ์ ข้าพเจ้ากรานเสร็จแล้ว การกรานกฐินชอบธรรม ขอท่านทั้งหลายอนุโมทนาเถิด”
ค�ำอนุโมทนากฐิน
135
ว่าทีละรูป
“อัตถะตัง ภันเต สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก กะฐินัตถาโร อะนุโมทามิ” ว่าพร้อมกัน “อัตถะตัง ภันเต สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก กะฐินัตถาโร อะนุโมทามะ” ถ้าแก่กว่าผู้กรานกฐินให้ว่า “อาวุโส” แทน “ภันเต” ค�ำแปล “ข้าแต่ทา่ นผูเ้ จริญ กฐินของสงฆ์ทา่ นกรานเสร็จแล้ว การกรานกฐิน ชอบธรรม ข้าพเจ้าอนุโมทนา”
วิธีแสดงอาบัติ ลหุกาบัตหิ รืออาบัตเิ บา ทีพ ่ งึ แสดงมีอยู่ ๕ ประเภท คือ ถุลลัจจัย, นิสสัคคีย์ - ปาจิตตีย์ (ปาจิตตีย์ที่ให้สละของ), ปาจิตตีย์, ทุกกฏ และ ทุพภาสิต ภิกษุผู้ที่จะแสดงอาบัติพึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่งแล้วท�ำผ้าห่มเฉวียงบ่า นั่ง
คุกเข่า ประนมมือ (ผู้มีพรรษาอ่อนกว่าควรก้มศีรษะและนั่งต�่ำกว่า ผู้มีพรรษาแก่ กว่า) ในการแสดงอาบัติ ถุลลัจจัย เปล่งวาจากล่าวว่า ดังนี้...
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย อาปัตติโย อาปันโน ตา ปะฏิเทเสมิ ผู้รับพึงว่า ปัสสะสิ อาวุโส ผู้แสดงพึงว่า อามะ ภันเต ปัสสามิ ผู้รับพึงว่า อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ ผู้แสดงพึงว่า สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ (๓ ครั้ง) ในการแสดงอาบัติประเภทอื่นให้เปลี่ยนชื่ออาบัติไปตามประเภทนั้นๆ (ที่ขีด
เส้นใต้ไว้)
136 อาบัติปาจิตตีย์ ใช้ค�ำว่า ปาจิตติยาโย อาบัติทุกกฎ ใช้ค�ำว่า ทุกกะฏาโย อาบัติทุพภาสิต ใช้ค�ำว่า ทุพภาสิตาโย (ข้อนี้ไม่ต้องกล่าวค�ำนานาวัตถุกาโย เพราะมีตัวเดียว) อาบัตินิสสัคคีย์-ปาจิตตีย์ ใช้ค�ำว่า นิสสัคคิยาโย ปาจิตติยาโย
(ต้องท�ำพิธีสละของก่อนจึงแสดง) ส�ำหรับค�ำที่ผู้รับและผู้แสดงพึงว่า คงใช้เหมือนกัน ส่วนการแสดงอาบัติที่ผู้แก่กว่าพึงกล่าวมีการเปลี่ยนถ้อยค�ำดังนี้ ใช้ “อาวุโส” แทน “ภันเต” ผู้รับอ่อนกว่าพึงว่า “ ปัสสะถะ ภันเต” และ “อายะติง ภันเต
สังวะเรยยาถะ"
ค�ำขอขมา
ถ้าจะขอขมา ต้องมีดอกไม้ธปู เทียน (ปัจจุบนั นิยมใช้เทียนแพและดอกไม้สด) เมื่อจะขอขมาพึงนั่งคุกเข่าประณมมือ กราบท่าน ๓ ครั้ง แล้วว่า
“อุปัชฌาย์” “อุปัชฌาเย ปะมาเทนะ, ทะวารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม ภันเต.” (ถ้าเป็นอาจารย์ ใช้ อาจาริเย แทน อุปัชฌาเย หรือถ้าเป็นพระพรรษา ห่างกัน ๒-๓ ใช้ อายัสมันเต แทน อุปัชฌาเย) ท่านรับว่า อะหัง ขะมามิ, ตะยาปิ เม ขะมิตัพพัง. ผู้ขอพึงว่า ขะมามิ ภันเต. (ถ้าขอขมาหลายรูปพึงเปลี่ยน “เม” เป็น “โน” “ขะมามิ” เป็น
“ขะมามะ” ท่านผู้รับเปลี่ยนบท “ตะยาปิ” เป็น “ตุมเหหิปิ”)
ในการขอขมากันจริงๆ ผู้ใหญ่ขอต่อผู้น้อยก็ควร.
ค�ำขอนิสัย
137
นิสัย แปลว่า กิริยาที่พึ่งพิง คือภิกษุมีพรรษาไม่ถึง ๕ หรือพ้น ๕ แต่ไม่สามารถรักษาตนได้ ต้องมีที่พึ่งพิง มีอุปัชฌาย์กับอาจารย์ เป็นต้น ค�ำขอนิสยั จากอุปชั ฌาย์วา่ “อุปชั ฌาโย เม ภันเต โหหิ, อายัสมะโต นิสายะ วัจฉามิ” (๓ หน) (ถ้าเป็นอาจารย์ใช้ อาจาริโย แทน อุปัชฌาโย) ท่านผู้เป็นอุปัชฌาย์อาจารย์พึงรับว่า ปฏิรูปัง หรือ โอปายิกัง หรือ ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ พระนวกะรับว่า สาธุ ภันเต แล้วพึงว่า อัชชะตัคเคทานิ เถโร มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโร. (๓ หน)
ปวารณา ธรรมเนียมของสงฆ์ ชุมนุมกันทุกกึ่งเดือน ในวันเพ็ญครั้ง ๑ ใน วันดับครั้ง ๑ โดยปกติสวดพระปาฏิโมกข์ เรียกว่า ท�ำอุโบสถ ภิกษุ ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป เข้าท�ำอุโบสถเป็นการสงฆ์ได้ แต่ในวันเพ็ญเดือน ๑๑ มีพระพุทธานุญาตให้ต่างรูปต่างกล่าวค�ำขอให้ช่วยตักเตือนกัน เรียกว่า ปวารณา ภิกษุตงั้ แต่ ๕ รูปขึน้ ไป เข้าท�ำปวารณาเป็นการสงฆ์ พึงประชุมกันในโรงอุโบสถ ภิกษุรูปหนึ่งพึงตั้งญัตติ คือ กล่าวค�ำนัด ขึ้นก่อนแล้วภิกษุทั้งนั้น นั่งคุกเข่าประณมมือ กล่าวค�ำปวารณาทีละ รูปตามล�ำดับพรรษาว่า
138 สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกมั ปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกะริสสามิ. ทุ ติ ยั ม ปิ ภั น เต สั ง ฆั ง ปะวาเรมิ , ทิ ฏ เฐนะ วา สุ เ ตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกะริสสามิ. ตะติยัมปิ ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ, ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา, วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนุกัมปัง อุปาทายะ ปัสสันโต ปะฏิกะริสสามิ. พระเถระพึงว่า อาวุโส แทน ภันเต และบทต้นว่า สังฆัง เมื่อปวารณาจบลงบทหนึ่งๆ ภิกษุทั้งหลายนอกจากผู้ปวารณา นั้นพึงรับ สาธุ พร้อมๆ กัน.
ค�ำถวายหนังสือธรรมะ อิ ม านิ มะยั ง ภั น เต, ธั ม มะโปตถะกานิ , สะปะริ ว ารานิ , ภิกขุสงั ฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสงั โฆ, อิมานิ ธัมมะ โปตถะกานิ, สะปะริวารานิ, ปฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง, หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย หนังสือธรรมะ กับทั้งของบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับหนังสือธรรมะกับทั้งของบริวารเหล่านี้ ของ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน์และความสุขแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย (และ ขอให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย จงเป็นผู้มีปัญญา เฉลียวฉลาดและเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ) สิ้นกาลนานเทอญ.
ค�ำขอบวชชี
139
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง, ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ปัพพัชชัง มัง ภันเต, สังโฆ ธาเรตุ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง, สะระณัง คะตัง. (พระสงฆ์รับสาธุ)
ค�ำแปล
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอถึงสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ เสด็จดับขันธ์ปรินพ ิ พานนานแล้ว กับทัง้ พระธรรมและพระสงฆ์วา่ เป็น สรณะที่ พึ่ ง ที่ ร ะลึ ก ขอพระสงฆ์ จ งจ� ำ ข้ า พเจ้ า ไว้ ว ่ า เป็ น ผู ้ บ วชใน พระธรรมวินัย ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่บัดนี้ เป็นต้นไป (จากนั้นสมาทานศีล ๘ ต่อไป)
ค�ำถวายข้าวพระพุทธ อิมัง สูปะพยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง โภชะนานัง อุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิ
ค�ำลาสิกขา (ตั้งนะโม ๓ จบ) สิกขัง, ปัจจักขามิ, คิหีติ มัง, ธาเรถะ. ข้าพเจ้าลาสิกขา, ท่านทั้งหลายจงจ�ำข้าพเจ้าไว้ว่า, เป็นคฤหัสถ์ (ว่า ๓ จบ)
140
ค�ำอาราธนาศีล ๕
มะยัง๑ ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ๒. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ. [แปล : “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอสมาทานศีล ๕ ประการ กับ
ทั้งไตรสรณคมน์...แม้ครั้งที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓”]
ค�ำอาราธนาศีล ๘ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ. [แปล : “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลายขอสมาทานศีล ๘ ประการ กับ ทั้งไตรสรณคมน์...แม้ครั้งที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓”]
ค�ำอาราธนาอุโบสถศีล มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, อุโปสะถัง ยาจามะ. ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, อุโปสะถัง ยาจามะ. ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, อุโปสะถัง ยาจามะ. [แปล : “ข้าแต่ทา่ นผูเ้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลายขอสมาทานอุโบสถศีล ๘ ประการ
กับทั้งไตรสรณคมน์...แม้ครั้งที่ ๒...แม้ครั้งที่ ๓...”]
เมื่ออาราธนาศีลจบ พระท่านจะน�ำกล่าวค�ำนมัสการ ดังนี้
141
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)
[ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พี ระภาคเจ้าพระองค์นนั้ ผูเ้ ป็นพระอรหันต์ตรัสรูช้ อบ โดยพระองค์เอง.] แล้วเปล่งวาจากล่าวไตรสรณคมน์ตามท่านไปทีละบท ดังนี้ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่ง;] ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเป็นที่พึ่ง;] สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง;]
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง;] ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง;] ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง;] ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้า เป็นที่พึ่ง;] ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม เป็นที่พึ่ง;] ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. [แม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง;] ถ้าท่านกล่าวว่า ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตงั [การถึงไตรสรณคมน์เสร็จ แล้ว] ให้รับว่า อามะ ภันเต [ขอรับ เจ้าข้า] แล้วพึงตั้งใจกล่าวค�ำ สมาทานศีลต่อไป ทีละสิกขาบท ดังนี้:
142
ศีล ๕
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฆ่าสัตว์;] อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้;] กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการประพฤติผิดในทางกาม;] มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดเท็จ;] สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการเสพของมึนเมา คือ สุรา และเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท;]
ศีล ๘ และอุโบสถศีล
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฆ่าสัตว์;] อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้;] อะพ๎รัห๎มจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการประพฤติที่มิใช่พรหมจรรย์;] มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดเท็จ;] สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
[ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการเสพของมึนเมา คือ สุราเมรัยและมัช ชะ อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท;]
143
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการบริโภคอาหารผิดเวลา;] นั จ จะคี ต ะวาทิ ต ะวิ สู ก ะทั ส สะนา มาละคั น ธะวิ เ ลปะนะธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะ นัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฟ้อน เต้น ร�ำ ขับร้อง ประโคมดนตรี ดูการรื่นเริง ประดับกายด้วยดอกไม้ ทาของหอม และประดับเครื่องแต่ง กาย;]
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
[ข้ า พเจ้ า สมาทานสิ ก ขาบท เว้ น จากการนอนบนที่ น อนสู ง ที่ น อน อันกว้างใหญ่;] ถ้ารับเฉพาะศีล ๕ หรือศีล ๘ ทีไ่ ม่ใช่อโุ บสถศีล พระท่านจะกล่าวค�ำท้ายศีล ดังนี:้ -
อิมานิ ปัญจะ (อัฏฐะ) สิกขาปะทานิ สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย. [สิกขาบท ๕ (๘) ประการเหล่านี้, บุคคลจะไปสู่สุคติก็เพราะศีล บุคคลจะ พึงพร้อมด้วยโภคทรัพย์ก็เพราะศีล, บุคคลจะไปสู่พระนิพพานก็เพราะศีล เพราะฉะนั้นบุคคลพึงช�ำระศีลให้หมดจดสะอาด;] ถ้ารับอุโบสถศีล พระท่านจะน�ำกล่าวท้ายศีล พร้อมทั้งค�ำแปล ดังนี้:
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง, อิมัญจะ รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง. สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ. [ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งอุโบสถอันประกอบไปด้วยองค์ ๘ ประการ ที่ พระพุทธเจ้าทรงบัญญัตไิ ว้แล้วนี,้ เพือ่ จะรักษาไว้ให้ดี ให้บริบรู ณ์ สิน้ วันหนึง่ กับคืนหนึ่ง ณ เวลาวันนี้;]
144 จากนั้นพระท่านจะกล่าวต่อไปว่า: อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อัชเชกัง รัตตินทิวงั อุโปสะถะวะเสนะ สาธุกัง รักขิตัพพานิ.
[พึงรักษาสิกขาบท ๘ ประการนีไ้ ว้ให้ดี ให้บริบรู ณ์ตลอดวันหนึง่ กับคืนหนึง่ ;] ให้ผู้สมาทานศีลรับว่า “อามะ ภันเต” [ขอรับ เจ้าข้า] และพระท่านจะกล่าวต่อไปว่า:
สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ, ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย.
[บุคคลจะไปสูส่ คุ ติกเ็ พราะศีล, บุคคลจะถึงพร้อมด้วยโภคทรัพย์กเ็ พราะศีล, บุคคลจะไปสู่พระนิพพานก็เพราะศีล, เพราะฉะนั้น บุคคลพึงช�ำระศีลให้ หมดจดสะอาด;]
อาราธนาธรรม
ท้าวสหัมบดีพรหม ทรงฤทธิ์อันศักดา น้อมหัตถ์นมัสการ ควรแล้วก็บังคม ปวงสัตว์ในโลกา ขอพระองค์สุคตตรัส โปรดปวงประชาชี ขอองค์พระจอมปราชญ์ ทรงรับพระนิมนต์ นิมนต์ท่านเจ้าขา นิมนต์แสดงธรรม เพื่อให้ส�ำเร็จผล สพสุขเกษมศรี
145
เป็นบรมในพรหมา กว่าบริษัทเทวาพรหม ประดิษสถานในที่สม ชุลีบาทพระสัมมา กิเลสน้อยก็ยังมี โปรดธรรมรัตน์อัญชลี ให้ส�ำเร็จสถาผล ผู้โลกนาถทศพล ท่านจงโปรดแสดงธรรม ผู้ปรีชาประเสริฐล�้ำ เทศนาปรวาที แก่ปวงชนบรรดามี สมดังเจตนาเทอญ
ค�ำอาราธนาธรรม พรัห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ, กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ, สั น ตี ธ ะ สั ต ตาปปะระชั ก ขะชาติ ก า, เทเสตุ ธั ม มั ง อะนุกัมปิมัง ปะชัง.
146
ค�ำอาราธนาพระปริตร
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา [วิบัติทั้งหลายจงพ่ายไป สรรพสมบัติจงบังเกิดมี,] สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง. [ทุกข์ทั้งหลายจงหมดไป ขอท่านแสดงพระปริตรเพื่อเป็นมงคล.] วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา [วิบัติทั้งหลายจงพ่ายไป สรรพสมบัติจงบังเกิดมี,] สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง. [ภัยทั้งหลายจงหมดไป ขอท่านแสดงพระปริตรเพื่อเป็นมงคล.] วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา [วิบัติทั้งหลายจงพ่ายไป สรรพสมบัติจงบังเกิดมี,] สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง. [โรคทั้งหลายจงหมดไป ขอท่านแสดงพระปริตรเพื่อเป็นมงคล.]
จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝึกดีแล้ว นำ�สุขมาให้
วันมาฆบูชา
147
คือ วันทีม่ กี ารบูชาใหญ่ในวันเพ็ญเดือน ๓ (การไม่ทำ� ชัว่ ใน ๓ สถานคือ การไม่ท�ำชั่วทางกาย การไม่ท�ำชั่วทางวาจา และการ ไม่ทำ� ชัว่ ทางใจ) เป็นวันคล้ายวันประชุมใหญ่ของพระสาวกซึง่ เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร หลังจากที่พระพุทธเจ้า ตรัสรู้แล้ว ๙ เดือน ที่พระองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ และการที่ พระองค์ทรงปลงพระชนมายุสังขารที่ตรงกับวันนี้ด้วยเช่นกัน จาตุรงคสันนิบาต เป็นการประชุมด้วยองค์ ๔ คือ ๑. วันนั้นดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (เพ็ญเดือนสาม) ๒. มีพระสงฆ์จำ� นวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมกันโดยมิได้นดั หมาย ๓. พระสงฆ์เหล่านัน้ ทัง้ หมดล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ผไู้ ด้อภิญญา ๖ และพระสงฆ์เหล่านั้นล้วนแต่เป็นเอหิภิกขุ โอวาทปาฏิโมกข์ เป็นหลักค�ำสอนที่ส�ำคัญของพระพุทธศาสนา หรือหลักค�ำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธพจน์ ๓ คาถาครึ่งที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป ที่มาประชุมกันในวันมาฆบูชาและที่ทรงแสดงแก่พระสาวกทุกครึ่ง เดือน เป็นเวลา ๒๐ พรรษา ก่อนที่พระองค์จะโปรดให้สวดปาฏิโมกข์ ทุกครึ่งเดือนเช่นปัจจุบันนี้แทนในกาลต่อมา
ค�ำบูชาในวันมาฆะปุณณะมี อั ช ชายั ง มาฆะปุ ณ ณะมี สั ม ปั ต ตา, มาฆะนั ก ขั ต เตนะ ปุณณะจันโท, ยุตโต, ยัตถะ ตะถาคะโต อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ, จาตุรังคิเก สาวะกะสันนิปาเต โอวาทปาฏิโมกขัง อุททิสิ. ตะทา หิ อั ฑ ฒะเตระสานิ ภิ ก ขุ ส ะตานิ , สั พ เพสั ง เยวะ ขีณาสะวานัง, สัพเพ เต เอหิภิกขุกา, สัพเพปิ เต อะนามันติตาวะ,
148 ภะคะวะโต สั น ติ กั ง อาคะตา, เวฬุ ว ะเน, กะลั น ทะกะนิ ว าเป, มาฆะปุณณะมิยัง วัฑฒะมานะกัจฉายายะ, ตัสมิญจะ สันนิปาเต, ภะคะวา วิสุทธุตตะมุโปสะถัง อะกาสิ, โอวาทะปาฏิโมกขัง อุททิสิ. อะยัง อัมหากัง ภะคะวะโต, เอโกเยวะ สาวะกะสันนิปาโต, อะโหสิ, จาตุรังคิโก, อัฑฒะเตระสานิ, ภิกขุสะตานิ, สัพเพ สังเยวะ, ขีณาสะวานัง, มะยันทานิ, อิมัง มาฆะปุณณะมีนักขัตตะสะมะยัง, ตักกาเลสะทิสัง สัมปัตตา, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง อะนุสสะระมานา อิมัส๎มิง ตัส สะ ภะคะวะโต, สั กขิภูเ ต เจติเ ย, ยะถาระหั ง อะโรปิ เ ตหิ อิ เ มหิ , ที ป ะธู ป ะบุ ป ผาทิ สั ก กาเรหิ ตั ง ภะคะวันตัง ตานิ จะ อัฑฒะ เตระสานิ ภิกขุสะตานิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต, ภะคะวา, สะสาวะกะสังโฆ สุจิระปะรินิพพุโตปิ, คุเณหิ ธะระมาโน, อิเม สักกาเร ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล ณ วันนี้ เป็นวันพระจันทร์เพ็ญเต็มดวง ประกอบด้วยฤกษ์มาฆะ มาถึงด้วยดี, ณ วันนี้แล้ว ในวันใดเล่า พระตถาคต อรหันตสัมมา สัมพุทธเจ้า ได้ทรงแสดงพระปาฏิโมกข์ ในท่ามกลางพระภิกษุสงฆ์ หนึง่ พันสองร้อยห้าสิบองค์, ล้วนแต่พระขีณาสพ ล้วนได้เป็นเอหิภกิ ขุ ปฏิสมั ภิทาญาณ, อยูใ่ นทิศต่างๆ ไม่มใี ครนิมนต์นดั หมาย ได้มาประชุม พร้อมกัน ในส�ำนักพระผูม้ พ ี ระภาคเจ้า ทีเ่ วฬุวนาราม, เวลาตะวันบ่าย ในวันมาฆะปุณณมี, พระองค์ได้ทรงกระท�ำวิสุทธอุโบสถ ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ สามพระคาถากึ่ง, ณ ที่ประชุมพระอรหันต์ หนึ่งพัน สองร้อยห้าสิบองค์นั้น, อนึ่ง สาวกสันนิบาตของพระผู้มีพระภาคเจ้า แห่งเราทัง้ หลาย หนึง่ พันสองร้อยห้าสิบองค์นนั้ , ล้วนแต่พระขีณาสพ
149 ล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสมบท, มาประชุมพร้อม ด้วยองค์สี่ประการ, ได้ มี ค ราวเดี ย วเท่ า นั้ น , บั ด นี้ ข ้ า พเจ้ า ทั้ ง หลาย ได้ มี ชี วิ ต มาถึ ง วันมาฆะปุณณมีนี้ ซึง่ คล้ายกับวันสาวกสันนิบาตนัน้ , ข้าพเจ้าระลึกถึง พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นแม้เสด็จปรินิพพานนานแล้ว, เคารพบูชา พระองค์ กับทัง้ พระอรหันต์ หนึง่ พันสองร้อยห้าสิบองค์นนั้ , ด้วยเครือ่ ง สักการบูชา มีธูปเทียนดอกไม้เหล่านี้เป็นต้น, ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า กับสาวกสงฆ์ พระอรหันต์ หนึง่ พันสองร้อยห้าสิบองค์นนั้ แม้ปรินพ ิ พาน มานานแล้ว, ซึ่งยังด�ำรงอยู่, โดยพระคุณทั้งหลาย มีพระกรุณาคุณ เป็นต้น, จงทรงรับเครื่องสักการะบรรณาการ ของข้าพเจ้า คนยาก ทั้งหลายเหล่านี้, เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ.
วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่ำเดือน ๖ ค�ำว่า “วิสาขบูชา” หมายถึง การ บูชาในวันเพ็ญเดือน ๖ วิสาขบูชาย่อมาจาก “วิสาขปุรณมีบูชา” แปล ว่า “การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ” ถ้าปีใดมีอธิกมาสคือมีเดือน ๘ สองหนก็เลื่อนไปเป็นกลางเดือน ๗ ความส�ำคัญวันวิสาขบูชา เป็นวันส�ำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือ เกิด ได้ตรัสรู้ คือ ส�ำเร็จ ได้ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง ๓ คราว คือ ๑. เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับเทวทหะ เมื่อเช้าวันศุกร์ขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี
150 ๒. เมือ่ เจ้าชายสิทธัตถะตรัสรูเ้ ป็นพระพุทธเจ้า เมือ่ พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น�้ำเนรัญชรา ต�ำบลอุรุเวลา เสนานิ ค ม ในตอนเช้ า มื ด วั น พุ ธ ขึ้ น ๑๕ ค�่ ำ เดื อ น ๖ ปี ร ะกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบันสถานที่ ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็นต�ำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่ง รัฐพิหารของอินเดีย ๓. หลังจากตรัสรูแ้ ล้ว ได้ประกาศพระศาสนาและโปรดเวไนยสัตว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อ วันอังคารขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๖ ปีมะเส็ง
ค�ำบูชาในวันวิสาขะปุณณะมี
อั ช ชายั ง วิ ส าขะปุ ณ ณะมี สั ม ปั ต ตา, วิ ส าขะนั ก ขั ต เตนะ ปุณณะจันโท ยุตโต, ยัตถะ ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิสาขะปุณณะมียัง, ชาโต, อันติมะชาติยา, ปัตโตจะ,อะภิสัมโพธิง, อะโถปิ , ปะริ นิ พ พุ โ ต, โลเก ชาโต จะ, กะรุ ณ าเวคะโจทิ โ ต, เทวานัญเจวะ, มะนุสสานัญจะ, อะเนเกสะมะเนกะธา, ทิฏฐะธัมมะ สัมปะรายะ, ปะระมัตถะ, ปะเภทะโต, ติวิทัตเถ, อะสาเธสิ, ธัมเมนะ, วิ น ะเยนะ จะ สั ท ธั ม มั ง , ติ วิ ธั ง , โลเก, สั ม มะเทวะ, ปะวั ต ตะยิ มะยันทานิ, อิมงั , วิสาขะปุณณะมี นักขัตตะสะมะยัง. ตักกาละสะทิสงั , สัมปัตตา, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง, อะนุสสะระมานา, อิมสั มิง, ตัสสะ ภะคะวะโต, สักขีภเู ต, เจติเย, ยะถาระหัง. อาโรปิเตหิ, อิเมหิ, ทีปะธูปะปุปผาทิสกั กาเรหิ, ตัง ภะคะวันตัง, สะธัมมัง, สะสังฆัง, อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภะคะวา, สุจิระปะรินิพพุโตปิ, กะรุณาทีหิ, คุเณหิ, ธะระมาโน, อิเม สักกาเร, ทุคคะตะปัณณาการะภูเต, ปะฏิคคัณหาตุ. อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล
151
วันเพ็ญฤกษ์วิสาขะมาถึงด้วยดี, ณ วันนี้แล้ว, พระจันทร์เพ็ญ เต็มดวง, ประกอบด้วยฤกษ์วิสาขะแล้ว, ในวันใดเล่า, พระตถาคต, อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า, ได้บงั เกิดขึน้ แล้ว, ในศากยะตระกูล โคตมวงศ์, ในมัชฌิมประเทศ, ซึ่งเป็นที่อยู่, ของชาวอริยกะทั้งหลาย, พระองค์นั้น, เป็นสุขุมาลชาติ, ตั้งอยู่ในความเป็นสุขอย่างยิ่ง, ควรจะ พิจารณา, โดยอเนกประการ, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, มีมงคลสมัยอัน พิเศษ, ซึ่งบุรพาจารย์, หากนิยมก�ำหนดไว้, ว่าพระองค์ประสูติ, และ ตรัสรู้ และเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน, สามสมัยกาลนี้, ในวันวิสาขะปุณณมีดิถีเพ็ญ, พระจันทร์เสวย, นักขัตฤกษ์, เป็นมหามงคล, กาลอันพิเศษ, พระองค์บงั เกิดขึน้ แล้วในโลก, เป็นพระศาสดาสัง่ สอนสัตว์, ให้ปฏิบตั ใิ นหนทางแห่งความสุข, และประโยชน์ อันก�ำลัง, แห่งพระกรุณา, หากตักเตือนให้ทรงสั่งสอน, ประโยชน์ทั้งสาม, คือประโยชน์ชาตินี้, และประโยชน์ชาติหน้าและประโยชน์อย่างยิ่ง, คือพระนิพพาน, ให้ส�ำเร็จแก่เทพดา, และมนุษย์เป็นอันมาก, ด้วยเทศนาวิธีต่างๆ ผ่อนผันตามจริต, และอัธยาศัย, แห่งสัตว์นั้นๆทรงแสดงธรรม, และ ทรงบัญญัตวิ นิ ยั , ให้สทั ธรรมทัง้ สามประการ, คือ, พระปริยตั ิ สัทธรรม, และปฏิบตั สิ ทั ธรรม, และปฏิเวธสัทธรรม, เป็นไป ในโลก, โดยชอบแล้ว, พระองค์ดบั ขันธ์ปรินพ ิ พานแล้ว, ข้าพเจ้าทัง้ หลาย, มาถึง, วันวิสาขะปุณณมีน,ี้ ซึง่ คล้ายกับวันประสูต,ิ แลตรัสรู,้ และเสด็จดับขันธ์ปรินพิ พาน, แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ระลึกถึงพระผู้มี พระภาคเจ้านั้น, แม้เสด็จปรินิพพานนานแล้ว, เคารพบูชาพระองค์, กับพระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะ, มีเทียนธูปดอกไม้ เหล่านี้เป็นต้น, ขอพระองค์ซึ่งยังด�ำรงอยู่, โดยพระคุณทั้งหลาย, มีพระกรุณาคุณเป็นต้น, จงทรงรับสักการะบรรณาการ, ของข้าพเจ้า, คนยากทั้งหลายเหล่านี้, เพื่อประโยชน์, และความสุข, แก่ข้าพเจ้า ทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ.
152
วันอาสาฬหบูชา
ตรงกับวันเพ็ญขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เป็นวันทีพ ่ ระพุทธเจ้าเสด็จเดินทางไปโปรด ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน และทรงแสดงธัมมจักกัป ป วั ต น สู ต ร โปรด แก ่ ป ั ญ จวั ค คีย์ ทั้ ง ๕ ครั้ น ท รงแ สดงจบ อัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม ทูลขอบวชในบวรพระพุทธ ศาสนา และท�ำให้เกิดพระรัตนตรัยครบทั้ง ๓ ประการคือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในวันเดียวกัน
ค�ำบูชาในวันอาสาฬหะปุณณะมี
ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, โย โน ภะคะวา สัตถา, ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ. อะโหสิ โข โส ภะคะวา, อะระหั ง สั ม มาสั ม พุ ท โธ, สั ต เตสุ การุ ญ ญั ง ปฏิ จ จะ กรุณายะโก หิเตสิ อะนุกัมปัง อุปาทายะ, อาสาฬหะปุณณะมิยัง พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย, ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง, อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะฐะมัง ปะวัตเตตะวา, จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ปะกาเสเสิ. ตัสมิญจะ โข สะมะเย, ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนงั ปะมุโข อายัสมา อัญญาโกณฑัญโญ, ภะคะวะโต ธัมมัง สุต๎วา, วิระชัง วีตะมะลัง ธั ม มะจั ก ขุ ง ปะฏิล ะภิต๎ ว า, ยั ง กิ ญ จิ สะมุ ท ะยะธั ม มั ง สั พ พั น ตั ง นิโรธะธัมมันติ, ภะคะวันตัง อุปะสัมสะทัง ยาจิตฺวา, ภะคะวะโตเยวะ สันติกา, เอหิภกิ ขุอปุ ะสัมปะทัง ปะฏิละภิตวฺ า, ภะคะวะโต ธัมมะวินะเย, อะริยะสาวะกะสังโฆ, โลเก ปะฐะมัง อุปปันโน อะโหสิ. ตัสมิญจาปิ โข สะมะเย, สังฆะระตะนัง โลเก ปะฐะมัง อุปปันนัง อะโหสิ, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนันติ, ติระตะนัง สัมปุณณัง อะโหสิ.
153 มะยัง โข เอตะระหิ, อิมัง อาสาฬหะปุณณะมีกาลัง, ตัสสะ ภะคะวะโต ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะกาละสัมมะตัง, อะริยะสาวะกะสังฆะอุปตั ติกาละ-สัมมะตัญจะ, ระตะนัตตะยะสัมปุระณะกาละสัมมะตัญจะ ปัตวา, อิมัง ฐานัง สัมปัตตา, อิเม สักกาเร คะเหตวา, อัตตะโน กายัง สั ก การู ป ะธานั ง กะริ ตฺ ว า, ตั ส สะ ภะคะวะโต ยะถาภุ จ เจ คุ เ ณ อะนุสสะรันตา, อิมัง พุทธะปฏิมัง ติกขัตตุง ปะทักขิณัง กะริสสามะ, ยะถาคะหิเตหิ สักกาเรหิ ปูชัง กุรุมานา, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา, สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ญาตัพเพหิ คุเณหิ อะตีตารัมมะณะตายะ ปัญญายะมาโน, อิเม อัมเหหิ คะหิเต สักกาเร ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล
เราทัง้ หลาย ถึงแล้วซึง่ พระผูม้ พ ี ระภาค พระองค์ใด ว่าเป็นทีพ ่ งึ่ , พระผู ้ มี พ ระภาค พระองค์ ใ ด เป็ น พระศาสดาของเราทั้ ง หลาย, อนึ่ง เราทั้งหลายชอบใจซึ่งธรรมะ ของพระผู้มีพระภาค พระองค์ใด, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบเอง, ทรงอาศัยความกรุณา ในสัตว์ทั้งหลาย ทรงพระกรุณา แสวงหา ประโยชน์เกือ้ กูล, ทรงอาศัยความเอ็นดู ได้ยงั พระธรรมจักร อันยอดเยีย่ ม ให้เป็นไป, ทรงประกาศ อริยสัจจ์สี่เป็นครั้งแรก, แก่พระภิกษุ ปั ญ จวั ค คี ย ์ ที่ ป ่ า อิ สิ ป ตนมฤคทายวั น ใกล้ ก รุ ง พาราณสี , ในวั น อาสาฬหปุณณมี. อนึ่ง ในสมัยนั้นแล ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้เป็นหัวหน้า ของพระภิกษุปัญญจวัคคีย์ ฟังธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว, ได้ ธรรมจักษุอนั บริสทุ ธิ์ ปราศจากมลทิน ว่า สิง่ ใดสิง่ หนึง่ มีความเกิดขึน้ เป็นธรรมดา สิง่ ทัง้ ปวงนัน้ มีความดับเป็นธรรมดา, จึงทูลขออุปสมบท กับพระผู้มีพระภาคเจ้า, ได้เป็นพระสงฆ์ อริยสาวก ในธรรมวินัย ของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นองค์แรกในโลก
154 อนึ่งในสมัยนั้นแล พระสังฆรัตนะ ได้บังเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก, พระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ ได้ สมบูรณ์แล้วในโลก อนึ่ง เราทั้งหลายแล มาประจวบมงคลสมัย อาสาฬหะปุณณะมี วันเพ็ญอาสาฬหะมาส, ที่รู้พร้อมกันว่า เป็นวันที่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นนั้ ทรงประกาศพระธรรมจักร, เป็นวันทีเ่ กิดขึน้ แห่งพระอริยสงฆ์สาวก, และเป็นวันที่ พระรัตนตรัยสมบูรณ์ คือครบสามรัตนะ, จึง มาประชุมกันแล้ว ณ ที่นี้ถือสักการะเหล่านี้ ท�ำกายของตน ให้เป็นดัง ภาชนะรั บ เครื่ อ งสั ก การะระลึ ก ถึ ง พระคุ ณ ทั้ ง หลาย ของพระผู ้ มี พระภาคเจ้านั้นตามเป็นจริง, บูชาอยู่ด้วยสักการะ อันถือไว้แล้ว อย่างไร, จักท�ำประทักษิณสิ้นวาระสามรอบซึ่งพระพุทธปฏิมานี้ ข้ า แต่ พ ระองค์ ผู ้ เ จริ ญ , ขอพระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า แม้ เ สด็ จ ปริ นิ พ พานนานมาแล้ ว , ยั ง ปรากฏ โดยพระคุ ณ สมบั ติ อั น ข้ า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจะพึง รู้ได้โดยความเป็นอตีตารมณ์, จงทรงรับ ซึ่งเครื่องสักการะ อันข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายถือไว้แล้วนี้, เพื่อ ประโยชน์และความสุข แก่ขา้ พระพุทธเจ้าทัง้ หลายสิน้ กาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายสังฆทาน
155
(ถวายก่อนเที่ยงพร้อมภัตตาหาร) อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ. ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอน้อมถวายภัตตาหาร กับทัง้ บริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหาร กับทัง้ บริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายสังฆทาน
(เพื่ออุทิศผู้ตาย) อิ ม านิ มะยั ง ภั น เต, มะตะกะภั ต ตานิ , สะปะริ ว ารานิ , ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, มะตะกะภัตตานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมฺหากัญเจวะ, มาตาปิตอุ าทีนญ ั จะ, ญาตะกานัง กาละกะตานัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ. ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอน้อมถวายภัตตาหาร เพื่ อ ผู ้ ล ่ ว งลั บ ไปแล้ ว กั บ ทั้ ง บริ ว ารเหล่ า นี้ แก่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหารเพื่อผู้ล่วงลับไปแล้ว กับทั้งบริวาร เหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้า ทั้งหลายด้วย แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลาย มีมารดาบิดาเป็นต้น ผู้ล่วงลับไปแล้วด้วย สิ้นกาลนาน เทอญ.
156
ค�ำถวายเทียนพรรษา
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานะตุ, มะยัง ภันเต เอตัง ปะทีปะยุคัง สะปะริวารัง, เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ อิมสั ม๎ งิ อาวาเส อุโปสะถาคาเร (วิหาเร) นิยยาเทมะ, สาธุ โน ภันเต อะยัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ ปะทีปะยุคสั สะ ทานัสสะ อานิสงั โส, อัมหากัญเจวะ มาตาปิตุอาทีนัญจะ ปิยะชะนานัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ขอพระสงฆ์จงรับทราบ ข้าพเจ้าทัง้ หลาย ขอน้อมถวายเทียนพรรษา กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ไว้ ณ พระ อุโบสถ (วิหาร) นี้ เพือ่ เป็นพุทธบูชาตลอดพรรษา ขออานิสงส์แห่งการ ถวายเทียนพรรษา เพื่อเป็นพุทธบูชาตลอดพรรษานี้ ของข้าพเจ้าทั้ง หลาย จงเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย แก่ปิยชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเป็นต้นด้วย สิ้นกาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายผ้าป่า
อิ ม านิ มะยั ง ภั น เต, ปั ง สุ กู ล ะจี ว ะรานิ , สะปะริ ว ารานิ , ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ, ปังสุกลู ะจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหฺ ากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลายขอน้อมถวายผ้าบังสุกลุ จีวร กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ผ้าบังสุกลุ จีวร กับทัง้ บริวารเหล่านีข้ องข้าพเจ้าทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายพระพุทธรูป
157
อิ มั ง มะยั ง ภั น เต, พุ ท ธะรู ป ั ง , สั ง ฆั ส สะ, โอโณชะยามะ, พุทธะสาสะนัสสะ, อะติโรจะนายะ จะ, จิรัฏฐิติยา จะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ, อิมัง พุทธะรูปัง, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมฺหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่ง พระพุทธรูปนี้ แก่พระสงฆ์ เพื่อความรุ่งเรือง และเพื่อความสุข แก่ ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายผ้าอาบน�้ำฝน
อิมานะ มะยัง ภันเต, วัสสิกะสาฏิกะจีวะรานิ, ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ, อิมานิ วัสสิกะสาฏิกะจีวะรานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลายขอน้อมถวายผ้าอาบน�ำ้ ฝน กับทัง้ บริวารเหล่านีข้ องข้าพเจ้าทัง้ หลาย แด่พระสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์ จงรับผ้าอาบน�้ำฝนกับบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพือ่ ประโยชน์ และความสุข แก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลาย สิน้ กาลนาน เทอญ.
158
ค�ำถวายผ้าไตรจีวร
อิมานิ มะยัง ภันเต, ติจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุ สั งโฆ, อิมานิ, ติจีว ะรานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมฺหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ, สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย สบงจีวร กับบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับสบงจีวร กับ บริวารทัง้ หลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน์ เพือ่ ความ สุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.
ค�ำถวายผ้ากฐิน
อิมัง ภันเต, สะปะริว ารัง, กะฐินะจีว ะระทุ ส สั ง, สั งฆั ส สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ, อิมงั , สะปะริวารัง, กะฐินะทุสสัง, ปะฏิ ค คั ณฺ ห าตุ , ปะฏิค คะเหตฺ ว า จะ, อิ มิ น า ทุ ส เสนะ, กะฐิ นั ง , อัตถะระตุ, อัมฺหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.
ค�ำแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้ากฐิน จีวร กับทั้งบริวารนี้ แก่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับผ้ากฐิน กับทั้ง บริวารนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย ครั้นรับแล้ว จงกรานกฐินด้วยผ้านี้ เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ.
รายนามเจ้าภาพพิมพ์หนังสือสวดมนต์
ท่านพระครูปิยสีลโสภณ วัดเชตะวัน ล�ำปาง ท่านพระครูนันทธรรมสุนทร วัดถ�้ำพระสบาย ล�ำปาง พระสมชาย ผาสุโท พระนาม ภทฺทโก แม่ชีใจ บาตรดี พลเรือโท ชุมพล ศิรินาวิน คุณแม่ฉวี วิพิธวิทยาสันห์ คุณอรุณี - คุณหมอนรงค์ - คุณรัฐวรนนท์ รอดสัตรู คุณแม่อ�ำไพ - คุณอรทัย ภูวเศรษฐ์ คุณเสาวภา จันทนาคม คุณชาลิสา มงคล คุณวงค์พรรณ จิระเอกวัฒน์ คุณนิธิวดี - คุณวิสุทธิ ณ ตะกั่วทุ่ง คุณอภิชญา ประสพรัตน์ คุณร�ำไพ โล่ห์สุนทร คุณนงนุช โล่ห์สุนทร คุณกอบกุล โล่ห์สุนทร คุณสายเงิน ต๊ะมะวงค์ คุณนารี วงศ์ใยมูล คุณสายเงิน ต๊ะมะวงศ์ คุณพรเทพ รัตนมนตรี และครอบครัว คุณสมาน โชติพันธ์ ด.ญ.ขวัญข้าว โชติพันธ์ อ.วิรยา ศรีสุวรรณ อ.เกษร อัตไพบูลย์ อ.อภิญญา รามจักร และครอบครัว คุณอ�ำไพร เครือสาร
159
160
คุณแม่บัวเหลียว ไชยวงศ์ คุณเพ็ญนภา บุตรต๋า คุณขวัญชัย เชื้อปิง คุณแช้ม ปรทุมพร คุณติ๊บ ปทุมพร คุณสรรชัย อาษาสุข คุณบุญมี สมบูรณ์ คุณส�ำรวย สมบูรณ์ คุณทองดี สมบูรณ์ คุณเทวฤทธิ์ คุณณรงค์ฤทธิ์ อ่อนพันธ์ คุณบุญประคอง เต่าทอง คุณสายพิณ ยาใจ คุณบัวลอย สารฟอ คุณหนูแดง อาษาสุข ด.ช.ทยากร อาษาสุข คุณนรินทร เล็งกลาง คุณเบี้ย บุญมา คุณพรรษา แก้วศรี คุณศรีรัตน์ ราณรงค์ คุณน้อย ทองดี คุณหลอด เถาสาร ศรัทธาวัดเชตวัน ล�ำปาง อ.เจษฏ์ สีหะวงษ์ คุณสุภาพ จิตราทร เลิฟแวล คุณอรวรรณ ชลทรัพย์ คุณธิตาพร ภัทรศศิริ คุณณัฐพงศ์ เครือวาร คุณลดาวัลย์ อินหล้า และครอบครัว คุณสุพิน สีหะวงษ์
คุณดวงกมล สีหะวงษ์ คุณภราดร สีหะวงษ์ คุณสุใจ ใจมั่น คุณอินทวร พรมด�ำ อ.สมศักดิ์ ธาริน คุณสุลักจณา ธาริน คุณชนันธร ธาริน คุณชัชวาล ธาริน คุณมาลา ค�ำศรี คุณกรกนก ณ ล�ำปาง คุณวิโรจน์ ภูลสวัสดิ์ บริษัท กรุงไทยค้าเหล็ก (โคราช) บริษัท Tiger Steel จ�ำกัด (อยุธยา) คุณธนกฤต – คุณกชพร – คุณณัฐวรางคนา บูชาชัชวาลย์ คุณธารทิพย์ น�้ำค�ำ คุณกรรณิกา พูลสวัสดิ์ ครอบครัวแสงอรุณฉัตรียา คุณพ่อประเสริฐ – คุณแม่ตั๊บ พรมชัย และครอบครัว คุณเรือนทิพย์ และคุณทอม มาร์ (โคราช) คุณอริศรา สายน�้ำเขียว (ประจวบคีรีขันธ์) อ.กิตติพงษ สายพรม และครอบครัว คุณบุญเทียน สายวงศ์ และครอบครัว คุณไหล สายวงศ์เปี้ย และครอบครัว คุณราศี แสงตะวัน คุณอุทัย – คุณนงลักษณ์ เขนย คุณกัญญารัตน์ เครือห้วย คุณบัวลอย สายฟู อ.จ.สมร จิตราทร
161