อรุณรุ่ง บนยอดเขาคิชฌกูฏ

Page 1



อรุณรุ่งบนยอดเขาคิชฌกูฏ ที่ระลึกในพิธีงานพระราชทานเพลิงศพ คุณแม่เซียมเกียง รัตนสุมาวงศ์ ณ เมรุวัดบรมสถล (วัดดอน) วันอาทิตย์ ที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖

โดย

ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล ต.สันโค้ง อ.ดอกคำ�ใต้ จ.พะเยา


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ รวบรวมและเรียบเรียงโดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม เจ้าของ :

วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา

พิมพ์ครั้งที่ ๑ : สิงหาคม ๒๕๕๖ จํานวน ๕๑๐ เลม

สนใจหนังสือติดต่อได้ที่ : ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา

หนังสือเล่มนี้ จัดพิมพ์ด้วยเงินบริจาคของผู้มีจิตศรัทธา เพื่อเผยแผ่เปนธรรมทาน หากท่านได้รบั หนังสือนีข้ อได้โปรดตัง้ ใจศึกษาให้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ แก่ตนเองและผูอ้ นื่ ด้วยเทอญ

พิมพ์ที่ : โรงพิมพนันทพันธ จังหวัดเชียงใหม โทร. ๐๕๓-๘๐๔-๙๐๘-๙ โทรสาร ๐๕๓-๘๐๔๙๕๘ www.nuntapun.com


หัวใจหลักธรรมของ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ภิกษุทั้งหลาย! สิ่งๆ หนึ่งเปนสิ่งซึ่งในนั้นไมมีดิน ไมมีนํ้า ไมมีลม ไมมไี ฟ ไมใชฌานทีเ่ พงอากาศจนปราศจากอารมณ ไมใชฌานทีเ่ พงอารมณ การรับรูอันหาที่สุดมิได ไมใชฌานที่เพงความไมมีอะไรอยางสิ้นเชิงเปน อารมณ ไมใชสภาพจิตที่อยูในอารมณความจําไดหมายรูก็ไมใชจะวาไมมี เลยก็ไมเชิง ไมใชโลกนี้ ไมใชโลกอื่น ไมใชพระจันทรหรือพระอาทิตย ทั้งสองอยาง ภิกษุทั้งหลาย! ในกรณีอันเกี่ยวกับสิ่งๆ นั้น เราไมกลาววา มีการมา ไมกลาววามีการไป ไมกลาววามีการหยุด ไมกลาววามีการเกิดขึน้ ไมกลาววามีการดับไป สิ่งนั้นไมไดตั้งอยู สิ่งนั้นไมไดเปนไป และสิ่งนั้น ไมใชอารมณ นั้นแหละคือที่สุดแหงทุกขคือนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย! ถาทานมองดูโลกใหเห็นเปนความวาง อยูแลวไซร โลกนี้จะไมวางจากพระอรหันต จงมองดูโลกโดยความเปนของวางแลว มัจจุราชก็จะไมตามทัน สรรพสิ่งวางจากตัวตนคนสัตว ดูกอ่ นภิกษุทงั้ หลาย! พรหมจรรยนเี้ ราประพฤติ มิใชเพือ่ หลอกลวงคน ใหมานับถือ มิใชเพื่อใหคนรูจักตนดวยคุณวิเศษอยางนั้นอยางนี้ มิใช เพือ่ การไดลาภสักการะ เกียรติยศชือ่ เสียง มิใชเพือ่ สําคัญตนเปนเจาสํานัก เจาลัทธิคณาจารย ที่แทพรหมจรรยนี้เราประพฤติเพื่อความสํารวม เพื่อทําลายความถือตัว เพื่อคลายความกําหนัดยินดี เพื่อความดับทุกข อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา

คือการนําตัวเองออกพนจากความหลงงมงาย การออนวอนบูชาบวงสรวง ใหหลุดพนจากการถือตัว สําคัญตน อยูเหนืออํานาจวัตถุนิยม – เทวนิยม ทวนกระแสแหงโลกียรส ไมยึดติดอิทธิพลของกิเลส ราคะ ตัณหา ตามทัศนะของพระพุทธองค ถือความ เสมอภาคแหงมวลมนุษยชาติ สรรพสัตวคือเพื่อนรวม โลกที่มีสิทธิเสรีเสมอกัน โดยทรงเนนหลักเมตตาธรรม อโหสิกรรม การใหอภัย การสํารวมกาย วาจา ใจ ใหบริสุทธิ์ สะอาด สงบ เยือกเย็น ดําเนินชีวิตใหผสาน ธรรมชาติ เรียบงาย หนักแนน อดทน และเสียสละ นี่คือ สื่อสูการตามรอยพระพุทธบาทพระสัมมา สัมพุทธเจา...

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๑

พระอุปัชฌาย ปุญญาลังการ ถอยคําโอวาททานพระอุปชฌายอาจารยเจา ชี้ตรงลมหายใจเขา ลมหายใจออก ซักฟอกจิตใจชีวิตอินทรียใหผองใสสดชื่น ใจเปนหนึ่งใหรําพึงรูปธรรม นามธรรม เปนทางสายเอก เพงพินิจพิจารณา ผม ขน เล็บ ฟน เนื้อ หนัง ทั่วกายา ใหรเู ห็นประจักษแจงความแปรปรวนเปนทุกข ไรตวั ตน เปนสัจธรรม ภาวนาดูลมหายใจหลอเลี้ยงทั่วกายา จนเห็นชัดองคพระพุทธสถิต อยูในนั้น กายกวางศอกยาววาหนาคืบทุกรูปนามคือบอเกิดองคสงั ฆะชัดเจน แมนมั่น ดวยเหตุปจ จัยเปนดังนีจ้ งึ ไดสรุปวา คุณพระพุทธเจา คุณพระธรรม คุณพระสงฆ ก็อยูในตัวแหงขาฯ นี้แลฯ (หาที่อื่นก็จะเหนื่อยเปลา) อีกประการหนึ่งครั้นรูแจงแหลงธรรมแลวจะพูดกลาวถอยคําวา อะไร คือธรรมะหาไดไม เพราะไมมีอะไรจะนํามาเปรียบเทียบถึง ความวาง แหงสัจธรรม ดังนั้นผูรูจริงจึงนิ่งเงียบไมแสดงตนโออวด มีแตความสงบสํารวม สุภาพและออนโอน พระอาจารยเจาทานชี้ทางปฏิบัติอีก ๓ ประการ  มหาชาติ ผาไหม (อานิสงสการบําเพ็ญทานไดรับแตสิ่งดีๆ)  วินัย ไสแหง (ความอดทน อดกลั้น จิตใจเขมแข็ง)  ปรมัตถ ผาขาด (ไมยึดติดจิตปลอยวางอิสรเสรี)

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๒

พระสังฆปริณายกเวยหลางแหงนิกายเซ็น (ท่านนั่งสมาธิดับขันธ์เมื่ออายุ ๗๕ พรรษาถึงกาลบัดนี้เปนเวลา ๑,๓๐๐ ป)

จิตเดิมแทของเรา ซึ่งเปนเมล็ดพืชหรือแกนของการตรัสรูนั้น เปนของบริสุทธิ์ตามธรรมชาติอยูแลว และตองอาศัยจิตนี้เทานั้นเราจึงจะ บรรลุธรรมสูความเปนพุทธะผูรูยิ่งไดโดยตรงๆ เมื่อผูหนึ่งผูใดไมไดปลอยจิตใจใหเลื่อนลอยไปจากจิตเดิมแท ที่วางบริสุทธิ์อยูแลว ก็ควรเรียกผูนั้นวา “ผูเปนเนื้อนาบุญของโลก” อยาไปทําความรูส กึ วามีความแตกตางระหวาง “อริยบุคคลกับบุคคล ธรรมดา” ระหวางผูกระทํากับสิ่งถูกกระทํา อยาคอยจองหาเรื่องตําหนิ ติโทษผูอื่น อยาไดหลงทางยึดถือเปนเขา-เปนเรา แบงแยกความแตกตาง จงปลอยวางจิตมิใหของติดสิง่ ใดๆ แลวทานจะอยูในสมาธิตลอดเวลา ดวยความเยือกเย็นไมกระวนกระวายบุคคลชั้นเลิศไมตองปฏิบัติ ความดี ดวยความเที่ยงธรรมและอิสรเสรี ทานไมตองทําบาป (อยูเหนือ กรรมเหนือการกระทํา) ดวยความสงบและสงัด ทานเพิกเฉยการดูและ การฟง ดวยความเสมอภาคและเที่ยงตรงจิตของทานไมพํานัก ณ ที่ใด (อยูในสุญตาวิหารธรรมคือความวาง) จงอยูเหนือการรับและการปฏิเสธ จงทําลายสิง่ กีดขวางทัง้ ทีเ่ ปนอดีต ปจจุบันและอนาคต จงใชอวัยวะเครื่องทําความรูสึกในเมื่อมีเรื่องตองใช และอาจจะระบุเจาะจงสิ่งตางๆไดทุกชนิด แตไมไดยึดติดกับสิ่งเหลานั้น จงทํากระแสของความเปลีย่ นแปลงใหหยุดไดโดยสมบูรณ (ไมหลงปรุงแตง ปลอยจิตใหฟงุ ซาน) คือศานติสขุ แหงนิพพานจนถึงกับวาเผชิญสถานการณ ใดๆ เขามาแวดลอมใจ ก็ไมถูกทําใหเปรอะเปอนดวยวัตถุกามารมณที่ ทะเยอทะยานแหงตัณหา นั่นแหละคือคุณชาติอันประเสริฐของการไดเกิด มาเปนคน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระอุปัชฌาย ปุญญาลังการ

พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย

ปูชนียาจารย ๔ องค

ทานพอพุทธทาส อินทปัญโญ

พระสังฆปริณายกเวยหลาง


ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๓

ทานพอพุทธทาส อินทปัญโญ ชีวิตแท้ งามงดและสดชื่น ชีวิตเหลือ แตความเย็น เปนนิพพาน ชีวิตแท งามงด และสดชื่น ไมมีฝน ไมมีหวั่น ไมสั่นเสียว ไมมีสิ่ง หลงรัก สักสิ่งเดียว ไมมีจิต เกาะเกี่ยว ทั้งบาปบุญ ทรัพยในเรือน เปนเหมือน ของเกลื่อนกลาด ที่เปนบาป เก็บกวาด ทิ้งใตถุน ที่เปนบุญ มีไว เพียงเจือจุน ใหเปนคุณ สะดวกดาย คลายรถเรือ... ไมยึดมั่น สิ่งใด เอาใจแบก กลัวแตกตาย ใจประหวั่น จนฟนเฝอ เบาทั้งกาย เบาทั้งใจ ไมมีเบื่อ ชีวิตเหลือ แตความเย็น เปนนิพพาน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๔

พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย มารบมี บารมีก็ไมแกรงกลา (การกลาเผชิญหนาอุปสรรคปญหานานัปการคือปจจัยสูความสําเร็จอันสูงสง)

จงมีสติอดทนมั่นคงบมเพาะใหจิตสงบนิ่งไมหวั่นไหว จะไดนั่งแทน แกวคําเหลือง การปลอยตนตามใจอยากทุกอยางตองลําบาก เหมือน ลูกคันศรถูกใชยิงเปนขาทาสใชตัณหาอยูรํ่าไป ดังนั้นอยาไดหวาดหวั่น ตอพายุลมฝน ความรอนความหนาว ใครจะทําดียกยองสรรเสริญอยางไร หรือตองเผชิญหนาอุปสรรคปญหามารผจญ จงตัง้ จิตใหมนั่ คงอยูใ นอุเบกขา ธรรมและเมตตาธรรม ถึงจะตองเจอความยากลําบากจากการกระทบ กระเทือนการเสียดสีกาวราวรุนแรงสักปานใด ก็อยาไดปริปากบนวา ใหรายใครเปนเด็ดขาด เพราะนั่นคือบทพิสูจนบาทวิถีสูความเขมแข็ง อันทรงพลังแสนยานุภาพ จุดประกายบารมีธรรมทั้งหลายทั้งปวง ใหเจิดจาเหนือสรรพสิ่ง อีกประการหนึ่ง คือการถนอมคําพูด ใหระมัดระวังอยางยิ่งในการ เจรจา แมมีสิ่งเราใจใหพูดก็ใชจะตองพูดทุกเรื่องไป ถึงสิ่งนั้นจะเปน ความจริงอยางไรก็ตาม เมื่อมีเหตุจําเปนตองพูดก็กลาวแตถอยคําที่เปน สัจจะความจริง พูดคําไหนตองเปนคํานั้น ไมตองพูดอะไรใหมากเกินเลย โดยปกติผูที่มั่นคงในสัจจะวาจาจะพูดนอย แตหนักแนนนาเคารพเชื่อถือ และทรงพลังพิเศษเปนอมตะวาจา จะมีศักยภาพสูง จะมีแรงบันดาลใจ ในการขับเคลื่อนสูความสุขความสําเร็จไดอยางยอดเยี่ยม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


คํานํา “อรุณรุ่งบนยอดเขาคิชฌกูฏ” คือสื่อนําสัจธรรมสองแสง

สวางเฉิดฉายสูหัวใจมวลมนุษยชาติ เปนการถายทอดธรรมของพระปา วัดดอยจากเขาคิชฌกูฏ ซึ่งไดใชเวลาโอกาสทุมเทในการบําเพ็ญภาวนา เสาะแสวงหาโมกขธรรม แทบจะเปนสิ่งเดียวกับลมหายใจ เปนความ ประทับใจ ดวยชีวติ จิตวิญญาณ ไดพสิ จู น ทาทาย ผสมผสาน แลวจึงกลัน่ กรองมาจารจารึกธรรม จากธรรมชาติอันงดงามเบงบานบริสุทธิ์ของ สัจธรรมใน “อรุณรุ่งบนยอดเขาคิชฌกูฏ” เปนอีกมุมมองหนึ่งดวย ดวงตาสามัญปรกติธรรมดาและจิตที่มุงสูธรรมชาตินี้เปนพลังกระตุนจุด ประกายแสงสวางแหงสัจธรรม จากกระทอมหญาคานําพาเราทานพิสจู น ทางสูโมกขธรรม คือความสวางสงบสุขของชีวิต ที่พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงคนพบเปนเคล็ดลับสุดยอด อันเปนมรดกลํา้ คายิง่ ของมวลมนุษยชาติ คือธรรมชาติของชีวิตที่นิ่งและสงบ เปนความปลอดโปรงปลอยวาง ดวย ดวงจิต ใสสะอาดบริสทุ ธิแ์ ละเฉียบขาดเด็ดเดีย่ วแนวแน สงบระงับสํารวม ควบคุมตน อดทนเขมแข็งใหอยูอยางปกติธรรมดากับความเรียบงาย ทามกลางความโดดเดนของธรรมชาติ นี่คือสัจธรรมความจริงอันควรคาอยางยิ่งสําหรับทุกชีวิต สูความ สดชื่นบริสุทธิ์ของจิตใจแจมใสสงบรมเย็น ผสมผสานสายลม แสงแดด ปาเขา ตนไม กอนหิน พืน้ ดิน แหลงนํา้ ดอกไมนานาพันธุ สิง่ มีชวี ติ ทัง้ นอย และใหญสลับกันมาเปนเพือ่ นเสียงขับขานจากธรรมชาติ ดุจเสียงสาธยาย สัจธรรมสุดแสนไพเราะซาบซึง้ นิจนิรนั ดร ในความวิเศษวิสทุ ธิ์ สูพ ลานุภาพ ทุกอณูเปนพละพลังแหงจิตตานุภาพเปนความมหัศจรรยของชีวิต ซ

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เพราะฉะนั้น ธรรมบรรณาการ “อรุณรุ่งบนยอดเขาคิชฌกูฏ” สื่อสูความเสมอภาค อิสรเสรีภาพ ภราดรภาพ แดมวลมนุษยชาติจาก พระปาวัดดอยที่ไดเสนอนี้คืออีกทางเลือกหนึ่งในการสื่อรับสัจธรรม จงเปดใจกวาง แลวคอยศึกษาไปทีละบรรทัด เปดอานทีละหนาพรอมกับ การยอนสํารวจตรวจสอบตนเองอยางพินจิ พิเคราะห ทะลุปรุโปรงในจิตใจ ใสสะอาดวางสงบรมเย็นที่สุดจนเกิดพลังเปนบารมีนาทีทอง ดลใจ จุดประกายชีวิตสูรุงอรุณ ความสวางไสวสงบสํารวมสูโมกขธรรม ตามรอยพระพุทธบาทองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อเปนสิง่ นอม รําลึกแหงปพทุ ธชยันตีวนั ตรัสรูสจั ธรรมและสองแสงสวางไสวแดชาวโลก ในเนือ้ หาตามหัวขอธรรมหลายบท เชน ตามรอยธรรมของพุทธเจา อนุสรณ พุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป วิถีธรรมแหงมนุษยชาติ สายธารธรรมพุทธศาสตร บทประมวลรวบยอดพระนิพพาน และไขปญหาขอของใจ ฯลฯ หวังวาสื่อสัจธรรมนี้จะเปนปจจัยสําคัญสําหรับนําชีวิตเราทาน ทั้งหลายใหไดรูจักตนเองและมีเปาหมายชัดเจนในการดําเนินชีวิตให ผสมผสานสัจธรรม จนกลมกลืนเปนหนึ่งเดียวที่ศูนยรวมคือ “ความว่าง ความสงบร่มเย็น เกื้อกูลแก่การดำารงชีวิตได้อย่างดียิ่ง”

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม วันพุธที่ ๑๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ กระทอมหญาคายอดเขาคิชฌกูฏ

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


กิตติคุณประกาศ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ ไดรับสายธารนํ้าใจจัดพิมพเปน ธรรมทานใหเปนแสงสวางแหงธรรมเผยแพรในครัง้ นี้ ขอขอบพระคุณ คุณพ่อบุญเลิศ คุณแม่กรรณิการ วิบูลย์ลาภ ไดกรุณารวบรวม ศรัทธาบริจาคจากลูกหลานญาติมติ ร และทีเ่ ปนพลังศรัทธาหลักคือ ท่านผูอ้ าำ นวยการรจิตตรี วงษ์สวรรค์ เจาของโรงเรียนอํานวยวิทยา พร้อมครอบครัว ไดมีศรัทธาอันแรงกลาพิมพธรรมะเปนแสงสวาง บําเพ็ญบารมีในโอกาสครบรอบวันเกิดดวยการใหธรรมทาน และ เพือ่ อุทศิ กุศลผลบุญแดคณ ุ พ่ออำานวย คุณแม่จนั ทราทิพย์ สุวรรณ ปาล ผูใหกาํ เนิด ผูประสิทธิป์ ระสาทบันดาลทุกสิง่ ทุกประการแดลกู หลาน ขอผลานิสงสแหงการสรางบุญเผยแผธรรมทานครั้งสําคัญ ยิง่ นี้ จงอํานวยผลใหทา นทัง้ สองไดเสวยทิพยสมบัตติ ราบพระนิพพาน และขออานุภาพแหงกุศลเจตนาอันไพศาลนี้ จงเปนเกราะแกวเปน รมโพธิป์ กปองคุม ครองทานทัง้ หลายพรอมครอบครัวใหอยูเ ย็นเปนสุข ดวยแสงธรรมอันเจิดจา เจริญรุงเรือง ทั้งทางโลกและทางธรรม ตลอดกาลนาน ขอขอบพระคุณ ฯพณฯ ธวัธชัย ทวีศรี อดีตเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอินเดีย เอื้อเฟอภาพถายพระบรมสารีริกธาตุ ขอขอบพระคุณศาสตราจารยเกียรตินิยม แสง จันทร์งาม ใหขอมูลดานประวัติศาสตร ญ

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ขอขอบพระคุณ ดร.รัตนา แซ่เล้า ผูใหคําแนะนําปรึกษา ขอขอบพระคุณอาจารย์สมชาติ คุณหมอนงคราญ มีทรัพย์ ฝายประสานงาน ขอขอบพระคุณคุณเดชชาติ ห้าวเหิม คุณครูเยาวเรศ สุรี รัตน์ พร้อมศิษย์ ในงานดานการพิมพ ขอขอบพระคุณพระวิชยั ธัมชโย ทีช่ วยตรวจสอบตรวจทาน ขอขอบพระคุณคุณพิทักษ์ คุณอังศุมาลิน บุญทา ที่ชวย ตรวจสอบตรวจทาน ขอขอบพระคุณอาจารย์ทองทวี พรประภา ในงานตรวจ สอบตรวจทานวางระบบเรื่อง ขอขอบพระคุณสถาปนิก คุณธนิก ฟองแก้ว ผูใหคาํ แนะนํา ปรึกษา ขอขอบพระคุณคุณรัชนีย์ จันทร์หอม ผูออกแบบปก ที่สุดนี้ ขอขอบพระคุณผูที่มีความเกี่ยวของทุกทานที่ใหแรง บันดาลใจและอํานวยความสะดวกการจัดพิมพหนังสือเปนธรรม ทานในครั้งนี้เปนอยางยิ่ง ซึ่งความดีและคุณคาประโยชนอันจะพึง มีมากนอยขอมอบแดบดิ ามารดา และผูทไี่ ดอมุ ชูเลีย้ งดูมาตลอดถึง คณาจารยพรอมผูมีอุปการคุณทุกทาน ภิกษุอานันท พุทธธัมโม วันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ ๒๕๕๖ เวลา ๑๖.๓๓ น. อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สารบัญ หัวใจหลักธรรมของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ................................ ก ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๑ พระอุปชฌาย ปุญญาลังการ ......................... ค ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๒ พระสังฆปริณายกเวยหลางแหงนิกายเซ็น.......ง ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๓ ทานพอพุทธทาส อินทปญโญ ...................... ฉ ธรรมะปูชนียาจารยองคที่ ๔ พระครูบาเจาศรีวิชัย สิริวิชโย ....................... ช คํานํา ........................................................................................................ ซ กิตติคุณประกาศ...................................................................................... ญ พุทธโอวาท ...............................................................................................๑ ตามรอยพุทธบาทองคพระบรมศาสดา ......................................................๓ ตามรอยธรรมพระพุทธเจา ........................................................................๕ อนุสรณพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป ................................................................ ๑๑ วิถีธรรมแหงมวลมนุษยชาติ....................................................................๑๗ สายธารธรรมแหงพุทธศาสตร ................................................................๒๕ บทประมวลรวบยอดพระนิพพาน............................................................๔๕ ทางแหงพระนิพพาน .............................................................................. ๔๖ ศูนยรวมสรรพสิ่งสูความวาง (นิพพาน) .................................................. ๔๗ ธรรมบรรยาย เรื่องนิพพานคือความสงบเย็นของชาวโลก........................ ๔๙ ไขปญหาขอของใจ................................................................................. ๗๕ หลักปฏิบัติในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ..................................................๘๕ ทําไมตองมีศาสนา ................................................................................. ๙๙ สื่อพุทธธรรมสูพุทธสถาน ................................................................... ๑๑๕ ประวัติวัดพระธาตุแสงแกวมงคล .........................................................๑๑๗ ประวัติเดิมของวัด ............................................................................... ๑๑๙ ศุภนิมิต............................................................................................... ๑๒๑ จุดเริ่มตนบูรณะการสรางวัด ............................................................... ๑๒๕ เหตุที่สรางวัดเปนอินเดียนอย ..............................................................๑๒๗ สถานที่สื่อพุทธสถาน .......................................................................... ๑๓๑

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


นิกายกับการสังกัดนิกายของวัดพระธาตุแสงแกวมงคล........................ ๑๕๕ การเกิดขึ้นของนิกายธรรมยุต ..............................................................๑๕๗ ปฐมเหตุการณแบงแยกสงฆ .................................................................๑๖๑ นํ้าพระทัยของพุทธองคตองการใหสงฆเปนหนึ่งเดียว ............................๑๖๓ วิถีชีวิตพระ-เณร ในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล .....................................๑๖๙ วัตรปฏิบัติของพระ-เณรในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ..........................๑๗๑ หลักการบําเพ็ญบุญ............................................................................๑๗๕ ความหมายของการทําบุญ ..................................................................๑๗๙ การทําบุญในสังคมไทย .......................................................................๑๘๓ หัวใจของการทําบุญ ............................................................................๑๘๗ การบวชการประพฤติพรหมจรรย ........................................................ ๑๙๓ หลักหัวใจพรหมจรรย .........................................................................๑๙๗ หลักการเจริญจิตสมาธิภาวนา ............................................................ ๑๙๙ การถือพระรัตนตรัย ............................................................................ ๒๐๕ ประวัติของพระพุทธเจาโดยสังเขป........................................................๒๐๙ พระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาโดยยอ ............................................ ๒๑๓ ถกปญหาธรรมของสามเณรในวัด........................................................ ๒๑๙ ความหมายพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ............................................ ๒๒๕ ใจบริสุทธิ์ก็ไรปญหา............................................................................๒๓๗ การเวียนวายตายเกิด .......................................................................... ๒๔๑ เรื่องการอุทิศสวนกุศลถึงผูลวงลับและกฎแหงกรรม ............................ ๒๔๙ อัศจรรยธรรมะจากวันขึ้นปใหม ............................................................๒๖๕ ทําไมจะตองกราบไหว .........................................................................๒๘๓ อะไรที่เปนอุปสรรคตอการรูธรรม........................................................ ๒๙๑ ธรรมเนียมการทอดผาปา – กฐิน .........................................................๒๙๗ วันสําคัญทางพุทธศาสนา ๔ ประการ ..................................................๓๐๗ อาณาจักรธรรมรุงโรจนในยุค “จอมจักรพรรดิอโศก” .......................... ๓๒๓ ธรรมชาติที่เปนธรรมดาของปรากฏการณ ........................................... ๓๔๑ ขอคิด และคติธรรมทายเลม ................................................................ ๓๔๓ ทางธรรมชี้นําจากยอดเขาคิชฌกูฏ ...................................................... ๓๕๙ ชีวิตและประสบการณของผูเขียน .........................................................๓๖๑ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ



พุทธโอวาท

ภิกษุทั้งหลาย ตราบใดที่ทานหมั่นประชุมกัน ยังประพฤติ

ถู ก ตรงตามคํ า สอนที่ เ รากล า วไว นั้ น ด ว ยความสามั ค คี ไมเปลี่ยนแปลงบัญญัติกฎอันขัดกัน คณะสงฆจะรุงเรืองเปน ปกแผน ปลอดภัยจากความตกตํ่า จะไมเสื่อมโทรมสาบสูญ

พวกทานทั้งหลาย จงนอบนอมยินดีในคําตักเตือนของ พระเถระผูเฒาในหมูสงฆ จงระมัดระวังไมลืมตัวไมเผลอตัว จนตกอยูใตอํานาจของความชั่ว แลวรูสึกตัวเมื่อภายหลัง จงแสวงหาความวิเวกเปนสวนตัว อยาคลุกคลีกันเปนหมู จงเอาใจใสตอนรับภิกษุผมู าจากทีอ่ นื่ ๆ ใหสาํ เร็จดังทีเ่ ขาประสงค เมื่อภิกษุใดเจ็บปวยลงใหภิกษุนั้นเอาใจใสชวยรักษา ผูพยาบาลภิกษุไขก็เทากับผูนั้นไดพยาบาลเราตถาคต อยาเปน คนอวดดี เพอเจอ ลืมตัว ใหคบหาแตคนที่ดี หลีกหางจากคนชั่ว จงหมัน่ พิจารณาใหเห็นแจงอยูเ ปนนิจในความจริงวา “สิง่ ทัง้ หลาย ไมมีความจีรังยั่งยืน และเปนทางใหเกิดทุกขแกผูเขาไปยึดถือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อยางจริงจัง และใหรูวาสิ่งเหลานั้น ไมมีแกนสารวางเปลา จากตัวตน” แมนพระพุทธองคจะทรงดับขันธปรินิพพานไปแลว หรือพระพุทธศาสนาแดนพุทธภูมิในอินเดียจะถูกกวาดลาง ทําลายไป แตหลักสัจธรรมแหง ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนหลักความจริงที่อยูคูโลกตลอดกาล ตราบใดมีการเห็นแจงสัจธรรม การไดเห็นพระพุทธเจาก็มี อยูตราบนั้น พระพุทธองคตรัสวา “ตราบใดทีม่ ผี ปู ฏิบตั ชิ อบแลวไซรโลก ก็จะไมวางจากพระอรหันต”

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตามรอยพุทธบาทองคพระบรมศาสดา เจาตองมีดวงจิตดุจหินผา มุงหมายที่นิพพานใหแมนมั่น อยาปลอยใจออนแอเหมือนเศษทราย จะพายแพกิเลสแมเล็กนอย จงแหวกวายทวนสายธารแหงตัณหา พญามารกับองคพุทธะมักคูกัน จงบากบั่นมุงมั่นสรางบารมี กิเลสมารรายก็สยบอยูแทบเทา พุทธภูมิสิ่งสูงสง คืออาณาจักรของคนกลาพลีชีพเพื่อพระธรรม นิพพานคือนํ้าอมฤตธรรมประจําโลก ใครปวยทุกขสุขโศกหรือโลภหลงมืดมน จงอธิษฐานจิตลิ้มรสสรงธารธรรม เจาจะพบความสะอาด ความสงบ ความสวางไสวจากพระพุทธองค อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตามรอยธรรมพระพุทธเจา

วิถีทางแหงการคนพบธรรม ประดุจการจับคันศรขึ้น

เหนี่ยวรั้งสายธนูแหงชีวิตจนสุดแรงเกิด แลวปลอยลูกศรคือ จิตที่แสนซื่อพุงเปาหมายที่ความวางอันเวิ้งวางไพศาล สูอิสรเสรี ความหลุดพน เหนือทองฟานภากาศ เหนือโลก สูโมกขธรรมคือ พระนิพพาน เปนหนทางวิเศษที่สุดอํานวยผลเปนผลานิสงส นําเราทานทั้งหลายใหไดพบความมหัศจรรยของชีวิตเหมือน พระพุทธองค และพระสาวกหรือผูประสบความสําเร็จมาแลว ฉันใด การไดดมื่ ดํา่ อมฤตธรรม ก็ดจุ เราไดดมื่ นํา้ ไดอาบนํา้ บริโภค อาหารจะรูสึกไดเฉพาะตนเอง การไดประจักษแจงธรรมชาติความจริงของสัจธรรม ความ ซาบซึง้ ในธรรม ความอิม่ เอิบในธรรมเปนประการใด ก็ขนึ้ อยูทใี่ คร จะเต็มใจกาวดําเนินตามรอยพระพุทธบาท ดวยความกลาอาจหาญ อุทิศตนทุมเทพลังรับการทาพิสูจนสูเปาหมายโดยการใชความ เพียรพยายาม ดวยความปรารถนาอันแรงกลาเปนพลังในการ ขับเคลื่อนเฟองจักรธรรม จุดประกายชีวิตเราทานทั้งหลายใหได อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ลืมตาตื่นใจเพื่อกระตุนเตือนสติ หากจะเปนประโยชนสุขเกื้อกูล เปนผลสําเร็จแกใครไดมากนอยประการใดนั้น ก็ขึ้นอยูกับ เหตุปจจัยของแตละผูคน ซึ่งจะตองมีความตื่นตัวแตกตางกัน เปนธรรมดา และตองอยูที่ความตั้งจิตอันแนวแนที่ใครจะยอมรับ การพิจารณาตนเองจนเห็นเปนความวางและปลอยวาง ชีวิตเราทานจะผสานเปนหนึ่งเดียวกับสัจธรรม ถึงขั้นที่สุด แลวจะปราศจากความลังเลสงสัย จะนิง่ สงบไดทกุ เหตุการณและ สถานการณ ดุจนํ้าที่บรรจุเต็มขวดแลว จะเขยาอยางไรก็ไมมี เสียงดังฉันใด การบรรลุธรรมแลวก็ไมอาจทีจ่ ะสรรหาภาษาถอยคํา มาอรรถาธิบายหรือโฆษณาเหมือนการโฆษณาชวนเชื่อจาก สื่อตางๆ ทั่วโลก ดวยเทคโนโลยีปลุกกระแสโลกาภิวัตนตาม ยุคสมัยไฮเทค หรือลํ้ายุค จะพิเศษพิสดารอยางไรไมไดทั้งนั้น เครือ่ งอํานวยความสะดวกเหลานัน้ บรรจุไดแคขอมูลเชิงวิชาการ มิใชตัวประสบการณจริงที่จะประจักษแจงจากจิตใจ ดังนั้นมันก็หนีไมพนการที่จะผสมโรงหลงสําคัญตนกับ ความเกลือกกลั้วยํ่าติดอยูกับที่ การสรางภาพอัตตาตัวตนขึ้นมา แขงขันแยงชิงเกทับความเหนือกวายิ่งใหญอลังการ เปนเหมือน หมอกมานอวิชชาเปนฝาปดบังดวงตา จะมองเห็นอะไรผิดหูผดิ ตา ผิดพลาด ถึงกับตองหลงสรางกําแพงแบงแยกสิ่งสมมุติฐาน ลุมหลง มัวเมา ยึดติดสําคัญผิด เห็นกงจักรเปนดอกบัว สรางความ แตกแยกอยางสุดเหวี่ยง ยิ่งมีความรูมากยิ่งแสดงอัตตาตัวตน อยางสุดโตงมองเห็นแตสงิ่ ทีล่ มิ้ รสแหงความหลงยึดติดสําคัญตน ๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เกิดการแขงขันชิงดีชิงความโดดเดนโลดแลนวนเวียนลุมหลง ในโลกมายาเหมือนดวงตาตืน่ แตจติ ใจนัน้ กลับหลับใหล แมกระทัง่ เราท า นทั้ง หลายจะยอมรั บ ในความศิวิไ ลซ ลํ้า ยุ ค ลํ้า สมั ย ก็ยังจัดอยูในกรงขังเหล็กและถูกลามโซตรวนพันธนาการ แหงโลกมายา ยังอยูในอุงเล็บแหงมัจจุราช และกิเลสความใคร ความอยากที่ตองตกเปนทาสของวัตถุนิยมอยูรํ่าไป พระพุทธองคทรงตรัสยํา้ ถึงอันตรายของการวิง่ ตามกระแส โลก มิใชเปนทางวิเศษของชีวิต และมิไดทําใหชีวิตในพรหมจรรย บริสุทธิ์บริบูรณ ที่จะกําจัดความโออวดมัวเมาอัตตาตัวตนความ ลุมหลงสําคัญตนจนเห็นเปนสิ่งนาขยะแขยง เปนพิษภัยอันตราย ตอจิตใจอยางใหญหลวง ความจําเปนอยางยิง่ และเฉียบขาดทีส่ ดุ ตองระงับ จะตองดับเชื้อไฟใหดับเย็น นั้นคือการดําเนินชีวิต ตามพุทธวิถี ที่ทรงไดชี้ทางอริยมรรคสูความสวางและสงบแด มวลมนุษยชาติ เจริญตามรอยพระพุทธบาทของพระพุทธองค ทีว่ เิ ศษโดดเดนเหนือวิทยาศาสตร เหนือความลํา้ ยุคสมัย เหนือโลก โดยประการทั้งปวง ที่ทรงมุงเนนตรงจุดสงบรมเย็นของชีวิต โดยใหดบั ไฟอันรอนแรงของความใครความอยาก ดวยการบังคับ จิตใจไมใหวนุ วายวิง่ ตามกระแสกิเลสตัณหาพาไป สนองตามความ ตองการอยางเสรีเกินไป จนใจเสีย ใจแตก จิตฟุงซาน ทําให ปวดเศียรเวียนเกลาเครียดอยูกับอารมณอันรุมรอนจนขาดสติ ปญญามืดแปดดาน จิตใจสับสนวาวุนหาจุดยืนที่แนนอนมิได อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เพราะฉะนั้นพระพุทธองคจึงเสาะแสวงหาทางเลือกใหม ที่ทรงไดตรัสรูคนพบเปนสัจธรรมความจริงที่ไมตกยุคสมัย และไมมีอํานาจอะไรจะมาลบลางได นั่นคือการมุงเปามองดูชีวิต และโลกเปนของวางและสงบ เปนศูนยรวมสุดยอดของที่สุด ทุกอยางทุกประการ ดังจะยกตัวอยางทีพ่ ระพุทธเจาไดทรงแสดง เปนการชีใ้ หเห็นความเปนสัจธรรมอยางชัดเจนจากปรากฏการณ สําคัญยิ่ง ในครั้งพุทธกาล ณ บนยอดเขาคิชฌกูฏ แดนชมพูทวีป ประเทศอินเดีย ทามกลางบริษัทในกาลครั้งนั้น ทาวมหาพรหม ไดนอมกราบถวายดอกบัวขาวแดพระโลกนาถเจา เมื่อทรงรับ แลวไดทรงจับดอกบัวอันเบงบานบริสุทธิ์ชูขึ้นเปนนัยยะปริศนา แลวประทับนิ่งสงบอยูโดยมิไดตรัสถอยคําอะไรแตประการใด ทามกลางความเงียบสงบนั้น มีแตเพียงพระมหากัสสปะเถระเจา เพียงองคเดียวทีส่ ามารถหยัง่ รูถ งึ นํา้ พระราชหฤทัยของพระตถาคตเจา ไดแสดงกิริยายิ้มนอยๆ อยางออนโยน สัมพันธดวงตาสดใส เปนประกายฉายความบริสุทธิ์บริบูรณและหลอมรวมจริยาวัตร อันเขมงวดในธุดงคของพระมหาเถระเจาจากการแสดงธรรม โดยไรเสียงของพระพุทธองคในคราวนี้ เปนการสื่อถึงจิตที่วาง ปลอยวาง เรียบงายเบาบางบริสทุ ธิแ์ หงธรรมสูจติ ใจ พระพุทธองค ไดทรงพระมหากรุณายกยองยอมรับวาพระมหากัสสปะเถระเจา ไดสืบทอดหัวใจแหงสัจธรรมสืบตอสายตรงจากพระพุทธองค จึงทําใหพระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงประทานยอมรับยกยอง ๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ใหเปนเอกทัคคะในดานธุดงควัตร และเปนพระพุทธสาวก เพียงองคเดียวทีพ่ ระพุทธเจาทรงพระกรุณาโปรดการแลกเปลีย่ น บาตรจีวรสังฆาฏิกันใช ถือเปนสื่อนิมิตที่สําคัญยิ่งของการ ถายทอดหัวใจพระธรรมเปนกรณีพิเศษแลวไดเผยแผธรรม แหงจิตวางบริสุทธิ์ และสติปญญาญาณ (ฌาน)* สองความ สวางไสวแหงสัจธรรมอันอําไพไรตัวตน ปราศจากทิฐิอหังการ ไมสําคัญตนไมถือเราไมถือเขา มีความสัมพันธเปนกัลยาณมิตร ดวยเมตตาไมตรีจิต อยางเสมอภาคตอมวลมนุษยชาติ และรวม กันหวานเพาะเมล็ดพันธุแ หงมโนธรรมไปทัว่ พืน้ ปฐพี เปนเนือ้ นาบุญ อันประเสริฐไดเจริญงอกงามไพบูลย อุดมสมบูรณ บริบูรณเกิด มรรคเปนผลเกื้อกูลประโยชนสุขสงบรมเย็นเปนอานิสงสแผ ความเจริญรุงเรืองจากยอดเขาคิชฌกูฏตั้งแตครั้งอดีตสูกาล ปจจุบนั ไดผสานเชือ่ มโยงความเปนหนึง่ คือ วิมตุ ติเปนทางสวางไสว สูชาวโลกตลอดไปตราบกาลนาน วันพุธที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๔๔ น. กระทอมหญาคาบนยอดเขาคิชฌกูฏ (พะเยา)

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


*อธิบายเชิงอรรถ คำาว่า “ฌาน” หรือ “ธฺ๎ยานะ” เปน ภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีวา่ “ญาณ” และ “ปญญา” ตรงกับภาษาไทยว่า “ความรู้เฉลียวฉลาด” ภาษาจีนว่า “ฉาน” ภาษาญี่ปุนว่า “เซ็น” มีความหมายถึง รู้อย่างเฉียบ ขาดฉับพลัน ตรงกับภาษาลานนาไทยว่า “หลวก” คือ หลวกหลักแหลมพันหลักรอบคอบรูเ้ ท่าทันคนไม่ให้กเิ ลส มายาลวงหลอกตัณหาพาไป

หมายเหตุ ภาษาลานนานี้แตเดิมมาเรียกวา “ภาษา ลายธรรม” และเปนที่รูจักของประเทศเพื่อนบาน มีลังกา พมา เขมร ลาว และคนไตที่อยูในยูนนานประเทศจีน

๑๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อนุสรณพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป

การอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนไปเพื่อเกื้อกูล

ประโยชนสุขอันสูงสุด แดมวลหมูมนุษยชาติ ทรงประทาน พระพุทธศาสนาใหเปนศาสตรสาํ คัญอยางยิง่ แกชาวโลก โดยการ มุงเนนชี้ตรงสูเรื่องของชีวิตและจิตใจ อันเปนศูนยรวมบอเกิด ทุกสิ่งทุกประการ ที่เราจะตองคนหาบทพิสูจนและสรุปเรื่องชีวิต จิตใจใหชัดเจน แจมแจงจนถึงที่สุด นั้นคือการมองใหเห็นตัว ตนเหตุและปจจัยที่เปนกฎสากล อันเปนหลักธรรมดาที่สุดของ สรรพสิง่ วามันมีความดับเย็นเปนสภาพอยูแ ลว ใครจะยึดถือสิง่ ใดๆ ไมไดทั้งนั้น เพราะมันเปนอนิจจังไมมีอะไรจีรังยั่งยืน วงลอแหง สัจธรรมจะขับเคลื่อนสรรพสิ่ง จากอนิจจังสูอนัตตาความวาง ไรจุดกอกําเนิด และไมมีที่สิ้นสุด สลัดทุกพันธนาการดวยการ ปลอยวางสูศูนยรวมแหลงสัจธรรม คือความสมดุลลงตัวอยาง เสมอภาคของชีวิต นีค้ อื บทสรุปทุกสรรพสิง่ อยางยุตธิ รรมทีส่ ดุ สูก ารหลอมรวม ธรรมะกับชีวิตจิตวิญญาณใหผสานสอดคลองกับวิถีหนาที่ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑


การงานและผูเ กีย่ วของใหเหมาะสมลงตัว รูจ กั การปรับตัวยืดหยุน ลดความสําคัญตน รูจักศิลปะการปลอยวางบนเสนทางของชีวิต ทุกวิถี นั่นคือรูจักดึงตนออกจากปญหา อยาจมดิ่งอยูกับกระแส โลก ความยุงเหยิงจมปลักอยูแคอารมณเปรอะเปอนวุนวายรุม รอนติดหลมมูตรคูถ จงใชพลังงานชีวิตทุกอณูขับเคลื่อนชีวิต สูความปลอดโปรง สลัดทุกพันธนาการทําจิตใจสดชื่นแจมใส อยูเสมอ จงมุงเข็มทิศดําเนินตามทางสูโมกขธรรม คือความสงบ รมเย็น แหงนิพพาน หลอเลี้ยงชีวิตทุกรูปนามดวยอมฤตธรรม มีสุญตาความวางเปนวิหารเปนที่พํานักนิจนิรันดร คืออิสรภาพ แหงชีวิตอยางแทจริง เพราะฉะนั้นพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงเนนใหมวลหมู มนุษยชาติไดมองโลกโดยความเปนของวาง เปนสิง่ จําเปนอยางยิง่ สําหรับทุกชีวิตจะไดปลอดภัยจากอันตรายทุกอยางทุกประการ จนอยูเหนือโลกเหนืออิทธิพล อํานาจใดๆ ตั้งแตเรื่องความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากก็จะไมทาํ ใหจติ ใจ รูสกึ สะทกสะทานหวัน่ ไหว พรอมกลาทีจ่ ะเผชิญหนาสัจธรรมคือ มัจจุราชไดอยางอาจหาญ และสงบนิ่ง ไมตองวิ่งหนี หวาดกลัว ความทุกข ความแก ความเจ็บ ความตาย และอุปสรรคปญหา นานัปการ ไมตองทองเที่ยววิ่งหาความสุข ความสําราญอันเปน เหมือนภาพหลอกหลอน ไมตองตกเปนทาสแหงอารมณใดๆ ทัง้ สิน้ จะตองกําจัดความกําหนัดยินดีดวยจิตใจทีเ่ ขมแข็งควบคุม ความรูสึกเปนหนึ่งคือ สงบนิ่ง หนักแนน แนวแน เปนสมาธิ ๑๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


มิใหหวั่นไหวตออะไรงายๆ จะตองระมัดระวังไมตกหลุมพราง สูการนํากระแสไสยศาสตรมาปนเปอนสัจธรรมอันบริสุทธิ์ของ พระพุทธศาสนา โฆษณาสรางวัตถุมงคลหลอกลวงมอมเมาผูอนื่ ใหหลงงมงาย เพื่อแสวงหาลาภสักการะลุมหลงในผลประโยชน หมกมุนจมปลักติดหลมวัตถุกามกิเลส อีกทั้งจะตองระวังระไว ไมติดกับดักหลงงมงายสําคัญ ตนเอง ความหยิง่ ยโสโอหังถือตัว ในความสามารถ ความสําเร็จ ความวิเศษวิโส ความมักใหญ ใฝสูงในฐานันดรศักดิ์ จะตอง ตัดใจสลัดความรูสกึ ยินดียนิ ราย ไมตกเปนทาสแหงความใคร ความอยาก ความละโมบโลภลน เปนเหมือนโซตรวนผูกลาม พันธนาการดุจนักโทษตลอดกาล และเต็มไปดวยอันตรายคอย ทิ่มแทงรอบดาน และถูกควบคุมครอบงําใหหลงมนตเสนหให ดื่มดํ่าความเอร็ดอรอย ความหอมหวานแหงโลกียรส ดุจนํ้าผึ้งที่ เจือดวยพิษรายรุนแรง สิ่งแสลงตอจิตวิญญาณ ใหไดรับความ เจ็บปวดเรารอนดุจเพลิงนรกเปนที่นาเวทนายิ่งนัก ดังนั้นจึงตองทําลายหมอกมานแหงอวิชชาความรูความ โออวด โอหัง ความสําคัญตน อันเปนเหมือนกําแพงเหล็กมหึมา ปดบังที่จะตองพังทลาย แมความรูสึกที่ถูกครอบงําในรูปแบบ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓


ปรัชญา ความรูความฉลาด ถามันมากเกินไปก็จะทําใหเกิดปญหา เปนความรวนเรความคิดฟุงซาน ทําใหหลงทาง หลงตัว ทํานอง ความรูทวมหัวแตเอาตัวไมรอด สรางแตเงื่อนไขขัดแยงติด หลักการและเหตุผล ติดยึดขอมูลอะไรมากมาย ลวนเปนปญญา โวหารเหมือนคนบาคลัง่ หลงหอบฟางสรางแตกระแสการปรุงแตง เรือ่ งราว เหตุการณลวงหลอกดวยปญญาอันเหลือเฟอ มีแตเรือ่ ง สงสัยขัดแยงในตัวเองบาง จากผูอ นื่ บาง อันนําไปสูก ารคิดคนขบคิด ถึงขนาดเปนปญหาโลกแตกหาขอยุติยาก พระพุทธองคจึงทรง ตรัสวานั้นเปนเดรัจฉานวิชา เพิ่มความอหังการสําคัญตัวหลงตน หลงทางวนเวียนอยูในวังวนติดคลื่นกระแสเพียงแคโลกธรรม จุดหมายปลายทางอันจําเปนทีส่ ดุ วิเศษทีส่ ดุ อัศจรรยทสี่ ดุ เปนสื่อสูธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจา คือการยนระยะทาง สูทางสายตรง เปนทางสายกลาง คือ มัชฌิมาปฏิปทา ที่ไมทําให สิ้นเปลืองเวลาโอกาส จะตองปรับจูนคลื่นชีวิตสูสุญตา หมุน จักรเฟองอันเรืองรองทรงพลังเหนือโลก ขับเคลือ่ นชีวติ จิตวิญญาณ สูพุทธวิถี สูโลกกวางไดอยางสงบสมบูรณบริบูรณที่สุด สมถะ เรียบงายเรืองแสงเปนประกายความสวางไสวเหนือสรรพสิ่ง นัน้ คือ ความสงบสํารวมหนักแนนอดทนดวย ขันติธรรม และเปย ม ดวยความเมตตาปราณีระงับความยินดียินราย อยูเหนืออารมณ เหนือการรับ เหนือการปฏิเสธ พยายามมองใหเห็นความเสมอภาค ของมวลมนุษยในลักษณะที่เปนสากล โดยปราศจากความรูสึก วาเปนเราเปนเขา เติมเต็มดวยความรูสึกอิ่มเอิบเบิกบานบริสุทธิ์ เปนกัลยาณมิตรปราศจากอคติ มีนํ้าใจเมตตาออนโยน สุภาพ ๑๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สุขุมเยือกเย็น ซึ่งการทําไดจนเปนนิสัยเปนเรื่องปกติธรรมดา ถือ ว า เป น การกระทํ า อั น สู ง สุ ด เหนือ สิ่ ง ทั้ ง ปวง และนี่ คือ ยอดบุญบารมี เปนกุศล เปนคุณชาติอันประเสริฐที่สุดสําหรับ มวลมนุ ษ ยชาติ จ ะพึ ง ได รั บ ประโยชน เ ป น อานิ ส งส จ าก พระพุทธศาสนา ในโอกาสที่พระสัมมาสัมพุทธเจาไดอุบัติ ขึ้นมาในโลก เพื่อเกื้อกูลประโยชนสุขแดทุกชีวิตมิไดมีเหลื่อมลํ้า ไมจํากัดบุคคลไมจํากัดกาล ไมจํากัดเวลา และสถานที่ ไมวาจะ เปนใครจะเปนที่ไหน จะเปนเวลาใด เมื่อมีผูรูจักตนเองอยางถองแท วาความจริงตนนั้นไร แกนสารไรตัวตนปราศจากทิฐิมานะอหังการไมยึดมั่นถือมั่น ไมหลงสําคัญตน ผูนั้นแลชื่อวาไดพบ ไดอยูใกลชิด ไดมองเห็น พระพุทธเจาสถิตอยูภายในชีวติ ทุกรูปนาม ทุกลมหายใจเขาออก โดยธรรมชาติ ทุกขณะเวลาอยูแลว ความรูซึ้งถึงเหตุปจจัยใดๆ ที่อิงอาศัยการปรุงแตงขึ้นมาแลว มันจะตองมีการดับไปดวย เหตุปจจัยนั้นๆ เปนสภาพธรรมดา นี้แลคือการไดเห็นไดพบ ดวงแกวแหงสัจธรรมเปนประกายเฉิดฉายอยูทั่วสากลจักรวาล ความประทับใจประสานไมตรีจิตเปนกัลยาณมิตรมิไดแยกแยะ ระหวางเราและทาน หลอมรวมชีวิตจิตวิญญาณเปนหนึ่งเดียว คือหัวใจของพรหมจรรย อันเปนศูนยรวมรัตนะพระแกวเจา ทั้ง สามประการ คือ พระพุ ท ธ พระธรรม และพระสงฆ เปนสายสัมพันธกับทุกชีวิต เปนเนื้อนาบุญอันประเสริฐ จาก แดนพุทธภูมิ สูนานาอารยประเทศ เปนแสงสวางอันโอฬาร และ ความสงบรมเย็นของชาวโลก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕


นี่คือ ความงดงามเบ ง บานสุ ข สมบู ร ณ บริบู ร ณ ที่สุ ด ความหมายการอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจา ในวโรกาส วันเพ็ญวิสาขบูชานอมรําลึกพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ที่พระพุทธเจา ทรงสํ า เร็ จ การตรั ส รู  แ จ ม แจ ง มี ชั ย ชนะอยู  เ หนื อ สรรพสิ่ ง จากนํ้าพระราชหฤทัยอันเต็มเปยมดวยพระมหากรุณาธิคุณ และใสสะอาดบริสุทธิ์ พิสูจนไดจากผูประพฤติมั่นคงอยูในธรรม ยอมไดรับเห็นผลเปนที่ประจักษแจงดวยตนเอง มิตองออนวอน ขอพรจากเทพไท พระเจาองคใดๆ เพราะเหตุนพี้ ระสัมมาสัมพุทธเจา จึงเปนผูส มบูรณดว ยวิชชาและจรณะ เปนศาสดาเพียงพระองคเดียว ที่ชาวโลกยอมรับยกยองอยางยิ่ง มาทุกยุคทุกสมัย ตราบถึง ปจจุบนั ถึงขนาดถือเอาวันเพ็ญวิสาขบูชาซึง่ เปนวันทีพ่ ระมุนแี หง ศากยะวงศแดนมหาภารตะอินเดีย ไดทุมเทการภาวนาแสวงหา ทางหลุดพนสูชีวิตอิสระอยางโดดเดี่ยวแนวแน ภายใตตนโพธิ์ ฝง แมนาํ้ เนรัญชรา จนถึงเวลารุง อรุณจึงไดประสบความสําเร็จตรัสรู แจมแจงสัจธรรมมีชัยชนะอยูเหนือสรรพสิ่งเปนพระสัมมา สัมพุทธเจา เปนวันสําคัญสากลของโลก และพระพุทธศาสนา ไดเปดโลกทัศนใหทุกผูคน สูอิสระ เสรีภาพ ภราดรภาพ บรรลุสู ความเปนมนุษยที่สมบูรณอยางเสมอภาคที่สุด นอมบูชาโดยความเคารพอยางสูงยิ่ง ภิกษุอานันท พุทธธัมโม กระทอมหญาคายอดเขาคิชฌกูฏ พุทธสถานอินเดียนอยวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๕

๑๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วิถีธรรมแหงมวลมนุษยชาติ

วิถีคือการเดินทางสูการขับเคลื่อนและการเปลี่ยนแปลง

พัฒนาการของชีวติ และหนาทีก่ ารงาน จะมีวถิ ที ศิ ทาง ซึง่ จะเลือก ดําเนินตามความถนัด นิสัย เหตุการณ กระแสสังคม กระแสโลก บางก็ดําเนินชีวิตอยางโลดโผนผจญภัย บางก็สูมรสุมเหตุการณ ผกผันแทบเลือดตากระเด็น ตองทนยากลําบากเผชิญปญหา นานัปการ บางก็วาดฝนเปาหมายมากมายหลากหลาย บางก็เดิน งุมงามหลงใหลคลัง่ ไคลโลดแลนแสดงพลังดวยรูป รส กลิน่ เสียง สัมผัสใสอารมณรุมรอนลวงหลอกตนเองบนเวทีโลกเพื่อลุมหลง เคลิบเคลิม้ ดวยมายาการอยางไรทศิ ทาง บางก็เบือ่ โลก เสาะแสวงหา ทางออกสูอสิ รเสรี ไมใสใจตอความวาวุนการตอสูแขงขันแบงแยก ขัดแยง โดยตัดเยือ่ ใยกระแสโลกอยูอยางสงบสํารวม อดทนสมถะ เรียบงายทามกลางบรรยากาศกระแสสังคมโลก ธรรมดุจนํ้าที่ใสสะอาดเปนกลางเมื่อผสมกับสีอะไรก็จะ ผสานกลมกลืนกับสิง่ นัน้ ๆ และชีวติ ก็เชนกันเปนสิง่ สะอาดบริสทุ ธิ์ ปลอดโปรงเบาบางละเอียดออนและวางไรขอบเขตจํากัด เมือ่ สัมผัส อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗


สัมพันธกับสิ่งใดๆ ชีวิตก็ผสานเปนหนึ่งเดียวกับสิ่งนั้นๆ เชนกัน อันเปนความมหัศจรรยของชีวิตที่จะผันแปรใหชีวิตเปนอะไร ไดอยางมากมายมหาศาล และในความเปนชีวิตมันจะมีพลัง ขับเคลือ่ นพัฒนาการใหเกิดสิง่ ประดิษฐ ปฏิมากรรม สถาปตยกรรม การสรางเครื่องจักรยนตกลไก เปนพลังงานเผาผลาญสนอง ความตองการกันอยางมโหฬาร ถึงกับตองทําใหชวี ติ ติดปกอยูกบั กาลเวลา ตกเปนทาสสิง่ สมมุตฐิ าน ตัวเลข ขอมูลขาวสาร ใสสสี นั ระบายอารมณเปรอะเปอน ชีวิตตองสูญเสียความสมดุล กลับสู แนวดิ่งตกขอบตกเหวลึก สูหายนะภัยอันใหญหลวง ถึงจะมี นักวิชาการนํายุคสมัยสูโลกศิวิไลซ เติมแตงแตมชีวิตเนื้อหนัง สวมใสสทู มาดผูดี แตจะพูดสือ่ ภาษากันอยางยโสโอหัง อวดฉลาด มีการขัดแยงแยงชิงความเหนือกวาทําลายกันอยางดุเดือด บางก็ยวั่ ยวนเนือ้ หนังอยางรุมรอนสนองความหืน่ กระหายทาทาย หวาดเสียวเสี่ยงอันตรายอยางยิ่ง บางก็ฉอฉลละโมบโลภลน คดโกงฉอราษฎรบังหลวงดุจปศาจรายมารรกโลก บางก็เปน กาฝากของสังคมเกาะกินกันทุกรูปแบบสูบเลือดสูบเนือ้ กินทุกอยาง ทีข่ วางหนา แมกรวด หิน ดิน ทราย มีความเห็นแกตวั จัด เปนการ ทํารายตัวเองและผูอื่นดุจเลือดเขาตาบาอํานาจหลงงมงายอยูใน มุมมืดมุมอับจนหัวหมุนหลงทิศหลงทางผิด บางก็ทุมเทชีวิตอุทิศ ตนเองเสียสละชวยเหลือเผื่อแผ เพื่อนรวมโลกอยางไมเห็นแก ความเหนือ่ ยยากลําบาก ไมหวัน่ เกรงตอหนายักษหนามาร อุปสรรค สิ่งกีดขวางปญหาการทาทายทุกอยางทุกประการ ทุกขณะเวลา ทุกลมหายใจ ทุกอณูจะจุดประกายชีวิตสูพลานุภาพเกิดความ ๑๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เอ็นดูดวยความเมตตา กรุณา โอบอุมเกื้อกูลเพื่อนรวมโลกดวย มิตรภาพไมตรีจิต ชีวิตทุกรูปนามคือศูนยรวมแหลงสัจธรรมความจริง ที่ทรงพลังพลานุภาพผสมผสานสรรพสิ่งไดอยางอัศจรรย ทีส่ ามารถจุดประกายพลังงานทุกอณูสพู ลังสรางสรรคและทําลาย อยูในตัวมันเอง จนเกิดปรากฏการณการสื่อสาร การคมนาคม การเปดโลกทัศนใหไดรูเห็นเหตุการณสถานการณไดทุกซอกมุม ของโลก ตลอดถึงจุดกอกําเนิดสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลายก็มกี ารพัฒนาการ สรางสรรค มีความเสื่อมโทรม หรือมีชีพมีชีวิต มีการเจริญวัย มีการเจ็บไข มีเชื้อโรคเปนตัวภูมิคุมกัน และทําลายใหแกเฒา หมดสภาพ แลวสิ้นชีวิตขันธธาตุแตกดับทําลายไปในที่สุด จากธรรมชาติของชีวติ จะเปย มดวยพลังพลานุภาพ สามารถ ขับเคลือ่ นจนเกิดปรากฏการณทกุ รูปแบบทัง้ ดานบวกและดานลบ จนเกิดเรือ่ งราวประวัตศิ าสตรโลกในเหตุการณสาํ คัญๆ ของสัตว แตละเผาพันธุ ในแตละยุคสมัยตั้งแตยุคดึกดําบรรพ จนถึงยุค ไฮเทค ยุคปรมาณู ยุคอวกาศ ตางก็ไดแสดงบทบาทบนเวทีโลก แลวลาลับจากไป จนถึงที่สุดก็ไรรองรอย ตั้งแตจุดเริ่มตนจนถึง จุดอวสาน จากอนิจจัง (ความไมเที่ยง) สูอนิจจัง จากอนัตตา (ไรตัวตน) ก็สูอนัตตา จากความวางสูความวาง จากความสงบ สูความสงบ นี่คือวิถีทางธรรมชาติสูสัจธรรม ความจริงที่เปนศูนยรวม ชุมทางทุกสายที่ทุกชีวิตจะตองดําเนินบนทางสายตรงเสนนี้ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙


ดวยกันทัง้ หมด ไมมขี อแมและเลือกปฏิบตั ิ เพราะเปนกฎสัจธรรม สากลทีเ่ ปนธรรมชาติคกู บั สรรพสิง่ อยางเสมอภาค ใครจะยากดีมจี น โงหรือฉลาด จะดีจะชั่ว ราชันยราชา จักรพรรดิและคนยากไร เข็ญใจ ภาพรวมของชีวิตสรรพสัตวสรรพสิ่งที่ใครๆ พยายาม แบงแยกสีสันความแตกตาง สรางมุมมองตั้งคานิยมสมมุติฐาน ใหเหลื่อมลํ้ากันอยางไร แตวงจรวิถีทางเดินชีวิต ทั้งเบื้องตน ทามกลาง และที่สุดก็ตองดําเนินตามวิถีธรรมชาติอันเปน กฎสัจธรรมสากลของสรรพสิง่ สูสภาพวางและสงบ อันเปนความ งดงามทีเ่ ปนความอลังการเหนือสรรพสิง่ สูความสุขสงบสมบูรณ อยางเสมอภาคที่สุด เพราะฉะนั้นพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนบุคคลแรกของโลก ทีไ่ ดเปดเผยความจริงของชีวติ ใหไดมองเห็นกันอยางหมดเปลือก ๒๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เหมือนการเปดของที่ปด หงายของที่ควํ่า แลวนํามาบอกกลาว ชีแ้ จงแสดงใหชาวโลกไดเห็นวา ใดๆในโลกอันใครจะยึดมัน่ ถือมัน่ อะไรไวไมไดทั้งนั้น เพราะสรรพสิ่งอยูในสภาพอนิจจัง เปนของ ไมเที่ยงแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเหมือนจักรผัน จะขับเคลื่อน ชีวิตสูความเจริญวัย ความเจ็บปวย ความแกเฒาชรา และความ แตกดับ ทุกสรรพสิง่ จะตองกลับสูศนู ยรวมคือความวางและสงบ ดวยเหตุนี้พระพุทธองคไดเนนเราเหลาทานทั้งหลายใหมอง ชีวติ มองโลกโดยความเปนของวางไรตวั ตนเปนอนิจจังและอนัตตา อยาไปเสียเวลาทองเที่ยวเสาะแสวงหาความหมายของชีวิตวา จะเปนอะไร และอยาไดหลงกลลวงกระแสโฆษณาการยั่วยุ ดวย รูป รส กลิ่น เสียง การสัมผัสใหมัวเมาเพลิดเพลินอารมณแหง โลกียรส ตองสูญเสียโอกาสเสียเวลาอยูกับความประมาท ตองทน เหน็ดเหนือ่ ยวิง่ หอดวยความหืน่ กระหายไลตามความใครความอยาก ดวยความระหกระเหิน อยูในวังวนภาพลวงตาตองสูยากลําบาก ซํ้าซากสุดแสนทุเรศทุลักทุเล นาอเนจอนาถ ในการโลดแลนไลจับ ตองเกี่ยวเกาะ จะยึดถือครอบครอง ทั้งทรัพยสินศฤงคาร ผัวเมีย ลูกเตาเหลาหลาน ยศถาบรรดาศักดิ์ ตําแหนงหนาที่ ความเปนใหญ ราชามหากษัตริย จักรพรรดิมหาจักรพรรดิ ในที่สุดของที่สุดไมมี ใครยืนหยัดครอบครองโลก หรือสิ่งใดไวไดเลย ทุกชีวิตตอง ปลอยวางทุกอยางทุกประการ อยางเสมอภาคกันหมด แมแต ละชีวิตเองก็ตองถูกทอดทิ้ง ใหผุพังเปนผุยผง อยางไรคาราคา ไรความหมาย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑


ณ จุดนีเ้ องคือสัญลักษณอนั เปนอัตลักษณ ความไมเหมือนใคร ในโลกของพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่พระพุทธองคไดทรงเปรียบ เทียบไวถึงพุทธวิธี ในการกะเทาะออกจากเปลือกไข กอนใคร ในบรรดามวลมนุษยชาติ ทุกยุคทุกสมัยแมยุควิทยาศาสตร ในการทําลายกําแพงแหงอัตตาตัวตน อันเปนเหมือนฝาปดบัง ดวงตาสูความสวางไสว อยูเหนือสรรพสิ่งไมยึดมั่นถือมั่นสิ่งใดๆ ในโลก ไมยึดติดไมหลงใหลเคลิบเคลิ้มในความทันสมัยศิวิไลซ แหงโลกมายา ไมตองออนวอนขอพรจากใคร ไมตองหวั่นไหว ตออารมณยั่วยุใดๆ อยูอยางอิสรเสรีเหนืออํานาจอิทธิพลความ ละโมบ ความใจรอนกริ้วโกรธ ความมัวเมาลุมหลงงมงายยึดติด ตัวตนอํานาจลาภยศ อีกทั้งไมหวั่นไหวตอภัยความเกิด ความแก ความเจ็บปวย ความตาย และความพลัดพรากสูญเสีย เรียกวา อยูเหนือโลก อยูเหนือความสุขความทุกข การไดมาหรือการ สูญเสียไป อยูเหนือความรักใครหรือความชิงชังความอาฆาต พยาบาท อยูเ หนือกรรมโดยประการทัง้ ปวง ซึง่ พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงแสดงทัศนะความจริงไวชัดเจนวา ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย! สิง่ ๆนัน้ เปนสิง่ ซึง่ สิง่ นัน้ ไมมดี นิ ไมมนี าํ้ ไมมไี ฟ ไมมลี ม ไมใชอากาสานัญจายตนะ ไมใชวญ ิ ญาณัญจายตนะ ไมใชอากิญจายตนะ ไมใชเนวสัญญานาสัญญายตนะ ไมใชโลกนี้ ไมใชโลกอื่น ไมใชพระจันทรหรือพระอาทิตยทั้งสองอยาง ภิกษุทั้งหลาย! ในกรณีอันเกี่ยวกับสิ่งนั้น เราไมกลาววา มีการมา ไมกลาววามีการไป ไมกลาววามีการหยุด ไมกลาววา ๒๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


มีการจุติ ไมกลาววามีการเกิดขึ้น ไมกลาววามีการดับไป สิ่งนั้น มิไดตั้งอยู สิ่งนั้นมิไดเปนไป และสิ่งนั้นมิใชอารมณ นั่นแหละคือ ที่สุดแหงทุกข คือนิพพาน (ความวางสงบรมเย็นของชีวิต) บทสรุปของวิถชี วี ติ ก็คอื วิถที างพุทธศาสนาอันเปนมรดกธรรม ที่พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงประทานมอบใหเปนประโยชน เกื้อกูลความสุขสงบแกชาวโลกนั้น คือวิถีธรรมอันเปนทางลัด ตัดตรงทีส่ ุด คือการหวนกลับมามองที่ตัวชีวิตเราเองโดยใหรูเห็น อยางถองแทจนทะลุปรุโปรง มิใชมองกันเพียงแคผิวเผิน สัมผัส จับตองเพียงแคอารมณ อันยียวนชวนใหลมุ หลงเคลิบเคลิม้ กระตุน ชีวิตใหแสดงบทบาทบนเวทีโลกมายาคือสุดยอดปรารถนา อันเปนวิสัยทัศนที่คลุมเครือดุจฝาปดบังดวงตา ตามทัศนะของพระพุทธองคทรงเล็งเห็นความกระตือรือรน การจัดฉากความอะราอรามอลังการอันยิ่งใหญมโหฬารของ ชาวโลก ทุกครั้งทุกยุคทุกสมัยวา เปนความงดงามดุจราชรถอัน วิจติ รตระการ ทีค่ นเขลาพากันลุมหลงงมงาย มัวเมายึดติดพากัน สําคัญผิด เห็นกงจักรเปนดอกบัว แตผูรูหาไดของแวะเกาะเกี่ยว เยื่อใย ยินดีพอใจเพียงแคตาดูหูฟงสัมผัสจับตองอารมณดีราย ยึดติดหลงวนอยูแคโลกธรรม สัมผัสชีวิตเพียงผิวเผิน ซึ่งไมอาจ พิสูจนสัจธรรมความจริงของชีวิตได ดังนัน้ การทีจ่ ะพิสจู นความวิเศษสุดยอดของวิถธี รรมในชีวติ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงชี้ทางใหนั้นคือ จงมองดูชีวิต และโลกโดยความเปนของวาง ใหอยูเหนือสิง่ สมมุตฐิ าน อยูเหนือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓


การเปรียบเทียบโดยประการทั้งปวง จงมองชีวิตและโลกอยาง เสมอภาค คือการรูจกั ตนเอง และมองเห็นทุกชีวติ คือสายสัมพันธ ซึ่งกันและกัน อันนําสูการเขาใจพระพุทธศาสนา คือวิถีธรรม สําหรับทุกชีวิตสูบรรยากาศที่เปนธรรมชาติอันงดงามไรการ ปรุงแตง เบาบางบริสุทธิ์ดุจอวกาศที่วางโปรงปลอดภัย อยูเหนือ พลังลบพลังบวก อยูเหนือตัณหาความใครความอยากและ ความสูญเสีย อยูเ หนืออารมณรกั ใคร อารมณชงิ ชังอาฆาตพยาบาท อยูเหนือชีวิตและความตาย ธรรมชาติแหงวิถีธรรมนี้เปนสัจธรรมความจริงของชีวิต จะตองกาวยางดําเนินบนมรรควิธีนี้อยางสงบสํารวมโดย ปราศจากกฎเกณฑขอบังคับ คือความปลอยวางจะพัฒนาการ ทุกอยางทุกประการโดยปราศจากขอแม และไมมีขอยกเวนเปน กรณีพิเศษสําหรับใคร ทุกชีวิตจะตองกาวเดินสูศูนยรวมคือ ความวาง ความสงบรมเย็น เปนทางสายตรงสูทางสายกลางอยาง เสมอภาค อันเปนความวิเศษมหัศจรรยแหงมรดกธรรมที่ พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงประทานเปนวิถที างแดมวลมนุษยชาติ ใหสูอิสรภาพภราดรภาพอยางแทจริง ทรงเปดโลกทัศนอลังการ ดวยดวงหฤทัยอันอิ่มเอิบเบิกบานบริสุทธิ์บริบูรณดวยเมตตา กรุณาตอทุกผูคนในโลกอันกวางใหญไพศาล ไดสูวิถีทางเดิน รวมกันโดยไรกําแพงเสนแบงแยกใดๆ ทั้งหมดทั้งสิ้น นั้นคือทาง สูวิมุตติ วิโมกข ทางสูนิพพาน ความสุขสงบรมเย็นที่สุดของชีวิต แดมวลหมูมนุษยชาติ ทุกยุคสมัยตลอดกาลตราบทุกวันนี้ ๒๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สายธารธรรมแหงพุทธศาสตร

ขอแสดงความเคารพในหมูสงฆและขอแสดงความเมตตา

และไมตรีตอ สามเณร วันนีเ้ ปนวันธรรมสวนะ เปนวันพระ ขึน้ ๘ คํา่ เดือน ๘ เหนือ พุทธศักราช ๒๕๕๕ ก็เปนโอกาสที่เราทั้งหลาย จะตองไดพรอมจิตพรอมใจกันทีไ่ ดประชุมใหเกิดความสมัครสมาน สามัคคี เพื่อเราจะไดมีนํ้าจิตนํ้าใจ เอื้อเฟอเผื่อแผตอหมูคณะ ตอสงฆ ประชุมพรอมกันที่จะทําใหเกิดความงดงามในหมูสงฆ ซึ่งก็ถือวาเปนอริยะประเพณีที่เกิดขึ้นมาตั้งแตสมัยครั้งพุทธกาล จากดินแดนชมพูทวีปประเทศอินเดีย แลวพระพุทธศาสนาก็ได เผยแพรสนู านาอารยประเทศ หลายๆ ประเทศในโลกของพุทธศาสนา ก็จะตองมีองคกรของสงฆ คือผูท ที่ าํ หนาที่ ทีจ่ ะสืบทอดพระธรรมวินยั จริยวัตรหลักธรรมคําสัง่ สอนของพระบรมศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อใหเปนประโยชนสุขเกื้อกูลแกตัวเองเพื่อใหเปนประโยชนสุข แกหมูคณะ แกสงฆ ตอชาวบานชาวเมือง และชาวโลก ซึง่ ก็ถอื วา เปนสายธารสายธรรม ที่ผานกาล ผานเวลา ผานความเจริญ รุงเรือง ผานความยุงยากสับสนของโลก ของสังคมอยางชนิด อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕


ที่ถือวายังคงรูปแบบของพระธรรมวินัยของหมูสงฆของเราใหยัง เปนหนึ่งในพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ถาหากวาขาดผูป ระพฤติปฏิบตั ิ ผูท จี่ ะนอมรับคําสอนไปศึกษา ไปพินิจ พิจารณา ดําเนินการตามคําสั่งสอน คําชี้แนะชี้นําของ องคพระบรมศาสดา ถึงแมวาจะมีคัมภีร จะมีตํารับ ตํารายังอยู แตหาผูที่ประพฤติปฏิบัติไมได ไมมีแลว ก็ชื่อวามันขาดตอน เหมือนกับในหลายๆ ประเทศทีม่ กี ารกระทบกระเทือน จากสังคม จากพิษภัยของสังคม พิษภัยของลัทธิของศาสนาอื่น ที่มาทําลาย ลบลางพระพุทธศาสนา อยางในประเทศอินเดีย ซึ่งถือวาเปน แหลงบอเกิดแหงพระพุทธศาสนา การเกิดขึ้นของ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ พอมาถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ หรือราวป พุทธศักราช ๑,๗๐๐ เศษๆ พุทธศาสนาในอินเดียก็ตอ งลมสลายไป เพราะพิษภัยของศาสนาอืน่ เขามาทําลายศาสนสถาน ทําลายชีวติ พระสงฆองคเจา ทําลายตํารับตําราอยางยอยยับจนคนอินเดีย ตองลืมพุทธศาสนา ลืมพระพุทธเจาไปเปนเวลานานพอสมควร คือรวมเกือบพันป มาไดพวกอังกฤษที่ไดมาครอบครองอินเดีย ไดมารื้อฟนเรื่องของพระพุทธศาสนา มารื้อฟนเรื่องของ พระพุทธองค สัจธรรมของพระพุทธองค รือ้ ฟน ศาสนสถานสําคัญ ตางๆ โดยเฉพาะในยุคของพระเจาอโศกมหาราช ทานไดสรางไว มากมาย ทั่วในดินแดนชมพูทวีป ใหชาวโลกไดมองเห็นไดพิสูจน วา พุทธศาสนาเกิดที่อินเดีย เคยเกิดพระพุทธเจา เคยมีความ เจริญรุงเรือง เหมือนกับแสงแหงดวงอาทิตยที่ไมมีอะไร ที่จะมา ๒๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


บดบังรัศมีของพระพุทธองคได แตในที่สุดก็ตองมาเสื่อมไป หรือ ในประเทศศรีลงั กาก็อยูตดิ ชิดใกลกบั ประเทศอินเดีย ก็เคยเจริญ รุงเรืองมีภิกษุ ภิกษุณี มีอุบาสก อุบาสิกา สามเณร สามเณรี ศรัทธาอุปถัมภปฏ ฐาก ตัง้ แตกษัตริยม าถึงขาทาสบริวาร ขาราชการ ชาวเมืองตลอดจนถึงพอคาวาณิช และคนสามัญชนทั่วๆ ไป บางครั้งก็ตองถูกภัยของสงคราม ภัยของศาสนาอื่นมาทําลาย จนหมดสิ้นพุทธศาสนา ตองมาขอพระสงฆจากประเทศสยาม คือ ประเทศไทยเราเอาไปสืบทอดเปนเชื้อแหงสงฆสยามวงศ หรือในประเทศอินโดนีเซีย ก็เคยเจริญรุงเรืองไมแพในที่ไหนๆ เดีย๋ วนีถ้ อื วาหมดสิน้ ไป มีศาสนาอืน่ เขามาครอบครอง เปนศาสนา ประจําชาติ ประจําบานเมืองของเขาไป และในหลายๆ ประเทศที่ไดรับภัยจากสงคราม การตอสูกับ ความอดอยากยากเข็ญ อยางในประเทศจีน พุทธศาสนาก็เคย รุงเรืองอยางยิ่ง ถือวาเทียบเทากับในประเทศอินเดีย มีพระสงฆ ผูบรรลุอรหันต อริยบุคคลมากมาย มีวัดวาอาราม ศาสนสถานที่ ยิ่งใหญ ในถํ้า ในปา ในภูเขา เปนผลงานของความศรัทธา ปสาทะของชาวพุทธ ก็ยังปรากฏใหเห็นอยูมากมาย ถามาเทียบ กับประเทศไทยของเราแลว ไทยเราเทียบไมได ประเทศจีนเพียง แคมณฑลเดียว ใหญกวาประเทศไทยตั้งหลายเทา แตละมณฑล แตละเมือง ก็มีกิจการงานพุทธศาสนาที่ไดรับการอุปถัมภ ไดรับ การยกยองเชิดชูจากองคฮองเต จากผูทมี่ อี าํ นาจทางการปกครอง มีบณ ั ฑิต มีนกั ปราชญมากมาย มีในประเทศอืน่ ๆ อีกหลายประเทศ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗


เชน ที่พระพุทธศาสนาตองเจอกับปญหา มรสุม พิษภัย อันตราย มากมายอยางประเทศเวียดนาม ก็ตอ สูจ นกระจัดกระจาย แตกหนีไป ตางบาน ตางเมือง หรือประเทศทิเบต ก็ถือวาเปนดินแดนของ พุทธศาสนา ก็ตองถูกพิษภัยทางการเมืองเบียดเบียนจนตั้งหลัก ไมได องคดาไลลามะที่เปนองคประมุขแหงสงฆและประเทศตอง เรรอนหนีออกจากประเทศทิเบตไปอยูประเทศอื่น อันนี้ก็ถือวาเปนสิ่งที่บงชี้ใหเห็นวา สัจธรรมของพระสัมมา สัมพุทธเจา ถึงแมวาจะเจอพายุ อุปสรรค ปญหา พิษภัย อันตราย รายแรงอยางไรก็แลวแตก็ตองมีผูสืบทอด สืบตอที่ใดที่หนึ่ง โดยเฉพาะพวกฝรั่งถือวาเปนผูที่มีความตื่นตัวมีการคนควาการ ศึกษา อยางลึกซึ้งอยางชนิดที่เขาถึงเนื้อหาสาระ เสาะแสวงหา หลักฐานทางประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา ไดคิด ไดเขียน เปน ตํารับตํารามากมายทีป่ รากฏใหเห็นชัดเจนก็คอื เรือ่ งของพระพุทธรูป ทีเ่ ราเห็นอยูในบานในเมือง ในประเทศไทยก็ดี ในหลายๆ ประเทศ ก็ดี อันนีก้ เ็ กิดขึน้ จากฝมอื ของฝรัง่ ชาติกรีก ของพระเจาอเล็กซาน เดอรมหาราช ทีไ่ ดกรีฑาทัพไปถึงดินแดนชมพูทวีปแลวก็ไดครอบ ครองสืบทอดสืบตอกันมาไดรับอิทธิพล มีผูเคารพเลื่อมใส มีกษัตริยมาศรัทธาปสาทะในพุทธศาสนา เปนองคศาสนูปถัมภ ทีโ่ ดดเดนก็คอื พระยามิลนิ ท ในมิลนิ ทปญหา ในเมืองสาคาระนคร (ปจจุบันคืออัฟกานิสถาน) นี่แหละ คือจุดเริ่มตนที่มีการสราง พระพุทธรูปเกิดขึน้ ครัง้ แรกในโลก พระพุทธรูปหนาตาจะออกแบบ กรีกเรียกวายุค “คันธารราษฎร” สายของฝรั่งลําดับจากพระยา ๒๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


มิลินท ก็คือ พระเจากนิษกะมหาราช ซึ่งทานเหลานี้ก็ถือวาได สัมผัสซึมซับไดรบั อิทธิพลจากชาวอินเดียจากการมาครอบครอง กลับถูกกลืนและสงเสริมใหเกิดความเจริญรุงเรือง ไดเจริญรอย ตามพระเจาอโศกมหาราช ในการที่จะฟนฟูพระพุทธศาสนา สงเสริมการพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองสถาพรทางดานปริยัติ ทั้งการปฏิบัติ ทั้งการปฏิสังขรณ อุปถัมภดวยปจจัยสี่ อยางชนิด ทีป่ ระวัตศิ าสตรตองจารึกเอาไว วาเปนพระมหากษัตริยทยี่ งิ่ ใหญ ไมมใี ครทีจ่ ะเกินจอมจักรพรรดิอโศก แหงโมริยะวงศ เชือ้ สายของ พระพุทธเจาเหมือนกัน แตในยุคหลังพุทธปรินิพพานประมาณ ๒๐๐ กวาป ขอใหเราทานทั้งหลายจงมองใหเห็นวา บูรพาจารยหรือ บรรพบุรษุ ในแตละรุน ในแตละยุค ในแตละสมัย ในแตละประเทศ ตางก็ไดทุมเท ไดใชชีวิต วิถีชีวิต ใชระบบการตางๆ เกี่ยวกับการ พระพุทธศาสนา เขาสูวิถีชีวิต เขาสูการบริหารบานเมือง โดยอาศัยหลักธรรมคําสอนพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนหลักในการ ดําเนินชีวิต เปนหลักปกครองประเทศชาติ บานเมือง มาถึงในยุคประเทศไทยเราที่ประวัติศาสตรจารึกเอาไวก็มี ตั้งแตสมัยลั๊วะ เมื่อกอนนี้ลั๊วะหรือละวา เปนเจาของประเทศ เจาของผืนแผนดินแหลมทอง เจาของแผนดินสุวรรณภูมิ ลัว๊ ะเปน ผูทรี่ บั พระพุทธศาสนาครัง้ แรก และไดสรางพระธาตุ เจดีย วัดวา อาราม ศาสนสถาน ตัง้ แตพระธาตุเจาดอยตุง พระธาตุเจาจอมกิตติ แหงโยนกนคร พระธาตุสบฝางและในหลายๆ ที่ หลายๆ แหง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙


ทีร่ กรางอยูในปา ในดง ในพงและมีการทํานุบาํ รุงบูรณปฏิสงั ขรณ กันเรื่อยมาทุกยุคทุกสมัยและในที่รกที่รางไมมีใครเขาไปรื้อฟนก็ มีมากมาย ลั๊วะนี้ปกครองตั้งแตดอยตุงไปถึงนครปฐม ก็เปน ประวัติศาสตรของพวกลั๊วะ ที่รับนับถือพุทธศาสนา แตภายหลัง ทีม่ กี ารจารึกเปนลายลักษณอกั ษร ก็ในยุคของกรุงสุโขทัยเปนราชธานี แตในความเปนจริงผืนแผนดินไทยเรานี้มีมากอนนั้น เปนพันๆ ป มาแลว แตไมมีบันทึกทางประวัติศาสตร ในยุคสมัยพระนางเจา จามเทวีก็ ๑,๔๐๐ ปมาแลว พระธาตุสบฝาง พระธาตุดอยตุง นี้ก็พันกวาป พระธาตุหริภุญชัย ก็ ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ ป แตพอขุน รามคําแหง มาในยุคไมถงึ ๑,๐๐๐ ป เพียงแค ๗๐๐ กวาป ซึง่ อยูใ น ยุ ค สมั ย ของพ อ ขุ น เม็ ง รายมหาราช พ อ ขุ น งํ า เมือ งพะเยา สามพระสหายโดยเฉพาะอยางยิง่ พอขุนรามคําแหงก็จะสงเสริม ในดานการศึกษาในดานการพระพุทธศาสนาอยางมากมาย ถึงขนาดเอาแทนมนังคศิลาอาสน ที่พระองคไดนั่งวาความนั่ง รับเรือ่ งรองทุกขจากประชาชนคนทัง้ หลายใหพระสงฆมานัง่ สวด ปาฏิโมกขในวันอุโบสถศีล แตถาพูดเกี่ยวกับประวัติศาสตรของ กษัตริยเจาเมืองในหลายๆ ที่ หลายๆ แหง ก็สรางกันมากอยาง เชียงแสนก็สรางเปนเมือง เปนวัดวาอารามมากมาย พะเยาก็เชน กัน ก็มีประวัติศาสตรที่ยาวนานเปนพันๆ ปมาเหมือนกัน โดย เฉพาะอยางยิ่งในเชียงใหม สมัยพระเจาติโลกราช เมื่อประมาณ ๕๐๐ กวาป เปนมหาราชของนครเชียงใหมกไ็ ดเปนองคศาสนูปถัมภก ก็ยอยกพระพุทธศาสนาอยางสุดความสามารถ ไดสรางวัดวา อารามมีมากมายเกลื่อนกลาดทั่วมหานครเชียงใหม ไดมีการทํา ๓๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สังคายนาพระไตรปฎกครั้งแรกในประเทศไทย ก็คือในยุคของ พระเจาติโลกราช ของอาณาจักรลานนาไทยในปพุทธศักราช ๒๐๒๐ ณ วัดโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) โดยมีพระธรรมทินมหาเถระ เปนประธานฝายสงฆ พระเจาติโลกราชแหงราชวงคเม็งรายองค ที่ ๙ เปนองคศาสนูปถัมภ เปนครั้งที่ ๘ ของการทําสังคายนา พระไตรปฎก ใชเวลา ๗ เดือน แลวจารจารึกลงใบลานดวยภาษา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑


ลานนาไทย จนไดรบั การเชิดชูจากประเทศใกลเคียงวาเปน “ภาษา ลายธรรม” อันนี้ก็ถือวาบรรดาบรรพบุรุษของเราทุกระดับชั้น ตางก็ มองเห็นความสําคัญของสายธาร สายธรรม ที่จะตองสืบทอด สืบตอใหเปนมรดกอันลํ้าคาแหงวัฒนธรรมใหชนรุนหลังๆ ได ประพฤติปฏิบตั สิ บื ทอดตอๆ กัน ดวยความเพียรพยายามทุกวิถที าง จนมาถึงยุคของพระครูบาศรีวชิ ยั นักบุญแหงลานนาไทย ซึง่ ชวงนี้ ถือวาเปนยุคที่บานเมืองก็กําลังอยูในสภาวะที่คับขัน ขาวยาก หมากแพง อาหารการบริโภค การเปนอยูก แ็ รนแคน เสือ้ ผาอาภรณ สบงสไบก็หาลําบาก ชาวบานชาวเมืองก็อยูอยางอัตคัดขัดสน แต ดวยบุญญาบารมีของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ทานก็ไดฟน ฟูไปรือ้ ฟน บูรณปฏิสงั ขรณเจดียสถาน ศาสนสถานสําคัญๆ ทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร เปนตํานานมากมายในดินแดนลานนาไทยเปนทีป่ รากฏชัดเจนแม ชนชั้นหลังอยางเราๆ ทานๆ ก็ไมเคยเห็นหนาคาตาไมไดเกิดทัน ชั้นพอ-แมของเราก็ยังเกิดไมทัน แตเราก็ไดรู ไดประทับใจใน จริยาวัตรในความเสียสละ ในการอุทิศ ทุมเทอยางสุดชีวิตจิตใจ จนแทบจะไมมีเวลาพักผอน แมเจ็บไขไดปวยก็ไมมีเวลาไดหยุด ไดพัก ก็เพือ่ วาจะฟนฟูการพุทธศาสนาใหเปนหลักชัยของชีวิตให เปนหลักชัยของบานเมืองของประเทศไทย และของโลก ใหไดรับ ความสุข ความสงบ ความรมเย็น ใตรม เงาของบวรพระพุทธศาสนา เพราะหลักสัจธรรม ของพระพุทธองค เปนหลักสัจธรรม ทีเ่ ปนเรือ่ งของการปลูกฝงใหมนี าํ้ ใจงดงาม มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟอเผื่อแผ เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชนแกผูอื่น เพื่อ ๓๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประโยชนสุขแกสังคม ยอมอดกลั้น อดทนตอความยากลําบาก ตอสูอุปสรรคปญหาทุกอยางทุกประการ เพื่อเทิดทูนคุณธรรม คุณงามความดี มีจริยาวัตร ที่สะทอนใหสังคมไดเห็นถึงวิถีชีวิต ของสงฆเรา ถึงเรือ่ งของความมักนอยสันโดษ มีสมณะบริขารพอ ใหเปนไปเพื่อยังชีพ ไมไดสะสม ไมไดละโมบโลภลนกอบโกย ผลประโยชนเพื่อตัวเอง มีแตจะเสียสละอุทศิ ตนเพื่อประโยชนสขุ แกชนหมูมากตั้งแตสมัยพุทธกาล พระองคก็ไดทรงสงพระสาวก ตั้งแตแรกเริ่มที่มีเพียง ๖๐ รูป ใหไปประกาศการเปนอยูอยาง เรียบงายอยางสมถะสันโดษไปตามคามนิคมชนบท ใหไปแหง ละรูป ไมใหไปหลายรูปแมพระองคก็เสด็จเพียงลําพังพระองค เดียว ไปเผยแผใหชาวบานชาวเมืองไดเห็นวาชีวติ คนเราอยูเ พียงแคมี เครื่องปองกันเหลือบปองกันยุง ปองกันความหนาว ปองกัน ความรอน ปองกันฝน ปองกันลม ใหพออาศัยอยูไดและใหพัก อาศัยโคนไม อาศัยเรือนวาง อาศัยทองถํ้า หรืออยูสถานที่ๆ เรียบงายสมถะสันโดษ ตั้งแตครั้งพุทธกาลมาพระองคก็ไดเปน แบบอยางใหแกสังคม ใหแกชาวบานชาวเมืองไดเห็นถึงชีวิตวา มันไมเห็นจะมีอะไรจําเปนทีจ่ ะตองไปประคบประหงมบํารุงบําเรอ จะตองไประวังอันตรายอะไรจนเกินพอดี จนเกิดเปนความปริวติ ก เปนความหวาดผวา เปนความกลัวที่ไมนาจะกลัว ถาหากวาเรา รูศิลปะในการปลอยวาง ไมยึดมั่น ถือมั่น ไมหลงสําคัญมั่นหมาย ในตัวตน ไมสาํ คัญมัน่ หมายในสิง่ ของทีจ่ ะมาครอบครองเพียงแต ใหบริโภคปจจัยสี่ เทาที่พอยังชีพใหเปนอยูไปวันๆ เทานั้น อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓


นี่แหละที่เปนหลักในการดําเนินชีวิตที่พุทธองคไดพิสูจน คัดเลือกทางดําเนินชีวิตสูความสุขสงบที่สุด ที่พระองคทรงได ชี้ใหสาวกทั้งหลายไดทําเปนตัวอยางแกชนทั้งหลาย การบวช การเสียสละตนเขามาบรรพชา–อุปสมบทของพวกเราทั้งหลาย ก็หมายถึงการเสียสละ ความสุข ความสะดวกสบาย การเปนอยู อยางไมตามใจกิเลสตัณหา เขามาสูระบบของพระธรรมวินัย มีการอบรม มีการบังคับจิตใจ ดวยความอดกลัน้ อดทน แมกระทัง่ มันตองเผชิญตอความเจ็บปวด ความปวย ความยาก ความลําบาก มากเพียงใดก็ตาม แตเพื่อพระธรรมวินัย เราจะตองดําเนินแตละ กาวยางใหมนั ผานไปใหได ตองอดทน ตองปฏิบตั กิ นั อยางเครงครัด โดยไมมีขอยกเวน ไมตองไปหวั่นไหววามันจะมีอะไรที่จะมา เปนพิษเปนภัยที่นากลัว มันกลับจะเปนกําลังจิตพลังใจใหเรา อีกตางหาก จากความอดกลั้นอดทนหรือความเสียดแทง ความเจ็บปวด ดวยการกระทบกระทัง่ เสียดสีอะไรตางๆ เราอดทน และพรอมที่จะใหอภัย พรอมที่จะเปดใจกวาง จะทําใหเราสงบ สํารวม กิริยาอาการอยาใหมันหลุด ไมใหเกิดอารมณฉุนเฉียว เกรี้ยวกราด อารมณรุนแรง ทางกาย วาจา ใจ เราตองพยายาม ระงับ นีแ่ หละทีเ่ รียกวา การปฏิบตั ธิ รรมจนสามารถดับพิษดับภัย แหงความโลภ ความโกรธ ความหลง พิษภัยแหงตัณหาราคะ ใหมองเห็นเปนเพียงแคสายลมที่พัดผานเขามาในชีวิตแลวปลอย วางอยางฉับพลันก็ยิ่งเปนพลัง จะเปนภูมิคุมกัน ก็จะเปนเกราะ แกวคุมครองเราทานทั้งหลายใหอยูรอดปลอดภัย ๓๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แตถาเราทําใจออน ทําใจรวนเรไมแนไมนอนจิตใจออนไหว ก็จะทําใหเราเปนผูพายแพอยูราํ่ ไป เพราะฉะนัน้ เราจะตองบังคับ กาย บังคับวาจา บังคับจิตใจ ในเมื่อโดนการกระทบกระทั่งการ เสียดสี ความหมนหมองใจ ความเศราหมอง ความขุนมัว อะไรก็ แลวแต ถาเราไมรับมาเปนอารมณ ทําจิตใจของเราใหใสสะอาด บริสุทธิ์ สดชื่น ใหอยูในสภาพปกติเปนสมาธิ มีสติปญญารักษา ตน ดวยความสงบ ความเยือกเย็นอยูอยางสมํ่าเสมอ เพราะบูรพาจารยเจาทั้งหลายที่ทานรักษาตัวใหอยูรอด ปลอดภัยอยูมาจนเฒาจนแกจนไดเปนครูบาอาจารย จนไดตาย ในรมเงากาสาวพัสตร ก็ลวนแตผานความยาก ความลําบาก และ ก็ตองใชความพยายาม อดกลั้น อดทน ขมอารมณ ความรูสึก บังคับจิตใจ บังคับอารมณ ไมใหมันพลุกพลาน ทําจิตใหงดงาม ทําใจใหเบงบาน เราตองหมั่นพยายามรักษากาย วาจา ใจ จาก ตัวเรานี่แหละที่เรียกวา การศึกษาพระธรรมวินัย เปนการศึกษา ในวัตรปฏิบัติจากชีวิต จากจิตวิญญาณของเราเอง ที่เราจะตอง ใชประสบการณ ใชสติ ใชปญ  ญา ความสามารถอยางชาญฉลาด ที่จะเอาตัวใหรอดปลอดภัย นี่มันก็ขึ้นอยูกับความมุงมั่นของ แตละทาน แตละคน วาจะมีมากนอยแคไหน ไดสั่งสมบมเพาะ อินทรียมามากมายขนาดไหนก็ขึ้นอยูกับพื้นฐานจิตใจ การศึกษา อบรมของเราฝกฝนมาดี มันก็จะมีพละกําลัง ในการที่จะฟนฝา อุปสรรคปญหาสิ่งที่มันจะมาทําใหรอนเนื้อรอนใจอะไรตางๆ มันก็จะสามารถดับ ที่จะระงับ ที่จะบังคับ ที่จะรักษาความเปน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕


ปกติ สามารถที่จะผานเหตุการณดีรายตางๆนานาไปไดอยางผูที่ มีความรอบรู ผูทมี่ ปี ระสบการณ เรียกวาเปนเรือ่ งเฉพาะตนแตละ คนไป ไมมีใครที่จะมาเปนตัวชักตัวนําใครได พระพุทธองคเองก็ เปนเพียงแตผชู แี้ นะชีน้ าํ แนวทางเทานัน้ แตการทีจ่ ะนําตัวของเรา ทานผานอุปสรรค ปญหา กิเลสมายาที่มาลวงลอยั่วยวนใหจิตใจ ลุมหลง ยึดมั่น ถือมั่น ใหมัวเมานั้น ก็ขึ้นอยูที่ความแนวแนของ หัวใจเราเองที่จะตองใชสมาธิ ใชสติ ใชปญญา และจะตองมีศีล มีธรรมเปนพื้นฐานเพื่อใหมีความหนักแนนมั่นคง ไมใหมัน หวัน่ ไหว สมาธิกพ็ ยายามรักษาความสมดุลของจิตใจ ปญญาเรา จะตองมีแสงสวางในการที่จะนําตนออกจากปญหาทุกอยาง ทุกประการ ในทีน่ ขี้ อบอกกับเราทานทัง้ หลายวา ในวิถชี วี ติ ของพรหมจรรย ทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจาไดประทานใหแกชาวโลก ใหพระอรหันตเจา ทั้งหลาย ใหพระสาวกทั้งหลาย ใหบริษัทของพระองคไดปฏิบัติ เจริญรอยตามพระบาท ไดสบื สาน สืบทอดตอกันมา ดวยลักษณะ อาการแบบนี้ เราจะไปเนนเรื่องการศึกษาจากตํารับตํารา อยางเดียวไมได เพราะวาไมใชตวั ประสบการณของชีวติ ในทางธรรม การทองจําไมใชเปนตัวที่จะทําใหเราไดซึมซับเอาในสิ่งที่เปน สัจธรรมใหเบงบานในจิตใจ จนเกิดความสลด สังเวชในชีวิต ใน เหตุการณตางๆ นานาหลายๆ อยาง แตละคนก็จะไมเหมือนกัน และก็จะทําใหเราไดแรงบันดาลใจ จุดประกายแหงธรรมใหเกิด ขึ้นในชีวิตจิตใจ เรียกวาจะตองหมั่นภาวนา การภาวนาก็คือการ ๓๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พัฒนาชีวิตจิตใจใหอิ่มเอิบเบิกบานจะตองทําใหบอยๆ โดย ระมัดระวังไมประมาท ทั้งเดิน ยืน นั่ง นอน ทุกลมหายใจเขาออก เราจะตองคิดอยางรอบคอบ ใชสติปญญาพิจารณาอยางมี วิจารณญาณอยางละเอียดสุขุม เราก็จะไดของที่ละเอียดที่สุขุม คนที่คิดอะไรหยาบๆ ก็จะไดของหยาบๆ เราคิดทําอะไรอยาง ละเอียดถี่ถวน ประณีต เราก็จะไดรับของ ประณีต จิตใจเราก็ เหมือนกัน เราฝกฝนอยางดี อยางประณีต จิตเราก็จะละเอียด เบาบาง จิตเราก็จะสงบเย็น และอิ่มเอิบเบิกบานผุดผองสดชื่น แจมใส สามารถรักษาความเปนปรกติของชีวิต ไมใหเกิดความ ระทดระทอ สลดหดหู แหนงหนาย หรือฟุงซาน จนกินไมได นอน ไมหลับ ตองกินยาระงับประสาท อยางนี้ก็แสดงใหเห็นวาเจาตัว ไมไดเอาใจใสในการรักษาตัวเอง ชีวติ ในทางธรรมก็เหมือนกับเรา เขาใจในเรื่องของเครื่องจักรยนตกลไก เราหมั่นตรวจสอบ หมั่น เช็ค หมั่นดูถึงจุดบกพรองถึงความผิดปกติแลวก็พยายามแกไข พยายามที่จะซอมแซม พยายามที่จะเสริมสรางใหเกิดความ มั่นอกมั่นใจ ชีวิตของเราก็เชนกัน เราก็จะตองสํารวจตรวจสอบ ตัวเอง พยายามทีจ่ ะปรับปรุงตัวเองวาเรามีความบกพรองมีปญ  หา จุดที่ทําใหเราสะดุดตรงไหนบาง เราก็นํามาวิเคราะห วิจัยดวย ตัวเองแลวก็นํามาขัดเกลา นํามาบมเพาะเหมือนกับเราเพาะ พืชพันธุเมล็ดอะไรตางๆ เราก็จะตองฟูมฟกตองดูแล ก็จะเจริญ งอกงาม จิตใจของเราก็เชนกัน เราจะตองฟูมฟก จะตองอบรม ใหชีวิตจิตใจ เกิดความเจริญงอกงามไพบูลยในทางศีลธรรม กัมมัฏฐาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๗


ในที่นี้อยากจะเนนใหเราทานทั้งหลายไดเขาใจในเรื่อง ของชีวิตเราแตละทานแตละคน เพราะวาพระพุทธองคก็ไดทรง เนนในจุดนี้เชนกัน เพราะกอนหนานั้นพระองคที่ยังไมไดตรัสรู อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ไดไปศึกษาจากสํานักครูบาอาจารยตา งๆ กระทั่งเจอปญจวัคคียทั้ง ๕ ทานได เปดตํารับตําราใหพระองค ปฏิบัติตามตํารา สูตรแหงความสําเร็จของโบราณาจารย จาก การปฏิบัติตามปญจวัคคียจนหมดตํารา พระองคก็พิสูจนจนถึง ทีส่ ดุ ทีไ่ มมใี ครทําไดยงิ่ กวานี้ จนเห็นวามันไมใชเปนเปาหมายทีจ่ ะ ทําใหจิตใจเราสงบ ใหหยุด ใหนิ่ง ใหเย็นได จึงหันมาพิจารณา ตัวเอง เลิกเปดตํารา เลิกทีจ่ ะทําตามแบบแผนโบราณาจารยทใี่ ห ปฏิบตั อิ ยางนัน้ อยางนี้ หันมาตรวจสอบมองตัวเองเนนการพิจารณา ในรูปนามธาตุขันธ อยางที่เราไดปฏิบัติเปนกิจวัตรสูศูนยรวม กัมมัฏฐานอยางทุกวันนี้แหละ ใหภาวนา พิจารณาตั้งแตเกศา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ พิจารณาใหเห็นเปนของไมงาม สกปรก ไมนายึดมั่น ถือมั่น ไมนาลุมหลง โดยเริ่มจุดประกายใหมองเห็น ภาพชีวติ ตนเองชัดเจนเห็นวาไมมอี ะไรนามัวเมา ยึดมัน่ ยึดถืออะไร สวนไหนวาเปนตัวตนทีแ่ ทจริงไมได จนกระทัง่ พระองคประจักษแจงเห็น ถึงความไมเที่ยงแทแนนอนของสังขาร เห็นวาสังขารมันเปนทุกข เห็นชีวติ ทุกรูปแบบและสิง่ ของทัง้ หลายทัง้ ปวงเปนอนัตตา ไรตวั ตน จะยึดมั่น ถือมั่นอะไรไมได ก็นําพระองคสูความหลุดพน สูการ ตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ซึ่งโดยธรรมดาคนเราทั่วๆ ไป จะยึดมัน่ ถือมัน่ วามันเทีย่ งแทแนนอน ถึงแมปจ จุบนั ทีม่ กี ารศึกษา อยางเลอเลิศในยุคปรมาณู มีความเจริญกาวหนาอยางสุดกูก็ยัง มีการยึดมั่นถือมั่นวาจะตองเปนตัวตนอยางนั้น เปนอยางนี้ ๓๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


จะตองไดตามความอยากอยางอิสรเสรีตามความตองการ ตอง แสวงหาอยางทุมเท อยางเอาเปนเอาตาย แตพระพุทธองคเห็น แลววาสิ่งเหลานั้นทําใหเหนื่อยเปลา ตัณหามันพาไปทําใหเรา เหนือ่ ยหนักเปนทางวกวนและตองถูกจูงจมูกวิง่ ตามเปนทาสของ ตัณหาไป มันไมมีที่สิ้นสุด มันตองหยุดตัณหา หยุดความใคร ความอยาก มาอยูกับการพิจารณาตัวเอง จนกระทั่งมองเห็นวา ไมมีอะไรเลยที่จะเปนตัวตนที่จะยึดมั่น ถือมั่นได ทีย่ งิ่ ไปกวานัน้ คือ พระองคกไ็ มไดสาํ คัญมัน่ หมายวาพระองค เปนพระศาสดา เปนเจาลัทธิ เปนใหญในโลก พอพระองคตรัสรู แลว จะมองเห็นถึงความเสมอภาคของทุกๆชีวิต มองเห็นทุกชีวติ วาเปนเพื่อนรวมเกิด แก เจ็บ ตาย การที่พระองคไดเปดเผย สัจธรรมจนมีคนเชื่อถือ มีคนปฏิบัติตาม กระทั่งมีพระสงฆ องคสาวกเกิดขึ้น มีบริษัท ๔ เกิดขึ้น พระองคก็ยอมรับในความ เปนสงฆเสมอกับพระองคเอง ใหเห็นประจักษวา ทุกชีวติ ทุกรูปนาม มันมีสภาพเหมือนกัน ไมไดแตกตางกันเลย แมความตรัสรู เปนผูรู ถึงขนาดเปนพระพุทธเจามีสติปญ  ญาสมบูรณ ก็อยูใ นสภาพความ เปนอนิจจัง สภาพแหงความทุกข สภาพแหงความเปนอนัตตา เพราะฉะนั้นพระองคจึงไดตรัสไววา ผูใดทําบุญกับหมูสงฆ โดยไมจาํ เพาะเจาะจง แมสงฆองคนนั้ จะบวชใหมกช็ อื่ วาไดทาํ บุญ กับเราตถาคต ตลอดถึงผูใดไดดูแลเยียวยารักษาพยาบาลภิกษุ (สามเณร) ที่เจ็บไขไดปวย ผูนั้นไดชื่อวาเหมือนกับไดดูแล ไดอปุ ถัมภอปุ ฏ ฐากเราตถาคต เพราะฉะนัน้ จึงไดเห็นชัดเจนแลววา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๙


หลักใหญใจความที่พระพุทธองคไดทรงตรัสรูนั้น คือหลัก แหงอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หลักแหงความเสมอภาคที่ทุกชีวิตจะ ตองมี ความเกิด แก เจ็บ ตาย ความพลัดพรากจากกันเปนสัจธรรม เปนธรรมดา มองใหเห็นถึงความไรแกนสารสาระความจริง จนกระทัง่ คลายจากความยึดมั่นถือมั่น ไมสําคัญตน ไมสําคัญความเปน สัตวเปนบุคคล คือความไมเหมือนใครในโลกของพระพุทธเจา พระพุทธองคจะยอมรับความเสมอภาคของผูคน ทุกรูปทุกนาม ทําใหเราไดมองเห็นวา พระพุทธองคนนั้ จะรูจะสัมผัสไดกด็ วยการ ที่เราทั้งหลายไดมารูจักตัวเองในฐานะแหงความเปนสัจธรรม ในฐานะแหงความเปนจริงที่มันมีความแปรเปลี่ยน มีความเจ็บ ความปวย ความเปน ความตาย นี่แหละถาหากเรามองเห็นเปน สัจธรรมตามความเปนจริง จนเกิดความเบื่อหนายจิตคลายจาก ความลุมหลงมัวเมานั่นแหละชื่อวาไดมองเห็นซึ่งสัจธรรม การมองเห็นสัจธรรมถือวาไดเห็นองคพระสัมมาสัมพุทธเจาดวย นี่คือคํารับรองการยืนยันจากพระพุทธองคเองวา พระพุทธองค นัน้ สามารถทีจ่ ะสัมผัสไดรเู ห็นไดจากภายในตัวเราเอง สามารถทีจ่ ะ เขาถึงพระองคไดในจิตใจ ในเนื้อ ในตัวเราเองนี่แหละ ทานทัง้ หลายถาหากวาเราเขาใจถูกตองเราไมตอ งไปวิง่ วอน เสาะหาพระพุทธเจาจากที่อื่น ยิ่งหาจากที่อื่น หาจากตํารับตํารา จากสํานักนั้นสํานักนี้ในที่ตางๆ เราก็จะยิ่งไมเจอพระพุทธเจา ไมเจอสัจธรรม แตมนั อยูทวั่ ทุกอณูในตัวของเรานีเ่ อง หลักกัมมัฏฐาน ที่เราไดสวดสาธยายทุกๆ วันนี้ ชี้ชัดเจนใหเห็นคุณพระพุทธเจา มี ๕๖ คุณพระธรรมมี ๓๘ คุณแหงพระสงฆมี ๑๔ ก็มีในตัวขานี้ ๔๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แล อันนี้คือเปนสัจธรรมความจริงที่บูรพาจารยที่ไดประมวลเปน หลักปฏิบัติสายตรงเจริญรอยตามบาทวิถีทางแหงพระพุทธองค และไดมาจัดเปนบทสวดสาธยายกัมมัฏฐานใหเราไดเสาะแสวงหา จากในตัวของเรานี้เทานั้น อีกประการหนึ่งความเฉลียวฉลาดของบูรพาจารยเจา เราจะสังเกตไดจากรูปแบบธรรมเนียมประเพณีที่เราไดมาไหว มากราบ พรอมเขาสูพระรัตนตรัย นอมตนเขาสูคุณงามความดี โดยมีขาวตอก ดอกไมหลากสีสนั จากหลายผูคน หลายบานเรือน หลายเมือง จากทิศตางๆ เอามารวม มาแตงมาซอนกันที่ขันแกว ทั้ง ๓ ใหงดงาม ขันแกวทั้ง ๓ นี้ คือ สัญลักษณการรวมเปนหนึ่ง ของความศรัทธาของผูคน หนึ่งในผืนแผนดินที่เราเคารพนับถือ พุทธศาสนา มันจะงดงามแมจะดูหลากหลายจากดอกไมนานาพันธุ ทีห่ ลายผูค นไดเอามาพรอมกันถวายสักการบูชารวมเปนหนึง่ เดียว รวมเปนหนึ่งเดียวคือ หนึ่งในศูนยรวมที่ตัวเรานี้เอง คือลักษณ แหงความเสมอภาคของทุกชีวิตตองอยูในกฎแหง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จากวิวฒ ั นาการของขันธแกวทัง้ ๓ ก็คอื ศีล สมาธิ ปญญา อีกนัยหนึ่ง ก็คือ ๓ เหลี่ยมของขันแกวทั้ง ๓ นั้นมองสะทอน ใหเห็นถึงความเปนพระพุทธเจา ความเปนพระธรรมเจา ความเปน พระสงฆเจาอยูในนัน้ เปนความงดงามของจิตใจ เปนความงดงาม ของผูที่เขาถึง พระพุทธศาสนา เขาถึงพระพุทธองค อันนี้แสดง ใหเห็นถึงความชาญฉลาด ความงดงามของจิตใจที่เขาถึง ความจริงของชีวติ อยางถองแทของบรรพบุรษุ บูรพาจารยเจาทาน มีความเฉลียวฉลาด มีอุบายวิธีหลากหลายมากมาย สําหรับ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๔๑


ทีจ่ ะเขาสูสจั ธรรมจากตัวเราเอง ในแต ล ะผู  ค น แต ล ะรู ป นาม ในแตละกํามือที่เราถือดอกไม ทีง่ ามๆ จากบาน จากเรือน แตละ ก า วย า งที่ เ ราได ดํ า เนิ น มา จะเปนการกาวยางเขาสูวิถีทาง แหงพุทธธรรมคือ ความสงบ ร ม เย็ น เราจะสั ง เกตได ว  า ชาวบานชาวเมืองทีท่ า นไดมาไหว มากราบ จะมีใบหนาที่เปยมไป ดวยความสุข มีจิตใจอิ่มเอิบเบิกบานโดยที่ไมตองรูความหมาย เพราะเปนการเขาถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ไดโดยอัตโนมัติ คือความชาญฉลาดของบูรพาจารยเจาดังที่กลาวมาแลว อันนีก้ เ็ ปนสิง่ ทีเ่ ราทานทัง้ หลายจะตองรูอ ยางยิง่ วา สัจธรรม นัน้ ไมไดเปนแคคาํ พูดหรือตัวหนังสือ ไมไดอยูทนี่ นั่ ทีน่ ี่ แตมนั เปน สิ่งที่จะสะทอนใหเราทานทั้งหลายไดเห็นจากความจริงของชีวิต ของสรรพสิ่งรายรอบตัวเราที่ไดสะทอนแสดงออกอยูที่ศูนยรวม ภายในตัวเรานี่เอง อยางเวลานี้ฝนตกอากาศเย็นสบาย กอนหนา นั้น ๒-๓ วัน มันรอนๆ จนเนื้อตัวจะเกรียมไหมมันก็ไมไดมีอะไร แนนอนจากรอน มาสูเย็น จากเย็นก็สคู วามสบาย ผอนคลายตาม อัตภาพ ตามแตละจังหวะของกาลเวลา ของฤดูกาลทีม่ นั จะเปลีย่ น ไปเหมือนกับชวงกอนหนานั้น เราจะเห็นใบไมหลนรวงสลัดใบ ๔๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทั้งปา เหมือนกับมันตาย แสดงวาชีวิตนี้จะตองปรับสภาพตัวเอง ในชวงฤดูรอนที่แหงแลง จะมีผลมีใบอยูเต็มตน ก็ลําบากเพราะ วาขาดแคลนเรื่องนํ้าที่จะมาหลอเลี้ยงใบ ยอด จะตองสลัดใบ เหมือนกับตนไมที่ตาย ชีวิตเราก็เชนกันจะพัฒนาการใหสูความ เจริญรุงเรืองในชีวิตเราจะตองมีความเสียสละ อุทิศตน เราจะ ตองไมสาํ คัญมัน่ หมายยึดมัน่ สิง่ ใดๆ ถาปลอยวาง แลวเราจะเกิด ความเจริญรุงเรืองในจิตในใจเปนความงดงาม เปนความไพบูลย อันนี้เปนหลักสัจธรรมโดยธรรมชาติที่ไดแสดงสะทอนใหเห็น ความจริงอยางนีเ้ ปนธรรมดาของทุกชีวติ เปนการแสดงธรรมโดย ไรเสียงพูดใหเห็นอยูโดยทัว่ ไป อยางนีน้ เี่ องทีพ่ ระพุทธองคไดทรง มองเห็นแลววาสัจธรรมเปนสิ่งที่มีอยูแลว มีอยูกอนเรา ตถาคต จะเกิดขึน้ หรือไมเกิดขึน้ สัจธรรมไดปรากฏมีอยูแลว ก็มอี ยูในชีวติ ของเรานี่เอง มีอยูในสิ่งทั้งหลายทั้งปวงที่แสดงออกใหเห็นความ เปนอนิจจังถึงความทุกข ความเปนอนัตตา อยูทกุ ทีท่ กุ แหงหนให เราไดศึกษาพิจารณา แมกระทั่งความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย อันนีก้ ถ็ อื เปนตัวบทศึกษาสัจธรรมใหเห็นภาพจริงของ ชีวิต เพื่อเราจะไมไดหลงใหลมัวเมาในชีวิต จะตองเห็นวา เราทุก คนทุกรูป ทุกนาม จะตองแก จะตองเจ็บ จะตองตาย ตองปลอย วาง เราจะตองทําจิต ทําใจใหเขมแข็ง ไมใหเกิดความหวั่นไหว ตอความเจ็บ ความตาย ไมตองกลัว ไมตองไปวิ่งหนี จะตอง กลาเผชิญหนากับสัจธรรมความจริงจนอยูเหนือความเกิด เหนือความแก เหนือความเจ็บ เหนือความตาย จนอยูเหนือโลก โดยประการทั้งปวง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๔๓


วันนี้ไดแสดงธรรมในโอกาสวันธรรมสวนะ ในฤดูเทศกาล ปใหมก็ถือวาอยูในชวงเวลาเดือนเมษาที่มีการเคลื่อนยายราศี ความจริงมันก็เคลื่อนยายตลอดเวลา ตามที่โลกสมมุติกําหนด เอาเปนวันรับปใหม เราก็ไดรบั สดับพระธรรมเทศนาไดซมึ ซับสาย ธารธรรมสูพุทธศาสตร ใหชีวิตจิตใจเจริญรุงเรืองในพระศาสนา เปนการบมเพาะบุญบารมีของแตละทาน ใหเจริญงอกงามไพบูลย เขมแข็งอาจหาญ เชือ่ มัน่ มีศรัทธาอันแกรงกลา แนวแนขบั เคลือ่ น ชีวิตดวยพลังจิตสูกระแสสัจธรรม ดวยสติปญญา เปนแสงสวาง อันโอฬาร เจริญตามรอยพระบาทพระพุทธองค พระสัมมา สัมพุทธเจา สูความสงบสํารวม สูความรมเย็นเปนสุข รวมกัน จรรโลงบวรพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองสถาพร หมุนลอ ธรรมจักรเกื้อกูลประโยชนสุขแกตนและชาวโลก โดยเริ่มกาว ดําเนินกาวแรกจากเราทานทุกคน รวมกันใชพลังทุกอณู อุทิศ เทิดทูนเจริญตามรอยพระพุทธบาท สืบสานพุทธวิถีขององค พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาดวยการปฏิบตั ดิ ปี ระพฤติชอบ เจริญตามมรรควิถสี ชู วี ติ สงบรมเย็นเปนผลอานิสงสจงบังเกิดแก ทุกทานทุกคนเทอญ

๔๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


บทประมวลรวบยอดพระนิพพาน บทประมวลรวบยอดพระนิพพานเพื่อเปนวิถีชีวิต ทีจ่ ะดำาเนินสูพ ่ ระนิพพานด้วยพุทธอุทานในรุง่ อรุณ ของวันที่ทรงตรัสรู้ใหม่ๆ ว่า “เมือ่ เรายังไม่พบญาณ ได้แล่นท่องเทีย่ วไปในสงสาร เปนอเนกชาติ แสวงหาอยู่ ซึง่ นายช่างปลูกเรือนคือตัณหา ผู้สร้างภพ การเกิดทุกคราวเปนทุกข์รำ่าไป นี่แน่ะ! นาย ช่างผูป้ ลูกสร้างเรือน เรารูจ้ กั เจ้าเสียแล้วเจ้าจะทำาเรือนให้ เราไม่ได้อีกต่อไป โครงเรือนทั้งหมดของเจ้าเราหักเสีย แล้ว ยอดเรือนเราก็รอื้ เสียแล้ว จิตของเราถึงแล้วซึง่ สภาพ ทีอ่ ะไรปรุงแต่งไม่ได้อกี ต่อไป มันได้ถงึ แล้วซึง่ ความสิน้ ไป แห่งตัณหา” (คือถึงนิพพาน)

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๔๕


ทางแหงพระนิพพาน เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปญญาว่า สังขารทั้งปวง ไม่เที่ยง เมื่อนั้นย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เปนทุกข์ ทีต่ นหลง นัน่ แหละเปนทางแห่งพระนิพพาน อันเปนธรรม หมดจด เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปญญาว่า สังขารทั้งปวง เปนทุกข์ เมื่อนั้นย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เปนทุกข์ ที่ตนหลง นั่นแหละเปนทางแห่งพระนิพพาน อันเปน ธรรมหมดจด เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปญญาว่า สังขารทั้งปวง เปนอนัตตา เมื่อนั้นย่อมเหนื่อยหน่ายในสิ่งที่เปนทุกข์ ทีต่ นหลง นัน่ แหละเปนทางแห่งพระนิพพาน อันเปนธรรม หมดจด

๔๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ศูนยรวมสรรพสิ่งสูความวาง ( นิพพาน ) แม่นำ้าน้อยใหญ่ทุกสายในโลก เมื่อไหลมารวมสู่ทะเลกว้าง ย่อมผสานรสเปนหนึ่งเดียวคือ “รสเค็ม” ฉันใด ความรู้สึกอารมณ์ ทุกอย่างทุกประการของสัตว์โลก ที่หลั่งเปนสารพลังงาน แผ่ไปทุกอณูทั่วโลก ก็ฉันนั้น ในที่สุดก็มาหลอมรวมที่วิมุตติ คือความว่างความสงบเย็นเปนหนึ่งเดียว “คือนิพพาน”

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๔๗



ธรรมบรรยายเรื่องนิพพาน คือความสงบเย็นของชาวโลก

พ ระคุณเจาและสามเณร ตลอดถึงศรัทธาผูนักศีล

นักบุญทุกทาน วันนี้เปนวันธรรมสวนะที่เราจะตองใหโอกาส แกกันและกันในการที่จะพูดและฟงเปนประจํา วันธรรมสวนะ ของพวกเราในที่นี้ใหไดทราบถึงหลักของพรหมจรรย เพื่อที่จะได นอมนํามาประพฤติปฏิบัติใหเกิดความสงบรมเย็นในชีวิตใน วัดวาอาราม ที่จะตองอยูรวมกับสังคมอยางสงบสุขตามทัศนะ ของพระพุทธองคทไี่ ดทรงประทานใหแกชาวโลกเปนลําดับสืบไป วันนี้จะกลาวถึงนิพพานคือความสงบเย็นของชาวโลก ทุกชีวติ ในพืน้ พิภพนีต้ า งก็มคี วามตองการใหชวี ติ มีความสงบรมเย็น ดวยกันทั้งนั้น และทุกขณะเวลาทุกชีวิตก็มีความสงบเย็น อยางเต็มบริบูรณ มิมีใครที่ขาดตกบกพรองเลยแมแตนอยนิด คือมีความเสมอภาคกันแหงสัจธรรมที่เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา โดยธรรมชาติ คือเปนนิพพานอยูแลว พระพุทธเจาจะเกิดขึ้น หรือไมเกิดขึ้นก็ตาม ความจริงนี้ก็มีอยูเพียบพรอมในทุกชีวิต อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๔๙


โดยตัวมันเอง พระพุทธองคเปนเพียงผูประจักษแจงหลัก ความจริงนี้ แลวจึงไดนํามาเปดเผย ใหเราไดรูไดเห็นวานิพพาน เปนความสงบเย็นของชาวโลก โดยทรงเปรียบพระองคดจุ ดังลูกไก ตัวแรกที่กะเทาะเปลือกสูอิสรเสรี จากสิ่งเคลือบคลุมหุมหอ ดุจหมอกมานปดบังดวงตา เปดโลกทัศนใหสวางไสว ทรงรูเห็น ความจริงวาสรรพสิง่ ใดๆ ในโลกลวนเปนสิง่ สมมติ (วิมตุ ติ) มิใชเรา มิใชทาน ไมใชความเกิด ไมใชความดับ มันไมใชอะไรทั้งสิ้น นี่คือ ธรรมชาติแหงนิพพานของสากลจักรวาล ทีนี้เราจะมาหาขอสรุปกันเปนเรื่องๆ เพื่อใหไดเห็นชัดแจง ความจริงของสัจธรรมนี้กันพอเปนแนวทาง โดยการมาคนหา จุดเริม่ ตนกันวาอะไรทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ ราไดเริม่ ตน ไมวาจะเริม่ ตน ที่การพูด เริ่มตนของวันใหม อาทิตยใหม เดือนใหม ปใหม หรือ การเริม่ ตนจะทําอะไรแตละเรือ่ ง เมือ่ พิจารณาแลวจะหาเอาอะไร มาเปนจุดเริ่มตนที่แทจริงวามันอยูที่ไหน รวมถึงวามันไปสิ้นสุด ณ ทีใ่ ด พยายามมองดูเทาไหรกไ็ มเห็นจุดเริม่ ตน จุดเริม่ ของเรือ่ ง อะไรก็แลวแต ไมวาเรื่องดีหรือเรื่องราย เริ่มตนของเดือนของป โดยเฉพาะปใหม ดูใหดมี นั มีจดุ เริม่ ตนตรงไหนกัน ในทีส่ ดุ สิง่ ทีเ่ รา เรียกวาเริ่มตนนั้นมันก็กลับกลายเปนอดีตเปนเรื่องที่แลวๆ มา จะยึดถืออะไรมิได ดังนัน้ สรรพสิง่ จึงเปนนิพพานอยูโดยธรรมชาติ มิเปนอื่นใดอีกเลย เมื่อมาวิเคราะห มาหามาตรฐาน มาหาตัวแกนแทของ จุดเริ่มตนนั้น มันก็ไมมี ถาจะวากันดวยเหตุหรือผลก็ดูเหมือนกับ ๕๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วาไรเหตุผล แตถาเราจะเจาะจงไปตรงตัวเหตุตัวผลของอะไร ก็แลวแต ที่สุดแลวมันก็จะลงเอยที่หาจุดอะไรที่แนนอนไมไดอีก เชนเคย เชน อาหารที่วาอรอยในเวลานี้ เวลาผานไปก็กลายเปน ของเสีย ความรักความสดชืน่ ขณะนี้ เวลาลวงไปไมทนั เทาไหรกจ็ ะเปน ความกังวลใจ จะเปนความปวดราว ความเกลียดชัง และความ ขมขื่น สิ่งที่นิยมวาดีที่สุดในขณะนี้ยุคนี้ ก็จะกลายเปนความ เสื่อมคานิยมในเวลาตอไป นี้คือสัจธรรมของนิพพานที่มีอยู ในทุกๆ ชีวิต ถาจะดูใหชัดเจนไปที่วัยของแตละชีวิต วัยของเรา หรือวัยของแตละผูคน และสัตวแตละตัวตนมันก็เปนสิ่งที่ เลือนรางเต็มที เพราะทุกสิ่งตองมาสูศูนยรวมที่ความวาง เปนสิ่งที่อยูเหนือความเกิด ความตาย อยูเหนืออารมณ เหนือ เหตุและผล เหนือกาลเวลา เหนือความเปนอะไรทั้งสิ้น ในที่สุดสรรพสิ่งมันก็ไปสูความวาง ความสงบ เหมือน กันหมด ขอใหเราจงยอนดูกันอีกทีจากความจริงของแตละชีวิต ถาจะดูจุดเริ่มตนจากความเปนทารก เปนเด็ก เปนหนุมเปนสาว อีกไมเทาไหร ก็จะกลายเปนคนที่หมดสภาพ แรกๆ ก็วาเปน เด็กรุนใหม เด็กสมัยใหม ในที่สุดแตละผูคนก็ตกรุนกันไปหมด ไมวา จะเปนนักวิชาการความรูแ ขนงไหน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร อักษรศาสตร มีผูทรงความรูดานไหนที่ไมตกรุน เพราะมันเปน วิทยาการทีจ่ ะตองอาศัยการทดสอบทดลองเปลีย่ นแปลงอยูเ รือ่ ยๆ หาจุดจบมิได และใหคําตอบที่ตรงเปากับชีวิตที่แนนอนไมได มันเปนวิชาเชิงตัณหาพาไป พระพุทธองคทรงระบุวานั่นคือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๕๑


เดรัจฉานวิชา เพราะเปนตนเหตุแหงความโลภ ความอาฆาต พยาบาท ความริษยา และความทระนงตน มิใชเปนไปเพื่อ การทําความสิน้ สุดของความทุกข คือการทําใหชวี ติ สงบเย็นทีส่ ดุ ได คิดดูดีๆ แลวมันไมมีอะไรใหภาคภูมิใจในสิ่งที่เราไดทํา บางที บางสิง่ บางอยางทําแทบเปนแทบตาย ไมคดิ ถึงความเปนความตาย ทุมเทอยางสุดชีวิตจิตใจ เมื่อถึงที่สุดมันก็เลือนรางจางหายไป ไมวาจะเปนเสียงหัวเราะ ไมวาจะเปนเสียงรองไห ไมวาจะเปน เสียงขับ เสียงเพลง ทุกสิ่งทุกอยาง แรกๆ ก็เหมือนกับวา ดูดี สนุกสนานเขากับยุคสมัย อยูไปไมนานมันก็หมดยุคหมดสมัย หมดอารมณ ถูกลืมเลือนไปเปนอนัตตาไรตัวตนที่จะใหยึดถือ อยางเครื่องประดับตกแตง เครื่องอุปโภคบริโภค สิ่งของ เครื่องใช เสื้อผาอาภรณ ที่วาสมัยใหม ลํ้าสมัยในที่สุดมันก็ตกรุน ไปหมด ผูท มี่ คี วามหยิง่ ทระนง มีความทะเยอทะยาน ทีอ่ ยูเ หนือคน เหนือสังคม เปนใหญในโลกกีย่ คุ กีส่ มัยในประวัตศิ าสตร หรือกอน ประวัติศาสตรโลก ในที่สุดก็หมดสภาพไป อยางเสียงที่กําลังพูด อยูนี้ มันก็ดับไปตามสภาพ จะตะเบ็งเสียงพูดเสียงกลาวขาน อยางไรๆ ก็ตาม มันก็ดับไปเปนสภาพ ไมวาเสียงนั้นๆ จะไพเราะ จับจิตจับใจ เปนเสียงจากใครก็แลวแต มันก็จะหมดสภาพอีก เชน รถ และสิ่งของที่นิยมทุกอยางทุกประการ ทีแรกใหมๆ ก็คิด วาเปนของมีรนุ มีคานิยมสูง ในทีส่ ดุ มันก็หนีไมพนอีกก็ตกรุนหมด ยุคหมดสมัยไป อันนี้เปนสัจธรรมความจริงที่เปนดวงตาที่เปน แสงสวางของชาวโลกดังที่พระอัญญาโกณฑัญญะไดมองเห็น ๕๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


กระจางชัดแจงตามอยางพระพุทธองคเปนคนแรกวาสิง่ ใดสิง่ หนึง่ มีเหตุที่เกิดขึ้นมาแลว สิ่งทั้งหลายเหลานั้น จะตองมีความดับไป เปนสภาพธรรมดา นี้คือความจริงของสัจธรรมแหงชีวิต ถาไมมองเห็นความจริงอยางนัน้ ก็จะทําใหหลงใหลเคลิบเคลิม้ ไปตามตัณหา ความใครความอยากมันไมอาจจะวิ่งตามทัน และเวลาไมพอที่จะสนองตัณหาที่มีมากมายมิอาจจะคณานับ นั้นได รวมทั้งชีวิตสัตวโลกจะเกิดๆ ตายๆ กี่ภพกี่ชาติ ก็ไมมีวันที่ จะเปนผูจัดการอะไรใหจบสิ้น การที่จะใฝฝนจินตนาการสรางให ความอิ่ม ความพอใจใหเต็มบริบูรณในโลกนี้ไมมี เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาจึงทรงตรัสวาตองหยุด หยุดฟุงซาน หยุดปรุงแตง ถอนตัณหา ถอนราคะ ความใคร ความอยาก ความโลภ ความโกรธ ความโมโห พยายามเขาไปดับ เขาไประงับ ไมตองไปหื่นกระหาย ไมตองไปไขวควาหาเอาอะไรใหมาเปนสิ่งที่รกจิตรกใจทําให หัวสมองตึงเครียดมึนงง พึงรักษาสภาพจิตใหสะอาดบริสุทธิ์ ปลอดโปรงสดชื่น ใหหัวใจสงบอยูเปนปกตินี้คือทางสายตรง ของชีวิต ตอนสมัยเด็กก็มีความรูสึกกับเรื่องเชนนี้ เมื่อเห็นโยมพอ โยมแม ตองเสาะแสวงหาเงินทอง หาขาวหาของมีงานมีการทีไ่ หน ก็ไปคาไปขาย นอนกลางดินกลางทราย ดวยความเหน็ดเหนื่อย ก็เพียงแคเอามากินมาบริโภคชั่วครั้งชั่วคราว ก็แสวงหากันตอไป อีกไมมีที่สิ้นสุด จนกระทั่งหมดสภาพ ตองปวยตองตายก็ดูมา โดยตลอด ดูครอบครัวอื่น ดูความเปลี่ยนแปลงของสังคมใน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๕๓


แตละยุคในแตละสมัย สังคมครอบครัว สังคมในหมูบานชุมชน สังคมเมือง สังคมประเทศ สังคมโลก มันก็จะมีการแขงขันตอสู กันทุกรูปแบบ บางยุคบางสมัยก็เปนลักษณะของการพัฒนา สรางสรรคบางคราวก็เปนความเห็นแกตวั ทําลาย ลางผลาญกัน อยางสุดเหวี่ยง สลับกันไปแลวก็กลับมารวมสูสัจธรรมที่ไร จุดเริ่มตนและที่สุดคือสูความวางอีก ถามองไปที่ธรรมชาติ จากสถานที่ราบที่ภูเขา ก็กลับกลายเปนทองทะเล จากทองทะเล ก็กลายเปนภูเขา จากขั้วโลกที่หนาวเย็นจนเปนภูเขานํ้าแข็ง ก็จะ ละลายกลายเปนนํ้าและกลับสูภาวะโลกรอนดังที่ชาวโลกกําลัง หวั่นวิตกกลัวกันอยูทุกวันนี้ โลกที่มีชีวิตสัตวอาศัยกันอยูเปน พันลานปมาแลว ก็จะตองเผชิญกับระบบสุรยิ ะจักรวาลจากทีอ่ นื่ มาเปนมหันตภัยในอนาคตถาเรามองมาใกลตัวเรา ก็จะอยู ในลักษณะเดียวกันนี้ อยางกับสถานที่ที่เราไดอยูอาศัยในขณะนี้ เปนวัดพระธาตุแสงแกวมงคล พุทธสถานอินเดียนอยที่นี่ เดี๋ยวนี้ มันอยูในสภาพอยางนี้ ตอไปขางหนามันจะอยูในสภาพอยางไร ก็ไมมภี าพทีช่ ดั เจนทีเ่ ราจะมองเห็น มันจะเจริญขึน้ หรือจะรกราง วางเปลา เครือเขาเถาวัลยขึ้นปกคลุมไรคนดูแล จะเปนอยางไร ก็ไมรู และเราทานทั้งหลายก็เชนกัน ก็จะไมมีใครรูจักวาเรา เคยอยูเคยบริโภคที่นี่ หนาตาเปนอยางไร ชื่อเสียงเรียงนาม เปนอยางไร ก็ไมมีใครรูจัก ในวันขางหนาเปนเวลาหลายสิบป รอยป สองรอยปหลายๆ รอยป ไมตองมองอื่นไกล เพียงแคหมูคณะที่มาอยูดวยกันยุคตน ยุคกลาง มันก็เปลี่ยนไป เปลีย่ นตัวไปเรื่อยๆ ชวงสามสิบปมานี้ ๕๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เปลี่ยนสักกี่รุน บางคนมาพบปะก็จําไมได จําชื่อไมได พวกที่พบกัน แลวก็ไมไดพบกันอีกก็มีมากมาย รวมทั้งศรัทธาญาติโยมดวย เพราะเหตุนแี้ หละพระพุทธเจาทานทรงมองทะลุปรุโปรงความจริง เชนนี้ จึงไดชี้แนะใหผูที่เชื่อถือที่จะปฏิบัติตามไดสดับรับฟง ถึงความจริงของสรรพสิ่งวามันเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา รูปรางกายก็เปน อนิจจัง เวทนาความรูสึกก็เปน อนิจจัง สัญญาความจดจําก็เปน อนิจจัง สังขารการปรุงแตงก็เปน อนิจจัง วิญญาณการรับรูอารมณก็เปน อนิจจัง

ทุกขัง ทุกขัง ทุกขัง ทุกขัง ทุกขัง

อนัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา อนัตตา

รวมถึงสิ่งทั้งหลายทั้งปวงก็เปนอนิจจัง เปนของไมเที่ยงแท แนนอน และก็เปนอนัตตาจะไขวควาเอาอะไรมายึดถือครอบครอง ไมได เหตุการณทกุ ยุคทุกสมัยถาจะมานิยามใหเห็นวาอะไรทุกสิง่ ที่เรารูเห็นวาเปนนั่นเปนนี่ตามความจริงแลวมันไมใชอะไรทั้งนั้น ไมใชความสูง – ตํ่า ใหญ – เล็ก สั้น – ยาว ดํา – ขาว ความรัก – ความชัง ความสุข – ความทุกข ความรํ่ารวย – ความยากจน ความโง – ความฉลาด ความมืด – ความสวาง การเกิด – การตาย การไดมาหรือการสูญเสีย อะไรตางๆนานามันเปนเพียงสิ่งที่ คนเราไปปรุงแตงแบงแยกและสมมุติกันขึ้นมาเทานั้น นี่คือสิ่งที่ เปนธรรมชาติแหงนิพพานของสากล คานิยมในยุคสมัยหนึ่งๆ ในที่สุดมันก็ไรคุณคาไมมีใครจะ นิยม รวมทัง้ คนทีจ่ ะมาชืน่ ชม ตลอดถึงสิง่ ของทีน่ ยิ มมันก็กระจาย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๕๕


ไปคนละทิศละทางไปตามสภาวะของสัจธรรมอีก จากสิ่งที่ไรคา ไมมคี วามหมาย เรามาสมมุตกิ นั ขึน้ มาวาเปนสิง่ ทีม่ รี าคา เปนของ มีความหมาย มันก็เปนเพียงสมมุตขิ นึ้ มา ไมวา จะเปนภาษาถอยคํา ทีน่ าํ มาใชในสังคมโลกของแตละสังคมแตละยุคสมัยมันมีการปรับ เปลี่ยนไปตามกาลเวลา แมภาษาที่ใชกันนั้นจะสมมุติกันขึ้นมา เหมือนกับสมจริงสมจังถาเราดูกันใหถึงเนื้อหาแกนแทกันแลว มันก็เปนเพียงสมมุตกิ นั ขึน้ มาใชกนั ชัว่ คราวเทานัน้ ไมวาภาษานัน้ จะใชแทนความหมายสือ่ ถึงการครอบครองทรัพยสงิ่ ของ บานเมือง เวียงวัง รวมทั้งการแยกแยะวาเปนตัวเขาตัวเรา พวกเขาพวกเรา มองกันจนถึงที่สุดแบบพระพุทธองค ทานก็จะมีทัศนะที่อยู เหนือเหตุผล เหนืออารมณ เหนือสิง่ สมมุตบิ ญ ั ญัติ ไมใชสตั ว ไมใช บุคคลไมใชตัวตน ไมใชเขา ไมใชเรา มันเปนสักแตวาธาตุตาม ธรรมชาติเปนสัจธรรมทีว่ างจากตัวตนรวมทัง้ สรรพสิง่ ใดๆ ในโลก ก็ลวนเปนของวางอยางความหมายทางวิชาคณิตศาสตรที่วา ๑ + ๑ = ๒ หรือเพิ่มคาทวีคูณมากขึ้นไปจนอานคาคณานับมิได มันก็มารวมที่ศูนย (ที่จะประเมินเอาวาเปนอะไรไมได) ในที่สุด มันก็จะกลับไปสูสภาพเดิมอีก ไมวาจะเปน ความสุข ความทุกข เรื่องดี เรื่องราย บุญ บาป นรก หรือสวรรคจะอยูในภพภูมิไหน ก็แลวแต มันจะอยูในสภาพวางเปนหนึ่งเดียวกันหมด ถาเราจะสังเกตดูโลกผูคนในโลกในภาพลบไมวาในยุคสมัย ที่มีการตอสู ทําราย ทําลายกันอยางดุเดือดเลือดพลาน ฆากัน ตายเปนหมื่นเปนแสนเปนลาน อยางเราไปเห็นที่ประเทศกัมพูชา จะเห็นเขารวบรวมกะโหลกชาวกัมพูชาที่ฆากันเอง เขารวมเอา ๕๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หัวกะโหลกมาไวในวัดแหงหนึ่ง มีรอยกระสุนที่นั่นที่นี่กองสุมกัน แตความจริงมันมากกวาที่เขารวบรวมไว ที่มันอยูในปาในดง จมอยูในดินในทรายอีกมากมาย นั่นเปนเพียงเศษเสี้ยวนิดเดียว แตที่คนเราสัตวโลกทั้งหลายไดลมหายตายจากในแตละยุค แตละสมัย พระพุทธเจาตรัสไววามันมีทุกที่ทุกแหง รวมกองอยู ในดินผืนโลก ที่เรากําลังนั่งและอยูอาศัยกันอยูนี้ มันไมมีที่ไหน ที่ไมเปนกองกระดูกของสัตวโลก นี้ถาจะขุดเอามารวมๆ กันมัน ก็จะมีมากกวาภูเขาเลากาในโลกนี้ พวกแมลงสัตวบกสัตวนาํ้ บินบน หนอากาศมารวมๆ กัน มันผุมันพังไปตามสภาวธรรม ทั้งๆ ที่คนเมื่อกอนเขาก็อยูกันมากมายถึงขนาดสรางบานสรางเมือง เปนบานเมืองที่ยิ่งใหญกันมาแลวทั้งนั้น อันนี้แหละทานทั้งหลายเราจะตองมองใหเห็นเปนญาณ เปนวิปสสนาญาณ มองใหเห็นเปนกัมมัฏฐานตองคิดพิจารณา ไตรตรองดวยสติปญญาอันสุขุม เราก็จะไดเห็นสภาพความ เปนจริงของสัจธรรม แลวชีวติ เราก็จะไดซมึ ซับผสานเปนหนึง่ เดียว กับความเปนจริงของสัจธรรม จะทําใหเรามีความสงบ สํารวม ในศีล สังวร มีมารยาทงดงาม จะเปนผูมีจิตใจหนักแนน ไมหวั่นไหว เชื่อมั่นเปนสมาธิและจะเปนผูมีความรอบรูเทาทัน สรรพสิ่งตามความเปนจริง มันจะเกิดความสมดุลของจิตใจ ขึน้ มาทําใหชวี ติ บริสทุ ธิบ์ ริบรู ณไมมคี วามโลภ ความโกรธ ความหลง ความทระนงถือตัวดวยทิฐมิ านะอหังการ ความสําคัญตัวสําคัญตน จะหมดไป ทุกคนก็จะอยูรวมกันแบบกัลยาณมิตร ทุกชีวิต อยูรวมกันเปนเพื่อนรวมโลกดวยลักษณะที่เสมอภาค อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๕๗


รวมความวาเรือ่ งสัจธรรมทีก่ ลาวถึงนี้ คือความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พระพุทธองคทรงตรัสวาเปนสิ่งที่มีอยูในสรรพสิ่ง โดยตัวมันเอง ใครจะไปสรางขึ้นมาก็ไมได ใครจะทําลายลบลาง หรือมายับยัง้ ก็ไมได อยางวิทยาการสมัยใหม พยายามทุกวิถที าง ที่จะเยียวยาที่จะรักษาพยาบาล พยายามหาวิถีทางที่จะไมใหมัน เจ็บปวย ไมใหแก ไมใหตาย มีโอสถ มีเครื่องสําอาง มีวิธีที่จะให เปนอมตะ มันเปนไปไมได เชน พวกอียิปตก็พยายามจะทํามัมมี่ เพือ่ วาจะมีสกั วันหนึง่ จะมีผทู มี่ คี วามรอบรูส ามารถทีจ่ ะมาชุบชีวติ เขาขึ้นมาไดอีกครั้งหนึ่ง ในที่สุดมันก็ลมเหลวทั้งนั้น มันก็กลาย เปนกระดูกเปนโครงกระดูกเหมือนกาง เหมือนเศษหิน เศษเถาถาน เศษไมทไี่ รคา ถึงแมจะสรางเปนอุโมงค เปนพีระมิด สถานทีค่ งทน ตอกาลเวลารักษารางอยางไรก็แลวแต ในที่สุดก็ถูกกาลเวลา ทําลายกลืนไป แลวก็ตองหนีความจริงไมพน คือความเปนอนัตตา ความเปนสุญตา ถูกโละทิ้ง ถูกทอดทิ้งอยูในปาเขา คนยุคใหม ไปพบเห็นก็เอามาคิดเปนขอทฤษฎีหาขอมูล การสรางการรักษา ทัง้ คนทีเ่ ปนตนคิดและคนทีก่ าํ ลังขุดคุย ขึน้ มาใหม ก็หนีไมพน สภาพ ความจริงไปไดอีกเหมือนกัน แลวในที่สุดก็เกิดมหาบุรุษยอดอัจฉริยะขึ้นมาในโลก ได คนพบความจริงของสัจธรรมนี้ พระองคจึงไดเปนพระพุทธเจา และวางพระองคอยูอ ยางเรียบงายผสานเปนหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ ไมตอ งเอาอะไรมาเปนเครือ่ งปรนเปรอเปนเหตุแหงความวิตกกังวล มีเพียงแคอฐั บริขาร ทองเทีย่ วจาริกภิกขาจารไปทีไ่ หนก็ได ไมตอง ๕๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ไปหวงหาอาลัยในสิ่งใดๆ ไมตองวิตกกังวลถึงอนาคต อาหารก็ เพียงแคพอประทังชีวิตใหเปนไปไดจากการจาริกออกบิณฑบาต ยามเชาเทานั้นก็อยูไดตามอัตภาพและไมทรงถือพระองควาจะ วิเศษเหนือกวาคนอื่น ไมไดประกาศพระองควาเปนตัวแทนของ สวรรค หรือสัจธรรมที่ทรงแสดงก็มิไดถือวาเปนบัญชาจากเบื้อง บน นีค่ อื ลักษณะพิเศษของความเปนพระพุทธเจาทีไ่ มเหมือนใครๆ ในโลก ทั้งในอดีตที่ผานมาจนถึงปจจุบันที่โลกกาวลํ้ายุคที่เรียก วา “วิทยาศาสตร” เจริญเพียบพรอมดวยเทคโนโลยีทุกสาขา จะ มาเทียบกับญาณทัศนะของพระพุทธองคมิได เพราะความเจริญ ของยุคสมัยยังของแวะดวยกิเลสตัณหาและกามคุณ ตลอดพระชนมชพี ทรงยอมรับผูค นสังคมในโลกโดยลักษณะ เสมอภาคกันหมด คืออยูในสภาพของไตรลักษณ บรรดาสาวก ที่เขามาบวชเขามาสูธรรมวินัยของพระองคก็ถือวาเปนดุจเดียว กับพระองคอีก ดั่งพระดํารัสไววาการที่ใครจะสักการบูชาถวาย สิ่งของแกสงฆ การที่ไดดูแลกันและกันยามสุขยามทุกข ก็เหมือน กับไดดแู ลเราตถาคต ไมวาทานผูนนั้ จะมาจากวรรณะไหนจะเปน ปุถชุ นจะเปนอริยชนอยางไรก็แลวแต ถาหากใครไดดแู ลเอาใจใส สงฆยามเจ็บไขไดปว ย ผูน นั้ เชือ่ วาไดดแู ลรักษาพยาบาลเราตถาคต ผูใดไดทําบุญถวายของกับหมูสงฆโดยไมจําเพาะเจาะจงวาเปน ผูนั้นผูนี้ ก็ชื่อวามีอานิสงสดุจไดถวายกับพระพุทธองค ยอมมี ประโยชนใหญ ยอมมีอานิสงสใหญ ทัง้ นีเ้ พือ่ ไมใหของแวะในเรือ่ ง ของบุคคลอัตตาตัวตน ใหถือเอาสวนรวมเปนประมาณ ผูใด อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๕๙


เห็นแจงซึง่ สัจธรรม คือเห็นไตรลักษณ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ผูน นั้ ก็ชอื่ วาไดเห็นพระพุทธองค เหมือนอยูก บั พระพุทธองค พระพุทธองค ก็จะสถิตอยูในจิตใจตลอดเวลา นี้คือความนาอัศจรรยของ ความเปนพระพุทธเจา ที่ทรงไดเปดโลกทัศนไรพรมแดน เปนลักษณะพิเศษแกชาวโลก ตามหลักพระพุทธศาสนาเราจะเห็นไดวามีความแตกตาง จากศาสนาอื่น ตรงที่จะไมปลูกฝงความเชื่อแบบเทวนิยมที่จะ มุงมั่นไปในดานความเชื่อเชิงอัตตา มีโองการจากพระเจาจาก เบื้องบนลงมาเปนคําสั่งคําสอนทุกคนจะตองเชื่อตองสยบ แลวก็ ตองมีการยกยองยอมรับใหเปนคนของพระเจา ตายไปแลวก็ยัง จะไดไปเสวยสุขบนสรวงสวรรคเปนอัตตาซอนอัตตาเหมือนกับ ศาสนาพราหมณก็สอนในเรื่องของอัตตา อาตมัน ปรมาตมัน ที่ลึกละเอียดลงไปอีก ตามทัศนะพระพุทธองคไมใหยึดถือไมให ความสําคัญมั่นหมาย แมในความรูสึกวาเปนรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ไมใหเขาไปยึดถือในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ และจนกระทั่งไมใหเขาไปยึดถือในตัวพระองคดวยความเปน รูปรางตัวตน เชน พระสาวกที่ชื่อวา พระวักกลิ ที่หลงใหลใน พุทธลักษณะพยายามติดสอยหอยตามเพือ่ ทีจ่ ะเฝามองพระองค ในที่สุดก็ถูกพระพุทธองคไลตะเพิดออกไป นี่แหละคือสิ่งที่เราจะตองเขาใจวาการเห็นพระพุทธ การ เห็นพระธรรม และการเห็นพระสงฆมันจะมีความรูเห็นแจมแจง ชีวิตตอสังขารทั้งที่เปนรูปธรรมนามธรรม ที่มีความสัมพันธกับ ๖๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมชาติอันบริบูรณอยูในตัวมันเองอยางนี้ ดังนั้นการที่จะเห็น พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ มีการเปนอยูตามพุทธวิถีคือ วิธีของพระพุทธเจาอยางเบากาย เบาใจ อยูอยางสงบเรียบงาย ไมเขาไปลุมหลงมัวเมา เพลิดเพลินดวยตัณหา อุปาทาน แตก็ ไมใชถึงกับสลัดทิ้งจนไมเอาอะไรสักอยาง เสื้อผาก็ไมเอา อาหาร การบริโภคก็ไมขวนขวาย ทีอ่ ยูทหี่ ลับทีน่ อนก็ไมตองเอาใจใส เจ็บ ปวยก็ไมตองรักษา ก็ไมถึงขนาดนั้น พระพุทธองคทรงมองเห็น โลกอยางชาญฉลาดดังที่กลาวมาแลว ทรงไดวางวิถีการเปนอยู ไมใหเดือดรอนไมถึงกับปลอยตัวใหทรมานลําบากอยางเชนจีวร ก็ตองมีเพื่อปกปดสิ่งที่มันอุจาดไมงาม เพื่อกันลม กันแดด กัน ความหนาว กันยุงก็ตองมี แตก็ไมใชเพื่อการประดับตกแตง ไมใช เพือ่ หลงในความมีคามีราคาของผาจีวร พระองคทรงประทานให สาวกนุงหมผาบังสุกุล ผาบังสุกุลก็คือผาที่เขาทิ้งไปแลวและผา พันศพที่เขาทิ้งไวในปาชา แลวพิจารณาเอามาซักตัดเปนกระทง เย็บเปนขันธเปนไตรจีวร แลวยอมดวยนํ้าฝาด ไมใหดูเปนสิ่ง สวยงาม สีแดง สีเหลือง สีขาว สีเขียว สีลายไมทรงโปรด เพราะ ฉะนั้นผาของพระสงฆเราจึงเปนชิ้นนอยชิ้นใหญไมเทากัน ถือวา เปนผาที่เก็บไดจากที่ตางๆ เอามาเย็บรวมกันใหเปนผืน ภายหลัง พระอานนทกไ็ ดมาออกแบบใหเปนขันธเหมือนคันนาของชาวมคธ อาหารการบริโภคก็เชนกัน ก็ตองบิณฑบาต ไมใหสะสม มื้อไหน ก็มื้อนั้น วันใดก็วันนั้น ไมใหเปนพันธะเปนกังวล เสนาสนะก็ให ยินดีในปา ตามเรือนวางตามทองถํ้าอยูอยางเรียบงาย ไมตองมี อะไรอลังการถาวร พอใหกันแดดกันฝน กันรอน กันหนาว กันลม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๖๑


กันพายุ หยูกยาก็ฉนั เพียงเพือ่ ไมใหเกิดเวทนา ไมใชฉนั เพือ่ ประทิน ผิวใหเกิดเจริญอายุวัฒนะ อันนี้แหละทานทั้งหลายจะเห็นไดวา แมพระพุทธองคจะทรงมองเห็นชีวิตและโลกเปนของวาง แต พระองคก็ยังตองฉันตองบริโภคปจจัยสี่อยูและจะตองทองเที่ยว ไปในที่ตางๆ เพื่อโปรดชี้แนะ ชี้นําวิถีทางที่จะมีชีวิตอยูอยางสงบ เรียบงาย เบากาย เบาใจ ตัดกังวล ตัดตัณหาอุปาทาน สลัดความ ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวง ทานทั้งหลายอยาไปเขาใจวาการบวชของเรานี้จะตองเปน ผูที่ทรงความรูตามอยางวิถีของชาวโลกที่จะตองทองตองเรียนรู อะไรตอมิอะไรจากสถาบันตางๆ ใหไดระดับทันโลก พระพุทธองค ไมทรงโปรด กลับทรงชี้ตรงและเนนบทพิจารณาแกสาวกจากใน เนื้อตัวของเรานี่แหละ ใหศึกษาเรียนรูพิจารณาไปในอวัยวะ นอยใหญ มีเกศา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ เปนตน เพราะคน สวนใหญจะหลงในเรื่อง ๕ อยางนี้ หลงแตง ผม ขน เล็บ ฟน เนื้อหนัง จะหลงลูบไลสมั ผัส เห็นกงจักรเปนดอกบัว เห็นรางกาย ที่มันมีแตของโสโครกมีแตเชื้อโรควาเปนของงดงาม วาเปนสิ่งที่ นายินดี แตพระองคทรงชี้ใหเห็นตามความจริงวานั้นเปนของที่ ไมนายินดี ไมใชของสวยงามเลย พอผานกาลเวลาไปมันก็จะ หมดสภาพ ไมวาผูนั้นจะเปนผูมีพละพลัง มีผิวพรรณเปนที่นา ตองตาตองใจคนในยุคนั้นในเวลานั้น พอผานวัยอายุขัยก็ไมเปน ที่ตองการของใคร กลับจะเปนปญหาทั้งแกตัวเองและผูอื่นอีก ทัง้ เรือ่ งของการกิน การขับถาย ในเรือ่ งของความรอน ความหนาว ๖๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความหิว ความกระหาย ความเจ็บไขไดปวยก็เปนความทุกขเปน ปญหาหนักอยูแลว และเปนปญหากับผูอนื่ จนเปนภาระของสังคม พระพุทธองคทรงตรัสวา ขันธ ๕ เปนของหนักเนอ! เพราะ ฉะนั้นใหมองขันธ ๕ เปนของวาง มองขันธ ๕ ใหเห็นอนิจจัง ทุก ขัง อนัตตาแลวเราก็จะไมหลงยึดขันธ ๕ (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) วาเปนตัวเราเปนของเรา คนอื่นๆ ก็ลักษณะ เดียวกัน เมื่อเปนดังนี้ การหาขอเปรียบเทียบความแตกตางกัน ความเหลื่อมลํ้าก็จะไมมี อันนี้แหละเปนความจริงที่ขอบอกกับ ทานทัง้ หลายวาเราจะตองพยายามตริตรอง หมัน่ ศึกษาพิจารณา ชีวิตมองเห็นมันใหชัดเจนจนเกิดความคุนเคย แลวอยูกับความ จริงอยูกับสัจธรรมอยูในโลกหรือการครองชีวิตประคับประคอง จิตใจของเราไมใหมนั เปนอุปสรรค ไมใหเปนปญหา ไมตองของใจ สงสัยในอะไรทั้งสิ้น ไมตองไปวิตกกังวล ฟุงซาน หนักอกหนักใจ จนกินไมได นอนไมหลับ กระสับกระสาย ดิ้นรน ดวยความใคร ความอยากอยูต ลอด เราจงดูตวั อยางคนบางคนทีข่ ยันสะสม อะไร ตอมิอะไรจนฟุงเฟอเกินความจําเปนของชีวิต ในที่สุดก็ตองทอด ทิง้ หมด ทอดทิง้ ไวกบั โลกแลวก็หมดสภาพอีกตามเดิม บานเรือน ที่ใหญโตโอฬารทั้งขาวของมากมาย ลูกเตาเหลาหลานวานเครือ ที่ออกมา ตางก็กระจัดพลัดพรากกันไปคนละทิศทาง บางทีก็ลม หายตายจากกันไป ขณะที่เรายังมีชีวิตอยูรวมกันเขาก็พลันลวง ลับตายจากไปกอนวัยอันควรก็มี ความจริงวัยมันไมมกี าํ หนดชีข้ าด วาอายุเทานั้นเทานี้ตองตาย เพราะวามันตองมีความพลัดพราก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๖๓


จากกันเปนธรรมดาอยูแลว พระพุทธเจาตรัสวาสังขารมีความดับ ไปเปนของธรรมดาเปนนิจอยูแลว โดยปกติเราก็มีการเปลี่ยนที่ เปลี่ยนทางเปลี่ยนสภาพความเปนอยู ทุกวันเวลาอยูตลอดเปน สัจธรรมโดยธรรมชาติอยางเสมอสภาพโดยตัวมันเอง อยางทานทัง้ หลายทีม่ านัง่ อยูท นี่ เี่ วลานี้ ก็ตอ งเปลีย่ นอัธยาศัย เปลี่ยนที่เปลี่ยนทางกันมาสักกี่ครั้งกี่หนนับครั้งไมได อันนี้เปน ความจริงที่เปนสัจธรรม แลวเราจงใชความพยายามหยั่งจิตใจ เขาสูค วามจริงนีด้ วยวิถที างแหงญาณวิปส สนาญาณหรือทางแหง กัมมัฏฐาน คือจะตองทําหนาที่ทางจิตใจใหมันชัดเจน ใหมันตรง เปาหมาย ถึงสัจธรรมความเปนจริงดวยการมองเห็นชีวิตและ สรรพสิง่ ในโลกเปนของวาง จนเกิดความชํานิชาํ นาญ ตืน่ ตัวตืน่ ใจ รูแจงอยางฉับไวทุกขณะเวลา ก็ไมถูกกลลวงของตัณหากิเลส ปดบังดวงตา เหมือนกับพยับแดด เหมือนกับเงาในนํ้าเหมือนกับ สายฟาแลบแปบเดียวก็หายไป เราก็อยาไปเอามาเปนอารมณ อารมณโกรธ อารมณหลง อารมณเกลียด อารมณรกั อารมณใคร ไมยินดี ยินราย ทําใจใหเปนหนึ่งคือ อุเบกขาธรรม นิ่งตอ เหตุการณทุกๆ สภาพที่มันมากระทบ ทุกสิ่งทุกอยางมันจะจบไป อยางรวดเร็วเลยทานทั้งหลาย มันไมมีอะไรเหลือคางใหเราได เคลิบเคลิม้ หลงใหลเปนสุข หรือเปนทุกขอยูนานหรอก มันก็จะไป ของมัน เร็วยิ่งกวาความไวของเสียง ความไวของคลื่น ความไว ของกระแสไฟฟา นี่คือสิ่งที่เราทานทั้งหลายจะตองพยายามศึกษาดูภายใน ตัวเรานี้ไมตองไปแสวงหาที่ไหนใหคนหาภายในตัวเรานี่แหละ ๖๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


รวมทั้งการที่เราจะนับถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ก็ตอง เกิดขึ้นมาจากความรูแจงเห็นจริงจากสภาวธรรมในชีวิตนี้ เราจึง จะเห็นพระพุทธ เห็นพระธรรม เห็นพระสงฆ ไดปฏิบัติตามและ เปนทีพ่ งึ่ ทีไ่ มมอี ะไรมาเปรียบปานได เมือ่ มองเห็นแลววาไมมอี ะไร ใหเปนสาระทีจ่ ะใหเขาไปยึดถือ จิตใจของเราก็จะละเอียดเหมือน กับอากาศ อากาศจะอยูที่ไหนก็ไมเปนปญหา มันเบา มันบาง จนมองไมเห็น จิตของผูที่ซึมซับดื่มดํ่าตอสัจธรรมเปนหนึ่งเดียว กับสัจธรรมดังที่กลาวมาแลว มันจะมีความละเอียด สะอาด มันจะบริสุทธิ์ ยิ่งกวาความสะอาดใดๆ อยางเปรียบเทียบกันมิได มันจะอยูพนจากสิ่งทั้งหลายทั้งปวง พนรูปพนนาม พนการที่จะ กลาวถึงเอยอางความเปนอะไรดวยซํา้ ไป ซึง่ สิง่ นีพ้ ระพุทธเจาทรงได ชี้ชัดใหเห็นทัศนะความกลมกลืนเปนหนึ่งเดียวของพระนิพพาน ไวอยางคมชัดเหนือความเปนอัจฉริยะทั้งหลายในโลกวา “ภิกษุทงั้ หลาย! สิง่ ๆหนึง่ เปนสิง่ ซึง่ ในนัน้ ไม่มดี นิ ไม่มนี าำ้ ไม่มีลม ไม่มีไฟ ไม่ใช่ฌานที่เพ่งอากาศจนปราศจากอารมณ์ ไม่ใช่ฌานที่เพ่งอารมณ์การรับรู้อันหาที่สุดมิได้ ไม่ใช่ฌานที่ เพ่งความไม่มอี ะไรอย่างสิน้ เชิงเปนอารมณ์ ไม่ใช่สภาพจิตที่ อยูใ่ นอารมณ์ความจำาได้หมายรูก้ ไ็ ม่ใช่จะว่าไม่มเี ลยก็ไม่เชิง ไม่ใช่โลกนี้ ไม่ใช่โลกอื่น ไม่ใช่พระจันทร์หรือพระอาทิตย์ ทั้งสองอย่าง ภิกษุทงั้ หลาย! ในกรณีอนั เกีย่ วกับสิง่ ๆ นัน้ เราไม่กล่าว ว่ามีการมา ไม่กล่าวว่ามีการไป ไม่กล่าวว่ามีการหยุด ไม่กล่าวว่า อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๖๕


มีการเกิดขึน้ ไม่กล่าวว่ามีการดับไป สิง่ นัน้ ไม่ได้ตงั้ อยู่ สิง่ นัน้ ไม่ได้เปนไปและสิ่งนั้นไม่ใช่อารมณ์ นั้นแหละคือที่สุด แห่งทุกข์ คือ นิพพาน” (ความว่างสงบร่มเย็นของชีวิต) จึงดํารงพระองคผสานเปนหนึ่งเดียวกับสิ่งที่เปนสัจธรรม คือความวาง พระองคจะไมใหความสําคัญกับตัวพระองคเลย แมแตนอย ใครจะดา ใครจะวา ใครจะสรรเสริญยกยองเยินยอ อยางไร พระองคทรงเพิกเฉย เพิกถอนความรูสกึ ตอถอยคําหยาบ หยามการทําลาย ทํารายพระองค กลับทรงเห็นวาความทุกขยาก อุปสรรคขวากหนามทั้งปวง เปนโอกาสที่จะพิสูจนใหชาวโลก ไดเห็นจิตที่วางจากความสําคัญตน จะทําใหชีวิตมีพลังเขมแข็ง สงางาม ดุจทะเลตองมีคลื่นถึงจะอลังการหรือเราจะมองเห็น ทัศนียภาพอันสวยงามที่สุดไดก็มีพื้นที่วางอันเวิ้งวางเปนมุมมอง ขอใหเราจงมองดูตัวอยางของพระพุทธเจาเพียงประการ เดียว จงระวังอยาหลงตามกระแสถอยคําโฆษณาของชาวโลก ที่เขาสมมุติเรียกวา เปนนั่นเปนนี่แยกแยะอารมณที่นายินดี มินา ยินดี ใหเราจงมองโลกตามทัศนะของพระพุทธองคทไี่ ดทรงดํารง พระองคเปนแบบอยางอันเลอเลิศ เมือ่ เราทานทัง้ หลายถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนที่พึ่งแลวจะไมมีขอสงสัย อีกทั้งมิใชเปน เรือ่ งไกลตัวเราเลย เมือ่ เปนดังนีแ้ ลวเราก็จะพนจากภัยอันเกิดขึน้ จากความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตายไปได ความพลัดพราก จากสิ่งทั้งหลายทั้งปวง ก็จะทําใหไมสะดุงสะเทือนสะทกสะทาน หวั่นไหวตอหัวใจ เราก็จะอยูเหนือเหตุผลและอารมณความ ๖๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


นายินดีและไมนายินดี ความสุขหรือความทุกข จะไมลุมหลง อยูในวังวนความรักหรือความชัง แมกระทั่งจะไมมีการยึดติด ในเรื่องเหตุและผลเปนผูสงบนิ่งอยางพระอริยเจา นี่แหละจะ เปนประโยชน เปนอานิสงส ของการประพฤติพรหมจรรยและ เปนทางแหงสัมมาปฏิบตั ิ เปนทางแหงอริยมรรค เปนทางอันประเสริฐ คือ เราจะตองพยายามมองใหเห็นจนดื่มดํ่าสัจธรรมอยูเนืองๆ พลังจิตมันจะมาหลอมรวมกันเปนองคแหงสติปญ  ญาความรอบรู เห็นความจริงจนทะลุปรุโปรง จนเห็นวาไมมีสิ่งใดที่จะยึดถือได นีแ่ หละเรียกวาการศึกษาธรรม เปนการเสาะแสวงหาโมกขธรรม การทําพระนิพพานใหแจมแจง ทําจิตใจใหอยูในวิมุตติ วิโมกข หลุดพน จากความลุมหลงความสําคัญตนจนพนจากอิทธิพล สิ่งสมมุติตางๆ ทั้งปวงในโลกนี้ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๖๗


ทานทั้งหลายอาจคิดวา ถาหากมองกันไปในลักษณะนี้ ก็ไมตองทําอะไร ไมตองไปสนใจอะไรกับใคร นี่ก็เปนแงหนึ่งที่เรา จะตัง้ คําถามขึน้ มาได คําตอบนีห้ าไดจากวิถชี วี ติ ของพระพุทธองค ทรงเปนแบบอยางใหเราไดเห็น พระอรหันตเจาทั้งหลายก็เปน แบบอยางเมือ่ เขาสูค วามจริงนีแ้ ลวจะเห็นไดวา พระองคจะไมวางตัว วางระบบอะไรที่มันเปนเหตุของความยึดมั่นถือมั่นดวยอุปาทาน การเปนอยู การวางเปาหมายการคาดการณผลลัพธมันก็ไมมี เพราะวาเห็นทุกสิ่งทุกอยางมันเปนสภาพวาง ดังที่พระพุทธเจา ทรงตรัสกับพระโมฆราชวา “ท่านจงมองดูโลกโดยความเปนของว่าง แล้วมัจจุราช ก็จะตามไม่ทนั ” และไดตรัสไวอกี แหงหนึง่ วา “ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย! ถาทานมองดูโลกใหเห็นเปนความวางอยูแลวไซร โลกนี้ก็จะ ไมวา งจากพระอรหันต” การทีไ่ มทรงวางระบบและหลักการผลลัพธ เปนเปาหมาย! เพราะทรงเนนใหมองตรงจุดที่สุดของสรรพสิ่ง นัน่ คือทรงชีใ้ หมองชีวติ และโลกใหเห็นเปนของวาง ไมของแวะและ ยึดติดในอํานาจ ลาภยศเสียงสรรเสริญสิง่ สมมุตทิ ั้งหลายทัง้ ปวง อันเปนสาเหตุแหงความหลงตัวมัวเมา เหมือนแมลงเมาบินเขาหา กองไฟ หรือเหมือนดักแดชักใยพันธนาการตัวเอง หรือเหมือน นกไมเห็นฟา ปลาไมเห็นนํา้ ไสเดือนไมเห็นดิน คนอยูในโลกก็มอง ไมเห็นความจริงของโลก จึงหลงวนของแวะอยูในตัณหา กิเลส พาไป วนเวียนอยูในกงจักรแหงความลวง เปนวัฏจักรอยูรํ่าไป เพราะเหตุนี้จึงทรงเปลงเปนพุทธอุทาน หลังจากตรัสรูเปน บทสรุปที่สุดของการแสวงหาของพระองควา ตราบใดที่เรายัง ๖๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ไมไดเห็นแจง ไมรูความจริงสัจธรรมก็หลงวนเวียน หลงคน หลงไขวควา ทองไปในโลกสงสารเหมือนชางปลูกสรางบานเรือน ยอมคิดจินตนาการ ยอมปรับปรุง ทําอะไรใหวิจิตรพิสดารตั้งแต ที่อยูที่อาศัยเล็กๆ นอยๆ ไปถึงบานเรือนมั่นคงถาวร ที่ใหญโต เปนคฤหาสน เปนคุมเปนวังเปนปราสาทอะไรก็แลวแต ที่ชาง จะคิดจินตนาการใหเปนไปตามความตองการโดยมีตัณหา เปนตัวบงการ พอพระองคทรงไดรแู จงเห็นจริงตอสัจธรรมพระองคไมเอาดวย ทรงตรัสไวอยางชัดเจนเลยวา เราไดรื้อโครงเรือนและยอดเรือน โดยทําลายโครงสรางของเรือน เพราะรูวาตัณหาเปนตัวปรุงแตง พาใหมวั เมาลุมหลง เพลิดเพลิน แลวมาดับจิต ดับใจ ดับอารมณใคร อารมณอยากเพราะจิตเราเขาสูนิพพาน สภาวะจิตของเราไดถึง นิพพานทีไ่ มเอาอะไรมาปรุงแตง จิตทีไ่ มปรุงแตงก็คอื พระนิพพาน นีก้ เ็ ปนสิง่ ทีพ่ ระองคทรงไดประกาศ ไดอทุ านออกมา ขณะมองเห็น ความหมดจดของความบริสทุ ธิข์ องชีวติ จิตใจทีไ่ มเขาไปหลงผูกพัน ไมของอยูในโลกจะเหมือนดอกบัวที่เบงบานอยูเหนือนํ้าเหนือ เปลือกตมเหนือสรรพสิง่ ทีจ่ ะมาเปรอะเปอ นทําใหมวั หมองพอรับ แสงสวางยามอรุณรุง ก็จะเบงบานงดงามอยางเต็มที่ และบัวยิง่ บาน ยิ่งมีมากเปนทวีตรีคูณ แมกระทั่งผูที่เปนสาวกไดรูไดเห็นตามพระองคก็จะอยู ในลักษณะเดียวกันนี้ จะไมของแวะในโลกแหงมายามีชีวิต เสวยวิมุตติ วิโมกขเปนอารมณหรืออยูดวยสุญตาวิหารธรรม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๖๙


ก็เหมือนไดนั่งอยูบนดอกบัวเชนเดียวกับพระพุทธองคไมได แตกตางกัน แตนักจินตนาการ นักคิด นักวาดที่เปนศิลปนเขา จะคิดแตเฉพาะพระพุทธองค ความจริงไมไดแตกตางกัน เหมือน กับพระพุทธองคตรงที่ไมเห็นวามีอะไรมีลักษณะที่จะแบงแยกได ทรงตรัสถึงความเปนหนึง่ เดียวนีโ้ ดยใหความสําคัญแกหมูสงฆวา สงฆตองดูแลปกครองกันเอง ไมใหยึดติดในตัวบุคคลอํานาจ ราชศักดิ์ แมกระทั่งพระพุทธองคเองก็ไมใหยึดติด อีกทั้งไมได แตงตั้งใครใหเปนตัวแทนพระองค ทุกผูคนทุกรูปทุกนามอยูรวม กันดวยความเปนกัลยาณมิตร มองเห็นกันและกันดวยจิตที่มี ความสมดุลผสานกับธรรมชาติแหงสัจธรรม ก็จะชื่อวาไดอยู ใกลชิดพระพุทธองคทุกขณะเวลา เหมือนกับมีพระพุทธองคอยู ทีเ่ นือ้ ตัวเรา อยูในจิตใจตลอดทุกลมหายใจเขาออกและทุกขุมขน อันนี้แหละเปนความจริง ที่พระพุทธองคชี้ชัดตรงไปอยางนี้ แตถาหากมีทางที่จะออมคอมที่จะใหเปนเรื่องยากไกลตัว มันก็เปรียบไดเหมือนกับเสนทางทั้งหลายในโลกนี้ ทางไปที่นั้น ทีน่ ี่ ทางคด ทางเลีย้ ว ทางขึน้ เขา ลงหวย ลงดอย ทางขวากหนาม ขรุขระ ทางอยางไรก็มี ทางอากาศก็มี ทางนํ้าก็มี แตทางที่ตรงสู เปาหมายนัน่ ก็คอื ทางแหงพระนิพพาน ทางทีเ่ ขาสูความสงบระงับ ดับจิตดับใจ เรียกวาทางแหงอริยมรรค คือ ทางสายกลาง ไมเขาไป ลุมหลงยึดถือดวยความรัก ความใคร ความอาลัยอาวรณ ไมเขาไปทําอะไรจนครํ่าเครียดทํารายทําลายตนเองจนรางกาย เกิดทุกขทนทรมานลําบาก หรือดวยวิธีการที่ปลอยตัว ปลอย ๗๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อารมณจนเกินไปก็ไมใช จะตองปฏิบัติใหพอเปนไปตามอัตภาพ พอดีพองาม พอเหมาะพอควร เรียกวา ทางสายกลาง นี้เปน สิ่งที่เราจะตองเขาใจ ตามอยางที่พระพุทธองคทรงรูเห็นแลว ทุกคนก็จะมีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆอยูในจิตใจ ตามที่ พระพุทธองคทรงตรัสยืนยันไววา “ตถาคตจะเกิดขึ้นหรือมิได เกิดขึ้นก็ตาม สัจธรรมเปนสิ่งที่มีอยูกอนแลวโดยธรรมชาติ เราตถาคตเปนเพียงผูคนพบ แลวจึงไดนํามาเปดเผย จึงไดนํามา แสดงนํามาบอกกลาวเหมือนกับการเปดของทีป่ ด หงายของทีค่ วํา่ ” นี่คือสัจธรรมที่พระพุทธเจาไดทรงแสดงใหเห็นความจริงที่มิไดมี อะไรสลับซับซอนปดบังซอนเรน เปนสิ่งที่พระองคทรงเปดเผย สูชาวโลก ทรงประทานดวงธรรมเปนแสงสวางแกดวงตาใหแก ทุกผูคนใหไดมองเห็นเปนประจักษแจมแจง มิไดมขี อยกเวนวาจะ เปนใครและมิไดจํากัดกาลเวลา เรื่องที่ไดประเดิมแตตนวานิพพานคือ ความสงบเย็นของ ชาวโลก รวมทั้งไดพยายามหยิบยกเรื่องราวตัวอยางใหทาน ทั้งหลายไดมองเห็นที่สุดของการแสวงหาจุดเริ่มตนที่แทจริง มันไมมีและที่สุดของเรื่องมันก็ไมไดมี เรียกวา จากความวาง สูความวาง จากอนิจจังสูความเปนอนิจจัง จากอนัตตาสูความ เปนอนัตตา จากสุญตาสูความเปนสุญตา เหมือนกับเสียงขลุยกลับหากอไผ ทีค่ นเราตัดเอาลําไผจาก กอไผมาทําเปนขลุยจะเปาหรือบรรเลงเปนเสียงเพลง เสียงสูง เสียงตํ่า เสียงไพเราะจับจิตจับใจอยางไรก็แลวแต ในที่สุดเสียง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๗๑


นัน้ ๆ ก็จะยอนกลับมาสูกอไผ สูความวางจากเสียงเพลง วางจาก เสียงสูง เสียงตํา่ คนเราก็เชนกันทีส่ ดุ กลับสูความวางอีก วางจาก ความเปนตัวตน ความเปนคน เปนสัตว ชือ่ นัน้ ชือ่ นี้ มันจะกลับไปสู ความเปนอนัตตาอยางเสมอภาคดวยกันทั้งนั้น นี่คือขอธรรม สําหรับวันธรรมสวนะนี้ ทีนี่ก็ขอบอกยํ้าสิ่งที่เปนสัจธรรมที่เปนคุณลักษณะของ พระพุทธเจา คุณลักษณะของสัจธรรม คุณลักษณะของพระสงฆ ก็คือ การมองเขาไปในตัวชีวิตเราทานทั้งหลายใหไดเห็นตาม ความเปนจริงอยางนี้ การทําใหแจงซึ่งทางแหงพระนิพพานไมไดอยูที่ไหน ก็อยูที่ กายกวางศอก ยาววา หนาคืบ ภายในตัวเรานี้อีกเชนกัน มันตอง มาดูภายในใหเห็นวาอวัยวะนอยใหญ ทุกสิ่ง ทุกชิ้นสวน ดูทุกวัน เวลาวามันมีสภาพแหงความเปนอนิจจัง ความเปนทุกขัง ความ เปนอนัตตาเปนธรรมชาติที่วาง อยางเต็มบริบูรณ และสถิตอยู ทั่วทุกแหงหน ไมมีขาดตกบกพรอง ไมวาใคร ผูนั้นจะเปนคน ชาติไหนหรือสัตวชนิดใด จะมีธาตุมขี นั ธมากนอยเพียงใดก็แลวแต ก็อยูในสภาพเดียวกันหมด การมองเห็นเชนนีค้ อื การเห็นทางแหง พระนิพพาน แลวเราก็จะดําเนินชีวิตสูความเปนผูปฏิบัติดีปฏิบัติ ชอบตามอยางพระพุทธองคที่ทรงไดประทับรอยพระบาทเอาไว ใหเราทานทัง้ หลายไดดาํ เนินชีวติ อยูในโลก แตไมถกู โลกครอบงํา มีชีวิตอยูเหนือโลก เหนือความสุข เหนือความทุกข เหนือการ ไดรับ เหนือการสูญเสีย เหนือการไดลาภยศ เสื่อมลาภยศ เหนือสิ่งเปรียบเทียบใดๆ ทั้งหมดทั้งสิ้น ๗๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การที่ไดนําทัศนะของพระพุทธองคมากลาวในวันนี้ คือ สิ่งสําคัญที่เราทานทั้งหลายควรจะนําไปพินิจพิจารณานําไป ประกอบเปนองคความรู ความเห็นอันแจมแจง เพือ่ เราจะไดเขาใจ ความเปนหนึ่งเดียวกับพระรัตนตรัยที่เปนสื่อสูนิพพานเปน ความสงบเย็นของชาวโลก ที่สุดนี้ขออํานวยอวยพรใหทุกๆ ทาน จงมีสติ มีปญญาญาณ รักษาตนในวิถีทางแหงสัมมาปฏิบัติคือ การทําใหแจงซึ่งพระนิพพานเปนเปาหมายอันสูงสุดของชีวิต ทุกชีวิตที่จะทําใหเราหลุดพนจากอิทธิพลครอบงําของสิ่งสมมุติ ทั้งหลายทั้งปวง เปนผูมีกายใจที่เบาสบาย สงบนิ่งอยาง พระอริยเจาทัง้ หลาย ขอความเจริญในธรรมคือความสงบรมเย็น จงงอกงามไพบูลย เปนความอิม่ เอิบเบิกบานแหงจิตใจของทุกทาน ทุกคนเทอญ บรรยายโดย ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ณ วิหารพุทธบาทแกวดอกบัวขาว พุทธสถานอินเดียนอยวัดพระธาตุแสงแกวมงคล วันเสารที่ ๓ เดือนมกราคม พ.ศ ๒๕๕๒ วันพระขึ้น ๘ คํ่า

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๗๓


ธรรมชาติแหงนิพพาน อรุณรุ่งเบิกฟาสว่างไสว ไร้ซึ่งเจตนา ดอกบัวพุทธชาดเบ่งบานสะพรั่ง ไร้เสียงขับขาน มวลหมู่แมลงภู่แมลงผึ้งกระพือปกเสียงดังอื้ออึง แทรกตัวในเกสรอันงดงามดูดดื่มความหอมหวาน ผสานธรรมชาติเปนหนึ่งเดียวกับนิพพาน ไร้เสียง ไร้ตัวตน ไร้คำาบรรยาย ไร้ที่มา ไร้ที่ไป ไม่มีที่สิ้นสุด... และไร้ซึ่งเจตนา

(ภิกษุอานันท พุทธธัมโม) กระทอมหญาคายอดเขาคิชฌกูฏ พุทธสถานอินเดียนอย วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๖.๓๐ น.

๗๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ไขปัญหาขอของใจ

ลําดับตอจากนีไ้ ปขอเปดโอกาสใหถามปญหา ถาใครของใจ

ในเรื่องที่พูดมาแลว ก็เปดโอกาสใหถามไดเทาที่เวลาพอมี ในชวงนี้ไดเลย ถาม ตามทีเ่ คยไดยนิ ไดฟง มาประกอบกับทีไ่ ดฟง การพูดมา เมื่อสักครูนี้ถึงเรื่องพระนิพพานมีความของใจวา การที่จะปฏิบัติ ธรรมเพือ่ เขาสูพ ระนิพพานนัน้ จะตองมีการบําเพ็ญทาน การรักษาศีล ทําจิตใจใหเปนสมาธิ ทําความเพียรสั่งสมบารมีมามากจน เต็มบริบูรณ ถึงจะบรรลุนิพพานได นี่ไมเห็นทานกลาวถึงเรื่อง การบําเพ็ญทาน การรักษาศีล การทําสมาธิ การทําความเพียร แลวจะบรรลุถึงนิพพานไดอยางไร ตอบ ตามประวัตกิ ารบรรลุพระนิพพานทีป่ รากฏในเหตุการณ จริงของผูคนในยุคพระพุทธกาลสวนใหญพอไดฟงคําชี้แจงจาก พระพุทธองคจนเห็นแจงสัจธรรมพบแสงสวาง แลวดําเนินชีวิต ตามอยางพระพุทธองคก็มีมากมาย สวนการสํารวมในศีลและมี อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๗๕


จิตใจไมหวั่นไหวเปนสมาธิ มันจะเกิดสติปญญาที่แจมแจงพรอม กันไปเลย เหมือนกับเมื่อเราเขาใจซึง่ กันและกันในเรื่องอะไรมันก็ จะผสานสอดคลองกันไปได ไมวาจะมีทิฐิความเห็นที่แตกตางกัน และเรื่องนั้นจะยากจะเปนปญหาตองเผชิญตออุปสรรคอยางไร ก็จะสามารถสื่อความหมายปฏิบัติการสูเปาหมายลงตัวกันได เมื่อจิตเราแจมแจงซึ่งพระนิพพานนี้ยิ่งกวาการเขาใจกันและกัน โดยทั่วไป เพราะนั่นหมายถึงการเขาใจคําตอบความหมายของ ชีวติ ทุกแงทกุ มุม ถือวาเปนแสงสวางแหงดวงตาของชาวโลกเลยทีเดียว จะขออนุญาตยอนถึงประสบการณสมัยเมื่อเปนสามเณร แรกๆ ไดสังเกตเห็นสังคมในดินแดนลานนาไทยเราจะมีคานิยม เอาพระนิพพานเปนเปาหมายของชีวิต เชน การรักษาศีล การ ทําทาน การเจริญจิตภาวนา ก็จะอธิษฐานขอใหเปนปจจัยสู พระนิพพานกันทั้งนั้น ไมวาจะเปนงานบุญใหญ บุญเล็ก ก็จะมี การจารึกอธิษฐานสื่อความหมายใหมีความสุขสงบรมเย็น มีพระนิพพานเปนวิหารธรรม เปนคานิยมอันสูงสุดของผูคน ในสังคมยุคนั้น นี่ก็คืออีกตัวอยางหนึ่งที่ชี้ใหเห็นถึงนิพพาน ที่สัมพันธชีวิตชัดเจนมาก ขอเรียนถาม อาจจะนอกประเด็นจากทานแรกที่ถาม เมื่อสักครูคือสงสัยเรื่องของการเวียนวายตายเกิดวาจะเปนไป ไดไหม และขอเสริมคําถามอีกนิดหนึ่งคือ การทําบุญอุทิศกุศล ไปใหผูลวงลับดับขันธไปแลว เขาจะไดรับหรือไมประการใด ขอไดโปรดกรุณาชี้แจง ๗๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตอบ โดยปกติปญ  หาเชนนี้ ถาจะมีผกู ราบทูลถามพระพุทธเจา พระองคก็ไมทรงตรัสตอบโดยตรง แตถาเราจะศึกษาจากชาดก ที่ทรงตรัสเทศนาเอาไวในหลายๆ เรื่อง ก็จะเห็นไดวากอนที่จะ ตรั ส รู ก็ ได สร างบารมีธรรมเปน พระโพธิสัต วม าหลายภพ หลายชาติ เพียงนี้ก็นาจะเปนคําตอบปญหาขอนี้ไดชัดเจน สวนการทําบุญอุทิศกุศล คําตอบนี้ก็จะขึ้นอยูกับเหตุปจจัย องคประกอบหลายดาน ถาจะเปรียบไปก็เหมือนกับการสื่อสาร ทางโทรศัพทหรือสือ่ สารทางไปรษณียถงึ กันและกันทีอ่ ยูหางไกล คนละขั้วโลก รหัสขอมูลมันตองถูกตองและอยูในจุดตําแหนง ที่พอจะสื่อกันไดดวยก็จะไดรับประโยชนการสื่อสารถึงกันได การทําบุญอุทิศถึงผูลวงลับก็ตองใหถูกตองตามหลักของ ศีลธรรม จริยธรรมอันดีงามและสิ่งของนั้นๆ ที่ญาติทั้งหลาย จัดสรรหามาทําบุญจะตองเปนของบริสุทธิ์ไมมีโทษตามขอหาม ของพระศาสดา ก็จะเปนประโยชน เปนอานิสงสแกผูรับ ไมโดย ทางตรงก็โดยทางออม โดยเฉพาะสวนตัวของผูทําดวยจิตสํานึก กตัญูรคู ณ ุ ตามทางแหงสัมมาปฏิบตั พิ ระพุทธเจาก็ทรงสรรเสริญ และอนุโมทนา แตขอสําคัญขณะมีชีวิตอยูรวมกันเราจะตองมี นํา้ จิตนํา้ ใจอันบริสทุ ธิต์ อผูมอี ปุ การคุณดวยความสุภาพออนโยน ปรนนิบัติทานดวยความกตัญูกตเวที อยาลบหลูบุญคุณ ของทานเปนอันขาด ถาม อยากทราบวา การทําความดี การเสียสละประโยชน สวนตนเพื่อประโยชนผูอื่นจะเปนความดีเสมอไปหรือไม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๗๗


ตอบ การทําความดีมันก็มีหลายระดับ แตเริ่มตนของ ผูที่จะทําความดี ตองมีจิตใจที่งดงามพอ ถึงจะคิด จะพูด จะทํา มันก็เปนความดีอยูในตัวเบ็ดเสร็จอยูแลว แตถาหากวาเราทําดวย ความสําคัญตัวผูกติดอยูกับสิ่งของและบุคคล โดยหวังจะใหมัน เกิดเปนผลสนองตอบจากบุคคลอืน่ ถาเปนอยางนีก้ ไ็ มแนอาจจะ มีผิดหวังบางเปนบางกรณี จากความไมเขาใจความไมลงเอย ซึ่งกันและกัน แตอยางนอยก็ชื่อวาเราไดปลูกฝงความดีไวเปน เบื้องตนแลว ถาจะใหยิ่งกวานั้นตองใหอยูเหนือการกระทํา ถาไมอยางนั้นเมื่อโดนการทาทายทดสอบหรือจะดวยเหตุการณ ที่ผันผวนสวนทางกันก็จะไมรูสึกทอแทตอผลกระทบ ๗๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เพราะฉะนั้นการทําคุณงามความดีนอกจากจะมีจิตใจที่ งดงามเผื่อแผแลว ตองมีจิตใจที่เขมแข็งหนักแนน ไมหวั่นไหว พรอมที่จะใหอภัยและเมตตาตอทุกผูคนอยางเปดใจกวาง อยา ไดของแวะตออุปสรรค ขวากหนามโดยใหถอื อุดมการณมองโลก ในแงดี สิ่งทั้งหลายที่เปนอุปสรรคจะมาในรูปแบบไหนก็ขอใหถือ เปนบททดสอบเปนครูอาจารย ที่จะสอนเราไดอยางประเสริฐยิ่ง เราจะตองขอบคุณตอเหตุการณดรี า ยทัง้ หลาย ทีเ่ ราจะตองเผชิญ หนาดวยมิตรภาพและไมตรีจิต การทําเชนนี้จะทําใหความดีที่ทํา ทวีคูณยิ่งขึ้น หรือดังตัวอยางการที่ตองทนกินยาหรือเมื่อจําเปน ต องรั บ การผ า ตั ดเราก็ ต อ งยอมและทนเจ็ บ จากบาดแผล เพื่อใหไดรับผลจากการเยียวยารักษา ใหพนขีดอันตรายนั้น แต อยางไรก็ตามขอใหเขาใจวานี่เปนหลักพื้นฐานทางดานศีลธรรม จริยธรรมอยูนั่นเอง ถาม เทวดามีจริงไหม และจะพิสูจนไดอยางไร ตอบ ตามเรื่องในพุทธจริยา ก็มีกลาวถึงพระพุทธเจาทรง ตอบปญหาใหแกพวกเทวดาที่เขาเฝาในชวงดึก ซึ่งถือเปนพุทธ จริยาที่ทรงจัดเวลาตอบปญหาใหแกพวกเทวดา นี่ก็เปนคําตอบ ที่เปนหลักฐานจากเหตุการณครั้งพุทธกาล หรือกอนหนานั้น อยางพระนางเจาสิริมหามายาองคพระพุทธมารดา ก็ไดรับการ ทูลเชิญจากสรวงสวรรคชั้นดุสิตมาอุบัติในราชตระกูลโมริยะ พระมหาโพธิสัตวก็ไดรับการทูลเชิญมาจากสวรรคชั้นดุสิต มาปฏิสนธิในพระครรภของพระนางเจาสิรมิ หามายา ทานทัง้ สองนี้ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๗๙


ก็ถือวามาจากเทพชั้นสูงมาอุบัติในโลกมนุษยเพื่อทําหนาที่ อันสูงสุดคนละอยางกัน (“ทานพอพุทธทาสไดใหความเห็นวา การตอบปญหาเทวดา นาจะเปนปญหาของบรรดากษัตริยท ที่ รงพระราชกิจตอนกลางวัน ยามคํ่าคืนจึงไดมาเฝาพระพุทธเจาเพื่อทูลถามปญหา”) สวนเทวาอารักษ โดยทั่วไปก็จะมีกายอันเปนทิพย สถิต อยูใ นทีต่ า งๆ บางก็สถิตอยูเ ปนรุกขเทวดาอยูต ามตนไม ตามเคหสถาน บานเรือน อภิบาลคุม ครองผูป ระกอบคุณงามความดี ผูทจี่ ะสัมผัส ไดกต็ อ เมือ่ มีเหตุการณคบั ขันบาง มีเหตุการณทนี่ า ยินดีนา อนุโมทนา สาธุการบางก็จะมีประสบการณเฉพาะตนหรือหมูคณะนั้นๆ ไมเปนที่สาธารณะโดยทั่วไป ดุจคนเราที่มคี วามเห็นอกเห็นใจกัน เสียสละทุมเทใจใหกนั และกันนัน้ ก็เฉพาะคนและหมูคณะเทานัน้ มิใชเปนการทั่วไป แตทพี่ ระพุทธองคทรงตรัสไวถงึ คุณธรรมทีท่ าํ คนใหเปนเทวดา เรียกวา “เทวธรรม” ไว ๒ ประการ คือ หิริ ความละอายใจตอการกระทําบาปกรรมตํ่าชาทั้งหลาย โอตตัปปะ ความเกรงกลัว สะดุงตอการทีจ่ ะประกอบกรรม ทําชั่วทั้งในที่ลับและในที่แจง ขออนุญาตถามปญหาสุดท้าย วาคนเราไดบรรลุถึง พระนิพพาน ไมมีความโลภ ความโกรธ ความลุมหลง ไมยึดถือ สิง่ ใดๆ แลวจะทําใหเปนผูเ ฉือ่ ยชาเพิกเฉยและจะไมประกอบกรรม ทําอะไรเลยใชหรือไม ๘๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตอบ เรื่องนี้ตองขออนุญาตยกเอาเหตุการณสําคัญของ พระพุทธองคมาเปนคําตอบ เพื่อใหไดเห็นภาพคําตอบชัดเจน ที่จะเปนสื่อสูความหมายคําวาการบรรลุถึงนิพพาน เมื่อรุงอรุณ ของการตรัสรูว นั เพ็ญวิสาขมาส ขณะทีท่ รงพระชนมายุ ๓๕ พรรษา หลังจากนั้นพระพุทธองคก็ไดทรงจาริกภิกขาจารประกาศ ทางแหงพระนิพพานแกชาวโลกทุกหมูเหลา บางครั้งก็เจอ ผูไ มปรารถนาดี พยายามใสรา ยปายสีพระองคนานัปการ อยางเชน พระเทวทัตซึ่งเปนพระสาวกทั้งเปนพระญาติที่ใกลชิด พยายาม ทําลายสงฆใหแตกแยกกัน พยายามที่จะฆาพระพุทธองค ก็หลายครั้ง แตดวยพระทัยที่เปยมดวยคุณธรรม มโนธรรม อันไมมปี ระมาณ จิตของพระองคถงึ นิพพาน จึงไมมคี วามอาฆาต พยาบาทถึงขนาดทรงตรัสวา “เรารักราหุลราชโอรสของเราอยางไร เราก็มีความรักความเมตตาตอพระเทวทัตฉันนั้น” และทรงมี พุทธพยากรณไวอีกวา “ในอนาคตกาลขางหนา พระเทวทัตก็จะ ไดบรรลุเปนพระปจเจกพุทธเจาองคหนึ่ง” อีกเหตุการณหนึ่ง เมื่อนางจิญจมาณวิกาผูเปนสาวกของ พวกเดียรถีย ก็พยายามทําลายพระพุทธองคทําอุบายดวย มารยาหญิงสรางสถานการณเหมือนกับวาเปนผูใกลชิดเขาออก พระเชตวนาราม แลวทําเพทุบายเหมือนวาไดมีครรภตั้งทอง กับพระพุทธองค หาวัสดุมาทับทองใหเหมือนกับหญิงมีครรภแก แลวชี้หนาเตนผางๆ ใสรายพระพุทธองคใหเกิดความเสียหาย ทามกลางบริษัท พระพุทธองคก็ทรงนิ่ง จนผูคนสังคมในสมัยนั้น อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๘๑


คลอยตาม ทําใหศรัทธาสาธุชนคลายความเคารพนับถือ พระพุทธองคและพระสาวก จนการดํารงชีพเปนอยูลําบาก ตามๆ กัน พระพุทธองคยงั คงสงบนิง่ ไมมพี ระทัยหวัน่ วิตกทุกขรอ น จนความจริงเปดเผยขึ้นมาเอง ก็ตองใชความอดทนดวย พระราชหฤทัยที่เปยมดวยเมตตาธรรม ใชเวลาเปนเครื่องพิสูจน ความจริงใหเห็น จากเรื่องการใหรายก็กลายเปนใหผลดี ผูคน ก็ไดเห็นถึงนํา้ พระราชหฤทัยของพระพุทธองคมคี วามนิง่ เปนหนึง่ เดียวคือนิพพานสงบเยือกเย็นและบริสุทธิ์ โดยสวนตัวก็มีประสบการณที่จะเปนคําตอบตอปญหานี้ คือครัง้ เมือ่ ไดอยูพ าํ นักในสํานักพระอาจารยผเู ฒา ไดเห็นสามเณร คูหนึ่งที่สะทอนภาพแหงนิพพานใหเห็นชัดเจนมาก สามเณร รุนนองพยายามที่จะกลั่นแกลงทุบตีสามเณรรุนพี่อยูเนืองๆ แต สามเณรรุนพี่ไมมีปฏิกิริยาตอบโต ปลอยใหสามเณรรุนนองผูนั้น ทุบตีดวยสันมือลงที่ทายทอยอยางจัง แถมยังชี้หนาสามเณร รุนพี่เหมือนกับมีความอาฆาตพยาบาทกันมาเปนรอยวันพันป ดาวา “มึงเปนศัตรูของกูนะ!” สังเกตเห็นวาสามเณรรุนพี่ก็ไมมี สีหนาอาการโกรธเคียดแคน บางทีอาจารยผูเฒาเจอเหตุการณ โดยบังเอิญถึงกับอุทานออกมาวา “สามเณรองคนเี้ ทวดาเห็นแลว ตองยอมกราบไหว” มีอยูวนั หนึง่ ขณะบิณฑบาตดวยกันสามเณรรุนพีเ่ ดินนําหนา ในชวงทางเปลี่ยวระหวางหมูบาน สามเณรรุนนองคิดอะไรขึ้นมา ก็ไมรู ไปหยิบกอนหินขนาดยอมมากําแนน แลวทุบที่หัวจนแตก ๘๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เลือดไหลอาบจีวร สังเกตเห็นสามเณรรุน พีไ่ มมแี มแตจะเหลียวหลัง มาถามวาทุบหัวฉันเพราะเหตุอะไร คงเดินสงบสํารวมเขาไป บิณฑบาตในหมูบาน ไมมีเรื่องทะเลาะเบาะแวงกันเกิดขึ้นเลย ภาพใบหนาอันสงบ สํารวมของสามเณรรุนพี่ดูเปยมดวยเมตตา ตอสามเณรรุนนองอีกตางหาก ภายหลังมารวม ๒๐ ป ไดเจอ สามเณรทัง้ สองไดอปุ สมบทเปนพระภิกษุไดแยกยายไปอยูคนละ สํานักและไดมาพบปะกันอีก ภาพเปลี่ยนไปของพระทั้งสองรูป เหมือนกับเปนพี่นองมีความรัก ความผูกพันกันมายาวนานถึง ปจจุบันนี้ นี่คือคําตอบจากเรื่องจริง เหตุการณจริงของผูที่มีจิตใจ ที่นอมเอาพระนิพพาน เปนวิถีทางแหงชีวิตก็จะอยูบนสังคมโลก นี้อยางสงบรมเย็น ทามกลางเหตุการณหลากหลาย ไดตอบขอกังขาใหทานทั้งหลายหายของใจในปญหา ที่ทานไดถามมา หวังวาทุกคําถามและทุกคําตอบนาจะ เปนการจุดประกายหัวใจ สูทางพระนิพพานของเราทานทุกคน ใหไดรับอานิสงสที่ไดพบพระพุทธศาสนา ตามความมุงหมาย ของพระพุทธองคที่จะเปนที่พึ่งเกื้อกูลประโยชนสุขแกชาวโลก ตามสมควร จึงขออนุญาตยุติการอบรม เพื่อเราทานทั้งหลาย จะไดพักผอน และมีกําลังที่จะทําความเพียรในโอกาสตอไป ขอขอบคุ ณ และอนุ โ มทนาในความสมั ค รสมานสามั ค คี พรอมเพรียงของหมูคณะโดยทั่วกัน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๘๓


๘๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลักปฏิบัติในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล

พุทธสถานวัดพระธาตุแสงแก้วมงคลถือปฏิบัติตาม

หลักอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการซึ่งเปนทั้งขอบัญญัติ เปนทั้ง วิถที างปฏิบตั ธิ รรมทีพ่ ระพุทธองคไดทรงประทานใหแกพระสาวก ทัง้ ทีเ่ ปนบรรพชิตและฆราวาส ใหถอื เอาเปนนิสยั เปนหัวใจในการ ดํารงชีวติ ดําเนินสูวถิ ที างทีจ่ ะเกือ้ กูลประโยชนตนเอง เกือ้ กูลการ อยูรวมกันกับผูอื่นรวมทั้งสังคมโลกใหเปนไป ผสานกลมกลืน กับหลักแหงสัจธรรมตามกฎกลไกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน กับธรรมชาติ ทัง้ หมดมี ๘ ขอ คือ ๑. ความเห็นชอบ ๒. ความดำาริชอบ ๓. การพูดจาชอบ ๔. การทำางานชอบ ๕. การมีอาชีพชอบ ๖. ความเพียรชอบ ๗. การมีสติชอบ ๘. ความตัง้ ใจมัน่ ชอบ ซึ่งทั้งหมดถือวาเปนตัวจักรธรรมหมุนนําวิถีชีวิตสูความสุข ความสงบ ความรมเย็น และความเจริญรุงเรืองของชีวิต อริยมรรคมีองค ๘ ประการนี้ ถือวาเปนตัวจักรขับเคลื่อน ทัง้ ชีวติ ผูประพฤติพรหมจรรยและผูอยูในฆราวาสวิสยั เหมาะสม กับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น และสามารถนําไปปฏิบัติ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๘๕


ใหเกิดผลไดไมจํากัดกาลเวลาโดยจะขอนํามากลาวเปนแนวทาง แกสมั มาปฏิบตั เิ จริญรอยตามบาทพระพุทธองค เปนองคประกอบ สําหรับพืน้ ฐานชีวติ โดยมีจกั รแหงอริยมรรคเปนตัวขับเคลือ่ นดังนี้ ๑. ความเห็นชอบ การรอบรู้ในอริยสัจทั้ง ๔ ประการ ๑.๑ รูความจริงของความทุกขวา เปนภยันตราย อันใหญหลวง เปนพิษภัยแตก็เปนสัจธรรมที่โดดเดนที่สุดสูบท พิสจู นทาทายไดอยางยอดเยีย่ มใหคนหาความจริงทีซ่ อนอยูในนัน่ ๑.๒ รูบอเกิดปญหาแหงความทุกข คืออุปาทาน ความยึดมั่น ถือมั่น ดวยกิเลส ตัณหา ราคะ ความโลภ โกรธ หลง เปนสมุฏฐานปญหาทั้งปวง ๑.๓ รูแจงสภาพแหงความดับไปแหงความทุกข ดับการปรุงแตงของสังขารสรรพสิ่งและปญหาสารพัดจะตอง มีความดับเปนสภาพ ๑.๔ รูวิถีทางดําเนินชีวิตใหผสานลงตัวไมสุดโตง ไปในขั้วหนึ่งขั้วใดจนเกินไป ใหการดําเนินชีวิตสูทางสายกลาง จะทําใหไมตองตึงเครียด ไมหมกมุนหมกจมปลักอยูกับปญหา ยึดติดในอารมณใด ๆ (ขอ ๑-๔ มีความหมายครอบคลุมทุกทาง ของมรรคทั้ง ๘ ประการ) ๒. ความดำาริชอบ ๒.๑ การดําริออกจากกาม คือไมหลงยึดติดในรสอรอย ของโลก ไมหลงติดเปนเหยื่อของโลกียรส จิตใจก็จะเขมแข็ง ๘๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


มีสมรรถนะ ไมตกเปนทาสของอารมณใคร อารมณอยาก ทัง้ กาย และใจจะเย็นและเบาสบาย ๒.๒ ดําริในการไมเบียดเบียน ทําลาย ทําราย ไมคอย จองจับผิดไมใสรายปายสีผูอื่นทําเรื่องใหเกิดความสูญเสียใหแก ผูคนและสังคม คือการบังคับตนขมความรูสึก ไมเห็นแกตัว อุทิศตนเพื่อบําเพ็ญประโยชนแกผูอื่นและสวนรวม ๒.๓ การไมอาฆาตพยาบาท คือเมือ่ ถูกใสรา ย ถูกทําลาย ทําราย ก็มิไดถือโทษ มิไดโกรธตอบ มิไดผูกเวร ผูกกรรม มิไดคิด อาฆาตพยาบาท เปนการฝกหัวใจใหมีความหนักแนน ไมหวั่นไหว ตอการกระทบเสียดสี ถึงจะไดรับความเจ็บปวด ไดรับการกระทบ กระเทือนอยางกาวราวรุนแรงเพียงไร ก็อยาไดคดิ รายตอบ ยอมรับ ความเจ็บปวดทัง้ กายและใจดวยจิตมัน่ ดวยขันติธรรม การใหอภัย รักษาสภาพปกติแหงจิตใจดวยเมตตา ปรารถนาดีตอผูคนประดุจ ผืนแผนดินใหญที่รองรับสรรพสิ่งมิไดรังเกียจเดียดฉันท ทั้งสิ่งดี และเลวรายประการใด ๓. พูดจาชอบ ๓.๑ ไมกลาวคําเท็จโกหกมายาสาไถย เพือ่ หลอกลวง ผูอนื่ จะกลาวแตถอยคําทีเ่ ปนสัจจะวาจาผสานประโยชนตนและ ประโยชนผูอื่น ใหเกิดความเคารพนาเชื่อถือ ๓.๒ ไมกลาวถอยคําเสียดสี กระทบกระแทก ถอยคํา รุนแรง ใหเปนที่เจ็บชํ้านํ้าใจของผูอื่น จะกลาวแตถอยคําที่เปน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๘๗


ภาษิตคติธรรม ใหกําลังใจสงเสริมเพิ่มพูนความรูชี้แนะชี้นํา บาปบุญคุณโทษ สิ่งที่เปนประโยชนใหเกิดความเกื้อกูลแก กันและกัน ๓.๓ ไมกลาวคําหยาบชาวาจาสามหาว กาวราว ถอยคํา อันรุนแรง จะกลาวแตถอยคําที่เปนปยวาจา สุภาพออนหวาน ดวยมารยาทอันงดงามเปยมดวยเมตตาและไมตรีจิต ๓.๔ ไมกลาวเพอเจอ พูดพลาม ตลกคะนอง พูดไรสาระ ถอยคําที่เปนอัปมงคล คําอุจาด ลามก อนาจาร ถอยคําสัปดน ไมเปนคนพูดมาก ไมนินทาวารายผูอื่น จะตองเปนผูพูดนอย แตตองตั้งใจฟงในสิ่งที่เปนสาระใหมากๆ ตองหนักแนนมั่นคง รูจักสงวนถอยคําที่เหมาะแกกาลเทศะ ๔. การงานชอบ ๔.๑ เวนจากการฆา การทําลาย การประทุษราย การเบียดเบียน สรางความทุกขยากลําบาก ปญหาแกตนและ ผูอ นื่ สรางความทุกขยาก เจ็บปวด เดือดรอนแกสงั คมโลก จะตองมี อัธยาศัย เมตตา อารี เอื้ออาทรประโยชนตนและผูอื่นตลอด สังคมโลกโดยไมมีประมาณ ๔.๒ เวนจากการลักทรัพย ฉอฉล คดโกง ลอลวง ละโมบโลภมาก โลภลนพนประมาณ โดยไมคาํ นึงถึงความเสียหาย ถึงภัยพิบัติ อันจะเกิดขึ้นแกตนและผูอื่น ตลอดจนถึงสังคม จะตองเปนผูที่มี ความขยัน อดทน อดออม รูจักประมาณตน และเกื้อกูลประโยชนสุขตอผูอื่นถึงสังคมโลก ๘๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


๔.๓ เวนจากการประพฤติผดิ ลวงละเมิดกามคุณ นอกใจ ในสามี–ภรรยาของตน ไมเปนผูมักมากสําสอนในกามคุณจน หนามืดตามัวมองไมเห็นความผิดประเวณี ศีลธรรมอันดีงาม ทําให เกิดความเดือดรอนเสียหาย ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต ทําให ชีวิตครอบครัวเดือดรอน ปนปวน บานแตกสาแหรกขาด จะตอง เปนผูที่อดทนขมจิตใจมิใหหลงยินดีในรสอรอยแหงกามคุณ เห็นคุณของการอดกลั้นบังคับใจในเรื่องของกิเลสกาม เปนทาง สงบสุขของหัวใจ เพราะสุขอื่นหมื่นแสนไมมาตรแมนความสงบ ๕. การประกอบอาชีพชอบ ๕.๑ ไมประกอบอาชีพทุจริต ผิดกฎหมาย ผิดศีลธรรม ผิดพระวินัย ลอลวง มอมเมา หวานลอมหวังผลประโยชนที่ไดมา โดยมิชอบ ไมละโมบโลภมากรีดนาทาเรน ปลิ้นปลอน หลอกลวง ตลอดถึงการตอรองเลนการพนันทุกชนิด ซึ่งเปนทางแหง ความเสื่อมเสีย ๕.๒ การประกอบสัมมาอาชีพ ซื่อสัตยสุจริตตอ หนาที่การงาน จะตองมีอัธยาศัยไมตรี ซื่อตรงตอผูคนสมาคม ทีจ่ ะตองรวมกิจการงาน ตองมีจติ ใจงดงามกวางขวางไมเห็นแกตวั เอื้อสิ่งที่เปนคุณประโยชนแกกันและกัน เผื่อแผผลประโยชนสุข ตอเพื่อนรวมสังคมโลก ๖. ความเพียรพยายามชอบ ๖.๑ จะตองพยายามสํารวจตรวจสอบเห็นโทษบาปกรรม ความชั่วทั้งหลาย ความเลวราย ประพฤติตํ่าทราม ความรุนแรง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๘๙


ทิฐิมานะ ความกระดางแข็ง ความเยอหยิ่งจองหอง ความลบหลู บุญคุณ ประพฤติกรรมทีน่ า ขยะแขยง เปนเสีย้ นหนาม เปนอันตราย ตอความสงบสุข ๖.๒ ปลูกสรางจิตสํานึกอันดีงามใหเกิดขึ้น เมื่อได ประพฤติตนผิดพลาด เสือ่ มเสีย จงกระตุนเตือนตนเองใหตนื่ จาก ความลุมหลงมัวเมา กลับจิตใจสูมโนธรรมพยุงตนออกจาก ความชั่วราย เลวทรามตํ่าชา ใหพัฒนาปรับปรุงฟนฟูชีวิตจิตใจ ดวยความสํานึกผิด พระพุทธองคทรงสรรเสริญ ผูสํานึกผิด กลับปฏิบัติชอบวา ผูนั้นเปนบัณฑิตแท ๖.๓ ใหมองเห็นกุศลคุณงามความดี คุณคาของชีวิต โอกาส วันเวลาที่จะเพิ่มพูนทักษะ คุณคา คุณธรรม เพิ่มพูนใหมี บริบูรณ แลวเราทานทั้งหลายจะไดรับคุณประโยชน อานิสงส อันไพศาลของชีวิตที่ไดดําเนินสูสิ่งที่ดีงาม เอื้อประโยชนสุข แกเพื่อนรวมโลก ๖.๔ ดํารงตนดวยคุณธรรมใหมั่นคง ไมประมาท หลงลืมตน รักษาคุณธรรมมโนธรรมเสมอดวยชีวติ ดุจออยแมจะ โดนตัดโดนบีบ ก็ยังคงรักษาความหอมหวานเอาไวได ดุจบัณฑิต จะโดนกระทบกระแทกทําลาย ทําราย หรือจะไดรบั การสรรเสริญ เยินยอ ยกยอง ก็มิไดหวั่นไหว ๗. มีสติระลึกชอบ ๗.๑ ใหหมัน่ พิจารณากายในอาการ ๓๒ มี เกศา โลมา เปนตน ใหเห็นวาเปนของไมงาม มีโรคภัยคอยเบียดเบียนอยูราํ่ ไป ๙๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตองคอยดูแลรักษาบํารุง เปนบอเกิดของมูตรคูถและเชื้อโรค นาเบื่อหนาย ไมนายินดี ไมนาหลงใหลพอใจ ๗.๒ พิจารณาเวทนาที่เปนความสุขและความทุกข ความนายินดี พอใจและไมนายินดีพอใจ ความรูสกึ รับรูใน รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ วาเปนของไมเที่ยง เปนทุกข ตองทนทรมานโดยเปลาประโยชนและจะยึดถือสําคัญมั่นหมาย เอามาเปนอารมณมิได เพราะมันไรตัวตน ๗.๓ พิจารณาใหเห็นจิตที่ปรุงแตง ยึดมั่นถือมั่นสิ่ง ทั้งปวงวาเปนตัวเรา ตัวเขา ของเรา ของเขา จิตยึดมั่นสําคัญผิด ในสมมุติฐานสิ่งตางๆ วาเปนนั่นเปนนี่นานาประการ แยกแยะ วานั่นเปนนั่นนี่เปนนี่ ที่แทมาจากบอเกิดแหงจิตที่คิดปรุงแตงขึ้น มาเอง ถาหยุดคิดปรุงแตงจิตก็วาง สรรพสิ่งก็มีคาเสมอกันคือ สุญตา อนัตตา อันเปนหลักสามัญลักษณะแหงสากล ๗.๔ พิจารณาใหเห็นสัจธรรมแหงไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ความเกิด แก เจ็บ ตาย ความเกิดดับที่ปรากฏอยู โดยทั่วไป โดยมีสติปญญาพิจารณาโดยแยบยล เห็นสภาวธรรม ทั้งหลายตามความเปนจริงอยูเนืองๆ อยางสมํ่าเสมอ จากการมีสติระลึกชอบในกาย เวทนา จิต ธรรม ก็จะบรรเทา ดับไฟกิเลสกระแสตัณหา ถอนทิฐิมานะ ความยินดี พอใจและ ความไมนาพอใจในโลกออกเสียได เปนอุบายวิธีดําเนินชีวิตที่ ไมใหขอ งและยึดติดสิง่ ใดๆ ในโลกสลัดทุกพันธนาการทีห่ ลงงมงาย ใหหมดสิ้นไป อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๙๑


๘. ความมีสมาธิตั้งใจมั่นชอบ ตั้งใจมุงมั่นระงับความยินดีพอใจความเอร็ดอรอยแหง โลกียรส ทีน่ าํ มาซึง่ ความนายินดี พอใจ การบังคับจิตใจมิใหฟงุ ซาน ดวยสิ่งอกุศลความไมดีทั้งหลาย เปนผูมีวิจารณญาณยินดีพอใจ ในสถานที่อันวิเวก ปราศจากความวาวุน ไมยุงเกี่ยวกับสังคม อันวุนวาย แลวจงพยายามระงับ ดับความวิตกกังวล ตัดความ อาลัยอาวรณในสิ่งทั้งหลาย จงฝกทําจิตใจใหบริสุทธิ์ผองใส ดวยสมาธิธรรมมีใจเปนหนึ่ง อันเปนอานิสงสของความมุงมั่น ตั้งใจชอบ อนึ่งจงคลายความรูสึกปติยินดี อิ่มใจ จงยินดีอยูใน อุเบกขาธรรมอันประกอบดวย สติ สัมปชัญญะ ซึ่งพระอริยเจา ทั้งหลายกลาวสรรเสริญผูนั้นวา เปนผูอยูดวยอุเบกขา มีสติอยู เปนปกติสุข เพราะไมติดในความสุข ไมของแวะในความทุกข ๙๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ดับความรูสึกที่นายินดีและไมนายินดี เปนผูไมของแวะยึดถือ สิ่งใดๆ ในโลก คือความมีใจเปนสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ ทําที่สุดแหง ทุกขใหสิ้นสุดคือ ความสงบ ความระงับ ความดับ ความเย็น คือ นิพพาน อันเปนเปาหมายสูงสุดของชีวิต สมดัง่ ทีพ่ ระพุทธองคทรงตรัสกับสุภทั ทปริพาชกสาวกองค สุดทาย เมื่อใกลดับขันธปรินิพพานวา “อริยมรรค มีองค ๘ เปนไปในธรรมวินัยยอมยังบุคคลใหไดอานิสงส แหงอริยบุคคล ภิกษุพึงอยูโดยชอบไซร โลกจะไมวางจากพระอรหันตดังนี้” (ความสงบรมเย็นในโลกยอมมีตราบนั้น) ทานอาจจะตั้งคําถามขึ้นมาอีกวา องคแหงอริยมรรคมีตั้ง ๘ ขอ ในแตละขอก็มีขอปลีกยอยอีกมากมายจะใหปฏิบัติตน อยางไรใหครบทั้งหมดได ปญหานี้ก็ขอเปรียบเทียบในเสนทาง วิถีชีวิตกิจวัตรประจําวันของทานทั้งหลายที่มีกันอยูมากมาย จะตองไปทางโนนบาง ทางนีบ้ าง ทําโนนบาง ทํานีบ่ าง ก็ใชวาทาน จะตองเดินในเสนทางในทุกสายในคราวเดียวก็หามิได ตั้งแตตื่นมานอนคิดอยูในที่นอน ลุกมาลางหนาลางตา ทํากิจวัตรสวนตัว ทําหนาที่การงานในแตละจุด ถาทานยอนดู ใหดีมันจะเปนจังหวะเชื่อมโยงความจําเปนที่มี ความสัมพันธ ลงตัวของมันเอง หรืออาหารที่เราบริโภคแตละมื้อ แตละวัน ก็จะเห็นความสัมพันธของการโภชนาการ เริ่มตั้งแตคนปลูก คนปรุง การนํามาตั้งวางไวบนโตะอาหารและอาหารจะมากมาย หลายอยาง การที่จะเลือกกินอาหารแตละอยาง แตละคําและ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๙๓


ความจําเปนขนาดไหน การบริโภคอาหารเขาทางปาก มีการ ขบเคี้ยว มีความสัมพันธกันทางลิ้นรับรส การเคี้ยว การบด การกลืนลงสูกระเพาะอาหาร และสงผานจากการกลั่นกรอง เปนขบวนการภายใน เปนกลไกโดยธรรมชาติจนเกิดพลังงาน เกิดภูมิตานทาน เกิดการเสริมสราง และการเผาผลาญในตัว อันนี้ก็ลวนแตเปนกระบวนการแหงความสัมพันธแหงวิถีชีวิต โดยหลักธรรมชาติ จักรแหงธรรมคือองคแหงอริยมรรค ทีจ่ ะตอง มีความสัมพันธเสริมสราง จิตตานุภาพ สูญ  าณทัศนะ สูค วามสงบสุข สูนิพพาน ก็ฉันนั้น ถาเกิดความสงสัยขึน้ มาอีกวา ทําไมคนเราถึงตองดําเนินชีวติ ที่ผิดพลาด ทําไมจึงเกิดความวาวุนสับสน จนหาทางออกใหแก ชีวิตจนแทบไมได มีปญหาเกี่ยวกับชีวิตมากมาย ตั้งแตวัยเด็ก วัยหนุมสาว การครองเรือน การทํางาน ปญหาอันเกิดจากพิษภัย อันรายกาจจากความละโมบ จากตัณหาราคะ จากความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทรุนแรง ความลุมหลงยึดติดทิฐมิ านะ ถือตัว ทะนงตน หลงงมงายอยูในอํานาจราชศักดิ์ หลงยึดติดอยูใน โลกธรรมจนวาวุนเปนหมอกควัน เปนฝาปดบังดวงตาตลอดถึง ความหวาดกลัวความเจ็บปวยและความตาย และเลยเถิดไปถึง การทํารายกันจนเปนกลียคุ เปนสงครามในประเทศและสงครามโลก จนเปนเสียงกองไปทั่วโลก ตองครํ่าครวญโอดรองวา ที่นี่วุนวาย หนอ! ทีน่ ขี่ ดั ของหนอ! แตพระกระแสเสียงจากพุทธองคจะขานรับ เปนคําเชือ้ เชิญสูทางแหงพระนิพพานเปนความสงบเย็นวา ทีน่ ไี่ ม วุนวาย! ทีน่ ไี่ มขดั ของ! ทานทัง้ หลายจงกาวมาเถิด จงดําเนินตาม ๙๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


รอยพระบาทองคพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาทานจะเห็น โลกนี้วางและสงบเย็นที่สุดเปนความจริงของชีวิตไมจํากัดบุคคล ไมจํากัดเวลา ตราบใดที่มีการมองทะลุปรุโปรงผานมานแหง กาลเวลาสิ่งสมมุติ ภาพลวงตา แลวจะมองเห็นสัจธรรมของชีวิต และโลกเปนของวาง ปราศจากตัวตนจนความลุมหลงมัวเมา ความอิจฉาตารอน จะปลาสนาการไปจนหมดสิ้นโดยปริยาย จะปรากฏเปนความสะอาดบริสุทธิ์สดชื่นเบิกบานของชีวิต จิตใจอันเปยมดวยเมตตาการุณยเปดใจกวางอยูเสมอ ในทัศนะของพระพุทธเจา พระองคทานทรงมีญาณหยั่งรู ถึงอุปนิสัยของสัตวโลกวามี ๔ เหลา สติ ปญญา วาสนา บารมี ของแตละคนยอมแตกตางกันประดุจดังดอกบัว ๔ เหลา ปญหา ทุกปญหาดังที่กลาวมาทั้งหมด พระพุทธองคก็ใชหลักพิจารณา โดยมองใหเห็นแจมแจงโดยหลักอริยสัจ ๔ ซึ่งมีจุดเริ่มตนที่ การมองใหเห็นสัจธรรมของความทุกขโทษภัยภยันตรายทั้งปวง โดยการมองปญหาแหงความทุกข เปนเหตุปจจัยบอเกิดพลัง ที่จะจุดประกายใหเกิดแสงสวางทางพุทธิปญญาตามหลักแหง อริยสัจ ๔ ใหมองเห็นทุกขโทษภัยภยันตราย ของสังขารธรรม ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรมนํามาเปนปจจัยหลอมรวมพลัง เปนภูมิคุมกัน เพราะตัวความทุกขทุกประการก็คือ ตัวสัจธรรม ที่เปนกุญแจแหงชีวิต สําหรับเปดประตูใจใหพบความแจมแจง ความสวางไสว นําเราผานพนหมอกมานอวิชชา ความลุมหลง มัวเมาความยึดถือ โดยประการตางๆ นี้ยอมแสดงใหเห็นทัศนะ อันเยีย่ มยอดไดชดั เจนวาพระพุทธเจามีสายพระเนตรอันแหลมคม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๙๕


ละเอียดลึกซึง้ ทีเ่ ปนตนแบบของรีไซเคิล (Recycle) ชัน้ ยอดในการ เอาสิง่ ทีไ่ รคาไรสาระและเปนตัวปญหามาจุดประกายแหงปญญา ใหเกิดความสวางไสว จนเปนผลกอเกิดประโยชนสุขสงบตอมวล มนุษยชาติอยางมหาศาลมาจนตราบทุกวันนี้ เพราะฉะนัน้ จึงถือไดวา ปญหาทุกปญหา อุปสรรคใหญนอ ย ทั้งหลาย ความยุงยากสับสนทั้งปวง นั้นเปนโจทยชั้นเยี่ยมยอด คือบทพิสจู นทจี่ ะทําใหเราสอบผานไดหรือไม ประดุจบุคคลชัน้ เลิศ ทีพ่ ระพุทธองคสามารถจะโปรดได นีค่ อื คําตอบวาปญหาทุกปญหา แมพระพุทธองคกไ็ มสามารถจะทรงโปรดไดทกุ คน หรือสัจธรรม ของพระพุทธองคใชจะเยียวยาผูคนใหพนจากความลุมหลง ไดทั้งหมด ถึงกระนั้นก็เปนสิ่งที่ยืนยันตลอดกาลวา สัจธรรมของ พระพุทธองค เหมาะสําหรับทุกคน ทุกกาลเวลา ทุกยุค ทุกสมัย และก็เปนเรือ่ งรูไดเฉพาะตน อีกทัง้ เมือ่ รูประจักษแจงแลว ก็ใชวา จะเปนเรือ่ งโฆษณาปาวรอง เหมือนกับสรรพคุณของสินคา เหมือน กับการโฆษณาทั้งหลายในโลกนี้ ทานจึงกลาวไววา ถาดื่มดํ่า ซาบซึง้ ในธรรมแลว ไมสามารถจะสรรหาถอยคําใด ๆ มาบรรยาย หรือบันทึกเปนอักษรขึ้นมาได ทําไมหรือ...? เพราะไมมีอะไรให ยืดถือเชน พระพุทธองคตรัสวา “ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นชื่อวาเห็น เราตถาคต ผูใดเห็นเราตถาคต ผูนั้นชื่อวาเห็นธรรม แมนผูนั้น จะจับชายจีวรของเราตถาคตอยูก็ตาม ถาไมมีความแจมแจง ในธรรมแลว ผูนนั้ หาชือ่ วาเห็นเราตถาคตไม” ทัง้ นีเ้ พราะพระองค มิไดสําคัญพระองควาเปนตัวตนที่มองเห็นไดดวยอายตนะ สิ่งที่ มองเห็นสัมผัสไดดวยอายตนะ พระองคตรัสยํา้ เสมอวาเปน อนิจจัง ๙๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทุกขัง อนัตตา คือหลักสัจธรรมสากล ไมมีบุคคล ตัวตน คนสัตว สรรพสิง่ เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ ไมใชอะไรใดๆ ทัง้ สิน้ แมโลก พระอาทิตย พระจันทร ผูคน บานเมืองเวียงวัง ลวนแตเปนเพียง สมมุตฐิ าน สรรพสิง่ เปนอนิจจังและอนัตตา เพราะฉะนัน้ พระอริยเจา ทั้งหลายจึงเปนผูสงบ เปนผูนิ่งอยู ไมหวั่นไหวตอสิ่งใดๆ ในโลก ไมวาอะไรจะเกิดขึ้น หรือเสื่อมสลาย สวนการประพฤติธรรม เราควรปฏิบตั ธิ รรมเจริญจิตอยางไร ที่จะนําเราสูสัมมาปฏิบัติ ขอนี้พระพุทธองคทรงชี้ใหมองเห็น “ชีวิตและโลกวาเปนของวาง” หรือ “เจริญจิตอยูในสุญตาวิหาร ธรรมอยูเปนนิจ พญามัจจุราชหรือภัยภยันตรายทั้งปวงก็ไมมา ยํ่ากรายได” พุทธองคทรงประทานสุญตาวิหารธรรมเปนเครื่อง อยูแหงจิต ที่จะทําใหผานบทพิสูจนสิ่งทาทายปญหา อุปสรรค ความทุกขยาก ภัยมารนานาประการ เปนพลังบารมีเสริมสงสู ความหลุดพน ดุจชาวนาที่ฉลาดเอาขยะใบไมใบหญานานาชนิด มูลสัตวที่ใครๆ ก็ขยะแขยง สกปรก รกรุงรัง นํามาตากใหแหง หมักใหเปนปุย ถึงแมวากลิ่นมันจะแรงและสกปรก รกรุงรัง แปด เปอนก็อาศัยความอดกลั้นอดทน และความฉลาดทางชีวภาพให เกิดผลผลิตทีง่ อกงามเปนขาวกลาพืชพันธุธ ญ ั ญาหารใหววิ ฒ ั นาการ เจริญสมบูรณเปนอาหารของคนทั้งโลกฉันใด พระพุทธเจาและ พระอริยเจาทั้งหลายก็ไดมองเห็นสัจธรรมแหงความทุกขและ ปญหาทั้งปวง เปนบทพิจารณากรรมฐาน เกิดวิปสสนาญาณ บรรลุมรรคผลนิพพาน เปนเนื้อนาบุญของชาวโลกฉันนั้น อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๙๗


๙๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทําไมตองมีศาสนา ?

ทําไมต้องมีศาสนา? ในเมื่อมีชีวิต ความจําเปนจะตองมี

ความรูมีวิชาชีพ มีปจจัยเงินทอง และเครื่องดํารงชีพ แตใน หวงลึกของชีวิตก็คือจิตใจที่เปนใหญ เปนประธานเปนศูนยรวม ขอมูลทุกสวนของชีวิต ที่สําคัญคือจิตใจเปนสิ่งจับตองไมได มันเปนสิ่งละเอียดบริสุทธิ์ไรรูปพรรณสัณฐาน แตสรรพสิ่งก็ถูก ขับเคลื่อนออกจากจิตใจจนเปนสายธารแหงชีวิต เพราะจิตใจ เปนกระแสคลื่นเปนพลังงานอันมหาศาล จะสรางหรือทําลาย ขึ้นอยูกับสภาพจิตที่ไดรับการบมเพาะมา เชน อาจจุดประกาย ใหชีวิตรุมรอนเผาผลาญเสียความสมดุลของรางกายใหไดรับ ความเจ็บปวยทรมาน รวมทั้งกระทบถึงสังคมจนขยายวงกวาง เกิดเรื่องเดือดรอนทําลายลางผลาญซึ่งกันและกันถึงขนาด เปนกลียคุ ระสํา่ ระสายพากันตกทุกขไดยากกันทัว่ หนา อันเปนผล จากการเติมใสเชื้อไฟแหงความละโมบโลภลนบาง ไฟแหงความ ใครความมักมากดวยราคะบาง ไฟโทสะโมโหราย ความอาฆาต พยาบาทรุนแรง เพาะเชื้อใหสุมไหมในจิตใจ ก็จะเปนอันตราย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๙๙


แผดเผาจนเกิดความสูญเสียอันใหญหลวงกระทัง่ ทําลายพลังงาน แหงชีวิตไปดวยความสลดหดหูที่สุด ที่สําคัญอยางยิ่งคือความวิเศษสุดยอดธรรมชาติของจิตใจ เปนสิ่งเบาบางละเอียดบริสุทธิ์ มีความงดงามเบงบานอยูในตัว เปนกระแสคลื่นที่ขับเคลื่อนสรรพสิ่งจนเปนสายธารแหงชีวิต เปนพลังงานอันมหาศาล และมีความออนละมุนละไมเปยม ดวยความเมตตาการุณยบริสุทธิ์ผองใส เปนประกายแสงสวาง แหงปญญาอันไพศาล และสุขุมลุมลึกหนักแนนมั่นคงดวย ขันติธรรม อันเปนกระแสพลังจิตใจบันดาลใหชวี ติ ผองใสสงางาม มีความสุขสงบ เอื้อประโยชนสุขสูสังคมทั่วไป ซึ่งเปนอานิสงส ของการบมเพาะอุปนิสัยใสขอมูลหวานเชื้อเมล็ดพันธุแหง คุณธรรมสูจติ ใจ เปนมโนธรรมทีแ่ ผขยายไปโดยธรรมชาติ จนเปน วิถชี วี ติ และจิตใจผสมผสานสอดคลองควบคูก นั ไป เพราะสัจธรรม ความจริงสรรพสิ่งจะตองอิงอาศัยซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะ เมตตาธรรมเปนคุณลักษณะอันเลอเลิศเปนคุณสมบัติเครื่อง คํ้าจุนโลกใหอยูรมเย็นเปนสุข เมตตาธรรมและการใหอภัย ซึ่งกันและกัน คือสื่อสัมพันธผสานมวลมนุษยชาติใหเปน ผองเพื่อนกันไดทุกชนชั้นและทุกเชื้อชาติ เพราะเหตุดังกลาวมานี้ ทุกชีวิตจะตองมีอารยธรรม ตองมี ศาสนาใดศาสนาหนึง่ เพือ่ หลอเลีย้ งจิตใจใหดาํ รงชีวติ ใหเกิดความ ภาคภูมใิ จทีส่ ดุ ประทับใจจนเกิดพลังพลานุภาพใหเกิดความสงบสุข ทุกอิรยิ าบถไดอยางอัศจรรยยงิ่ ทามกลางความแปรปรวนของโลก ๑๐๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แมพิษภัยอันเกิดจากการเจ็บไขไดปวย ความเปนความตาย หรือภัยพิบัติใดๆ ก็ตามที่ทําใหเกิดอันตราย และความสูญเสีย ความพลัดพราก ความสุขความทุกข จะเปนภูมิคุมกันอัน หนักแนนมั่นคงมิใหหวั่นไหวตอแรงกระทบกระแทก นี่แหละคือ ประโยชนและอานิสงสของจิตใจอันทรงพลังสมบูรณบริบูรณที่ บงชี้ถึงความหมายของชีวิตจิตใจตองมีศาสนา เปนการบงบอก ถึงวิวฒ ั นาการสูอารยธรรมอันทรงคุณคาอยางยิง่ สําหรับมวลหมู มนุษยชาติที่จะตองมีหลักศาสนาสําหรับจรรโลงจิตใจใหมีความ สัมพันธกบั ทุกชีวติ อยางสรางสรรค และปราบพยศยามหยิง่ ผยอง เพื่อฟนฟูกําลังใจยามหดหู เพื่อเปนพลังดลใจใหฟนฝาอุปสรรค ปญหาในการอุทิศตนเสียสละทุมเทเพื่ออุดมการณทางศาสนา ในการเกื้อกูลประโยชนสุขสงบแกเพื่อนรวมโลก นี้คือขอมูลเพียงมุมมองหนึ่ง เปนความจริงที่เปนนามธรรม เกินกวาที่จะตีความจํากัดความหมายอันหยั่งลึกถึงจิตใจ ของ ทุกชีวิตที่มีความจําเปนที่จะตองมีความเกี่ยวของความมีศาสนา หรือไม เพราะคําถามและคําตอบมันมีอยูในแตละชีวิตอยูแลว หรือแมนจะมีใครอวดดีหลงตนเอง แลวเทีย่ วประกาศวา “ฉันไมมี ศาสนา ฉันไมจําเปนตองมีศาสนาก็ได” ความเห็นในลักษณะนี้ ถือวาใครจะคิดจะพูดอยางไรก็ได แตขอสําคัญคือการกระทํา อะไร การอยูรวมกับสังคมใหเปนที่ยอมรับ ถาไมมีการปรับตัวให เขากับผูอื่น ไมตองรับฟงความคิดเห็นจากใคร ไมตองพึ่งพาใคร โดยความเชือ่ มัน่ ในศักยภาพของตัวเอง นัน่ คือความโดดเดีย่ วทีส่ ดุ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๐๑


และเปนการกลาปฏิเสธทีฝ่ น ธรรมชาติ ในโลกนีม้ คี นทําไดจริงไหม? ปญหาทํานองเดียวกันนี้เกิดขึ้นทุกยุคสมัย แมในครั้งพุทธกาลก็ มีหลานชายของพระสารีบุตรชื่อฑีฆานะขะปริพาชก เปนนักบวช เล็บยาว ไดมาเฝาพระพุทธเจาเพือ่ ถามปญหา ณ ถํา้ สุกะระขาตา ระหวางทางขึ้นเขาคิชฌกูฏ ตั้งปญหาในทํานองสําคัญตน ดังที่ กลาวมาขางตนวา “ขาพเจาถือวาตนไมพอใจอะไรทัง้ หมด สิง่ ทัง้ ปวงไมมีอะไรสมควรแกตนเอง ทุกสิ่งไมมีอะไรเปนที่ชอบใจ” พระพุทธเจาทรงตรัสวา “ถาอยางนั้นทานก็ตองขจัดความ ไมชอบและความคิดเห็นที่ทานกําลังมีอยูนี้ใหหมดไปดวย” พอฑีฆานะขะไดสดับถอยคําอันแหลมคมพันหลัก จึงไดตาสวาง ในขณะเดียวกันพระสารีบตุ รกําลังนัง่ ถวายพัดวีพระพุทธองคอยู พลอยไดบรรลุธรรมจิตหลุดพนเปนพระอรหันตไปดวย อะไรคือหลักของพระพุทธศาสนา? พุทธศาสนาคือแสงสวาง ของชีวิต ผูมีจิตที่งดงามก็จะพบแสงสวางนําทาง ที่สองความ สวางไสวมิใหหลงงมงายตามกระแสโลก อะไรคือกระแสโลก? กระแสโลกคือการปลอยตนใหลุมหลงมัวเมาไปตามความ ทะเยอทะยานละโมบโลภลนหลงสําคัญตน ความมักใหญใฝสูง ความมีอํานาจลาภยศ ความมัวเมาในกามกิเลสตัณหาราคะ ความใจรอนเจาโทสะโมหะไรความยัง้ คิดจิตฟุงซาน ความอาฆาต พยาบาทกอกรรมสรางเวร และการสื่อสารโฆษณาชวนเชื่อ ใหเกิดความแบงแยก ความแตกตางขัดแยงยั่วยุใหเกิดความ ชิงชังใสรายปายสี แยกเปนพรรคแบงพวกคอยจองทําลาย ๑๐๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ซึ่งกันและกันอยางเขมขน อีกทั้งการโลดแลนรองรําทําเพลง การจัดฉากมายา การยัว่ ยวนใหลมุ หลงดวยเพลิงราคะ ลวงหลอก ดวยแสงสีเสียงแตงแตมเนื้อตัวใหวาววับ รายรําขับเสียงเพลง เพอฝนรําพึงรําพันใหผูคนไดเคลิบเคลิ้มวิ่งวอนกระโจนเขาสู เปลวเพลิงแหงราคะ ดุจแมลงเมาบินสูกองไฟ ทั้งนี้มิใชพุทธศาสนาสอนใหมองโลกในแงรายหรือดานลบ แตประการใดไม และไมไดใหมองโลกอยางผิวเผินสัมผัสจับตอง เพียงแคอารมณชั่ววูบชั่วครูขณะ แตจะเจาะลึกถึงความจริงของ ชีวิตและสรรพสิ่ง และดํารงชีวิตใหสัมพันธกับธรรมชาติบน พื้นฐานแหงสัจธรรมความจริง แมพุทธศาสนาจะกําเนิดทามกลางกระแสโลกดังกลาว มาแลว แตกจ็ ะไมปลอยตัวใหไหลไปตามกระแสโลก จะแหวกวาย ทวนกระแสอยางมีชีวิตชีวา ดวยพลังแหงความตื่นความสดชื่น แจมใสอิสรเสรี เหนือความครอบงําเหนืออิทธิพลใดๆ แมผูให กําเนิดพุทธศาสนาคือพระพุทธองค ก็มิใหยึดติดแบบบูชาบุคคล ดังพระดํารัสวา “ผูใดเห็นธรรมผูนั้นไดชื่อวาเห็นเราตถาคต ถาไมเห็นธรรมแมจะจับชายจีวร อยูเฉพาะหนาก็ไมชื่อวาไดเห็น เราตถาคต” นี้คือถอยคํายืนยันชัดเจน ชี้ใหเห็นวาพระพุทธองค มิใชสิ่งที่เปนรูปรางที่เราจะสามารถมองเห็นจับตองไดดวยรูป ลักษณะ เมือ่ ครัง้ ยังพระชนมชพี ก็มใิ หยดึ ติดในพระองค แตใหเห็น ความสําคัญของสงฆอยางเสมอภาค และมิใหยึดติดภิกษุรูปใด รูปหนึ่งโดยจําเพาะเจาะจง ดังนั้นการแสวงหาพระพุทธองคหรือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๐๓


พระอริยสงฆ จากลักษณะรูปรางตัวตนจนทัว่ พืน้ พิภพจะไมมวี นั เจอ แมการศึกษาคนควาพระธรรมจากตํารับตําราคัมภีรหรือจากการ สดับตรับฟงถึงอารมณความรูสกึ ขณะทีก่ าํ ลังเผชิญหนาตอความ ทุกขปญหาปางตาย และความพลัดพรากสูญเสียดวยลักษณะ อาการอยางไร....มันไมเหมือนกับปรากฏการณจริงที่โดนเขากับ ตนเองจนตาสวาง นั่นแหละคือการไดมองเห็นแจงสัจธรรม ดังนัน้ การทีจ่ ะพบพระพุทธองคไดกต็ อ งมองใหเห็นธรรมชาติ สัจธรรมความจริงแหงอนิจจัง (ความไมจีรังยั่งยืนของสรรพสิ่ง) ทุกขัง (ความแปรปรวนของสังขาร) อนัตตา (ไรตวั ตน) จากรูปนาม ธาตุขันธของแตละชีวิตที่มีธรรมชาติของพระพุทธองคผสานกัน อยางกลมกลืนเปนหนึ่งเดียวกับสัจธรรม ดุจดังพระสงฆก็คือ การหลอมรวมความเปนหนึง่ ทีไ่ มอาจแยกแยะวาเปนบุคคลตัวตน คนสัตว ไมอาจแบงแยกคนวาเปนอยางนี้อยางนั้น จะมองเห็นแต ศูนยรวมของชีวิตและโลกเปนของวาง อันเปนที่มาของคําวา พระพุทธองค มีปกติอยูใ นสุญตาเปนวิหารธรรม และการรูป ระจักษ แจงบรรลุถงึ ธรรมแลว ก็ไมอาจจะพูดอะไรได จะสงบนิง่ ไมมอี ะไร จะนํามาอรรถาธิบายวาอะไรคือสัจธรรม เพราะสรรพสิ่งเปน สุญตาคือความวาง รวมทั้งพระสงฆก็มิไดหมายถึงองคนี้องคนั้น ที่จะใหเลือกคัดความแตกตางแมแตนอยนิดก็ไมได เพราะ ความหมายของพระสงฆก็คือองครวมที่ความวาง ไมถือเราถือ เขาสูศูนยรวมมวลมนุษยชาติลวนเปนกัลยามิตรเปนหัวใจสําคัญ ยิ่งของพรหมจรรย จะเนนสูเปาหมายอันสูงสุด คือ วิมุตติ วิโมกข นิพพาน หรือการแสวงหาโมกขธรรม คือการดําเนินชีวิตดวย ๑๐๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วิถที างแหงความสงบสํารวมสมถะเรียบงาย โดยจะเนนทีก่ ารขัดเกลา จิตใจขมอินทรียมิใหลุมหลงมัวเมา ไมใหสําคัญตนวาเปนผูวิเศษ มีความสําเร็จสูง จะไมมที ฐิ มิ านะแข็งกระดางเหมือนซากคนตาย แตจะกลับมีชีวิตชีวาสุภาพออนโยนละเอียดสุขุมไมแสดงตน โออวด อยูอยางเรียบงายมักนอยสันโดษเขมแข็งอดกลัน้ อดทนสูง จิตใจเปย มดวยความเมตตาไมตรีทามกลางบรรยากาศธรรมชาติ อันบริสุทธิ์ ในยุ ค ต น นั้ น จะไม มี รู ป เคารพอั น เป น เอกลั ก ษณ ข อง พระพุทธศาสนาที่ไมมีการบูชาออนวอนขอพรแบบเทวนิยมและ ไมใหยึดติดวัตถุนิยมอันจัดเปนกิเลสกาม ใหถอนตนออกจาก เปลือกตมหรือมูตรคูถ คือลาภสักการะสรรเสริญ ยศถาบรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ความมีชื่อเสียงเกียรติคุณถือเปนพิษภัยอันตราย อยางยิ่งตอความสุขสงบ หรือเปนสิ่งแสลงรายแรงตอทุกชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่งชีวิตในพรหมจรรย การกําเนิดพระพุทธรูปแทนองคพระพุทธเจา เพิ่งมาเริ่ม สรางหลังพระพุทธปรินิพพานประมาณ ๕๐๐ ป โดยชางกรีก สมัยพระเจาเมนันเดอร หรือพญามิลินท เมืองสาคละนคร (อิ น เดี ย ตอนใต ) เรี ย กว า พระพุ ท ธรู ป ยุ ค คั น ธารราษฎร รูปรางหนาตาจึงเหมือนเทวรูปของกรีก จากนั้นมาชาวพุทธ จึงนิยมสรางพระพุทธรูปในยุคตางๆ ตามเมืองและอาณาจักรของ แตละประเทศ พระพุทธรูปจึงมีความแตกตางหลากหลายและ เผยแพรขยายไปมากมาย กลับเปนเหมือนการบูชาเทวรูปแบบ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๐๕


เทวนิยม กระทั่งมีการแขงขันการสรางรูปเคารพใหยิ่งใหญและ ลุมหลงหมกมุนอยูกับการสรางอะไรจนวาวุนอยูกับการเนรมิต วัตถุกามจนรกไปดวยปาคอนกรีตทําลายธรรมชาติ มองขาม ความสมถะเรียบงาย ซึ่งเปนที่พักพิงเปนมิตรแทของชีวิต อันเปน ปรากฏการณสวนทางทีพ่ ระพุทธองคทรงชีท้ างวา นัน่ คือเรือนวาง นั่นโคนไม นั่นที่สงัด เธอทั้งหลายจงบําเพ็ญภาวนา เธอทั้งหลาย อยาเปนผูป ระมาท เธอทัง้ หลายอยาเปนผูท ตี่ อ งรอนใจในภายหลัง นี่เปนวาจาเครื่องพรํ่าสอนเธอทั้งหลายของเรา การบันทึกจารจารึกพระธรรมเปนอักษรลงในใบลาน แยกเปนไตรปฎกเกิดขึน้ ในคราวทําสังคายนาครัง้ ที่ ๕ ณ ประเทศ ศรีลังกาโดยมีพระรักขิตตะมหาเถระเปนประธานสงฆ มี พระเจาปรัตตะมหาราหู เปนพระมหากษัตริยองคศาสนูปถัมภ ไดจารจารึกดวยภาษาบาลี หลังพุทธปรินิพพาน ๕๐๐ ป เชนกัน หลังจากนั้นก็สรางคานิยมการจารึกพระธรรมเปนถอยคําแปล เปนภาษาของแตละเมือง แตละประเทศใหทองบนศึกษากันจน แพรหลายและมีรูปแบบการเรียนการทดสอบกันเปนระบบสราง เปนสถาบันการคนควาศึกษาเชิงปรัชญาวิจิตรพิสดาร กระทั่งมี การเหมาเขงเอาวิชาชีพรวมอยูในหลักสูตรการศึกษาวิ่งตาม กระแสโลก โดยมีปริญญาตรี โท เอก เปนการันตี ถาเปรียบ ยุคโบราณก็คือการศึกษาจบไตรเพท ซึ่งพระพุทธองคถือวาเปน เดรัจฉานวิชา เรียนจบมาแลวไมอาจจะลดละทิฐมิ านะความสําคัญ ตัว ความหลงตนใหลดลงได แมผูเจนจบในไตรเพทมาแลว พอได รูเห็นธรรมก็จะเห็นความสําเร็จในไตรเพทเปนสิ่งไรสาระ ๑๐๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความกระตือรือรนสงเสริมการเรียนรูการศึกษาจนเกิด มีสถาบันขึ้นในวัดในเมือง ตองใชทุนทรัพยปจจัยมากมาย สําหรับซื้อสถานที่สรางอาคารโออาโอโถง มีการใชจายคาจาง พนักงาน คาครูผูสอน คาศึกษาเลาเรียน คาที่อยูที่พักอาศัย มีความวิตกกังวลสรางภาพฝนในอนาคต มุงหวังจะไดชื่อเสียง เกียรติบัตรเกียรติคุณ กระทั่งไดรับการยกยองแตงตั้งเปนครู เปนคณาจารย เปนเจาสํานัก เปนสถาบัน พากันหันเหออกจาก ทางโมกขธรรม ยิง่ ศึกษาเรียนรูมากก็ยงิ่ มองเห็นทางพระนิพพาน อยูไกลเกินเอื้อม แถมชี้นําผูอื่นใหหันหลัง หรือหลงเชื่ออยาง ปดหูปดตา หลงทางจนสับสนอยางไรเปาหมาย ทั้งๆ ที่พระพุทธ องคก็ทรงประทานมรดกอันควรคายิ่งคือความสุขสงบรมเย็น ภายในจิตใจของแตละชีวติ เปนสิง่ บริสทุ ธิผ์ ดุ ผอง เปนความงดงาม เบงบานโดยธรรมชาติอยูแ ลว เพียงเราหันมาใหความสนใจภาวนา หมั่นสํารวจตรวจสอบจัดระบบจิตใจใหสดชื่นแจมใสสํารวม ระมัดระวังไมประมาท ใชสติปญ  ญาเปนแสงสวาง ดําเนินตามทาง อริยมรรคตามรอยพระบาทพระพุทธองค โดยมีเปาหมายชีวิต ที่ความวางและสงบแตเพียงประการเดียวเปนทางสายเอก สูความสุขสงบรมเย็นที่สุดของชีวิต อันเปนบรรยากาศความเปน อันหนึ่งอันเดียวที่ผสานชีวิตใหกลมกลืนกับธรรมชาติอันบริสุทธิ์ เบาบางวางปลอดโปรงสดชืน่ แจมใสงดงามดุจดวงแกววิเศษทีส่ ดุ 

หลักการใหญ่ ๓ ประการของพระพุทธศาสนา คือ ๑. การบําเพ็ญทาน เปนการเพาะหวานเมล็ดพันธุแหง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๐๗


เมตตาธรรม ใหเจริญงอกงามในอาณาจักรใจ เพราะเปนคุณธรรม เครื่องคํ้าจุนใหสังคมโลกอยูรวมกันอยางรมเย็นเปนสุข ๒. การปลูกฝงจิตสํานึกสังวร ระวังรักษาชีวติ จิตใจ ใหสงบ มั่นคงดวยการรักษาศีลเปนรากแกวรากขวัญ ทําใหชีวิตจิตใจมี การพัฒนาอยางเปนระบบเครงครัดในวินัยใหมีภูมิคุมกันผองภัย ๓. การเจริญจิตภาวนา การสํารวจตรวจสอบพิจารณา ตนเองอยูอยางสมํ่าเสมอสูการพัฒนาสติปญญา ใหเห็น ประจักษแจง ถึงความจริงของชีวิตและโลก เรื่องการบําเพ็ญทาน พระพุทธศาสนาถือวาการมีชีวิต อยูรวมสังคมโลก อยางมีคุณภาพสรางสรรค จะตองมองใหเห็น กฎแหงความสัมพันธภาพ แมในความขัดแยงขัดใจจนเกิด การกระทบกระเทือนขนาดไหน ในที่สุดก็จะเกิดเหตุปจจัยจุด เชือ่ มผสานการสรางสรรคดานใดดานหนึง่ อันเปนกฎธรรมดาของ ธรรมชาติ เชน นํ้าถือวาเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการหลอเลี้ยง ทุกชีวติ รวมทัง้ พืชพันธุธญ ั ญาหารใหเจริญงอกงามอุดมสมบูรณ จนเกิดคุณประโยชนมหาศาล แตสงิ่ ทีค่ กู นั ในคุณก็มโี ทษอันมหันต บางคราวก็เกิดอุทกภัยนํา้ ทวมทําลายลางผลาญชีวติ และทรัพยสนิ พืชพันธุธ ญ ั ญาหารอันเปนปรากฏการณของธรรมชาติ หรือดินถลม ลมพายุพัดกระหนํ่าเกิดความสูญเสียจากมหาวาตภัย มหาอัคคี ภัยโหมไหมเผาผลาญคราชีวิต มาแลวนับครั้งไมถวนก็ตาม ในทางตรงกันขาม นํ้า ดิน ลม ไฟ ก็เปนสิ่งจําเปนอยางใหญหลวง ตอการพัฒนาของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย จนเกิดสายธารสายสัมพันธ ๑๐๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เปนพลังงานกอเกิดคุณประโยชนนานัปการ พรอมกันไปอยางผสม กลมกลืน เปนหนึ่งเดียวอันทรงคุณคามหาศาลจากกฎธรรมชาติ ดังนัน้ ทุกชีวติ ในผืนดินโลกอันกวางใหญไพศาลจึงตองอาศัย ความเอือ้ อาทรทุมเท เสียสละพลังงานทุกอณูพฒ ั นาคุณภาพชีวติ แดมวลมนุษยชาติ จนเกิดอารยธรรมอันประเสริฐสูงสุด เกิดความ เจริญรุง เรือง รุง โรจน และพัฒนาการสือ่ สารคมนาคมสูป ระชาคมโลก ไดอยางอัศจรรยยิ่งจนลํ้ายุคลํ้าสมัย สัมผัสสัมพันธกันไดทั่ว ทุกมุมโลก อันเกิดจากกระแสพลังแหงชีวติ ไดจดุ ประกายปฏิสมั พันธ โดยธรรมชาติอันเกี่ยวเนื่องจากการทุมเทอุทิศตนการเสียสละ ไมเห็นแกความเหนือ่ ยยากลําบากทาทายฝาฟนอุปสรรคขวากหนาม หลอหลอมชีวิตจิตวิญญาณบําเพ็ญคุณประโยชนเกื้อกูลหยิบยื่น สิ่งอันทรงคุณคาใหแกกันและกันดวยเมตตาไมตรีจิตสูการ เชื่อมโยงกันไปทั่วโลก พุทธศาสนาไดเล็งเห็นเหตุผลกฎอันเปนสากลนี้ จึงไดหยิบยก เอามาเปนหลักการขอที่ ๑ คือ การสงเคราะห อนุเคราะห จัดเปน ระบบดําเนินชีวิตใหการอยูรวมกันโดยการกลั่นกรองหัวใจสูการ บําเพ็ญทาน ดวยนํา้ ใจอันบริสทุ ธิ์ จนเปนสายธารแหงชีวติ ผลิดอก ออกผล เบงบานงดงามจากคุณูปการของดวงใจ อันเปยมดวย เมตตาธรรมคํ้าจุนชาวโลกใหอยูรวมกันดวยความสุขสงบรมเย็น หลักการดําเนินชีวิตที่สําคัญลําดับตอมา ก็คือการปลูกจิต สํานึกมิใหประมาทตองมีระบบกฎเกณฑอันเปนกรอบขอบเขต จํากัดมิใหจิตฟุงซานเตลิดเปดเปงจนเสียศูนย ที่เรียกวาศีลและ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๐๙


ธรรมเปนเกราะแกวปกปองกันผองภัย ดุจรถยนตตองวิ่งใหถูก เสนทางตามกฎจราจร รถไฟจะตองมีรางที่ปลอดภัย ที่อยูอาศัย ก็ตองมีที่มุง ที่บัง ที่มั่นคง หรือความสงางามของตนไม ก็ตองมี ความอุดมสมบูรณ แผกิ่งกานสาขามีรากฝอยรากแกวหยั่งลึก ที่ซึมซับมวลสารหลอเลี้ยงผลิใบกิ่งกานลําตนใหสูงยิ่งใหญ และ ยืนหยัดสูแรงเสียดสีปะทะทาทายเปนธรรมชาติเปนที่โดดเดน เฉกเชนผูมั่นคงอยูในสัตยศีลและธรรมจะสงบหนักแนนมั่นคง มั่นใจอดทนเขมแข็ง มีพลานุภาพ ผิวพรรณผองใส จะเปนที่รัก เปนที่ยําเกรง เปนที่เคารพที่พึ่งอันสงบรมเย็นผูอยูใกลชิด เพราะผูสมบูรณดวยสัตยดวยศีลและธรรม จะมีความบริสทุ ธิเ์ ปน พลังงานแผไป เปนความหอมหวนแผกระจายไปทั่วทั้งตามลม และทวนลม จะเปนปจจัยสูบรรยากาศแหงความงดงามทางจิตใจ สูความเปนอารยธรรมแหงมวลมนุษยชาติ หลักการตอไปที่จะทําใหขอ ๑ ขอ ๒ กาวสูความสําเร็จ อันสูงสุด คือการภาวนาอันเปนวิถีทางมุงเปาสูจุดหมาย ใหชีวิต จุดประกายแสงสวางแหงพุทธิปญญา การภาวนาก็เหมือนชาง ที่มีความสามารถพิเศษหาเหล็กกลามาสูขบวนการใหเหล็ก มีความแหลมคม ตองอาศัยไฟ ดิน ลม นํ้า ทั่ง คอน ตะไบ หินลับ และความอุตสาหะพยายามและเคล็ดลับเฉพาะตัว จึงจะไดรับ ประโยชนจากอาวุธอันแหลมคม พรอมกันนัน้ ก็ตองมียทุ ธศาสตร ที่จะใชอยางชาญฉลาดฉันใด การภาวนาก็ตองมีองคประกอบ ที่ ๑ ที่ ๒ เปนจักรเฟองขับเคลื่อน โดยมีหัวใจที่สุขุมรอบคอบ ๑๑๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สํารวจตรวจสอบตนอยูอยางสมํ่าเสมอ จนมองเห็นอยาง ทะลุปรุโปรงตอชีวิตและโลกกวางเวิ้งวาง วางเปลา ปราศจาก ตัวตนขับเคลื่อนญาณวิถีดวยสติปญญาโลดแลนเหนือสรรพสิ่ง สลัดทิ้งพันธนาการ ไมยึด รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณใดๆ ดุจรถวิง่ บนเสนทางซุปเปอรไฮเวย ทีป่ ราศจากหลุมบอ เปรอะโคลน โดยมีพลขับที่ไมประมาท ฉลาดในเสนทางก็สามารถขับเคลื่อน ยานพาหนะไดทั้งทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ สูเปาหมายได อยางปลอดภัย การภาวนามิใชจะตองนัง่ หลับตาทาเดียวก็หาไม แตเปนการ ปลุกจิตวิญญาณใหตื่นมองชีวิตและโลกอยางชาญฉลาด แลวดําเนินชีวิตอยางสามัญปกติเปดใจกวางมีความรูสึกเอ็นดู สงสารดวยเมตตาธรรมตอเพือ่ นรวมสังคมโลก ดวยไมตรีจติ โดย ปราศจากพรมแดนขีดเสนแบงแยกเปนเราเปนเขามีมิตรภาพ ตอทุกผูค นอยางเสมอภาคปราศจากการเปรียบเทียบความแตกตาง อยูรวมกันดวยดวงใจบริสุทธิ์ธรรมดาทั้งยืน เดิน นั่ง นอน นิ่ง ทุกอิริยาบถ ทุกลมหายใจเขาออกอันบริสุทธิ์ใชชีวิตใหเปน ปรกติดวยการมีสติ มีปญ  ญา รอบรูเทาทันเหตุการณขณะทํางาน พักผอน การพบปะผูคนสังคมอันหลากหลายดวยความรูสึกเปน กันเอง มีปฏิสัมพันธที่ดีถึงแมนความคิดเห็นหรือการกระทํา แตกตางกันจะมากนอยอยางไรก็จะไมมีความขัดแยงขัดใจ จะไมเปนอุปสรรคแตประการใด ดุจนํ้าที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ จะผสมผสานกับสิ่งใดก็จะกลมกลืนลงตัวกันไดกับสิ่งนั้นๆ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑๑


ประโยชนอานิสงสของการภาวนา ทําใหมองเห็นความเสมอ ภาคของกันและกัน นัน่ คือทุกชีวติ จะตองแปรปรวนสูก ารเปลีย่ นแปลง เปนธรรมดาไมคงทีเ่ ปนอนิจจังและจะตองเจอปญหาความเจ็บไข ไดปวย เพราะทุกชีวิตมีเชื้อโรคแทรกซอนเปนทุกขคูชีวิตดุจเงา เสมอถวนกันหมดโดยธรรมชาติ เพราะฉะนั้นจึงไมมีอะไรเลยใน ชีวิตที่จะสามารถมองเห็นความพิเศษสําคัญในสวนหนึ่งสวนใด ไดเลย เราจะจับตองจะยึดมั่นอะไรในชีวิตและโลกไมไดแมแต ขณะหนึ่งขณะเดียว เพียงแค กระพริบตา มันทําเอาจนหนา มืดตาลายเดินโซซัดโซเซหมด พลัง จําตองปลอยวางทุก สรรพสิ่ง แมจะกินขาวกินนํ้า ก็ตดิ ขัด จะกระดิกขยับเนือ้ ตัว แขงขาก็ยากเหลือกําลัง ดวงตา ก็พรามัว มวลหมูมิตรสหาย ข า ทาสบริ ว าร ญาติ มิ ต ร ลูกหลานตางก็ตองเฝามอง กันและกันอยางสลดสังเวช ที่สุดสรรพสิ่งก็สะทอนพลัง สูความวางและสงบ อันเปนเปาหมายสุดยอดของทุกชีวิตดับเย็น ทุกขณะเวลา ซึง่ เปนกฎสากลของธรรมชาติทแี่ สดงสัจธรรมความ จริงใหเห็นความไรรูปลักษณะ ไรเสียงอรรถาธิบายใดๆ ทั้งหมด ทั้งสิ้นสรรพสิ่ง ๑๑๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


นี่คือหลักการที่พระพุทธองคทรงชี้นํา สุดยอดของวิถีทาง สําหรับทุกชีวติ ไดดาํ เนินบนเสนทางสายกลาง คือมัชฌิมาปฏิปทา คืออยาใหตึงเครียดจนเกินไป หรือปลอยตัวประมาทเกียจคราน ไมทําความเพียร เพราะความเพียร ความอดกลั้นอดทนคือตบะ คือพลังแหงชีวิตที่จะขับเคลื่อนสูเปาหมายอันสูงสุด คือวิมุตติ วิโมกขนิพพานอันเปนความสงบสํารวม ทําใหมีชีวิตอิ่มเอิบ เบงบานเจริญงอกงามไพบูลย อยูเย็นเปนสุขไดทุกที่ทุกสถาน ตลอดกาลทุกเมือ่ คือมรดกธรรมอันลํา้ คายิง่ ทีพ่ ระพุทธองคทรง ประทานใหแกมวลมนุษยชาติอนั เปนหลักสากลโดยธรรมชาติของ ชีวติ ทีจ่ าํ ตองมีศาสนาเปนจักรเฟองขับเคลือ่ นอันทรงพลังพลานุภาพ จะทําใหเกิดความอบอุนใจ ความเชื่อมั่น มีกําลังใจ และความ มีนํ้าใจเอื้อเฟอกรุณาตอเพื่อนรวมโลกดวยความเมตตา ผสาน ดวงใจทุกดวงไดหลอมรวมศูนยกลางอยูทศี่ าสนาใหเปนประกาย แสงสวางไสว สูพ ฒ ั นาการนําทิศทางชีวติ สูเ ปาหมายอันสุขสมบูรณ สุดยอด สูอิสรเสรีภาพ ภราดรภาพ

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑๓


๑๑๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สื่อพุทธธรรมสูพุทธสถาน

ก ารเจริญรอยตามพระพุทธองค โดยอาศัยสื่อของ

วัดพระธาตุแสงแกวมงคล ซึ่งเปนพุทธสถานที่ไดจําลองมาจาก ประเทศอินเดีย อันเปนดินแดนพุทธภูมิใหเปน “อินเดียนอยแหง สุวรรณภูมิ” เพื่อใหสาธุชนไดรําลึกและศึกษาประวัติศาสตรของ พระพุทธเจา ดุจการไดไปสัมผัสแหลงกําเนิดของพระพุทธองค จริงๆ เพราะการไดรจู กั พระพุทธเจาซึง่ เปนมหาบุรษุ ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของโลกนั้น เปนการสื่อสูความหมายของการประจักษแจงใจ ตัวเอง วาโดยทีแ่ ทหวั ใจของเราคือความบริสทุ ธิ์ ดุจความวางไมมี อะไรมาเปรอะเปอนได และทรงคุณคาที่สุดคือความสุขสงบ รมเย็น (นิพพาน) เปนอิสรเสรีจากอิทธิพลครอบงําของความ สําคัญตน ความวุนวายสับสน ความเห็นแกตวั โดยประการทัง้ ปวง แลวเราจะเห็นแสงสวางอันเจิดจาของชีวิต และจะเขาใจถึงหัวใจ ของผูอื่นไดอยางทวมทน จะมีความเห็นอกเห็นใจกันดวยเมตตา ไมตรีโดยไมมีประมาณ นีค่ อื ความหมายการรูจ กั ใจของเราเอง และรูจ กั โลกอันอลังการ กวางใหญไพศาลในอาณาจักรใจของสัตวโลกทั้งมวล และที่สุด อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑๕


คือการเขาใจธรรมชาติที่พระพุทธองคทรงตรัสรูรวมถึงการรูจัก พระพุทธเจา การเขาถึงพระรัตนตรัยคือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ณ ดินแดนแหงใจของเราทานทุกคน ฉะนั้น จึงควรแลวที่เราทานทั้งหลายจะไดเปดหัวใจศึกษา สื่อสูการตามรอยพระพุทธเจา เพื่อสูความเปนธรรมชาติเดิมแท อันบริสุทธิ์แหงหัวใจของชีวิตโดยทั่วกัน

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าได้เห็นเราตถาคต” “ธรรมย่อมคุ้มครองรักษาผู้ประพฤติธรรม”

๑๑๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประวัติวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา

ที่ตั้งวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ตั้งอยูบานหวยทรายเลื่อน

เลขที่ ๒๐๖ หมู ๙ ตําบลสันโคง อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา บนพืน้ ที่ ๔๘ ไร ไดรบั พระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ พระราชทาน วิสุงคามสีมา จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แหงกรุงรัตนโกสินทร เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ การเดินทางจากตัวเมืองพะเยา มาถึงวัดระยะทาง ๒๕ กิโลเมตร ถาจากตัวอําเภอดอกคําใตมาถึงวัด ประมาณ ๑๑ กิโลเมตร ทางแยกเขาวัดเสนทางบานสันโคง / หวยทรายเลือ่ น ระยะทางจาก ปากทางบานสันโคงมาถึงวัด ๕ กิโลเมตรตามแผนที่ดังนี้

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑๗



ประวัติเดิมของวัด

วัดพระธาตุแสงแกวมงคล เดิมเปนพุทธสถาน อันประกอบดวย

พระเจดีย พระวิหาร ซึ่งมีซากปรักหักพังเหลือเพียงฐานอิฐเจดีย ซากวิหาร ตัง้ อยูบนเนินเขาเตีย้ ๆ ทางทิศตะวันออกของตัวอําเภอ ดอกคําใตในปจจุบัน และมีสันเขาใหญทอดยาวโอบลอมรอบ ทุกดานดุจกําแพงธรรมชาติ เปนโบราณสถานทีม่ อี ายุอยูระหวาง ยุคของพอขุนงําเมืองกับพระยายุทธิเจียง ราว ๕๐๐-๗๐๐ ป มาแลว ประมาณป พ.ศ. ๑๘๔๙-๒๐๔๘ โดยอาศัยหลักฐาน เทียบเคียงจากกอนอิฐ เหล็กลิม่ และเครือ่ งถวย ชาม ไห สังคโลก จากวัดใกลเคียงที่มีหลักฐานศิลาจารึก

ในยุคสมัยนัน้ ถือวาความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา คือวิวัฒนาการความเจริญของบานเมือง ฉะนั้นในยุคที่บานเมือง อยูร ม เย็นเปนสุข จึงปรากฏมีหลักฐานทางพระพุทธศาสนามากมาย เชน วัดวาอาราม เจดียสถาน เปนหลักฐานแสดงความสําคัญของ บานเมือง สังคมความเจริญของผูคนซึ่งถือจุดรวมศูนยกลาง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๑๙


อยูที่ศาสนาและวัฒนธรรม และความศรัทธาปสาทะทุมเท กําลังกาย กําลังใจ มโนธรรมสะทอนภาพจิตวิญญาณอันสูงสง ตอพระพุทธศาสนา ทั่วทุกหัวระแหงจึงมีแตโบสถ วิหาร เจดีย วัดวาอาราม อยูดาษดื่นทั่วไปดังกลาวมาตั้งแตตนไมวาจะเปน ชุมชนในเมือง นอกเมือง ตามชุมชน ชนบท หุบเขา ปาลึก จะมี รองรอยหลักฐานทางประวัติศาสตรใหคนควา แตสรรพสิ่งที่เปน สังขารธรรมจากวิวัฒนาการอันสูงสง ก็ตองเสื่อมโทรมลงตาม กฎแหงสัจธรรม เฉกเชนเดียวกันกับทีม่ าของวัดพระธาตุแสงแกว มงคลกอนหนานั้น ก็ลมสลาย ไปตามกาลเวลา ไมวาจะเปนวัด บานเมืองเวียงวัง ตอมาก็เลือนรางถูกธรรมชาติ ตนไม เครือเขา เถาวัลยขึ้นปกคลุมจนไมรูวานามวัดเดิมชื่ออะไร รวมทั้งโบราณ สถานที่อยูลอมรอบในบริเวณใกลเคียงก็เชนกันจะเหลือทิ้งไวแต สิง่ กอสรางทีป่ รักหักพัง คือรองรอยแหงความเจริญของพระพุทธ ศาสนาทีบ่ รรพบุรษุ บูรพาจารยไดรงั สรรคประติมากรรมศิลปกรรม แหงประวัติศาสตรไวใหอนุชนรุนหลังไดศึกษาและคนควาเจริญ รอยสืบทอดกันตอไป

๑๒๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ศุภนิมิต

ศุภนิมิต หมายถึง สิ่งบอกเหตุในการสรางวัดในปจจุบัน

มีสิ่งที่เปนปรากฏการณที่จุดประกายขึ้นในครั้งแรก ไดเกิดแก เด็กชายอานันท ฟองแกว ขณะนั้นอายุ ๙-๑๐ ป ประมาณป พ.ศ. ๒๕๐๒ ซึ่งอาศัยอยูในบริเวณอําเภอดอกคําใต หางจากวัด ประมาณ ๑๑ กิโลเมตร มีอยูวันหนึ่งแดดรมลมเย็นสบายได ออกไปเดินเลนคนเดียวที่ทุงนาทางทิศตะวันออก ติดกับหมูบาน เปนทุงนากวางใหญหญาเขียวขจีสดุ สายตา อากาศขณะนัน้ สดชืน่ บริสุทธิ์ สงบมีความสุขที่สุด ซึ่งเหตุการณที่เกิดขึ้นเวลานั้น ขณะที่สายตาไดทอดเห็นปาดอยตรงที่ตั้งของวัดในปจจุบันนี้เกิด ปรากฏการณบริเวณนัน้ สวยงามนาประทับใจอยางยิง่ ถึงกับเกิด พลังอธิษฐานในใจดวยความปลาบปลื้มปติวา “โอกาสขางหนา จะตองมาอยูปาดอยแหงนีใ้ หได ไมวาจะเกิดอุปสรรคขวากหนาม ขวางกั้นก็จะตองฟนฝามาอยูใหไดอยางแนนอน” หลังจากนัน้ ๘ ป นายอานันท ฟองแกว ก็ไดบวชเปนสามเณร ณ วัดศรีชมุ พอบวชเสร็จก็เกิดความรูสกึ ปตซิ าบซึง้ เหมือนกับวา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๒๑


ตัวเองไดหลุดลอยออกนอกโลก รูสึกปลอดโปรง เบากาย เบาใจ จนไมฉันขาว ฉันนํ้าทั้งวัน แตกอนหนาที่คิดจะบวช มีอยูวันหนึ่ง เกิดนึกครึม้ ๆ ขึน้ มาวา “วันนีเ้ ราจะนอนบนบัลลังก” จึงเอาฟูกมา ซอนกันเปนชั้นๆ แลวนอนจนหลับไปในคืนนั้น ไดเกิดนิมิตเห็น ชางเผือกตัวใหญมากมาจากทางทิศตะวันออก เดินกาวยาง มาอยางชาๆ แลวจะเขามาในบาน พอคุณแมบุตร ฟองแกว (โยมมารดา) เห็นเขาก็ตกใจไลชางใหออกไป พอรุงขึน้ รูสกึ ตืน่ เตน ประทับใจในความฝนเปนอยางมาก ตัง้ แตนนั้ จึงเกิดเบือ่ หนายตอ ฆราวาสวิสยั ใครจะบวชบรรพชาเขาสูรมกาสาวพัสตร จนกระทัง่ มีโอกาสไดบรรพชาเปนสามเณร ในตลอดพรรษาก็จะนิมิตเห็น ชางเผือกตัวเดิมนั้นมาหาแลวพาเขาสูปาเขาลําเนาไพรอยูเนืองๆ ซึ่งการตามชางเผือกบางครั้งก็เจออุปสรรคขวากหนามมากมาย แตก็ไมยอทอ พอผานพนพงหนามความยากลําบาก ก็เจอ บรรยากาศที่สงบรมเย็น โดยเฉพาะตอนวัยเด็กจะเห็นภาพในฝนบอยๆ วา ตัวเอง คนเดียวตองเผชิญตอมรสุมคลืน่ นํา้ ใหญมหึมาอยางนาสะพรึงกลัว แตก็รูสึกตัววายืนหยัดรับการกระทบกระแทกจากคลื่นนํ้า อันนากลัวนั้นอยางมั่นคง ขณะเดียวกันมือทั้งสองขางก็ใหญโต มีพลังรับการปะทะจากแรงคลื่นที่โถมกระหนํ่าอยางอาจหาญ เกิดความรูสึกตื่นเตนในปรากฏการณอันพิลึกพิลั่นสุดบรรยาย อีกทั้งตระหนกและความงงงันหาคําตอบใหกับตัวเองไมไดและ ไมรจู ะบรรยายขยายภาพในนิมติ เลาสูใ ครฟงได พอเมือ่ อายุมากขึน้ ๑๒๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แลวก็มาตรึกตรองภาพนิมิตในความหลังนั้นวา นั่นคือสื่อถึงชีวิต ของการสรางบารมีธรรม จะตองเผชิญตอการทาทายและอุปสรรค ปญหานานัปการ และใหคนพบวาสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงคือบทพิสจู น หัวใจสูจดุ หมายปลายทาง บางครัง้ ดูสดุ แสนยากลําบากแตกเ็ ปน สิ่งที่เราความสนใจ ใหใชความสามารถอดทนและเขมแข็งตอสู ฟนฝา ดุจการคนหากุญแจชีวติ ไขประตูสทู างแหงความสําเร็จ ซึง่ ก็ตองทุมเทพลังอยางสุดชีวิตจิตใจเชนกัน บางครั้งก็เจอสิ่ง มหัศจรรยจนตองตื่นตะลึงทั้งฝน คือนิมิตเห็นดวงดาวทั่วทองฟา ไหลมารวมกันแลวพุงมาหาตัวเหมือนฝนหาใหญ จนเกิดความ สะดุง นากลัวมาก การสรางบารมีธรรมในชีวติ ปจจุบนั ก็เชนเดียว กับความฝนในนิมิตทุกครั้งทุกที่ก็คือ ภาพสะทอนสูสถานที่ บําเพ็ญสมณธรรม การสรางบารมีนั่นเอง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๒๓


๑๒๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


จุดเริ่มตนบูรณะการสรางวัด

กอนที่จะมาปฏิสังขรณสรางเปนวัดขึ้น ประมาณป พ.ศ.

๒๔๖๖ พุทธสถานแหงนี้ไดรกรางอยูทามกลางปาเขา ตอมามี ชาวบานมาอาศัยทําไรนาไมหางจากวัดเทาไร ในยามคํ่าคืน ชาวบานจะเห็นฉัพพรรณรังสีเปนรัศมีจากองคพระธาตุเจดีย โบราณขึน้ อยางสวยงามมากปรากฏใหเห็นอยูเนืองๆ จึงเปนทีม่ า ของชื่อวัด สมัยเมื่อพระครูบาเจาศรีวิชัย นักบุญแหงลานนาไทย ไดจาริกแสวงบุญมายังถิน่ นีก้ เ็ คยแวะพักผอนใหศลี ใหพรชาวบาน เปนที่ประทับใจ จนชาวบานบางคนอยูปฏิบัติถือศีล กินเจเหมือน ฤๅษีโยคีอยูพ กั ใหญ หลังจากนัน้ ก็มพี ระเณรมาพํานักอยูบ างคราว หางกันราว ๑๐ กวาป เปนทีส่ งั เกตสถานทีแ่ หงนีพ้ ระเณรผูมาอยู ทุกครัง้ จะตองกินเจฉันมือ้ เดียว ตอมาไดมคี รอบครัว คุณพออินปน ปนใจ ไดมาอยูบริเวณใกลวดั รางแหงนี้ แผวถางทีท่ าํ พืชไรและได ปรั บ พื้น ที่บ นวั ด จนหมดเกลี้ย ง อยากจะบู ร ณปฏิสั ง ขรณ องคพระธาตุเจดียขนึ้ มาใหม เพือ่ รักษาโบราณสถานก็มาพองกัน พอดี ในชวงนั้น สามเณรอานันท ฟองแกว ไดกลับจาก สวนโมกขพลาราม อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี ไดมาบําเพ็ญ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๒๕


สมณธรรมอยูตรงหอบูรพาจารยและพึ่งอุปสมบทได ๓ พรรษา อายุขณะนั้น ๒๖ ป เคยตั้งปณิธานตอนเปนเด็กวา “โอกาส ขางหนาจะตองมาอยูปาดอยแหงนี้ใหได” จากความประทับใจ เมือ่ เปนเด็กไดคอยจุดประกายเรือ่ งมาเชือ่ มโยง สละฆราวาสวิสยั สูสมณเพศตั้งแตเปนสามเณรบําเพ็ญภาวนาสรางบารมีถึงได อุปสมบทเปนภิกษุและไดมาพบปะกับคุณพออินปน ปนใจ ได นิมนตภกิ ษุอานันท พุทธธัมโม ใหเปนประธานบูรณะกอสรางองค พระธาตุเจดียขนึ้ มาใหมและไดปรึกษากันเอาวันแรม ๘ คํา่ เดือน ๖ เหนือ พุทธศักราช ๒๕๒๑ เปนวันปฐมฤกษกอสรางองค พระธาตุเจดีย โดยสรางครอบองคเดิม และไดบรรจุพระบรม สารีริกธาตุวัตถุมงคลมากมาย พรอมกันนี้ไดปรึกษาการตั้งชื่อ วัดใหม โดยถือเอาศุภนิมิตที่ชาวบานเห็นฉัพพรรณรังสีรัศมีของ องคพระสารีริกธาตุจนเปนที่โจษขานอยูเวลานั้นเปนสําคัญ จึงตั้งชื่อวา “วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล” ๑๒๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เหตุที่สรางวัดเปนอินเดียนอย

อินเดีย คือแดนพุทธภูมิ ปจจุบันพุทธศาสนิกชนทั่วโลก

ไปนมัสการดินแดนพุทธภูมสิ ถานทีส่ าํ คัญตางๆ เชน สังเวชนียสถาน ๔ แหง และสถานที่สําคัญๆ เพื่อใหเกิดความรําลึกถึงพระบรม ศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจา

ดังนั้น การสรางฟนฟูบูรณะพุทธสถานแหงนี้ไดจัดระบบ ผั ง วั ด ให เ ป น อิน เดีย น อ ย จํ า ลองจากอิน เดีย แดนพุ ท ธภู มิ ตามความตัง้ ใจของพระเดชพระคุณทานพอพุทธทาส อินทปญโญ ที่ไดตั้งปณิธานในใจเอาไววาจะจําลองสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล เกี่ยวกับประวัติศาสตรพระพุทธเจา โดยกันพื้นที่ไว ๖ ไร ภายใน บริเวณสวนโมกขพลาราม อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี พระคุณทานไดกลาวยํ้าอยูเสมอวา อยากจะตอบแทนพระคุณ พระพุทธเจาโดยการจําลองอินเดียนอยเปนการแสดงความกตัญู ที่ชาวอินเดียนําพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทยตั้งแตครั้งแรก คือ พระโสณะ และพระอุตตระ โดยการอุปถัมภของจอมจักรพรรดิ อโศกมหาราช จนสายธารแหงพุทธศาสนาและวัฒนธรรมจาก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๒๗


อินเดียไดหลัง่ ไหลมาอยางตอเนือ่ งหลายยุคสมัย นําโดยพระสงฆ มากับพอคาวาณิช คาขายระหวางอินเดียกับสุวรรณภูมิ แตโครงการสรางอินเดียนอยของพระเดชพระคุณทานพอ พุทธทาส อินทปญโญ เปนเพียงดําริเอาไว ฉะนัน้ จึงไดนาํ โครงการ นั้นมาทําเปนผังวัดพระธาตุแสงแกวมงคล สรางสวนลุมพินี สถานที่ประสูติ พระวิหารเจดียพุทธคยา สถานที่ตรัสรู พระสถูป ธรรมเมกขเจดีย สถานทีแ่ สดงปฐมเทศนา พระวิหารเจดียป รินพิ พาน สถานที่ดับขันธปรินิพพาน โดยการสรางตามตําแหนงผังเดิม ในประเทศอินเดียและเนปาล ในแตละจุดตําแหนงของสถานที่ สําคัญๆ ไดพยายามจําลองจากตนแบบอนุรกั ษศลิ ปกรรมดัง้ เดิม เอาไว พรอมกันนีย้ งั ไดจาํ ลองพระเวฬุวนารามทีพ่ ระเจาพิมพิสาร สรางถวาย เปนวัดแหงแรกในพุทธศาสนาและเปนสถานที่ พระอรหันตจํานวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพรอมเพรียงกัน โดยมิไดนัดหมายในวันเพ็ญมาฆบูชา ไดจําลองพระคันธกุฎี (กุฏิ ของพระพุทธเจา) บอนํา้ เวจกุฎี (หองนํา้ ) จากพระเชตวนาราม ที่อนาถบิณฑิกเศรษฐี สรางถวายเปนสถานที่พระพุทธองคทรง ประทับอยูถ งึ ๑๙ พรรษา จําลองพระสถูปสาญจี และซุม พระสถูป ที่จอมจักรพรรดิอโศกสรางขึ้น ไดสลักหินทรายจําลองรอย พระพุทธบาทจากใตตนศรีมหาโพธิ์ประดิษฐานเหนือดอกบัว ไวในพระวิหารพุทธบาทแกวดอกบัวขาว สลักหินทรายจําลอง พระแทนวัชรอาสน สลักหินทรายจําลองรัตนจงกรม ตามจุด ตําแหนงเดิมในดินแดนพุทธภูมิ ไดจําลองเสาศิลาจารึกราชสีห ๑๒๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สี่ตัวทูนธรรมจักร เปลงสีหนาท เปนสัญลักษณการประกาศธรรม ของจอมจักรพรรดิอโศกมหาราช แผ ไ พศาลทั่ ว ไปทั้ ง ๔ ทิ ศ นอกจากนีไ้ ดพฒ ั นาทีด่ นิ ดานทิศ ตะวันออกทีเ่ ปนเนินเขา สรางเปน โรงเจศรี อ ริ ย เมตไตรย ได ประดิษฐานพระศรีอริยเมตไตรย และประติมากรรมพระโพธิสัตว กวนอิม แกะสลักหินหยกดําอยางดี ศิลปะโบราณสมัยราชวงศถัง จากประเทศจีน พรอมกันนี้ไดบันทึกภาพเรื่องยอดกตัญู ๒๔ เรื่อง ของคนจีนโบราณไวใหสาธุชนไดศึกษาปฏิบัติตาม ลูกกตัญูเพื่อรองรับสายธารศรัทธาที่จะมาปฏิบัติธรรมถือศีล กินเจในเทศกาลตางๆ สวนดานหุบเขาไดสรางใหเปนอาศรม โมกขธรรมทีบ่ าํ เพ็ญเพียรภาวนา ในบรรยากาศอันเปนธรรมชาติ ปาเขารมรืน่ สือ่ นําจิตใจสูว มิ ตุ ติวโิ มกข อีกมุมหนึง่ ไดจดั เปนรมณีย สถานหอบูรพาจารย ประดิษฐานพระพุทธรูปไมแกนจันทรหอม และภาพประวัติของคณาจารยแหงนิกายเซ็น ที่พระเดชพระคุณ ทานพอพุทธทาสไดนํามาเผยแพรสูประเทศไทย โดยถือวาเปน สุดยอดของวิถที างปฏิบตั สิ ปู รมัตถธรรมสุญญตาวิหารธรรม อัน เปนที่สุดของพรหมจรรยในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจา และ ไดจําลองสรางพระคันธกุฎีจากยอดเขาคิชฌกูฏที่พระพุทธองค จะเสด็จประทับอยูทามกลางบรรยากาศอันปลอดโปรงเปนสถาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๒๙


ทีส่ าํ คัญทีพ่ ระพุทธองคไดทรงแสดงปริศนาธรรม โดยการชูดอกบัว เปนนัยปริศนาทามกลางบริษทั ทัง้ ๔ ทุกคนนิง่ เงียบมิรคู วามหมาย การสื่อสารแสดงสัจธรรมโดยไรเสียง มีเพียงพระมหากัสสปะไดแสดงกิรยิ านอมรับอยางออนโยน สื่อรับรูเขาใจอยางสุดซึ้งพรอมกับประทับรอยยิ้มนอยๆ รับการ ถายทอดสัจธรรมจากพระพุทธองคสูหัวใจเพียงหนึ่งเดียว ในบรรยากาศอันเปนธรรมชาติทเี่ ปดเผยเรียบงาย ณ ยอดเขาคิชฌกูฏ ซึ่งถือเปนนิมิตสําคัญ การถายทอดธรรมจากประสบการณ สูค วามสําเร็จบรรลุเปาหมายสูงสุดอยางฉับพลัน และเปนทีร่ กู นั วา พระมหากัสสปะเปนผูทไี่ ดรบั การรับรองยกยองจากพระพุทธองค เปนพระสาวกเพียงองคเดียวเปนกรณีพิเศษที่สุดยิ่งกวาสาวก องคใดๆ ถึงกับ ทรงประทานบาตร จีวร สังฆาฏิแลกเปลี่ยนเพื่อ บริโภคใชสอยรวมกัน อีกทานหนึ่งที่ใหความเคารพพระมหา กัสสปะก็คือพระอานนท องคพุทธอนุชาผูใกลชิดพระพุทธองค ดุจเงาติดตามพระโลกนาถเจา เปนผูทรงคุณวิเศษ เปนเอตทัคคะ ทางดานพระหูสตู รยิง่ กวาใคร แตพระอานนททานใหความเคารพ นับถือพระมหากัสสปะเปนอยางยิ่งรองจากพระบรมศาสดา ถึงกับเมือ่ รูวาพระมหากัสสปะพํานักอยูทศิ ไหนเวลานอนก็จะหัน เศียรไปทางทิศนั้น

๑๓๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สถานที่สื่อพุทธสถาน มีอยูเย็นวันหนึ่งในบรรยากาศที่แดดรมลมเย็นสบาย ในวั น ธรรมสวนะพระเณรภายในวั ด ได ไ ปกราบนมั ส การ ภิกษุอานันท พุทธธัมโม ณ เวฬุวนารามจําลองวัดแหงแรก ในพุทธศาสนา ซึ่งเปนสถานที่ลานทรายยกฐานเปนหินโคง โอบลอมไปดวยปาไผ เปนสถานที่นอมรําลึกถึงพระเจาพิมพิสาร องคเอกศาสนูปถัมภ ไดสรางถวายพระพุทธองคและพระสาวก เพือ่ ใหไดบรรยากาศยอนสูยคุ พุทธกาล ในพุทธสถานวัดพระธาตุ แสงแกวมงคล เมือ่ พระสงฆสามเณรนัง่ พรอมกันแลว ภิกษุอานันท ก็ไดนําศิษยานุศิษยกราบดวยเบญจางคประดิษฐ ตอองค พระศรีรตั นตรัยดวยความเคารพนบนอม ๓ หน แลวภิกษุอานันท ก็ไดขอโอกาสตอพระสงฆทั้งหลายเพื่อจะแสดงธรรมวา วันนี้เปนวันธรรมสวนะ ผมมีความรูสึกรักและเคารพในตัว ทานทั้งหลายที่ไดมาอยูประพฤติพรหมจรรยรวมกันในอาวาสนี้ ผมตองขอขอบพระคุณและอนุโมทนากับทานทั้งหลายที่ได เสียสละอุทิศตนออกบวชเปนเพื่อนสหธรรมิก ผมเองก็ตั้งใจ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓๑


ตั้งแตแรกเปนสามเณรมาแลววา ตองการที่จะหาสถานที่อันเปน ปาเขาเปนที่บําเพ็ญสมณธรรม จนไดเจอสถานที่แหงนี้และไดมา อยูพาํ นักจําพรรษา และไดมเี พือ่ นสหธรรมิกไดมาอาศัยอยูตงั้ แต เริม่ ตนจนถึงเวลานีก้ พ็ ยายามทีจ่ ะเปนเพือ่ นรวมประพฤติพรหมจรรย ใหบริสุทธิ์บริบูรณเพื่อความสุขสงบรมเย็นของหัวใจ พรอมกันนี้ ภายในวัดของเราก็พยายามจัดระบบผังวัดใหเปนอินเดียนอยตาม ปณิธานของทานพอพุทธทาส อินทปญโญ แหงสวนโมกขพลาราม อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งผมเองก็ไปอยูเปนสามเณร อุปฏฐากอยู ๕ พรรษา ก็ไดยินทานพรํ่าพูดอยูเสมอวาจะสราง อินเดียนอย เปนการตอบสนองพระคุณพระพุทธเจาและ คนอินเดียทีน่ าํ พุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย เปนการแสดงความ กตัญูกตเวทิตา โครงการของพระคุณทานเปนเพียงดําริเอาไว พอผมกลับจากสวนโมกขฯ แลวไดมาอยูที่หอบูรพาจารยโยมพอ และโยมแมคือคุณพอมูล คุณแมบุตร ฟองแกว ไดซื้อที่ดินที่ ชาวบานจับจองในเขตปาสงวนสรางเปนกุฏิศาลาที่พักใหอยูใน ปารกทึบ ถนนหนทางก็แผวถางพอใหคนเดียวเดินได อยูไ ดประมาณ ๓-๕ ป คุณพออินปน ปนใจ จึงไดนมิ นตใหมาสรางวัดรางตรงทีๆ่ เปนวัดเดี๋ยวนี้ ซึ่งผมจะขออนุญาตเปนการสวนตัว เลาใหทาน ทั้งหลายฟงและจะไดแนะนําสถานที่แตละจุดใหทานทั้งหลาย ทราบ เพราะพระเณรทุกองคตลอดถึงญาติโยมที่ตั้งใจมาอยูกัน ตัง้ แตเริม่ ตนจนถึงเวลานี้ ก็ถอื วารวมแรงรวมใจรวมสรรสรางพัฒนา มาดวยกัน ๑๓๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วัดของเรานี้ดูจะแปลกแตกตางจากวัดทั่วๆ ไปนะครับ เพราะผมตั้งใจจะทําตามดําริของทานพอพุทธทาสโดยการสราง อินเดียนอย ดังนั้นวัดของเรานี้จึงถูกกําหนดผังตามตําแหนง สถานที่เกี่ยวของกับพระบรมศาสดาโดยมีองคพระธาตุแสงแกว มงคล ซึ่งเปนโบราณสถานมาแตเดิมและเปนนามของวัด เปนจุด ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เปนปูชนียสถานซึ่งผมจะขอ บรรยายลักษณะขององคพระธาตุเจดีย ที่ไดสรางตามรูปแบบที่ สื่อความหมายทางธรรมใหทานทั้งหลายทราบกอนเปนเบื้องตน พระเจดียองคเดิมกอนการบูรณะไดพังทลายลงไปเหลือ แตฐาน เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดสรางครอบของเดิมโดยคิดแบบ ขึ้นใหงายตอการตั้งไมแบบเทปูนเสริมเหล็กกอสรางโดยใหมี ความหมายทางธรรม คือ เราจะสังเกตเห็นชัน้ ลางเปนภาพกงจักร ขางหนึ่งเปนภาพวัฏจักรอีกดานหนึ่งบนฐานสี่เหลี่ยมโดยมีลูกตา อยูตรงกลางวัฏจักรทั้งสี่ดาน นี่แสดงใหเห็นวาผูมีดวงตาไดเห็น แจมแจงสัจธรรมคือ ความทุกขจากการเวียนวายตายเกิดในภพ ในชาติ ชั้นที่สองจะเปนรูปประตูทั้งสี่ทิศ สองขางประตูมีรูป ดวงตาคู แสดงใหเห็นวาไดดวงตาเห็นธรรมแจมแจงในตนเหตุ แหงวัฏจักรการเวียนวายตายเกิด มาจากกิเลส ตัณหา อวิชชา ความลุมหลงยึดติด ผัสสะ คือ การสัมผัสอายตนะทั้ง ๖ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ดวยความรูสึกที่เปนอุปาทานความยึดถือใน รูป รส กลิ่น เสียง ธรรมารมณ เปนบอเกิดแหงชาติ ชรา พยาธิ ปญหาตางๆ นานา จึงแสดงใหมีดวงตาเห็นประตูคือสมุฏฐานบอ เกิดแหงภพชาติ ทําใหตองทนทรมานอยูในวัฏสงสาร ชั้นที่สาม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓๓


ดวงตาหายไปเหลือแตภาพวงกลม หมายถึง ความวางทัง้ ๔ ดาน แสดงใหเห็นความดับไปเปนสภาพของสรรพสิ่ง เพราะมันไร แกนสารตัวตนที่จะเขายึดมั่นถือมั่นวาเปนตัวเรา วาเปนของเรา ไมไดสักอยางเดียว เพราะมันมีความวางอยูโดยธรรมชาติ ไมมี อะไรดํารงอยูไ ดแมขณะหนึง่ ขณะเดียว ชัน้ ทีส่ จี่ ากรูปทรง ๔ เหลีย่ ม ก็มาเปนรูปทรง ๘ เหลีย่ ม ทัง้ ๘ ดาน จะเปนรูปวงลอเสมาธรรมจักร แสดงใหเห็นวาชีวิตที่ดีมีคุณคาที่สุด จะเจริญกาวหนาสูความสุข ความสงบรมเย็นตองดําเนินตามทางสายกลาง คือ อริยมรรค มีองค ๘ ประการ เปนสื่อนําสูวิถีทางแหงพุทธธรรม ดอกบัวตูม บนยอดสุดนั้นหมายถึง อริยสัจทั้ง ๔ ประการ เปนฐานรองรับ คือบอเกิดแหงพระพุทธเจาและพระอริยเจาขึ้นมาในโลก ดอกบัว เกิดจากโคลนตมจากนํา้ แลวอยูเ หนือนํา้ รับแสงสวางจากพระอาทิตย เบงบานงดงามเต็มที่ ดุจสัตวโลกที่ลุมหลงมืดมัวคละเคลา ดวยกิเลสกามคุณตัณหามากอน แลวแสวงหาสัจธรรมคือ ความจริงอยางยิ่งจากอริยสัจสี่ประการคือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค อันเปนแหลงพลานุภาพเชื้อพลังที่จะจุดประกายเกิด สติปญญาเปนแสงสวางแหงชีวิต ทําใหชีวิตงดงามสมบูรณแบบ จนไดเปนเนื้อนาบุญเปนสรณะที่พึ่งของชาวโลก ดานทิศตะวันออกของพระเจดียเปนพระอุโบสถบนหลังคา ไดจาํ ลองพระสถูปสาญจีและซุมพระสถูปทําดวยเซรามิคเคลือบ สีเขียวศิลาดล ถือวาเปนศิลปะอันลํา้ คาของโลก ซึง่ จอมจักรพรรดิ อโศกมหาราชไดท รงสรา งเปนอนุสรณสถานเทิดทู นบูช า องคพระศรีรัตนตรัย ตัวซุมคุณหมอฮวด-คุณแมอารีย แซเตีย ๑๓๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓๕


เปนเจาภาพสรางถวาย ภายในอุโบสถประดิษฐานองคพระประธาน ทําใหดูเปนสีเขียวหยก ศิลปะของพระพุทธรูปเปนสองยุค ผสมผสานกัน สวนองคพระไดสรางแบบศิลปะของคันธารราษฎร ซึ่ ง เป น ฝ มือ ช า งกรี ก เป น ยุ ค แรกในการสร า งพระพุ ท ธรู ป โดยพระเจาเมนันเดอร (พระเจามิลินท) ศตวรรษที่ ๕ สวน พระพักตรไดนําเอาแบบของคุปตะ ยุคของพระเจากนิษกะ ศตวรรษที่ ๖ ถือวาเปนแบบของอินเดียที่ตอจากยุคของ คันธารราษฎร เพื่อใหไดศึกษาศิลปะการเกิดขึ้นของพุทธศิลป สวนพระเมาลีไดบรรจุพระสารีริกธาตุซึ่งสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชประทานใหพรอมกับผอบทองคํา เปนกรณี พิเศษโดยไมไดกราบทูลขอนับเปนพระเมตตา และมีรูปเหมือน ของพระครูบาเจาศรีวิชัยองคใหญที่สุด หนาตัก ๕ ศอก ภายใน องคพระบรรจุอัฐิสวนศีรษะเสนเกศา ฟนของพระครูบาเจา ศรีวิชัยหนึ่งซี่ พรอมกับเล็บมือสรางดวยนายชางสงา สมฤทธิ์ ศิษยที่เปนชางประจําวัดและมีรูปเหมือนพระสังฆปริณายก เวยหลางแหงนิกายเซ็นจากประเทศจีน มีอนุสรณรูปเหมือน ทานพอพุทธทาส อินทปญโญ และบริขารบางอยางของทาน รอบผนังพระอุโบสถจะวาดรูปภาพปริศนาธรรมของไทยจาก สมุดขอยสมัยอยุธยา ภาพปริศนาธรรมของนิกายเซ็นจากจีน และญี่ปุน ภาพวิธีการปฏิบัติธรรมจากอินเดียและทิเบต เพื่อ ผูใฝใจในการปฏิบตั ธิ รรมจะไดศกึ ษาเพงพินจิ พิจารณา ดุจกุญแจ ดอกสําคัญของชีวิตสูญาณทัศนะ เพื่อเปดดวงตาใหเห็นความ แจมแจงในสัจธรรมของโลกใหบรรลุสุญญตาวิหารธรรมในที่สุด ๑๓๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ดานทิศเหนือจะเปนพระวิหารหลวงรัตนมหาเจดียพทุ ธบาท แกวดอกบัวขาว บนหลังคาพระวิหารเปนรูปทรงพระเจดีย ๘ องค เปนสัญลักษณของอริยมรรคมีองค ๘ เจาภาพสรางโดย ทานอุบาสกกวงเมง-อุบาสิกาปติอร แซเลา กรุงเทพฯ ภายใน ตัวพระวิหารไดประดิษฐานรอยพระพุทธบาทแกวดอกบัวขาว ซึ่งไดจําลองมาจากพระเจดียศรีมหาโพธิ์สถานที่ตรัสรูจาก ประเทศอินเดีย เจาภาพสรางโดยอาจารยอังคาร กัลยาณพงศ กรุงเทพฯ เหนือรอยพุทธบาทประดิษฐานพระพุทธรูปเชียงแสน และพระแกวมรกตจําลองจากพระพุทธรัตนมหามุนพี ระแกวมรกต ในพระบรมมหาราชวังประดิษฐานบนแทนบุษบก ซึง่ ไดจาํ ลองมา จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยจากพระบรมมหาราชวังเชนกัน เจาภาพสราง คุณประยุทธ-คุณฟองนวล วงศกูล, คุณมานิตยคุณมณฑา จริยาวิลาศ และคุณบุญเหลือ-คุณสมศรี รัตนรังษี ดานทิศใตขององคพระธาตุแสงแกวมงคลไดจัดใหเปน สวนลุมพินวี นั สถานทีป่ ระสูตพิ ระราชกุมารเจาชายสิทธัตถะมหา โพธิสัตว ไดสรางเปนประติมากรรมแกะสลักจากหินลาวา ได อ าราธนามาจากประเทศอิน โดนีเ ซีย โดยพระคุ ณ เจ า ศรีปญญาวโร เจาอาวาสวัดเมนดุเปนผูสรางถวาย คุณเจฟฟ ชาวสิงคโปรเปนผูนํามาทางเรือจากประเทศอินโดนีเซียถึง ประเทศสิงคโปร จากประเทศสิงคโปรไดนํามาสูประเทศไทย โดยทางเครื่องบิน ไดจัดพิธีแหรับสูสวนลุมพินีจากขบวนแหของ ศรัทธาสาธุชนจาก ๗ อําเภอ ของจังหวัดพะเยา บริเวณสวน ลุมพินนี ไี้ ดสรางจําลองเสาศิลาจารึกอโศกจากเนปาล ประดิษฐาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓๗


๑๓๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประติมากรรมพระแมเจาสิรมิ หามายาราชเทวีปางประสูติกาล สวนลุมพินีนี้ผูบุกเบิกสรางคือพระเมงกะ ฉันทะทิโก มาจาก วัดเขามัน อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี มาจําพรรษาอยูดวย และเปนเหตุใหเชื่อมโยงการจําลองสถานที่ตรัสรู คือ พระวิหาร เจดียพ ทุ ธคยา โดยมีคณ ุ แมอาจารยชรี ะเอิบ แยมชุติ จากกรุงเทพฯ เปนเจาภาพสราง และไดชวยกรุณาถายภาพรายละเอียดจาก ประเทศอินเดียมาเปนตนแบบรายละเอียด องคพระวิหารเจดีย ตรัสรูนี้ สมเด็จพระมหาราชมังคลาจารย เจาอาวาสวัดปากนํ้า ภาษีเจริญ เจาคณะใหญหนเหนือ จากกรุงเทพฯ เปนประธานวาง ศิลาฤกษสรางพรอมกับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ไดโปรดเมตตาประทานให ดานทิศตะวันตกวิหารเจดียพุทธคยา ไดจําลองสลักหินพระแทนวัชรอาสน อาจารยอรุณ เฉตตรีย เลขาเอกอัครราชทูตไทยประจําอินเดีย เปนผูเ อือ้ เฟอ ภาพตัวอยาง จากอินเดียและกรุณาใหคําแนะนําปรึกษา ดานทิศเหนือไดจําลองพระมหาสถูปธรรมเมกขเจดีย สถานทีพ่ ระพุทธองคไดทรงแสดงปฐมเทศนาแกปญ  จวัคคียทงั้ ๕ ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวันเมืองพาราณสี คุณกิติพร วงศแกว จากกรุงเทพฯ ไดกรุณาถายภาพรายละเอียดของลายซุม พระอรหันต ๘ ทิศมาให ศรัทธาเจาภาพสรางพลเอกพลเดช-คุณนายมัณฑนา จุลเสน ดานหนาพระสถูปไดสรางเปนพระพุทธปางลีลาศิลปะ สุโขทัย ขนาดความสูง ๗.๕๐ เมตร สรางดวยโลหะทองเหลือง ไดจําลองแบบมาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อําเภอศรีสัชนาลัย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๓๙


จังหวัดสุโขทัย ซึง่ ผูรทู งั้ หลายตางก็ยอมรับกันวาเปนพระพุทธรูป ทีม่ ศี ลิ ปะทีส่ วยงามทีส่ ดุ ในโลกเพราะสรางตามแบบมหาปุรสิ ลักษณะ ศรัทธาเจาภาพสรางคุณสิทธิชัย-คุณเกสร จินารักษพงศ พรอม คณะจากกรุงเทพฯ ศรัทธาคุณบุญเลิศ–คุณกรรณิการ วิบลู ยลาภ พรอมคณะ คุณสุนนั ทา ถึงเจริญ ศรัทธาคุณเดวิด คุณกนกวรรณ ดาลี่ พรอมครอบครัว และคณะพรอมดวยศรัทธาสาธุชนรวม สราง พระสุโขทัย ซึ่งมีความหมายรุงอรุณแหงความสุขแลว กาวสูความเจริญรุงเรือง ดานทิศตะวันออกเปนพระสถูปปรินพิ พานภายในไดจาํ ลอง พระพุทธรูปปางปรินิพพาน จากสถานที่ดับขันธปรินิพพาน ในเมืองกุสินารา ศรัทธาเจาภาพสรางคุณสิทธิชัย-คุณเกสร จินารักษพงศ พรอมครอบครัว ลอมรอบองคพระสถูปไดปลูก ตนสาละ ดานทิศใตไดจําลองพระวิหารสุวรรณเจดียศรีมหาธาตุ จากของเดิมประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสนเปนพระเจดีย

๑๔๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประดิษฐานภาพพระบรมสารีริกธาตุที่ไดขุดพบใตฐานพระเจดีย แหงศากยวงศจัดตั้งใหไดบูชาไดเห็นรูปพรรณสัณฐานจริงเปน เชนนี้ และไดจดั ใหเปนทีแ่ สดงภาพจริงทีไ่ ดจาํ ลองมาจากประเทศ อินเดียและเนปาล รวมทัง้ ภาพพุทธประวัตยิ คุ แรกของโลกบางสวน ศรัทธาผูเปนประธานสรางคือผูอํานวยการรจิตตรี วงษสวรรค พรอมดวยครอบครัว และคุณแมอาจารยชีระเอิบ แยมชุติ พรอม ภิกษุสามเณรในวัดรวมกันสราง และอีกมุมหนึ่งไดจําลอง พระเวฬุวนารามที่พระเจาพิมพิสาร ไดสรางถวายพระพุทธเจา และพระสาวกเปนวัดแหงแรกในพุทธศาสนา ทีน่ เี่ ราไดจาํ ลองเปน ลานทรายยกพืน้ เปนรูปหินโคงครึง่ ซีก สําหรับเปนอาสนพระสงฆ ลอมรอบอาสนจะมีตนไผเปนฉากหลัง ภายในบริเวณโดยรอบ จะเปนตนโพธิ์เปนเงาครึ้ม ณ เวฬุวนารามเคยเปนที่ประชุมสงฆ องคอรหันตจํานวน ๑,๒๕๐ รูป ในวันมาฆบูชาแลวพระพุทธองค ไดทรงแสดงพระโอวาทปาติโมกข สรุปคําสอนของพระพุทธเจา ทุกพระองควา ใหหลีกเวนความชั่วทุกชนิดทําแตคุณงามความดี ใหถึงพรอมดวยความไมประมาท และทําจิตใจใหสดชื่นเบิกบาน บริสุทธิ์แจมใส อีกดานหนึ่งไดจําลองพระคันธกุฎี คือกุฎีของ พระพุทธเจา พรอมบอนํ้า เวจกุฎี (หองนํ้า) จากพระเชตวนาราม ซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีสรางถวายพระพุทธองคไดประทับอยู ประจําถึง ๑๙ พรรษา ภาพตนแบบไดรับความเอื้อเฟอจาก พระมหานิวัฒน ซึ่งทานเปนพระสงฆไทยอยูในอินเดีย โดยการ ติดตอประสานงานโดยคุณเอกชัย มธุรวงศากุล กรุงเทพฯ ตรงกลางใจวัดไดจําลองเสาศิลาจารึกพระเจาอโศกมหาราช อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๔๑


ซึ่งเปนสัญลักษณการประกาศเผยแพรธรรมของจอมจักรพรรดิ อโศกมหาราช ภูมิทัศนภายในวัด ออกแบบโดยอาจารยชูวิทย สงัดศัพท จากกรุงเทพฯ และบนยอดเขาดานทิศตะวันออก ของวัดเดิมเปนกองอิฐปรักหักพังของเจดียเล็กๆ จึงไดปรับเปน พระคันธกุฎี จากยอดเขาคิชฌกูฏที่เมืองมคธ ประเทศอินเดีย เปนการจําลองเนินเขาคิชฌกูฏเมืองพะเยา ประเทศไทย เปนอีก บรรยากาศอันอุดมสมบูรณจากธรรมชาติมีแมกไมเบญจพรรณ มีไกปา กระตายปา นกยูงอาศัยอยูอยางธรรมชาติ มีกระแตและ นกนานาพันธุขับขานเขากับรมณียสถาน ซึ่งมีภิกษุผูเฒาอยู ทรงธรรมบําเพ็ญพรต ๑ รูป อยูอยางสุขสงบ สถานที่ผังวัดทั่ว บริเวณทั้งหมดนี้รวมเรียกวา “อินเดียนอย” ผูตั้งชื่อนี้คือ “ทาน พอพุทธทาส อินทปญโญ” แหงวัดสวนโมกขพลาราม อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี จุดสําคัญอีกจุดหนึ่งที่อยูในบริเวณวัด คือ อุโมงคกายสิทธิ์ ที่ประดิษฐานรางศพของคุณแมศรีบุตร ฟองแกว นั่งในทาสมาธิ ภาวนา ทานไดถงึ แกมรณกรรมเมือ่ ตอนเย็นของวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๙ รวมอายุได ๗๔ ป เปนโยมมารดาของ ภิกษุอานันท พุทธธัมโม กอนทีท่ า นจะถึงแกกรรมทานไดขอรองใหทาํ รูปเหมือน ของทานเอาไว จึงไดบอกกับคุณแมวา จะขออนุญาตจัดศพ ของคุณแมใหอยูในทานั่งสมาธิภาวนา ตามความตองการของ คุณแมที่อยากจะอยูรวมสรางบุญบารมีสืบอายุพระพุทธศาสนา ไปอีกตราบนานเทานาน และไดบอกใหคุณแมไดตั้งสัจอธิษฐาน ๑๔๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๔๓


ในการรักษารางมิใหบุบสลายเนาเปอย เพราะเหตุนี้รางของ คุณแมจงึ อยูในสภาพดีสหี นามีเมตตาอิม่ บุญ ใหลกู หลานไดแสดง ความกตัญูกตเวทีดแู ลปรนนิบตั ริ กั ษาอยางดีทสี่ ดุ และเพือ่ เปน ตัวอยางการทําคุณงามความดีที่มีผลอานิสงส ใหสัจอธิษฐาน สมจริงตามความปรารถนา เปนแบบอยางหลักฐานสักขีพยาน ของผูที่มีจิตบริสุทธิ์เปนกุศลอานิสงสผลบุญกิตติคุณยอม เปนที่ประจักษแกสาธุชนทั้งหลาย ทีน่ ผี้ มจะขอนําทานทัง้ หลายไปสูอ กี ฟากทิศตะวันออกของวัด ซึ่งไดสรางใหเปนอีกระบบหนึ่ง ตามความประสงคของทานพอ พุทธทาส อินทปญโญ ทีท่ า นดําริวา อยากจะสรางวัดแบบมหายาน เพื่อใหพุทธศาสนิกชนทุกเชื้อชาติทุกนิกาย ใหเขากันไดเปน นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน แตทานไมไดสราง ที่นี่เราจึงไดสรางโรงเจ ศรีอริยเมตไตรยขึ้นบนเนินเขา การออกแบบอาคารเปนศิลปะ ไทยใหญ ออกแบบโดยนายชางสงา สมฤทธิ์ ลูกศิษยวัด ภายใน อาคารชั้นบนประดิษฐานพระพุทธชนะมาร เจาภาพสรางคือ คุณสิทธิชัย-คุณเกสร จินารักษพงศ พระสาวกประทับยืน ซาย-ขวา คือ พระมหากัสสปะและพระอานนท เจาภาพสรางคือ คุณ ธนเดช พรมิ่ง มาศ คุณ แสงเทียน พรมิ่งมาศ คุณ ทวี สุชนารักษ พรอมคณะของอาจารยธีระทาสจากพุทธสมาคมเปา เก็งเต็ง และประดิษฐานประติมากรรมพระศรีอริยเมตไตรยศิลปะ แบบจีน โดยรอบอาคารไดวาดภาพลูกยอดกตัญู ๒๔ เรื่อง โบราณเกีย่ วกับกิตติคณ ุ ลูกกตัญูจากประเทศจีน เพือ่ ใหสาธุชน ไดซาบซึ้งถึงพระคุณของบิดามารดา ผูมีพระคุณอันใหญหลวง ๑๔๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตอลูกประดุจทองฟาและแผนดิน วาดภาพโดยศิลปนอาจารย สมาน คลังจัตุรัส คุณพีรพงศ คลังจัตุรัส ซึ่งอาจารยสมาน คลังจัตุรัส ไดผสานงานใหผูมีจิตศรัทธาเปนเจาภาพทั้งหมด ๒๔ ภาพ ไดจําลองปรับปรุงแบบมาจากของเดิม ซึ่งคุณระบิน บุนนาค ชางภาพฝมือเอกของไทยในยุคนั้นไดบันทึกไวหลาย สิบปแลว ชัน้ ลางไดประดิษฐานประติมากรรมพระโพธิสตั วกวนอิม แกะสลั ก ด ว ยหยกหิ น ดํ า ชั้ น ดี เ ป น โบราณวั ต ถุ ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สมัยราชวงศถังประทับยืน ขนาดความสูง ๑๓๗ เซนติเมตร ไดอัญเชิญมาจากประเทศจีน ไดรับศรัทธาอันแรงกลาจาก คุณพรพรรณ พรประภา นอมถวายพรอมกับเปนเจาภาพ สรางโรงเจศรีอริยเมตไตรย และไดมีประธานรวมสรางโรงเจ ศรีอริยเมตไตรย คุณสมเดช-คุณอมรา ธงประดิษฐ พรอมคณะ, คุณประดิษฐ-คุณวิภาวรรณ วิชาพานิช, คุณบุญเลิศ-คุณกรรณิการ วิบูลยลาภ, คุณสิทธิชัย-คุณเกสร จินารักษพงศ, คุณสุรินทร ศรีอริยวัฒน และทานอุบาสกกวงเมง-อุบาสิกาปติอร แซเลา ภายในอาคารชั้นลางวาดเปนรูปทะเลบัวโดยอาจารยสมาน คลังจัตุรัส พรอมศิษย ซึ่งเปนชางมีผลงานการจัดนิทรรศการ งานแสดงภาพศิลปน ถวายสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินนี าถ ในเดือนสิงหาคมของทุกป ณ ที่โรงเจศรีอริยเมตไตรยแหงนี้ ไดตั้งใจเอาไวใหเปน สถานที่ถือศีลกินเจตามเทศกาล และใหเปนสถานที่อํานวย ความสะดวกแกคณะผูสนใจ ในการปฏิบัติธรรมถือศีลกินเจจาก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๔๕


หนวยงานตางๆ ดานทิศตะวันตกของโรงเจไดประดิษฐาน รูปเหมือนทานพอพุทธทาส อินทปญโญ เจาภาพสรางคือ ทานอุบาสกกวงเมง–อุบาสิกาปติอร แซเลา กรุงเทพฯ และ ประติมากรรมพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ดานทิศตะวันออก มีโครงการจะสรางเปนอาคารบานรับรองสองชั้น ชั้นลางเปน โรงอาหาร ชั้นบนเปนหองพักรับรองอาคันตุกะพื้นที่ที่กอสราง โรงเจทั้งหมดนี้ คุณแมบุตร ฟองแกว (โยมมารดา) ไดบริจาค เพื่ออุทิศกุศลใหแกคุณพอมูล ฟองแกว (โยมบิดา) ไปทางดานทิศตะวันออกอีกประมาณ ๕๐๐ เมตร ไดสราง เปนหอบูรพาจารยเปนอาคารศิลปะผสมผสานญี่ปุนกับทิเบต เปนอาคารสามชั้น ชั้นแรกแกะสลักหินแกรนิตภาพลายเสน แบบจีนรูปของพระสังฆปริณายกเวยหลางแหงนิกายเซ็นจาก ประเทศจีน ชัน้ ทีส่ องประดิษฐานภาพถายบูรพาจารยเถรวาทและ มหายาน ชั้นที่สามประดิษฐานพระพุทธรูปไมแกนจันทรหอม ขนาดความสูง ๑๘๐ เซนติเมตร ศิลปะคุปตะจากอินเดียสราง โดย นายชางสงา สมฤทธิ์ เจาภาพสรางคุณอุดมศักดิ-์ คุณมณีรตั น พิชยั รัตนพงษ กรุงเทพฯ ดานหนาเปนสระใหญไดรบั ความเอือ้ เฟอ จาก ส.ส. ลดาวัลลิ์ วงศศรีวงศ โดยงบของ รพช. จังหวัดพะเยา รอบอาคารปลูกตนสนสามใบขึ้นเขียวขจีรมรื่น เปนบรรยากาศ แหงความสงบรมเย็น พืน้ ทีต่ รงนีค้ ณ ุ พอมูล-คุณแมบตุ ร ฟองแกว (โยมบิดา-มารดา) ไดซื้อไวเมื่อภิกษุอานันทเปนสามเณร และได สรางกุฏศิ าลาใหเปนทีพ่ าํ นักบําเพ็ญสมณธรรม หลังจากไดกลับ มาจากสวนโมกพลารามเมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๗ ๑๔๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๔๗


ที่นี้เรายอนมาระหวางกึ่งกลางหอบูรพาจารยและโรงเจ สูบรรยากาศอันรมรื่นของอาศรมโมกขธรรม ไดสรางเปนอุโมงค โพธิธรรม โดยเจาภาพผูซื้อที่ดินถวายใหคือทานอุบาสกบี้ ธรรมตัง้ พิเชษฐ จากกรุงเทพฯ ภายในอุโมงคโพธิธรรมไดประดิษฐาน พระพุทธชินราชใตฐานพระประธาน ไดสรางมือขางเดียวของทาน ปรมาจารยโพธิธรรม (ตั๊กมอโจวซือ) ถือดอกบัวใหญ ๑ ดอก มีกลีบบัว ๕ กลีบ ในแตละกลีบจะมีรูปพระสังฆปริณายก แหงนิกายเซ็น ๕ องค คือ ๑. พระสังฆปริณายกหุยคอ (ซิ่งกวง) ๒. พระสังฆปริณายกซังซาน (เจ็งฉั่ง) ๓. พระสังฆปริณายกตูซุน (เตาสิ่น) ๔. พระสังฆปริณายกฮวางยาน (ฮงยิ้ม) ๕. พระสังฆปริณายกเวยหลาง (หุยเลง) ที่ไดรับการถายทอดธรรมจากทานปรมาจารยโพธิธรรม เปนชวงๆ จนถึงทานสังฆปริณายกเวยหลาง ประติมากรรม ชิ้นสําคัญนี้คือ สัญลักษณการสื่อความหมายถึงปริศนาธรรม ที่ทานปรมาจารยโพธิธรรม (ตั๊กมอโจวซือ) ไดแสดงไววา จุดประสงคในการมาสูดินแดนนี้ ก็เพื่อถายทอดธรรม สําหรับปลดปลอยสัตว ที่ถูกครอบงําไวดวยความหลงงมงายอารมณ หลังจากนั้น ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ หนึ่ง-เมื่อกลีบบานครบ ๕ กลีบ ดอกไมนั้นก็จะสมบูรณ ๑๔๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ซึ่งมีความหมายถึง การที่ทานปรมาจารยโพธิธรรมมาจาก อินเดียสูประเทศจีนมาเพียงองคเดียว ไดเผยแผหัวใจแหงธรรม สูหัวใจของผูที่รูแจมแจงในธรรม ที่ทานไดถายทอดตอนตนๆ ก็มี ผูสอื่ รับการแสดงธรรมขัน้ หัวใจทีไ่ รลกั ษณะรูปนาม เปนปจจัยสือ่ ถึงสิ่งที่จะรูประจักษแจง เปนปรากฏการณแหงความหลุดพน ทีเ่ หนือการครอบงําของสรรพสิง่ ซึง่ ไมอาจจะบรรยายถึงลักษณะ อาการของมันได เพราะเหนือการเปรียบเทียบ เหนือการสัมผัส เหนืออารมณ เหนือเหตุผล เหนือถูก–ผิด เหนือถอยคําที่จะ เรียกมันวาเปนอะไร แตถาหัวใจของผูใดไดซึมซับดื่มดํ่าจะ รูแจมแจงแกใจตนเอง เพราะฉะนั้นในยุคนั้นจึงเปนการถายทอด เฉพาะตน จนถึงทานสังฆปริณายกเวยหลางทีไ่ ดรบั การถายทอด หัวใจแหงธรรมเปนองคที่ ๕ นับจากที่ทานโพธิธรรมไดมาสู ประเทศจีนถึงยุคของทานสังฆปริณายกเวยหลางนี้แลวเปนยุคที่ เจริญที่สุด ทั้งๆ ที่ทานอานหนังสือไมไดเขียนไมเปนแตทานมี ปฏิภาณสามารถรอบรูและแสดงอรรถรสแหงธรรมอันไรลกั ษณะ ไดอยางชาญฉลาด"เข้มข้นดุจมันดะยอดโอชาแห่งโครส"ได ทําการเผยแผสัจธรรมใหแผไพศาลสมดั่งที่ทานปรมาจารย โพธิธรรมไดกลาวไวแตตนวา “ฉันเดินมาถึงแผนดินนี้ ชวยผูหลงงมงายอารมณ หนึ่ง เมื่อดอกไมบานครบ ๕ กลีบแลว ผลที่สุดธรรมชาติจะปรากฏขึ้นมาเอง” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๔๙


นี่คือสื่อความหมาย ที่ไดประดิษฐานการถายทอดสัจธรรม ขัน้ ปรมัตถของบูรพาจารย ในยุคหลังพุทธปรินพิ พานหนึง่ พันกวาป ทีนี้จะขอสูจุดเชื่อมโยงความหมายการแสดงสัจธรรมที่ไร คําพูด โดยการสือ่ ความหมายในลักษณะเดียวกันนีส้ ยู คุ พุทธกาล ขณะทีพ่ ระพุทธองคประทับอยูบนยอดเขาคิชฌกูฏ โดยมีพระสงฆ สาวกบริษัทลอมรอบพระองคอยูนั้น พระตถาคตเจาไดชูดอกบัว ขึ้นทามกลางบริษัททั้ง ๔ (ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา) เปน ปริศนาโดยมิไดทรงตรัสอะไร ซึ่งเปนการแสดงธรรมที่ทรงสื่อ ถึงใจอันบริสทุ ธิก์ บั ธรรมชาติของความเบงบานงดงามของดอกบัว ทามกลางมหาสมาคมขณะนั้นไมมีใครหยั่งรูถึงนํ้าพระทัยได ตางก็นงิ่ เงียบ ทันใดนัน้ พระมหากัสสปะไดลกุ ขึน้ แสดงความเคารพ อยางออนโยนและอมยิ้มนอยๆ เปนการรับรูสื่อความหมาย จากการแสดงธรรมของพระพุ ท ธองค โ ดยไร เ สีย งสู  หั ว ใจ พระมหากัสสปะไดรแู จมแจงประจักษนาํ้ พระทัยทีว่ างและบริสทุ ธิ์ ของพระพุทธองคเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งตอมาพระพุทธองคไดทรงประกาศทามกลางบริษัทวา “พระมหากัสสปะมีคุณธรรมเสมอดวยเราตถาคต” และไดทรง พระมหากรุณาแลกเปลีย่ นกันใชบาตรและผาสังฆาฏิกบั จีวรถือวา บรรดาพระสาวกทั้งหลาย พระมหากัสสปะไดรับการยกยองถึง ขนาดนี้มีเพียงหนึ่งเดียว หลังจากพุทธปรินิพพานแลวไมนาน พระมหากัสสปะก็ไดถายทอดหัวใจแหงธรรมนี้แกพระอานนท องคพุทธอุปฏฐาก เพราะฉะนั้นพระอานนทจึงมีความเคารพตอ ๑๕๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕๑


พระมหากั ส สปะรองจากพระพุ ท ธเจ า เมื่อ ท า นทราบว า พระมหากัสสปะพํานักอยูในทิศไหน เมือ่ พระอานนทประทับนอน ก็จะหันพระเศียรไปในทิศนั้นๆ พระมหากัสสปะผูมีอายุและ พรรษามาก และไดรับการยกยองจากพระศาสดาถึงปานนี้ แตโดยบุคลิกลักษณะของพระมหากัสสปะจะเปนผูมคี วามสุภาพ ออนโยน มีความเคารพยําเกรงในหมูสงฆเปนที่ยิ่ง ดํารงองค เหมือนกับพระภิกษุบวชใหมที่ตองยําเกรงในหมูสงฆฉันใดก็ฉัน นัน้ ทานเปนแบบอยางของการอยูโคนไมเปนวัตร นุง หมผาบังสุกลุ เปนวัตร ใหความสําคัญการทําสังฆกรรมในหมูส งฆอยางสมํา่ เสมอ จนถึงขนาดพระพุทธองคตองทรงตรัสขอรองวาอายุของทาน ก็มากแลว บางครั้งบางคราวก็ตองเดินลุยนํ้าลุยโคลนมาดวย ความยากลําบาก ผาบังสุกลุ เมือ่ เปยกนํา้ ก็หนักเปนการยากลําบาก แตพระมหากัสสปะก็กราบทูลในนํ้าพระทัยพระพุทธองคอยาง

๑๕๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ออนโยนวา ขาพระองคตองการจะใหเปนแบบอยางแกคณะสงฆ ในรุนตอๆ ไป พระพุทธองคทรงไดประทานอนุโมทนาสาธุการ ลักษณะกิรยิ าอันออนโยนนอบนอมเชนนีพ้ ระอานนทกถ็ อื วา เปนผูที่มีคุณสมบัติดุจพระบรมศาสดาและพระมหากัสสปะก็มี คุณลักษณะอันงดงามประเสริฐยิ่งนี้ ขอใหเหลาพุทธบริษัท ทัง้ หลายไมวา จะอยูใ นแหงหนใด ยุคไหน สมัยใด พึงตัง้ จิตสําเหนียก นอมรับคุณลักษณะอันบริสุทธิ์นี้สูหัวใจ ของเราทานทั้งหลาย เชื่อวาทานจะไดรับความเย็นความสงบ ดุจไดดื่มดํ่าอมฤตธรรม จากหัวใจแหงสัจธรรมอันเปนธรรมชาติธรรมดาสากลที่สุดซึ่ง พระพุทธองคไดทรงประทานใหแกชาวโลกนั้นเถิด ที่นี้จะขอยอนสูศุภนิมิตเมื่อเปนเด็กที่ไดกลาวไวแตตน วาทีต่ องถูกคลืน่ กระแสนํา้ กระทบกระแทกและเห็นมือตัวเองใหญ มากอยางนาอัศจรรย อยูทามกลางกระแสธารทีก่ ระทบในครัง้ นัน้ มันเหมือนกับมือและนิ้วโปงของทานปรมาจารยโพธิธรรมที่ถือ ดอกบัวใหญอยูในอุโมงค มีความรูสึกสัมพันธกันอยางลึกซึ้ง ที่ไมเคยคิดมากอนวาจะมีประติมากรรมชิ้นนี้เชื่อมโยงถึงปริศนา ธรรมของทานโพธิธรรมที่ไดแสดงไวเปนพันกวาปมาแลว จะมา ปรากฏเปนรูปธรรมอันงดงามในสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แหงนี้ แลวเปนสื่อความหมายถึงศุภนิมิตอยางลงตัวซึ่งตางยุคตางสมัย สูปจ จุบนั ทัง้ นีก้ ต็ องยอมรับวาอยูเหนือคําบรรยายจริงๆ และดาน ทิศตะวันตกไดสลักหินแกรนิตเปนรูปคณาจารยแหงนิกายเซ็น จากประเทศอินเดียและประเทศจีน โดยความเอื้อเฟอจาก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕๓


คุณทวี สุชนารักษ และอาจารยธีรทาส วงคโพธิ์พระ จาก พุทธสมาคมเปาเก็งเต็ง คลองเตย กรุงเทพฯ ดานหนาอุโมงค จัดใหเปนลานปฏิบัติธรรมใตรมเงาตนจามจุรี และมีธรรมาสน ธรรมชาติจากรากไมประดูหลวง แกะสลักภาพสัตวโลกอยูรวม กันแบบสันติและไมตรี บรรยากาศของอาศรมโมกขธรรมนี้ตั้งใจ ใหเปนแหลงปฏิบัติธรรมแบบนิกายเซ็น ซึ่งถายทอดโดย ทาน สังฆปริณายกเวยหลาง ผูไ ดสบื ทอดหัวใจแหงธรรมของพระพุทธองค สืบทอดมาจากทานปรมาจารยโพธิธรรมจากประเทศอินเดีย สูป ระเทศจีนและสูอ โุ มงคโพธิธรรมภายในบริเวณอาศรมโมกขธรรม ซึ่งนํามาเผยแพรโดยทานพอพุทธทาส อินทปญโญ จากสวนโมก ขพลาราม อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี อาจารยธีรทาส วงศโพธิพ์ ระ แหงพุทธสมาคมเปาเก็งเต็ง ไดนาํ มาพิมพเปนหนังสือ เผยแพรทั่วประเทศ ทั้งหมดที่ไดสรางสรรคพัฒนาและไดนํามา กลาวแสดงใหทานทั้งหลายทราบนี้คือจุดประสงคของการ เจริญรอยตามพระพุทธเจาและเปนการแสดงความกตัญูกตเวที ตอบิดามารดา และผูม พี ระคุณทีไ่ ดอมุ ชูเลีย้ งดูตลอดถึงบูรพาจารย ทุกทานทุกองค เพื่อใหผลงานนี้ไดเผยแผธรรมะใหไพศาล ขอให เปนอานิสงสประโยชนสุขสงบรมเย็น แดเพื่อนรวมโลกตลอด กาลนานเทอญ .....ขอขอบพระคุณและอนุโมทนาสาธุการ สาธุ สาธุ.....

๑๕๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


นิกาย กับการสังกัดนิกาย ของวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ในประเทศไทย พระสงฆ ตามกฎของมหาเถรสมาคมที่ ยอมรับกันมี ๒ นิกาย คือ มหานิกายกับธรรมยุต พระสงฆ-สามเณร วัดพระธาตุแสงแกวมงคล สังกัดอยูในมหานิกายฝายเถรวาท มหานิกายถือวาเปนของดั้งเดิมที่สืบทอดตอกันมาแตยุคโบราณ หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน โดยมีพระมหากัสสปะ เปน ประธานในการทําสังคายนา ครั้งแรก มีพระอรหันตจํานวน ๕๐๐ รูป ใชเวลาในการทํา สังคายนา ๗ เดือน และในครัง้ นั้นคณะสงฆเริ่มแตกแยกเปน ๒ ฝาย ฝายแรกคือ ฝายเถรวาท ที่ ถื อ ตามพุ ท ธบั ญ ญั ติ โ ดย มิไดมีการแกไขพระธรรมวินัย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕๕


ฝายที่สองคือ ฝายมหาปุราณะ ซึ่งไมรวมทําสังคายนากับ พระมหากัสสปะ ฝายนีถ้ อื เอาตามพุทธพจนทที่ รงอนุโลมใหแกไข พระธรรมวินัยเล็กๆ นอยๆ ตามกาลสมัยและเหตุการณจําเปน ภายหลังเรียกวา มหายาน ทางฝายมหายานนี้จะเนนคุณธรรม ของพระโพธิสตั ว ใชกาํ กับวิถชี วี ติ ประจําวันเนนเรือ่ ง ความเมตตา และการปกครอง ยึดหลักฆราวาสธรรม ไดเผยแพรไปอยาง กวางขวางในชมพูทวีป ภายหลังทั้งเถรวาทและมหายานก็ได แตกแขนงเปนนิกายยอยออกไปอีก ยิ่งพุทธศาสนาไดถูกนําไปสู ดินแดนแตละประเทศ ที่มีวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเองอยูแลว หรือมีความจําเปนตองปรับเพราะภูมอิ ากาศทีแ่ ตกตางกัน จึงจําเปน ตองปรับปรุงใหเขากับขนบธรรมเนียมประเพณีและภูมิอากาศ ของประเทศนั้นๆ อยางประเทศจีน ทิเบต เกาหลี ญี่ปุน พระตอง ใสกางเกงเพราะอากาศหนาวเย็นมาก ๑๕๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การเกิดขึ้นของนิกายธรรมยุต สวนธรรมยุตไดเกิดขึ้นในประเทศไทยสมัยพระนั่งเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ แหงกรุงรัตนโกสินทร โดยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อกอนเสวยราชยไดทรงผนวช ศึกษา และปฏิบัติพระธรรมวินัยเปนเวลารวม ๒๐ ป ภายหลังทรงนิยม เลือ่ มใสในจริยวัตรของพระสงฆสายรามัญ เมืองมอญ ประเทศพมา ที่ไดมาพึ่งพาพระบรมโพธิสมภาร ตั้งแตสมัยพระพุทธเลิศหลา นภาลัย รัชกาลที่ ๒ ในที่สุดไดแปรญัตติเอาวินัยสงฆ นั้นไวเปน ขอปฏิบัติสืบมาเปนธรรมยุตินิกาย ภายหลังพระองคทานไดทรง ลาผนวช ขึน้ เสวยราชยเปนพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๔ จึงทรงสนับสนุนคณะสงฆธรรมยุต สวนขาราชบริพาร ก็มคี วามเคารพเลือ่ มใสศรัทธาคลอยตามไปดวย พระบรมวงศานุวงศ ก็ทรงผนวชอยูในสายธรรมยุตินิกาย หลายพระองค โดยเฉพาะ สมเด็จพระสังฆราชเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึง่ เปนพระโอรส ของรัชกาลที่ ๔ และเปนพระเจานองยาเธอของรัชกาลที่ ๕ ซึ่งก็ สังกัดในธรรมยุตินิกาย พระองคไดวางระบบปกครองคณะสงฆ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕๗


โดยรางเปนพระราชบัญญัติ ร.ศ. ๑๒๑ ขึ้นทูลเกลาถวายสมเด็จ พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๕ เพื่อทรงพระราชทานเปนกฎหมาย ปกครองคณะสงฆ (ในชวงปลายรัชกาล) ขึ้นมาปกครองสงฆ ทั่วราชอาณาจักรไทย สวนมณฑลพายัพในดินแดนลานนาไทย มีพระครูบาเจา ศรีวิชัย สิริวิชโย วัดบานปาง อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน ไดเล็งเห็นวา พระธรรมวินัยก็เปนสิ่งที่บริสุทธิ์และบริบูรณอยูแลว การที่จะตั้ง กฎระเบียบใหมขึ้นมาเพิ่มเติมอีก จะเปนการเพิ่มปญหาภาระ ยุงยาก จึงไมไดปฏิบตั ติ ามจึงถูกตัง้ ขอกลาวหาวาเปนพระนอกรีต กระดาง กระเดื่อง ฝาฝน และถึงขนาดวาเปนกบฏ ไดถูกนําไป กักขังไตสวนพิจารณาความผิดที่จังหวัดลําพูน จังหวัดเชียงใหม และกรุงเทพฯ หลายครั้ง มีอยูครั้งหนึ่ง พระครูบาเจาศรีวิชัย ถูกคณะสงฆจังหวัด เชียงใหมไตสวน และถูกถามวา “ทําไม ! ครูบาฯ จึงไมปฏิบตั ติ าม ระเบียบของคณะสงฆ” พระครูบาเจาศรีวชิ ยั จึงยอนถามคณะสงฆ วา “แลวทานทั้งหลายเลาปฏิบัติกันอยูอยางไร?” คณะสงฆ ทั้งนั้นตอบวา “ก็ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ ตามที่รับสั่งลงมา” พระครูบาเจาศรีวิชัยจึงตอบยอนไปดวย ความบริสุทธิ์ใจของทานวา “นั่นลูกอาชญา ! ไมใชลูกศิษยของ พระพุทธเจา” คําตอบเพียงสัน้ ๆ แตกนิ ความหมายลึก ทําใหคณะสงฆ ถึงกับสะอึกนิง่ อึง้ กันไปพอสมควร แตในเมือ่ มีอาํ นาจอาชญาทาง บานเมืองอยูในมือแลว จึงไดดําเนินการกับพระครูบาเจาศรีวิชัย ๑๕๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อยางถึงที่สุด ในขณะนั้นเปนผลกระทบกระเทือนใหพระภิกษุ สามเณรวัดพระสิงหวรวิหาร จังหวัดเชียงใหมที่เคารพเลื่อมใส พระครูบาเจาศรีวิชัย พระถูกจับสึกเปนจํานวนมากจนบริขาร ผาไตร จีวรนําไปกองรอบพระเจดียเปนกองพะเนินรวมทั้ง เจาอาวาสหลายๆ วัดในจังหวัดเชียงใหมที่เคารพเลื่อมใสใน จริยาวัตรพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ถูกกวดขันจับสึกเปนเหตุเศราสลด สังเวชแกศรัทธาสาธุชนชาวลานนาไทย อยางทวมทนสุดพรรณนา สวนพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ก็ถกู สงตัวไปไตสวนพิจารณาขอกลาวหา และใหเซ็นชื่อยอมรับกฎระเบียบพระราชบัญญัติ ร.ศ. ๑๒๑ ทีก่ รุงเทพฯ กับสมเด็จพระสังฆราชเจาและคณะกรรมการไตสวน ทานถูกกักขังไตสวนพิจารณาคดีนานรวม ๖ เดือน ๑๗ วัน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๕๙


ทานถูกหวานลอมเกลีย้ กลอมโดยวิธกี ารตางๆ แตทา นพระครูบาเจา ศรีวิชัยหายอมเซ็นชื่อที่จะยอมรับปฏิบัติตามไม ทั้งนี้และทั้งนั้น ทานพระครูบาเจาศรีวิชัยทานรูซึ้งแลววา การแตกแยกของสงฆ นัน้ มันหมายถึงอะไร? ความจริงพระสงฆทวั่ ไปก็รวู าเปนโทษหนัก ถึงขั้นปาราชิก เปนอุปสรรคตอทางสวรรคและนิพพาน ทานจึง ยอมนิ่งอยูอยางผูบริสุทธิ์ใจและใหคณะสงฆกลั่นแกลงปาย ความผิดครั้งแลวครั้งเลา แตโดยลึกๆ แลวคําตอบของทานคือ หัวใจอันสงบหนักแนน อุทศิ ทัง้ ชีวติ ทัง้ กายและใจ แดพระธรรมวินยั อันบริสุทธิ์โดยมิไดปริปาก เพราะเหตุนนี้ ามของทานจึงอุโฆษทัว่ ดินแดนลานนาไทยวา “พระครูบาเจ้าศีลธรรม” หรือ “พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญ อมตะแห่งลานนาไทย” ในทีส่ ดุ คณะกรรมการไตสวนพิจารณา ขอกลาวหา ไดกรุณาพิจารณาใหพระครูบาเจาศรีวิชัยไดพนคดี ขอกลาวหาทุกประการ โดยเฉพาะสมเด็จพระสังฆราชเจาไดโปรด เมตตาประทานปจจัยเปนกรณีพิเศษและยังไดทรงพระเมตตา ใหรถยนตนาํ พระครูบาเจาศรีวชิ ยั ไปนมัสการวัดสําคัญๆ ทัว่ พระนคร มีวดั พระแกว และพระปฐมเจดีย อํานวยความสะดวกทุกประการ ระหวางที่อยูกรุงเทพฯ และยังมีรับสั่งไปยังเจาผูครองนครลําพูน ใหชวยดูแลรับรองตามสมควรดวย

๑๖๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ปฐมเหตุการณแบงแยกสงฆ ถาจะกลาวกันตามความเปนจริงแลว คณะสงฆไดแบงฝาย แตกแยก ตั้งแตสมัยพุทธกาล โดยพระเทวทัต ไดทําสังฆเภท แยกสงฆเปนหมูคณะปกครองตนเอง ถึงขนาดคิดรายจะ ปลงพระชนมพระพุทธองคหลายหน ครั้งสุดทายไดพยายาม กลิ้ง หิน จากยอดเขาคิช ฌกู ฏ จะให ก ลิ้ง ทั บ พระพุ ท ธองค จนสะเก็ดหินกระเด็นใสพระบาทเปนแผลลึกเลือดไหลทะลัก เปนเหตุการณซาํ้ สองทีพ่ ระเทวทัตไดกระทํากรรมอันหนัก เปนเหตุให พระพุทธองคทรงบัญญัติไวใน อนันตริยกรรม ๔ คือ ๑. ๒. ๓. ๔.

ทําสังฆเภท (ทําสงฆใหแตกแยกกัน) ทํารายพระพุทธเจาถึงหอพระโลหิต (เลือดไหล) ฆาพระอรหันต ฆาบิดา-มารดา

นีค่ อื เหตุการณเมือ่ ครัง้ พุทธกาลถาถือตามหลักพระธรรมวินยั ทีพ่ ระพุทธเจาทรงประทานใหประพฤติพรหมจรรย ตามหลักฐาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๖๑


ประวัติของพระสาวก ที่พระองคทรงรับเขาสูการเปนพระสงฆ สาวก จะไมมกี ารแบงแยกเลือกชัน้ วรรณะ ไมวาบุคคลผูนนั้ จะมา จากชนชั้นสูงสง หรือสามัญชนชั้นตํ่าสุด จะเปนอันธพาลสันดาน หยาบจนสังคมหวาดกลัวและรังเกียจ ในเมื่อมีความเลื่อมใส ศรัทธา หรือบางทีกโ็ ดยบังเอิญเมือ่ ไดเขามาบวชในพระธรรมวินยั ของพุทธองคแลว ทรงพระเมตตาการุณยใหเปนพระสงฆสาวก โดยเสมอภาค พระทัยของพระองคแผกวางไพศาลตอเพือ่ นรวมโลก ตัวอยางหนึง่ จากพระดํารัสทีท่ รงตรัสวา “เรามีความรัก เมตตา ต่อพระราหุลฉันใด เราตถาคตก็มีความรักและเมตตาต่อ พระเทวทัตฉันนั้น” ตัวอยางที่สอง กอนจะดับขันธปรินิพพาน พระอานนทกราบทูลถามวา จะทรงแตงตั้งใครเปนพระศาสดา แทนพระองค พระพุทธองคทรงตรัสตอบพระอานนทวา “ให้สงฆ์ ดูแลปกครองกันเอง โดยยึดหลักพระธรรมวินยั เปนศาสดา” จากหลักฐานดังกลาวนี้แสดงใหเห็นถึงความบริสุทธิ์แหง หมูสงฆ และความประเสริฐแหงพระธรรมวินัยที่พระพุทธองค ทรงประทานใหแกชาวโลก เปนสิง่ ทีเ่ ลอเลิศดุจดวงแกวอันงดงาม ลํ้าคายิ่งที่ทรงประทานใหแกทุกผูคน ไมมีแบงแยกวาจะเปน ชนชั้นไหนและทุกคนสามารถปฏิบัติตามรอยบาทพระพุทธองค ไดไมจํากัดบุคคลและกาลเวลา

๑๖๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระทัยของพุทธองค ตองการใหสงฆเปนหนึ่งเดียว โดยเฉพาะหลักธรรมคําสอนของพระพุทธองคจะทรงเนน ใหคลายทิฐิมานะใหละเวนความถือตัวสําคัญตน ใหเขาใจวา สรรพสิง่ ทัง้ ทีเ่ ปนรูปธรรมและนามธรรมเปนอนิจจังและไรตวั ตน ยึดมั่นถือมั่นไมได เชน ทรงตรัสไววา รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปนของไมเที่ยง และทรงตรัสเนนอีกวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไมใชตวั ไมใชตน สรรพสิง่ ไมควรเขาไป ยึดมั่น ถือมั่น ไมควรถือวาเปนเรา เปนเขา ของเรา ของเขา พวกเรา พวกเขา มิตรหรือศัตรู ก็ไมใหสําคัญมั่นหมายแบงแยก ขอแตกตาง เพราะทุกรูปนามมีลักษณะเสมอภาคกันเรียกวา สามัญลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพราะเหตุนที้ รงขมวด พรหมจรรยวา “การมีกัลยาณจิต กัลยาณมิตร วานี่คือ หัวใจพรหมจรรยอันบริสุทธิ์” จงตั้งจิตแผเมตตา การุณย ตอเพื่อนรวมโลกโดยไมมีประมาณ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๖๓


ดังทีก่ ลาวมาแลวทัง้ หมดนี้ การยึดติดในเรือ่ งของลัทธินกิ าย จับผิดจับถูก แบงแยก ทะเลาะเบาะแวงแตกกัน จึงถือวาเปน มลทินเปนอุปสรรคตอการประพฤติพรหมจรรย ดังเหตุการณ ครั้งพุทธกาล พระสงฆทางฝายวินัยธร กับ ธรรมธร โตเถียงกัน ดวยพระวินยั เล็กๆนอยๆ ดวยเรือ่ งจุกจิกหยุมหยิม แลวคอยขยาย วงกวางออกเปนหมูคณะเปนพวก แมวาพระพุทธองคทรงตรัส กลาวตักเตือนใหออมชอมกัน ก็ยังไมยอมเชื่อฟง หาเรือ่ งกอเหตุ โตเถียงจับผิด จับถูกจะเอาชนะกันใหได พระพุทธองคจึงเห็นวา พระสงฆพวกนี้ ดื้อรั้นดวยทิฐิมานะ มิยอมกันเชนนี้ จึงไดเสด็จ หลีกไปประทับในปาเลไลย อันไกลลึกพนผูคนสังคมทีว่ นุ วาย อยู กับธรรมชาติ ปาเขา และสัตวปา จนเปนเหตุใหสัตวเดียรัจฉาน มีลิง ชาง เปนตน เปนคูใจดูแลอุปฏฐาก สวนพระสงฆทอี่ หังการทัง้ หลายแหล ในเมือ่ ถูกพระศาสดา ทอดทิง้ บรรดาศรัทธาสาธุชนผูเ ปนสัมมาทิฐิ ไดมองเห็นเหตุการณ นั้นจึงไมไดบํารุงดวยปจจัยสี่เทาที่ควร จึงทนอยูอยางแรนแคน แหงแลง อึดอัดขัดเคืองลําบากใจ สํานึกผิด เหตุการณในครัง้ นัน้ ยอมชี้ชัดใหเห็นแลววา ไมวายุคไหนสมัยใด ถาหากวาพระภิกษุ หรือหมูค ณะมีความคิดเห็นแตกแยกแตกสามัคคี ไมใหความเคารพ ในอาวุโส - ภันเต ไมใหความเคารพในสงฆ และไมเชือ่ ในพระธรรม พระวินัย จึงถือวาเปนการปฏิบัตินอกลูนอกทางสัมมาปฏิบัติ และพระพุทธองคไมทรงสรรเสริญไมสงเสริมถึงขนาดตอง เสด็จหนีจากการกระทําเชนนี้ของบุคคลหมูคณะนั้นๆ ๑๖๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ดวยนํา้ พระทัยอันบริสทุ ธิ์ ของพระพุทธองคทรงมีพระเมตตา โดยไมมีประมาณตอหมูสงฆ ทรงมีพระดํารัสวา “เธอทั้งหลาย ออกมาจากเรือน จากโคตรเหง้าเหล่ากอที่ต่างกันมาสู่ พระธรรมวินัยก็ชื่อว่าเปนบุตรพุทธชินสีห์ จะต้องดูแล ปรารถนาดีตอ่ กัน ยามเมือ่ ภิกษุรปู ใดรูปหนึง่ เจ็บไข้ได้ปว ยลง ก็ให้ชว่ ยกันดูแลรักษาพยาบาลดุจเปนพีน่ อ้ งกัน” แมพระองคเองก็ ยังทรงกระทําไมมีขอหลีกเวน เชน ครั้งหนึ่งพระติสสะเถระ นอน ปวยดวยโรคผิวหนัง ตอนแรกๆ ก็มีเพื่อนพรหมจรรยอยูดูแล รักษา พอนานเขาก็ถกู ทอดทิง้ ใหนอนซมพิษไข มีนาํ้ เหลืองเปรอะ เปอนทั่วตัว ทรมานลําบากมาก ความทราบถึงพระพุทธองค จึง ไดเสด็จมาดูแลตมนํา้ อาบชําระลางเยียวยารักษาแผลและพิษไข ตลอดถึงตมผาซักผาดูแลรักษาจนหายอยางดี และเปนเหตุให ทรงตรัสวา “ผู้ใดดูแลรักษาปฏิบัติภิกษุไข้ ผู้นั้นได้ชื่อว่าได้ ดูแลปฏิบัติอุปฏฐากเราตถาคต” ทานสาธุชนทัง้ หลาย นํา้ พระทัยอันประเสริฐเลิศลํา้ ทีท่ รงมี ตอชาวโลก พระองคไมมีความขยะแขยงแมแตโรคภัยรายแรง รวมทัง้ พระสาวกทีม่ าจากชนชัน้ วรรณะทีต่ าํ่ ตอย ซึง่ สังคมอินเดีย กีดกันยิ่งกวาสัตว พระองคก็ทรงยอมรับเขาในพระธรรมวินัย ปฏิบัติตอทุกรูปเปนสงฆอยางเสมอภาคกัน นี่แหละทานสาธุชน ทั้งหลายโปรดไดสําเหนียกวาเราเปนชาวพุทธอยาไดสะดุดขา ตัวเองดวยทิฐมิ านะ อหังการยึดถืออัตตาตัวตน แบงแยกพวกเรา พวกเขา ซึง่ เปนกําแพงอัตตาทีพ่ ระพุทธองคไดทบุ ทําลายมาแลว อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๖๕


อยาไดสรางขึ้นมาเปนเครื่องกีดขวางหัวใจอันบริสุทธิ์อยูแลว นั่นอีกเลย ฉะนั้นผูบําเพ็ญบารมีธรรมเจริญรอยตามพุทธบาท ของพุทธองค ควรจะมีสติปญญา มีเมตตาจิต โดยไมมีประมาณ ดุจสายนํ้าที่ละเอียดออนและเย็นใสซึมซับไปทั่วสรรพสิ่ง ดุจอากาศไมติดไมขัดเปนอิสรเสรีแผไพศาลไปทั่วสารานุทิศ ทั้งนี้การที่จะไมใหผูอื่น คณะอื่นที่มีความคิดเห็นแตกตางกัน ก็เปนไปไมไดเพราะพืน้ ฐาน ภูมธิ รรม บารมี และวิบากกรรมของ เพือ่ นรวมโลกทีต่ างกัน ก็ตองเกิดมาตามวิถที างบุญนํากรรมแตง หรือเปนชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงของโลกตามกาลสมัย บางครั้งก็เกิดกลียุค บางสมัยก็เจริญรุงโรจน ทั้งหมดทั้งสิ้น ก็หนีไมพนกฎแหงอนิจจัง เพราะฉะนั้นผูรูผานพิภพจึงไมหลงไปตามกระแสโลก จะเสือ่ มจะทรุดก็เฝาดูเปนเรือ่ งของสังขารธรรม จะไมหวัน่ ไหวตอ ๑๖๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เรียกวาเปนผูสํารวมสงบนิ่งอยาง พระอริยเจา ดุจการมองโลกตามทัศนะของพระพุทธเจาจาก มหาปรินพิ พานสูตร ซึง่ ถือวาเปนหัวใจของพระพุทธศาสนา ดังนี้ “อั ต ถิ ภิ ก ขเว ตะทายะตะนั ง , ยั ต ภะ เนวะ ปะฐวี นะ อาโป นะ เตโช นะ วาโย, นะ อากาสานัญจายะตะนัง นะ วิญญาณัญจายะตะนัง นะ อากิญจัญญายะตะนัง นะ เนวสัญญา สัญญายะตะนัง นายังโลโก นะ ปะระโลโก, นะ อุโภจันทิมา-สุรยิ า ตะมะหัง ภิกขะเว เนวะอาคะติง วะทามิ นะ คะติง นะ ฐิติง นะ จุติง นะ อุปปตติง , อัปปะติฏฐัง อัปปะวัตตัง อะนา รัมมะณะเนวะ ตัง เอเสวันโต ทุกขัสสาติ” “ภิกษุทั้งหลาย ! “สิ่ง” สิ่งนั้นมีอยู เปนสิ่งซึ่งในนั้น ไมมดี นิ ไมมนี าํ้ ไมมไี ฟ ไมมลี ม, ไมใชฌานทีเ่ พงอากาศจนปราศจาก อารมณ ไมใชฌานที่เพงอารมณการรับรูอันหาที่สุดมิได ไมใช ฌานทีเ่ พงความไมมอี ะไรอยางสิน้ เชิงเปนอารมณ ไมใชสภาพจิต ทีอ่ ยูใ นอารมณความจําไดหมายรูก ไ็ มใชจะวาไมมเี ลยก็ไมเชิง ไมใช โลกนี้ ไมใชโลกอืน่ , ไมใชพระจันทร หรือพระอาทิตยทงั้ สองอยาง ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีอันเกี่ยวกับ “สิ่ง” สิ่งนั้น เราไมกลาววามีการมา, ไมกลาววามีการไป, ไมกลาววามีการ หยุด, ไมกลาววามีการจุติ, ไมกลาววามีการเกิดขึ้น, สิ่งนั้นมิได ตัง้ อยู สิง่ นัน้ มิไดเปนไป และสิง่ นัน้ มิใชอารมณ, นัน้ แหละคือ ทีส่ ดุ แหงทุกข...!” คือ นิพพาน ความสงบร่มเย็นที่สุดของชีวิต อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๖๗


๑๖๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วิถีชีวิต พระ - เณร ในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล เวลา ๐๓.๓๐ เวลา ๐๔.๐๐ เวลา ๐๖.๐๐ เวลา ๐๙.๐๐ เวลา ๑๔.๐๐ เวลา ๑๘.๐๐ เวลา ๑๙.๐๐ เวลา ๒๑.๐๐

น. น. น. น. น. น. น. น.

สัญญาณระฆัง ทําวัตรสวดกรรมฐาน เจริญจิตภาวนา แผเมตตา จาริกบิณฑบาตในหมูบาน สวดปจเวกขณแผเมตตาจิต รวมบริหารรางกายพัฒนาวัด สัญญาณระฆัง ทําวัตรสวดกรรมฐาน เจริญจิตภาวนา แผเมตตา โดยเฉพาะวันโกน วัน ๗ คํ่า วันธรรมสวนะ อบรมกรรมฐาน และวันอุโบสถลงสังฆกรรม ฟงพระปาฏิโมกข ตลอดทุกฤดูกาล

งานประจําปสรงนํ้าพระธาตุแสงแกวมงคล เดือน ๖ เหนือ (เดือน ๔ ใต) แรม ๘ คํ่า ของทุกป นอกจากนั้นก็เปนการ ปฏิบตั ธิ รรมในเทศกาลตางๆ บางครัง้ ก็มกี ารทําบุญสองวัฒนธรรม ไทย – จีน และการอยูปริวาสกรรมทุกป ข้อสำาคัญประการหนึ่ง ของคณะสงฆ์ ที่ นี่ คื อ ขอตั้ ง จิ ต เป น กั ล ยาณมิ ต รให้ เพื่อนสหพรหมจารีย์ทุกเชื้อชาติ ทุกนิกาย ให้ได้ไปมาหาสู่ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๖๙


ทีม่ าแล้วก็ขอปฏิสนั ถารให้ได้รบั ความอบอุน่ ความเปนกันเอง รวมทั้งผู้ไม่ปรารถนาดี หรือผูจาริกแสวงบุญใหไดมีโอกาส ปฏิสนั ถารดวยมิตรไมตรี โดยเฉพาะผูทอี่ ยูรวมกันในสังฆมณฑล แหงนี้ ตางก็ตองใหความเคารพกันดวยอาวุโสภันเต ดูแลหวงใย ทุกขสุขซึ่งกันและกัน จะตองเคารพในสิทธิของความเปนภิกษุ ภาวะเสมอกัน มิใหมีการแบงชั้นแยกสถานะ และจะไมสงเสริม การมีสมณศักดิ์ จะไมสงเสริมสนับสนุนการศึกษาแบบสายสามัญ ไมวาจะระดับไหนสาขาใด รวมทั้งสิ่งที่เปนกระแสสื่อทางโลก การที่ไมนิยมใหไปรับรูทุกสื่อตามหลักที่พระพุทธองคทรงระบุไว วาเปนเดียรัจฉานวิชา ไมเปนไปเพื่อเบื่อหนาย คลายกําหนัด คลายความยึดมั่นถือมั่น ไมเปนไปเพื่อการปลอยวาง ไมเปนไป เพื่อคลายทิฐิมานะ อหังการ ความอยากใหญดวย กิเลส ตัณหา อวิชชา  ลําดับรายชื่อเจาอาวาส

๑. พระอานันท พุทธธัมโม (รักษาการณ) พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๓๐ ๒. พระแกว ปสนโณ

เจาอาวาส

พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๖

๓. พระทองจันทร จันทสาโร (รัก ษาการณ) พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๓๘ ๔. พระปริญ ญา ปภัส สโร (รัก ษาการณ) พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๐ ๕. พระเสริม ถาวโส

(รักษาการณ) พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๑

๖. พระอธิการบุญมี ปุญญคโม เจาอาวาส พ.ศ. ๒๕๔๑ - ปจจุบนั ๑๗๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วัตรปฏิบัติของ พระ - เณร ในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล

ดําเนินวิถีปฏิบัติตามหลัก “ฌาน*” คือทุกคนอยู่ร่วม

กันอย่างเสมอภาค ให้ความเคารพยำาเกรงในกันและกัน หลอมรวมความรูส้ กึ อันหลากหลายให้กลมกลืนเปนนำา้ หนึง่ ใจเดียว มีความสุภาพอ่อนโอนบำาเพ็ญจิตให้อดทนเข้มแข็ง ลดทิฐิมานะไม่แข็งกระด้าง ไม่หลงสำาคัญตน แผ่เมตตาจิต เปนกัลยาณมิตรต่อกันและกัน เปดใจกว้างพร้อมให้อภัย หมั่นตรวจสอบตนเอง ผสานสามัคคี บนวิถีแห่งสันติไมตรี สูภ่ ราดรภาพ สูค่ วามเปนธรรมชาติทสี่ ขุ สงบร่มเย็น ดำารงตน บนพืน้ ฐานทีธ่ รรมดาทีส่ ดุ คือวิถแี ห่ง “ฌาน” ขับเคลือ่ นญาณ วิถีด ้ ว ยสติป  ญ ญาเหนือ สรรพสิ่ง สลั ด ทิ้ง พั น ธนาการ ไม่ยึด รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อารมณ์ใดๆ ดุจรถที่วิ่งบน เส้นทางซุปเปอร์ไฮเวย์ (Superhighway) ที่ปราศจาก หลุมบ่อเปรอะโคลน โดยมีพลขับทีไ่ ม่ประมาทฉลาดในเส้นทาง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗๑


ก็สามารถขับเคลือ่ นยานพาหนะได้ทงั้ ทางบก ทางนำา้ ทางอากาศ สู่เปาหมายได้อย่างปลอดภัย สิ่งสำาคัญยิ่งคือการหมั่นภาวนาให้เกิดฌาน การภาวนา มิใช่จะต้องเข้าๆ ออกๆ หรือเฉพาะกาล มิใช่จะต้องนัง่ หลับตา ท่าเดียวก็หาไม่ แต่เปนการปลุกจิตวิญญาณให้ตื่นมองชีวิต และโลกอย่างชาญฉลาด แล้วดำาเนินชีวิตอย่างสามัญปกติ ธรรมดา ทั้งยืน เดิน นั่ง นอน นิ่งทุกอิริยาบถทุกลมหายใจ เข้า-ออก ด้วยการมีสติ มีปญญารอบรู้เท่าทันเหตุการณ์ ขณะทำางาน พักผ่อน การพบปะผู้คนสังคมอันหลากหลาย ไม่เสแสร้งแกล้งทำาสงบเหมือนนกกระยาง ไม่โอ้อวดแสดง ตนโฆษณา มอมเมางมงายคุณวิเศษ ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ วิ่งตามกระแสโลก ไม่ส่งเสริมการมียศถาบรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์ ให้ดำารงตนอย่างอดทนสงบเสงี่ยมเรียบง่าย ใช้ชวี ติ ให้เปนปกติธรรมดาผสานกลมกลืนความเปนหนึง่ กับ สัจธรรมตามธรรมชาติที่สุด

๑๗๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


*อธิบายเชิงอรรถ คำาว่า “ฌาน” หรือ “ธฺ๎ยานะ” เปน ภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีวา่ “ญาณ” และ “ปญญา” ตรงกับภาษาไทยว่า “ความรู้เฉลียวฉลาด” ภาษาจีนว่า “ฉาน” ภาษาญี่ปุนว่า “เซ็น” มีความหมายถึง รู้อย่างเฉียบ ขาดฉับพลัน ตรงกับภาษาลานนาไทยว่า “หลวก” คือ หลวกหลักแหลมพันหลักรอบคอบรูเ้ ท่าทันคนไม่ให้กเิ ลส มายาลวงหลอกตัณหาพาไป

หมายเหตุ ภาษาลานนานี้แตเดิมมาเรียกวา “ภาษา ลายธรรม” และเปนที่รูจักของประเทศเพื่อนบาน มีลังกา พมา เขมร ลาว และคนไตที่อยูในยูนนานประเทศจีน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗๓


๑๗๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลักการบําเพ็ญบุญ

หลักในการบําเพ็ญบุญ เปนสิง่ จําเปนสําหรับชาวพุทธซึง่

จะใหสมบูรณแบบจะตองทําอยางไร? พระพุทธองคทรงชี้แนะ การเปนคนทีส่ มบูรณแบบตองดวยลักษณะของผูมบี ญ ุ เจริญดวย บุญกุศล ความหมายของคําวาบุญ คือ คุณวิเศษที่จะทําใหคนได พัฒนาตนสูสิ่งที่สูงสงเรียกวา ผูมีบุญ ลักษณะของผูมีบุญจะ สะทอนออกถึงความเสียสละ ความไมเห็นแกตน ความเปนผูมี จิตใจเอื้อเฟอกรุณา ดวยเมตตาและการุณยตอผูอื่น ไมวามิตร หรือศัตรูกไ็ ดรบั อัธยาศัยจากผูม บี ญ ุ ผูท มี่ บี ญ ุ กุศลเปนเครือ่ งดํารง ตน จะเปนผูหนักแนนมัน่ คงอดทนตอความทุกข ความยาก ปญหา อุปสรรค จะเปนผูมีความศรัทธาเชื่อมั่นและปณิธานอันสูงสงตอ คุณงามความดีทงั้ หลายทัง้ ปวง จะไมแข็งกระดาง ไมเปนคนมุทะลุ หยาบคาย จะไมเปนคนใจรอน จะเปนผูที่ออนโยนสุภาพดวย มารยาทอันสุขุมเยือกเย็น งดงาม จะเปนผูที่รอไดคอยได จะมี วิจารณญาณ ไมมจี ติ ใจอันรอนรน ไมออนไหวจะไมหลงเชือ่ อะไร งายๆ ไมสะดุงสะเทือนในเมือ่ เจอเหตุการณคบั ขัน ผูมบี ญ ุ จะเปย ม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗๕


ไปดวยความมีนํ้าจิตนํ้าใจอันงดงามเรียกวา “หน้าบุญ” คือ ใบหนาของผูมคี ณ ุ ธรรมจะมีสงาราศีเปนประกายสะทอนออกมา จากแววตา กิริยาทาทาง การแสดงออกก็จะเปนไปเพื่อเกื้อกูล ประโยชนตนและผูอื่นโดยไมมีประมาณ และไมอาจจะซื้อหากัน ไดดวยทรัพยสินเงินทอง นี่คือลักษณะของตัวบุญคนมีบุญ สวน ตัวบาปและคนบาปก็จะตรงกันขามกัน ทุกประการ บุญเกิดมาจากไหน? เกิดไดอยางไร? เปนไปไดหรือไม? ซึง่ ตามหลักของพุทธองคทรงกลาววา ทุกสิง่ ทุกอยางเกิดมาแตทใี่ จ ใจจึงเปนบอเกิดแหงบุญ บุญเกิดขึ้นไดจากใจที่งดงาม ใจดี ถาจิตใจดีความรูสกึ ดีตางๆ ก็จะเกิดขึน้ เชน ความมีอธั ยาศัยไมตรี ความอดกลั้น อดทน การใหอภัย การไมถือโทษโกรธตอบ คือ ศิลปะการครองชีวิตอันชาญฉลาดคือพลังจิตที่กอเกิด แหงบุญกุศล จากการกระทําที่ออกมาจากจิตใจอันประเสริฐ ที่เรียกวา “บุญกุศล” ดังที่กลาวมาแลว ยอมจะไดรับอานิสงส ทําใหเรามองเห็นเพื่อนรวมโลกโดยไรพรมแดน มิตรหรือศัตรู ก็ถือวาเปนเพื่อนรวมสังคมโลก และเราจะมีลมหายใจละเอียด บริสทุ ธิ์ จะมีความรูสกึ ดีๆ ในการทีเ่ ราจะตองของเกี่ยวกับบุคคล และเหตุการณอันหลากหลาย พระพุทธองคทรงตรัสกิรยิ าอาการทีจ่ ะตองบมเพาะอุปนิสยั ของความเปนผูมีบุญไวดวยหลักใหญ ๓ ประการ คือ ๑. ทานมัย บุญสําเร็จดวยการมีนํ้าจิต นํ้าใจ เมตตา เอื้ออาทร ชวยเหลือเกื้อกูล มีความรักความปรารถนาดีตอผูอื่น ๑๗๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความเสียสละและอุทศิ ตนบําเพ็ญสาธารณประโยชน สาธารณกุศล เปนผูมีจิตใจกวางขวาง มีความคิดสรางสรรค พัฒนา ตาม แตละโอกาส ความสามารถ ดวยการมองเห็นการณไกลตอผูคน สังคมโลก การมีทัศนะอันกวางไกล ตองมีลักษณะถอยทีถอย อาศัยพึ่งพาอาศัยกันและกัน ถาถึงขนาดยกระดับสูงไปอีก ก็จะ เปนการเสียสละแบบไมหวังผลประโยชนตอบแทน ไมหวังผลเปน ชือ่ เสียงเกียรติยศ ไมไดกระทําการชวยเหลือดวยอคติ ถาตองเจอ อุปสรรคเครื่องขวางกั้นขวากหนามกับฝายที่ไมหวังดี จะดวย ประการใดก็ตาม จะเปนผูที่อดทนหนักแนนและพรอมที่จะ แบงปนจิตใจใหอภัยดวยความการุณย จะไมตําหนิติโทษจาก ผลกระทบโดยประการใดๆ และพรอมที่จะรับฟงการชี้แจงติชม หรือแมจะตองเปลี่ยนแปลงแกไขสิ่งใดที่ไดสรุปรวมความคิดเห็น ทีเ่ หมาะสมนัน้ ๆ ตองไมเปนผูท มี่ ที ฐิ กิ ระดางแข็งจนไมรจู กั ยอมใคร แตไมใชวาจะออนไหวไปหมดเสียทุกเรื่องที่สําคัญจะตองใชสติ ปญญาอยางรอบคอบ ตองระวังอยาใหหลงงมงายไปตามมงคล ตื่นขาวซึ่งมีวิธีการหลากหลายรูปแบบการทําความดีที่เปนบุญ ถึงที่สุดก็คือ ทําดวยจิตใจที่สูงสงที่ปราศจากแรงขับของกิเลส ตัณหา ราคะ ความหลง ครอบงําประดุจตนไมใหญที่สมบูรณ ผลิดอกออกผลแผรม เงากิง่ กานสาขาใหความรมเย็น ความงดงาม ประโยชนจากผลผลิตโดยไมคํานึงวาใครจะไดรับผลอานิสงสนั้น ๒. ศีลมัย บุญสําเร็จดวยการสํารวม สังวร ระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิใหยินดียินรายตอ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗๗


ธรรมารมณ เปนผูบังคับระวังกิริยา มารยาท ใหอยูในศีลสังวร มีศลี ๕ สําหรับฆราวาสคนทัว่ ไป ศีล ๘ สําหรับผูป ระพฤติอโุ บสถศีล ศีล ๑๐ สําหรับสามเณร ศีล ๒๒๗ สําหรับพระภิกษุ ศีลเปน เครื่องชําระกาย วาจา ใจ ใหบริสุทธิ์ ศีลเปนรากฐานอันมั่นคง ของชีวิต ศีลเปนรากฐานของคุณธรรมคุณงามความดีทั้งปวง ผูท รงศีลจะเปนทีร่ กั ทีเ่ คารพนับถือ เปนทีไ่ ววางใจ เปนทีป่ รารถนา เปนที่สักการบูชาแกคนและเทวดา ผูไมมีศีล ไมมีสัตย ชื่อวาเปน คนมัวหมอง ทําใหคุณภาพของชีวิตตกตํ่าเศราหมองเปนมลทิน เสียหายเปนพิษเปนภัยอันตรายแกตนเองและผูอื่น เพราะฉะนั้นพึงสํารวจสํารวมกาย วาจา ใจ ใหบริสุทธิ์ ดวยศีล ก็จะเปนบอเกิดแหงบุญกุศล เปนเนือ้ นาบุญยังความสงบ รมเย็นที่พึงปรารถนาของชาวโลก ๓. ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญจิตภาวนาพัฒนา จิตวิญญาณดวยปญญารอบรูมสี มรรถนะควรแกการดําเนินชีวติ ใหเปนไปตามทางแหงอริยมรรค มีองค ๘ ดังที่กลาวมาแลว ขางตนก็จะทําใหจิตใจเจริญดวยบุญกุศล จิตที่ฝกดีแลว จะสมควรแกการทํางานการปฏิบัติภารกิจจะนํามาซึ่งความสุข ความเจริญกาวหนาในอาชีพการงาน และธรรมจะคุมครองรักษา ผูประพฤติธรรม

๑๗๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความหมายของการทําบุญ

บุญมีความหมายอยางไร ผูทจี่ ะเขาถึงเนือ้ หาแหงบุญ หรือ

ถึงเนื้อนาบุญไดในระดับไหน ก็ขึ้นอยูกับบุคคล กาลเวลา และ วาสนาบารมีของแตละบุคคล แตทั้งนี้บุญยอมเกิดมาจากจิตใจ เปนตน เปนประธาน โดยเฉพาะจิตใจที่งดงามที่เรียกวา ใจดี ยอมสะทอนสูกริ ยิ า มารยาท ทีส่ ภุ าพออนโยน การไหว การกราบ การจาริกแสวงบุญในปูชนียสถานตางๆ การหมั่นพบปะบัณฑิต ผูทรงศีลและนักปราชญผูรูก็ถือวาเปนบอเกิดแหงบุญกุศล ความมีจติ สํานึกในมโนธรรมอันสูงสง ความอดกลัน้ อดทน ความ มีนํ้าจิตนํ้าใจ เมตตาและเอื้ออาทร ความสํานึกในพระคุณของ ผูมีอุปการคุณ มีบิดา-มารดา ผูบังเกิดเกลา ตลอดถึงผูไดเกื้อ หนุนพึง่ พาอาศัยพักพิง การชีแ้ นะ การชวยเหลือ ไมวาจะมากหรือ นอยก็ถอื วา เปนพระคุณอันยิง่ ใหญทจี่ ะตองสนองตอบตลอดชีวติ ดุจพระพุทธองค แมจะเปนองคศาสดา เปนมหาบุรษุ ของโลก ก็ทรงมีนํ้าพระทัยเปยมลนดวยความกตัญูตอพุทธบิดาที่ยังมี ชีวิตอยู และพุทธมารดาที่แมจะทิวงคตไปแลว เมื่อแรกใหทรง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๗๙


ประสูติกาล ตลอดถึงการสงเคราะหญาติ การมีนํ้าพระทัย เผื่อแผตอบุคคลทุกชนชั้น ดวยนํ้าพระราชฤทัยและการกระทําที่ บริสทุ ธิอ์ อนโยน ไรมารยาสาไถย จะสงบเสงีย่ มสงางามสมํา่ เสมอ ทุกกาลเวลา ตามที่นําเสนอนี้พอชี้ชัดลงไปไดวา ผูที่เปนเนื้อนาบุญ ยอมมีความแตกตางดวยบุคคลและกาลเวลา ผลอานิสงสที่เกิด ขึน้ จากการกระทํา ตางชัน้ ตางระดับกัน ตัง้ แตพนื้ ฐาน จนถึงทีส่ ดุ ทําใหจิตใจหลุดพนจากสิ่งรอยรัดแหงวัฏสงสาร การทําบุญทํา ทาน ในสมัยครั้งพุทธกาลก็ถือวาทุกคนมีสวนที่จะเพาะหวาน เมล็ดพันธุแหงเนือ้ นาบุญตัง้ แตคนยากจนอนาถา ผูมงั่ มีศรีสขุ ดัง ตัวอยางที่ผูยากไรบางรายที่ไดเสียสละผาหมกายเพียงผืนเดียว ของตัวเอง บางรายเพียงเข็มเลมหนึ่ง ไดรวมการกุศลโมทนา กับผูอ นื่ โดยไมบอกประกาศใหใครรูด ว ยซํา้ ไป ก็ปรากฏเปนอานิสงส อันยิ่งใหญ แมกระทั่งเด็กเล็กๆ เห็นผูใหญใสบาตรก็นึกสนุก ดวยจิตใจอันงดงามเก็บเพียงกอนกรวดกอนทราย ใสบาตร พระพุทธองคก็ทรงเมตตานอมรับโดยออนโยนและอนุโมทนา และทรงตรัสพยากรณวาดวยกุศลเจตนาของเด็กนอยผูนี้ ตอไป ในอนาคตจะไดเปนจอมจักรพรรดิ หลังจากเราปรินิพพาน และ ตอมาก็ไดกําเนิดหลังพุทธปรินิพพานประมาณ ๒๐๐ กวาป ในราชสกุลโมริยวงศเมืองปาตลีบุตร เปนจอมจักรพรรดิ อโศกมหาราช เปนองคศาสนูปถัมภผูยิ่งใหญในพระพุทธศาสนา การทําบุญใสบาตรพระสงฆสมณะชีพราหมณ ของชาวบานชาวเมือง ๑๘๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


โดยทัว่ ไปก็ถอื วาเปนการทําบุญ สัง่ สมบุญ ถาเปนเศรษฐีทมี่ ฐี านะดี ก็จะทําบุญใสบาตรทุกวัน เชน อนาถบิณฑิกเศรษฐี ไดทําบุญ อาหารกับขาวแกสมณะชีพราหมณ คนยากไรอนาถาทุกวัน เศรษฐี บางคนทําบุญเจ็ดวัน เปนเดือน เปนป ก็แลวแตโอกาส การที่ จะทําบุญแตละครั้งก็จะมีการตีฆองรองปาวบอกใหรูวาเศรษฐี ชื่อนั้น บานนั้น จะทําบุญแกสมณะชีพราหมณ คนยากจนอนาถา ใหมารับจะเปนกี่วันนั้นก็แลวแตจะกําหนดกัน และเปนที่ยอมรับ ในสังคมครั้งนั้นวา ผูที่มีเมตตาจิตบําเพ็ญทานลักษณะนี้วาเปน เศรษฐีคหบดี (ผูรํ่ารวยแตใจคับแคบไมถือวาเปนเศรษฐี)

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๘๑


๑๘๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การทําบุญในสังคมไทย

ในสังคมไทยเราก็จะนิยมทําบุญในเทศกาลตางๆ เชน วัน

วิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา เขาพรรษา ออกพรรษา วันธรรมสวนะ การทําบุญรักษาศีล ฟงพระธรรมเทศนา เจริญ จิตภาวนา ก็ถือวาเปนบอเกิดแหงเนื้อนาบุญ ที่สําคัญกวานั้นไป อีกก็คอื การไดเสียสละใหบตุ รหลานไดเขาสูก ารบรรพชา อุปสมบท หรือเจาตัวจะเกิดศรัทธาปสาทะอันแรงกลา ขออนุญาตบิดา มารดา เขาสูการบรรพชาอุปสมบท เปนพุทธบุตร เปนพระภิกษุ สามเณร บําเพ็ญสมณธรรมทําใหบดิ ามารดาไดเปนศาสนทายาท ก็ถือวาเปนการหวานเพาะเชื้อเนื้อนาบุญ เชน พิธีการจัดงาน บรรพชาอุปสมบท ตองเปนไปเพือ่ การแสดงออกถึงการสรางกุศล ผลบุญกันจริงๆ ซึ่งจะมีการเลี้ยงพระ เลี้ยงแขกเหรื่อที่มาในงาน เปนธรรมดา แตตองเปนไปอยางเรียบงาย มิใชมีการแหแหนกัน อยางเอิกเกริก หรือการเลี้ยงสุราเมรัยในงานบรรพชาอุปสมบท เปนสิ่งที่ไมถูกตองไมงดงาม ไมใชอริยประเพณี อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๘๓


ถึงแมวาสังคมจะถือวาเปนคานิยม แตก็เปนคานิยมที่ผิด นั่นคือเปนมิจฉาทิฐิ เปนทางแหงความเสื่อมเสีย ไมถูกตอง ตามหลักแหงศีลธรรม พระธรรมวินยั เพราะจะตองสูญเสียทรัพย โดยเปลาประโยชน เปนการมอมเมาใหคนอื่นเสียสติ ทําใหเสื่อม เสียสุขภาพพลานามัย ความนานับถือและเหตุอันตรายอันเกิด จากความประมาทในการดืม่ นํา้ เมา เปนเหตุการณไมพงึ ปรารถนา สูญเสียชีวิตและทรัพยสิน เปนอุทาหรณมาแลวมากมาย ในสังคมตั้งแตระดับชาวบานชนบทถึงสังคมเมือง จะนิยม การทําบุญทอดผาปา ทอดกฐิน งานทําบุญขึ้นบานใหม ทําบุญ แตงงาน ทําบุญงานศพ ไมรูวาเอาคานิยมการเลี้ยงสุรายาเมามา คลุกเคลาในงานบุญกุศล ซึ่งถือวาเปนงานบริสุทธิ์ไดอยางไร ทั้งๆ ที่พึ่งสมาทานศีลจากพระที่นิมนตมาอนุโมทนา พระฉันยัง ไมทันลุกจากที่อาสนะ ก็นําสุรายาเมามาดื่มกินกันอยางไมมี หิริ โอตตัปปะ การกระทําเชนนี้จะเปนบุญกุศลไดอยางไร ก็เห็นชัดๆ แลววา เปนการลบลางศีลธรรมอันดีงามอยางนาใจหาย เปนที่นาสลดสังเวช ยิ่งงานแหเครื่องไทยทาน งานผาปา งานกฐิน ไทยทาน งานสลากภัต และการแหเจานาค ก็มกี ารดืม่ กินสุรากันในงานบุญกุศล เชนนีถ้ อื วาเปนสิง่ ทีน่ าเศราสลดทีส่ ดุ ซึง่ มันเปนการแสดงออกถึง การทําลายวัฒนธรรมอันดีงามของชาวพุทธ นอกจากไมเปนบุญแลว ตองขาดทุนเปนบาปเปนโทษภัยพิษอันตรายอยางยิ่ง ๑๘๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สิ่งที่จะตองทําที่เปนบุญ กุศล คุณงามความดีคือการ สังวรระวัง กิริยามารยาท ให สงบเสงีย่ มสงางาม ทีจ่ ะตองอุม ขันขาวตอกดอกไม เครือ่ งไทยทาน ดวยกิริยามารยาทอันนอบนอม บริสุทธิ์ทั้งกายและใจ กลับเปน ถือขวดสุราและยาเมา ฟอนรํา เมามาย ดูอยางไรๆ ก็ไมใชกริ ยิ า ของการทําบุญแมจะถือวาไดรบั ความสนุกเพลิดเพลิน ก็ยิ่งทําใหจิตใจจมดิ่งลงสู อบายภูมิ ยิ่งถา มีการทะเลาะเบาะแวงชกตอยทํารายรางกาย ถึงฆาฟนหรือ ขับรถขบวนดวยอาการมึนเมา ก็ถือวาเปนอันตรายตอชีวิต อยางใหญหลวง เพราะไมใชคานิยมของชาวพุทธที่มีวัฒนธรรมอันสูงสงจะ พึงกระทําแตควรจะแกไขปรับปรุงใหถกู ตอง ตามหลักแหงสาธุชน ผูมใี จเปยมลนดวยบุญกุศลจิตใจงดงามบริสทุ ธิอ์ มิ่ เอิบ ซึง่ จะตอง ทําบุญทํากุศลเพื่อใหเกิดประโยชนเกื้อกูลแกตน และสังคมที่ ถูกตอง ถายทอดมรดกวัฒนธรรม การประพฤติปฏิบตั อิ นั บริสทุ ธิ์ เพื่อเปนแบบอยางแกอนุชน ซึ่งเปนสิ่งดีงามของบรรพชน ที่เปน มรดกหลอหลอมจิตวิญญาณอันสูงคายิ่งแกอนุชนรุนหลังใหได เจริญรอยตาม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๘๕


๑๘๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หัวใจของการทําบุญ

หั วใจประการสําคัญเกี่ยวกับเรื่องของการทําบุญ

ทําคุณงามความดี สรางสาธารณประโยชน การอุทศิ ตนเพือ่ ฟน ฟู บูรณะการพระพุทธศาสนา ตามวัฒนธรรมของชาวพุทธทีว่ า เปนการ ทําบุญทํากุศลทีแ่ สดงออกมาจากความศรัทธาปสาทะอันแรงกลา ตอพระรัตนตรัยก็ใชจะมีแตสงิ่ ทีน่ าพึงปรารถนาหรือการตอบรับ จากผูคนสังคมเสมอไปไม บางทีก็ตองมีการขัดแยงขัดขวาง กลั่นแกลงหลายๆ รูปแบบ ผูทําบุญกุศลคุณงามความดี ตองมี จิตใจอันหนักแนนจริงๆ ใชสติปญญา ความสามารถอยางเต็มที่ บางทีก็ตองอดทนปลอยใหเขาดา เขาวา โดยมิไดปริปากโตตอบ อยางยุคของพระครูบาเจาศรีวชิ ยั พระสงฆผทู รงศีล ทรงธรรม ทรงบารมีแหงดินแดนลานนาก็ถกู ฝายตรงขามกระทําการกลัน่ แกลง นําไปกักขัง ใสรายตัง้ หลายครัง้ หลายหน ถึงกับถือวาเปนขบถตอ แผนดินก็ยงั มี หรือพระเจาพิมพิสารไดทมุ เทความศรัทธาปสาทะและ สละพระราชทรัพย นําขาราชบริพาร พสกนิกรของพระองคให เลื่อมใสศรัทธาอุปถัมภ ในพระพุทธองคและพระสาวกตลอด อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๘๗


พระชนมชพี จนวาระสุดทาย พระราชบุตร องครชั ทายาทอชาตศัตรู ไดกอการรัฐประหารแยงชิงพระราชสมบัติ นําพระเจาพิมพิสาร ไปกักขังทรมานทุกรูปแบบ จนกระทั่งสิ้นพระชนมในที่คุมขัง หรือในยุคหลังพุทธกาล ๒๐๐ กวาป จอมจักรพรรดิอโศก มหาราชที่เปนองคศาสนูปถัมภก ผูยิ่งใหญ ไมมีมหากษัตริยองค ใดในโลกที่จะยิ่งใหญกวาพระองค ในบั้นปลายแหงชีวิตก็ถูก พระราชโอรสกอการรัฐประหารแยงชิงราชสมบัติ นําพระองค ไปกักบริเวณกีดกันการเอาราชทรัพยไมใหไปทําบุญกุศลทุกประการ ในทีส่ ดุ พระองคกเ็ หลือแคมะขามปอมเพียงครึง่ ผลไดฝากผูใ กลชดิ เอาไปถวายแดพระสงฆ ตัวอยางหลักๆ ๓ ทานทีไ่ ดนาํ มากลาวนีใ้ ชวาการทําความดี จะตองไดผลตอบสนองตามสายตาของชาวบานชาวเมืองหรือ ชาวโลกวานาจะตองไดรับสิ่งที่ควรคาแกการบําเพ็ญความดี ไฉนตองมาถูกจองจําซํ้าเติมใหไดความยากลําบากถึงปานนั้น ทัง้ นีถ้ อื วาการทําคุณงามความดีสรางบารมี นอกจากการกระทํา ในสิ่งที่ในสายตาของสังคม เปนสิ่งที่นาจะไดรับการสรรเสริญ นาอนุโมทนา เปนสิ่งดีงามสรรสรางประโยชนอยางทุมเทดวย ความศรัทธาปสาทะอันแรงกลาแลว ทานเหลานัน้ ก็จะตองมีจติ ใจ อันเขมแข็ง อดทนหนักแนน ไมหวั่นไหวตอผลกระทบขางเคียง หรือกระทบโดยตรง ตองมีหัวใจที่อุทิศเสียสละ เทิดทูนคุณงาม ความดี ดวยความยากดวยการฟนฝาอุปสรรค ก็ไมทอ ถอยนอยใจ ในชะตาชีวติ แมจะตองอยูอ ยางทนยากลําบาก ก็ตอ งถือวา เปนการ ๑๘๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พิสจู นหวั ใจอันบริสทุ ธิ์ จะไดรบั การทิม่ แทงบัน่ เนือ้ ทํารายทําลาย ถึงตาย ก็ไมไดเปนการทําใหคุณงามความดีของทานทั้งหลาย เหลานั้นเสื่อมสลายไปได และมันดูเหมือนเปนเรื่องปกติธรรมดา ทั่วไปของบุคคลที่ประกอบการบุญ การกุศล สรางคุณงาม ความดี จะตองเจอบททดสอบมากมายใหไดทาทายหัวใจของ ผูทรงบุญบารมี ทั้งนี้และทั้งนั้นใชวาการทําความดีแลวจะ ไมไดรับความดีเปนผลตอบสนองเหมือนกับที่เราเคยไดยินวา ทําดีไดดมี ที ไี่ หน ทําชัว่ ไดดมี ถี มไป ความรูส กึ และการเขาใจเชนนีค้ อื ความเขาใจของคนที่เห็นแกตัว จะเอาแตไดฝายเดียวไมยอม เสียสละ เห็นคนทีค่ ดโกงทําความชัว่ ทําแตบาปกรรมแตไดทรัพย ไดอํานาจวาสนาบารมีมาโดยมิชอบ มันก็เห็นไดชัดอยูแลววา มันเปนความชั่ว ความไมดี จะจัดวาเปนผลอานิสงสแหงความดี ไดอยางไร

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๘๙


แตสวนผูที่ทําคุณงามความดีสรางแตบุญบารมีมาตลอด แตมาเจออุปสรรคความทุกขยากลําบาก ถูกกลัน่ แกลง ถูกทําราย ทําลาย นัน่ ก็ใชวาการทําความดีจะไมไดดี เพราะสิง่ ทีเ่ ปนความดี อันสูงสงถึงทีส่ ดุ ก็จะเปนเครือ่ งพิสจู นใหโลกไดเห็นถึงการอุทศิ ตน การสรางวีรกรรมอยางไมเห็นแกชีวิตและความตายเปนเครื่อง บงชี้ถึงผูที่ทําความดี ไมหวังผลเปนความสุขสะดวกสบายของ ตนเองจะตั้งความปรารถนา แตหวังประโยชนสุขแกผูคนสังคม โลกเปนประมาณ ใครจะหัวเราะเยาะเยยทาทายวาการกระทํา นั้นๆ ของผูมีหัวใจอันบริสุทธิ์ วาทําไปทําไมตัวเองตองลําบาก เผชิญความทุกขยาก แตผูมุงทางกุศลจะถือวามันคุมคาแกชีวิต เวลาโอกาสที่โลกใหไดทําสิ่งที่ไดทุมเทเสียสละไปแลว จะเปน ผลานิสงสอนั ใหญหลวงแกแผนดินโลกตอไปอีกโดยไมมปี ระมาณ จึงขอตอบเรือ่ งทําความดีตองไดรบั ความดีนี้ บางทีกเ็ ห็นผลทันที บาง ผานกาลเวลานอยมาก ตามเหตุการณที่จะเกื้อกูลตามเวลา อันเหมาะสม แตที่แนๆ นั้นคุณงามความดีนั้นมันเปนมโนธรรม อันสูงสง เปนอานิสงสสมบูรณแบบเบ็ดเสร็จอยูในหัวใจของทาน เหลานั้นโดยบริบูรณอยูแลว

๑๙๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


บาทวิถีของนักบุญ ความทุกข์ทำาให้เกิดความคิด วิปสสนาญาณ ความผิดพลาด คือ ประสบการณ์สู่ความสำาเร็จ ตราบใดที่ยังมีชีวิตลมปราณ จงสู้ไปเถิดอย่าสิ้นหวัง ความมุ่งมั่นด้วยกุศลเจตนา คือ นำ้าทิพย์แห่งสรวงสวรรค์ อย่าคิดว่าการทำาความดีจะต้องมีความสุขเสมอไป แต่การฟนฝาความทุกข์ยากด้วยดวงใจอันสุขุม นั่นคือ มงกุฎอันลำ้าค่าและประเสริฐยิ่งของยอดมนุษย์

ตามรอยบาทนักบุญ ทางของนักบุญเปนทางแหงความเสียสละ ความบริสุทธิ์เปนทางประเสริฐที่สุด และยอมมีอุปสรรคขวากหนามขวางกั้นเปนธรรมดา จงกาวดําเนินไปดวยความอดทน และสุขุม ทางของนักบุญก็จะทอดสูดวงใจของทานทุกคน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙๑


บรรยากาศภูมิทัศน์อิสิปตนมฤคทายวัน สถานทีพ่ ระพุทธองคโปรดปญจวัคคียเ ปนปฐมเทศนา จนเกิดพระรัตนตรัยขึน้ ในโลก หลังพุทธปรินพิ พาน ๒๐๐ กวาป จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชไดทรงสรางธัมเมกขเจดีย และเสาราชสีหทลู ธรรมจักรแผสหี นาท ไปทั่วทั้ง ๔ ทิศ สัญลักษณการแสดงธรรม เกื้อกูลประโยชนสุขแกชาวโลก

๑๙๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การบวชการประพฤติพรหมจรรย

ความหมายของคําวา ภิกษุหรือสามเณร ทีไ่ ดออกจากเรือน

เขาสูการเปนนักบวชประพฤติพรหมจรรย ถือวามีความสําคัญ ยิ่งในการตัดสินใจเขาสูวิถีทางที่สูงสงเหนือคนธรรมดาโดยทั่วไป มันยอมหมายถึงวา ผูนั้นไดเริ่มมองเห็นประโยชนของการ ออกจากเพศคฤหัสถ ซึง่ เต็มไปดวยความหมกมุน วุนวาย อยูดวย เรือ่ งกิน กาม เกียรติ เขาสูก ารเปนผูม ชี วี ติ ทีส่ ลัดตนออกจากสังคม ทีว่ นุ วาย มุง ทิศทางสูโ ลกแหงความสงบดวยการถือสันโดษอดกลัน้ อดทนตอความไมสะดวก อดทนตอความใคร ความอยากก็ตอง ควบคุม บังคับใจเขมแข็งมีพลังภูมคิ มุ กันสูงมิใหไหลไปตามกระแส ความรูสึกอยางสามัญโดยทั่วไป โดยอุบายแหงพระกรรมฐาน ที่พระอุปชฌาย ไดอบรมบมเพาะใหตั้งแตเริ่มบวช เปนสิ่งที่ตอง นํามาศึกษา ตรึกตรอง ทําใหแจมแจงเห็นประจักษตอ องคไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ภายในกาย รูป นาม ธาตุ ขันธ จนเกิด ความเบือ่ หนายคลายกําหนัด คลายความใคร ความอยาก คลาย ความยึดมัน่ ถือมัน่ หลงงมงายดวยกิเลสตัณหาอุปาทานโดยประการ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙๓


ทั้งปวง จะเปนประโยชน เปนอานิสงสอันสูงสุดของการออกบวช ประพฤติพรหมจรรย การบวชมิใชการมาแสวงหาชื่อเสียง ลาภยศสมณศักดิ์ บริษัท บริวาร ไมใชตั้งตนเปนคณาจารย เกจิอาจารยขมังเวทย ผูวิเศษศักดิ์สิทธิ์ ไมใชสรางอาณาจักรใหแกตัวเองหรือหมูคณะ ความเปนสมณะตองเปนผูเพงเห็นโทษเห็นภัย เห็นอันตรายของ สิง่ ทัง้ หลาย ซึง่ มีรา งกายเปนตนตลอดถึงพิษภัยอันตรายของกิเลส ตัณหานานาประการวาเปนสิ่งนาขยะแขยง เปนภัยใหญหลวง ที่นากลัว มิพึงเขาไปเสพเกี่ยวของและยึดติดอยูกับสิ่งใดๆ ตาม ขอประพฤติพรหมจรรยทพี่ ระพุทธองคทรงประทานใหแกพระสาวก ที่จะขอยกมาเปนแบบอยางพอสังเขปดังนี้……….. “.....โมคคัลลานะ ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ไดสดับวา ธรรมทัง้ ปวง ไมควรถือมั่น ครั้นไดสดับดังนั้นแลว เธอยอมรูชัดธรรมทั้งปวง ดวยปญญาอันยิ่ง ครั้นรูชัดธรรมทั้งปวงดวยปญญาอันยิ่งแลว ยอมกําหนดรูธรรมทัง้ ปวง ครัน้ กําหนดรูธรรมทัง้ ปวงแลว ไดเสวย เวทนาอยางใดอยางหนึ่ง สุขก็ดี ทุกขก็ดี มิใชสุขมิใชทุกขก็ดี ยอม พิจารณาเห็น ความไมเทีย่ งในเวทนาเหลานัน้ พิจารณาเห็นความ คลายกําหนัด พิจารณาเห็นความดับ พิจารณาเห็นความสละคืน เมื่อเธอพิจารณาเห็นอยางนั้นอยู ยอมไมยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไมยึดมั่น ยอมไมสะดุงหวาดหวั่น เมื่อไมสะดุงสะเทือน ยอมมองเห็นนิพพานเฉพาะตัวทีเดียว ยอมรูชัดวาชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทํา ไดทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อ ๑๙๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความเปนอยางนี้ มิไดมี ดูกอนโมคคัลลานะ วาโดยยอดวยขอ ปฏิบัติเพียงเทานี้แล ภิกษุจึงเปนผูหลุดพนแลวเพราะสิ้นตัณหา มีความสําเร็จลวงสวน เปนผูเ กษมจากโยคะลวงสวนเปนพรหมจารี ลวงสวน มีทสี่ ดุ ลวงสวน ประเสริฐกวาเทวดาและมนุษยทงั้ หลายฯ” “ภิกษุทั้งหลาย! ..กิจอันใดที่ศาสดาผูเอ็นดูแสวงหา ประโยชนเกือ้ กูล อาศัยความเอ็นดูแลว จะพึงทําแกสาวกทัง้ หลายฯ ภิกษุทั้งหลาย นั่นโคนไม นั่นเรือนวาง ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอ จงเพียรเผากิเลส อยาไดประมาท พวกเธอทั้งหลายอยาไดเปน ผูทตี่ องรอนใจในภายหลังเลย นีแ่ ลเปนวาจาเครือ่ งพรํา่ สอน พวก เธอทั้งหลายของเรา” “ดูกอ่ นอานนท์! ..ธรรมและวินยั ใด ทีเ่ ราตถาคตแสดงแลว และไดบญ ั ญัตแิ ลวแกเธอทัง้ หลาย ธรรมและวินยั นัน้ จักเปนศาสดา ของเธอทั้งหลาย เมื่อเราตถาคตลวงลับไปแลว” “.....ดูกอ่ นภิกษุทงั้ หลาย! ..ดังพรรณนามาฉะนี้ พรหมจรรยนี้ จึงมิใชมลี าภสักการะและความสรรเสริญเปนอานิสงส (ผลทีม่ งุ หมาย) มิใชมคี วามสมบูรณแหงศีลเปนอานิสงส มิใชมคี วามสมบูรณแหง สมาธิเปนอานิสงส มิใชมญ ี าณทัศนะเปนอานิสงส แตพรหมจรรยนี้ มีเจโตวิมุตติอันไมกําเริบเปนเปาหมาย เปนแกน เปนที่สุด” “.....ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย! พรหมจรรยนี้เราประพฤติ มิใชเพื่อหลอกลวงคนใหนับถือ มิใชเพื่อเรียกคนมาเปนบริวาร มิใชเพื่ออานิสงสเปนลาภสักการะ และความสรรเสริญ มิใชเพื่อ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙๕


อานิสงสจะไดเปนเจาลัทธิคณาจารยอยางนั้นอยางนี้ และมิใช เพือ่ ใหมหาชนเขาใจวา เราไดเปนผูวเิ ศษอยางนัน้ อยางนี้ ก็หามิได ที่แทพรหมจรรยนี้ เราประพฤติเพื่อสังวร เพื่อปหานะ (ความละ) เพื่อวิราคะ (เพื่อคลายกําหนัด) เพื่อนิโรธะ (เพื่อดับสนิทซึ่งทุกข) แล” "พระผูม พี ระภาคเจานัน้ ไดทรงแสดงพรหมจรรย อันเปนการ ละเวนสิ่งที่ควรกลาวตามกันมาเปนทางหยั่งลงสูพระนิพพาน เพื่อสังวร เพื่อปหานะ” ทางนั้น มหาบุรุษทั้งหลาย ผูแสวงหาคุณอันใหญไดดําเนิน แลว ชนเหลาใดดําเนินตามทางที่พระพุทธเจาทรงแสดงไวแลวนั้น ชนเหลานั้นชื่อวาทําตามคําสอนของพระศาสดา จะกระทําที่สุด แหงทุกขได (บรรลุถึงเปาหมาย อันสูงสุดคือความสุขสงบรมเย็น คือนิพพาน)

๑๙๖

“ผู้ใดเห็นธรรม

ผู้นั้นเห็นเราตถาคต

ผู้ใดเห็นเราตถาคต

ผู้นั้นคือผู้เห็นธรรม”

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลักหัวใจพรหมจรรย

หลักที่จะต้องสังวรและปฏิบัติ ๒๓ ประการ

• จะตองอดทนขมอินทรีย (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) อยางยิ่ง • จะตองไมตกเปนทาสของรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสใดๆ ทั้งสิ้น • จะตองสํารวมกาย วาจา ใจ ไมใหฟุงซาน • จะตองไมหลงใหลในวัตถุอันเปนเหตุตัณหากามคุณ • จะตองถือสันโดษ ไมหลงยึดติดอํานาจ ลาภ ยศ สิง่ สักการบูชา • จะตองไมหลงระเริงยึดติดอยูกับการยกยองสรรเสริญ • จะตองไมปลอยตนประพฤติใหเกิดความเสือ่ มเสียเปนอันขาด • จะตองพิจารณาโดยแยบคายกอนแลวบริโภคปจจัยสี่ (จีวร อาหาร ที่อยู ยารักษาโรค) • จะตองพิจารณาใหเห็นความไมงาม และโทษภัยของรางกาย • จะตองเห็นโทษภัยของตัณหากามคุณ กิเลส เปนภัยอันใหญหลวง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙๗


• จะตองพิจารณาใหเห็นชีวติ นีก้ าํ ลังถูกไฟเผาไหมอยูต ลอดเวลา • จะตองพิจารณาใหเห็นความตายอยูแคปลายจมูก • จะตองมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียงเหมือนเสี้ยนหนาม • จะตองมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียง คือภัยทําลายความสงบสุข • จะตองมองเห็นลาภสักการะเหมือนกองอุจจาระ • จะตองมองเห็นทรัพยสมบัติใดๆ ในโลกเปนเพียงภาพลวงตา • จะตองมองเห็นสิง่ มหัศจรรยทสี่ ดุ ของโลก คือ ความเปนอนิจจัง • จะต อ งมองเห็ น มรดกอั น ยิ่ ง ใหญ ข องโลกคื อ การลด ความสําคัญตนและปลอยวาง • จะตองสงบนิ่งอยูอยางไมลุมหลงมัวเมาตามกระแสตัณหา และอยูอยางเรียบงายที่สุด • จะตองทําจิตใจใหสะอาดบริสุทธิ์ ผองใสอยูเสมอ • จะตองพิจารณามรณานุสติ (นึกถึงความตาย) เปนอารมณ • จะตองมองใหเห็นชีวิตและโลกเปนของวาง สลัดความยึดติด ตอสิ่งทั้งปวง • จะตองมีเมตตาธรรม เสียสละเพื่อประโยชนสุขเกื้อกูลแก ชนทั้งหลาย

๑๙๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลักการเจริญจิตสมาธิภาวนา การเจริญจิตทําสมาธิภาวนา คือความตั้งใจอยางมุงมั่น ในการที่จะเจริญจิตเอาขอธรรมขอใดขอหนึ่งนอมนําเอามาเปน บทพิจารณาเปนอารมณกรรมฐาน ชั้นตนเรียกวา ความเตรียม พรอมทีจ่ ะจัดการกับ กาย วาจา ใจ ใหอยูในอาการแหงความสงบ เรียกวา สมถกรรมฐาน ซึ่งรวมถึงการหาสถานที่ที่เหมาะสม อันจะเปนอุบายเกือ้ กูลแกสมั มาปฏิบตั ิ ขัน้ ตอไปเรียกวา วิปส สนา กรรมฐาน ซึง่ มีอบุ ายวิธถี งึ ๔๐ อยาง เชน การนําเอาความเกิดดับ มาเปนบทพิจารณา หรือนําเอามรณานุสติ นึกถึงความตายเปน อารมณมาเปนบทพิจารณา หรือนําเอาอสุภกรรมฐานมาเปน บทพิจารณา หรือนอมนําเอาเมตตาเปนเครื่องอยูแหงใจเรียกวา มีเมตตาเปนวิหารธรรม ทําในใจใหเจริญอยูดวยเมตตา ปราศจาก การของแวะยึดติดบุคคลตัวตน ไมมีการแบงแยกเราแยกเขา จนจิตสูกระแสแหงเมตตาเจโตวิมุตติหลุดพนดวยอุบายแหง เมตตาธรรม หรือการนอมจิตสูความวาง มองใหเห็นชีวิต มองโลกโดยความเปนของวางเปนกัมมัฏฐาน เรียกวาอยูดวย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๑๙๙


ความรูแจมแจงถึงที่สุดของสรรพสิ่งวางและสงบ โดยมีสุญตา เปนเครื่องอยูเปนปรกตินิสัยเปนวิหารธรรม การทําสมาธิภาวนา ถาใหอยูในทานั่ง ก็ใหนั่งขัดสมาธิ เอา เทาขวาซอนทับเทาซาย มือวางซอนกันบนตักหงายมือทัง้ สองขึน้ มือขวาซอนทับบนมือซาย ตั้งตัวใหตรงหลับตาสํารวมสติใหเปน ไปในกาย เวทนา จิต ธรรม เพื่อนอมจิตสูการพิจารณาใหเห็น ความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจาก สิ่งทั้งหลายทั้งปวง ใหเกิดความรูแจงเห็นตามสภาวะความ เปนจริงของสังขารธรรมวามันเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พิจารณา ตามบทแหงพระกรรมฐานคือใหเห็นแจมแจงวา สิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง เขาไปยึดมัน่ ถือมัน่ ไมได สังขารธรรมทัง้ หลาย ทัง้ ปวงมันเปนทุกข เต็มไปดวยโรคภัยไขเจ็บ ความเจ็บปวดทรมานนาหวาดกลัว เปน สิ่งไมนายินดี และเต็มไปดวยมูตร คูถ สิ่งสกปรกเปนของไมงาม และจะยึดถือสิ่งใดๆ วาเปนตัวเราของเรา ผูอื่นหรือสิ่งอื่นใด ไมไดทั้งนั้น เพราะมันไรตัวตน ไมวาจะเปน รูป รส กลิ่น เสียง การสัมผัส และธรรมารมณ โลกนีห้ รือพระจันทร พระอาทิตย ดิน นํ้า ลม ไฟ และวิญญาณที่รับรูตอสัญญาใดๆ ก็เปนสิ่งที่ยึดถือ ไมไดทั้งนั้น ไมวาจะเปนความสุขหรือความทุกข สิ่งนายินดีหรือ ไมนายินดีทั้งหลาย เรื่องราวในวิถีชีวิตทั้งดีและราย ทั้งที่กําลัง จะเกิดหรือเกิดขึน้ แลว ก็ลวนแตเปนเหมือนภาพมายา เกิดขึน้ แลว ก็ดับหายไป ไมมีสิ่งไหนหรือเรื่องใดที่จีรังยั่งยืน เพราะฉะนัน้ จึงนอมนํามาพิจารณาใหเห็นดวยสติและปญญา วา เปนสิ่งที่นาเบื่อหนาย นอมจิตสูการคลายความถือตัว ยึดมั่น ๒๐๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ดวยตัณหา ราคะ โทสะ ใหบรรเทาเบาบางไป ทําจิตใจใหปลอยวาง ไมหลงงมงายสําคัญมั่นหมายยึดถือสิ่งใดๆ ในโลกวาเปนตัวเรา ของเรา เพราะสรรพสิ่งเปนเพียงสิ่งสมมุติ มิใชเรา มิใชทาน ไมใช การอยู ไมใชการพราก เพราะมันเปนอนัตตา สุญตา โดยธรรมชาติ แลวมันมิไดเปนสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา เพราะเหตุนพี้ ระพุทธองค จึงทรงใหมองเห็นชีวิตและโลกวา เปนของวางและสงบ สํารวม กาย วาจา ใจ ใหบริสุทธิ์ สุภาพออนโยน ไมสําคัญตนดวย ทิฐิมานะดวยอหังการ โดยการยึดหลักมัชฌิมาปฏิปทา ยินดีซึ่ง นิพพาน คือ ความดับ ความเย็น มีความรูสึกตื่นตัวแจมแจง ในสัจธรรมเปนเครื่องอยูเจริญจิตในสุญตาวิหารธรรมและ เมตตาธรรมเปนเครื่องอยูเปนนิจ การเจริญจิตทําสมาธิภาวนาควรตระหนักวาจะตองให เปนไปผสานความเปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติทุกอิริยาบถทั้งนั่ง ยืน เดิน นอน ตองเปนไปอยางมีสติอยูทุกขณะเวลา และขอโปรด เขาใจวาการเจริญจิตทําสมาธิภาวนานัน้ ไมใชจะตองเขาๆ ออกๆ หรือทําเปนเพียงพิธีการเทานั้น จะตองมีสติปญญาตลอดทุก ลมหายใจเขา-ออกทุกขณะเวลา โดยไมประมาท เพราะความ ประมาทเปนบอเกิดแหงภัยอันตรายทั้งหลาย ที่บูรพาจารยเจา ทานไดใหกําหนดเอาพุทธานุปสสนาสติปฏฐาน เปนองคภาวนา เปนชีวิตจิตใจทุกขณะเวลา หายใจเขาใหกําหนด “พุท” หายใจ ออกใหกําหนด “โธ” พรอมกับจังหวะการสูดลมหายใจเขาออก ซึง่ นัน้ หมายถึงวาเราจะตองตืน่ ตัวตืน่ ใจดวยสติปญ  ญา ดวยความ รูสกึ ละเอียดบริสทุ ธิส์ งบสุข ใหขบั เคลือ่ นสูวปิ ส สนาญาณ อันเปน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๐๑


พลังที่พิเศษสุดยอด ในการทําหนาที่หลั่งสารหลอเลี้ยงชีวิต จิตวิญญาณ ใหอิ่มเอิบเบิกบานผสานเปนหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ แหงสุญตา ความวาง ความปลอยวาง ความบริสุทธิ์ ความสงบ ของสัจธรรมไดอยางอัศจรรยยิ่ง ฉะนั้นจึงถือไดวาเรื่องของการ ฝกฝน การเจริญจิตทําสมาธิภาวนา เปนเรื่องของทุกชีวิตไมวา จะเปนบรรพชิตหรือคฤหัสถ ไมจาํ กัดวาจะตองเปนเวลาไหน สถาน ที่เชนไร ก็ลวนแตเปนที่เกื้อกูลแกการภาวนาพิจารณาใหเห็น แจมแจง ในสภาวธรรมในทุกสถานที่โอกาส เพราะสัจธรรม เปนสิ่งที่ไมไดจํากัดบุคคล ไมไดจํากัดกาลเวลายุคสมัย และเปน สิ่งสัมพันธตอทุกชีวิตสูวิวัฒนาการอยางสําคัญยิ่ง ขอสําคัญอีกประการหนึ่งที่เราจะตองตระหนักวาสัจธรรม ของพระพุทธองค ที่ไดทรงคนพบนั้น คือทรงคนพบหลักสัจธรรม แหงความทุกขทุกประการ ที่เกิดขึ้นกับชีวิตและโลก เปนการมอง เห็นชีวิตและโลกตามความเปนจริง มิใชจะตองกลบเกลื่อนหรือ วิ่งหนีความทุกข แตพระพุทธองคทรงยํ้าเตือนอยูเสมอใหมองเห็น ทุกขโทษภัยอันตรายของ ความทุกข ความยาก ความลําบาก ตัวปญหา อุปสรรคทั้งหลาย ทั้งปวงอยางแยบยล อยางเผชิญหนา ใหรจู กั ถึงพิษสง อันตราย ทุกขโทษใหถงึ ทีส่ ดุ แลวนํามาหลอมรวม อยู ณ ที่องคภาวนาในใจใหประจักษแจงตนเหตุสมุฏฐานวา ความทุกขทั้งปวงเกิดมาจาก ตัณหา ราคะ ความโลภ โกรธ หลง ประดุจปศาจคอยจองรังควาน กอกวนความวุนวาย เดือดรอน ทําใหกนิ ไมได นอนไมหลับ กระสับกระสาย ครํา่ ครวญ ปริเวทนาการ บางก็ขุนแคน อาฆาต พยาบาท กอกรรมทําเข็ญอยางดุราย ๒๐๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


บางก็หลงงมงาย ยึดติดในเรือ่ งกิน เรือ่ งกาม เรือ่ งเกียรติ การพนัน หมกมุน ลุมหลง มัวเมา ยึดติดอยูกบั สิง่ ทัง้ หลายอยางไมลมื หูลมื ตา เปนสิง่ ทีน่ าเศราสลดสังเวช นาเบือ่ หนาย จึงตองพิจารณาเห็นตาม ความเปนจริงวา สิง่ ใดๆก็ตามทีเ่ กิดดวยเหตุดวยปจจัยปรุงแตงใดๆ แลว สิ่งนั้นๆ ยอมมีความดับไปเปนสภาพธรรมดา เพราะเหตุนี้ นั่นเอง ซึ่งเปนความจริงที่อยูเหนือการพิสูจน อยูเหนือเหตุผล อยู เหนือวิทยาศาสตร เหนือการเปรียบเทียบ เพราะเปนไปเพื่อคลาย ความใคร ความกําหนัด ตัณหา ราคะ ความละโมบ ความถือตน ทะนงตัว ทําความอาฆาตพยาบาทใหดับเย็นสงบ ระงับและตัดใจ ไมมีความกังวลในสิ่งทั้งหลายทั้งปวงเสียใหไดเทานั้น พรอมกันนี้ พระพุทธองคก็ไดประทานอริยมรรคมีองค ๘ ประการ เปนเครื่อง ดําเนินชีวติ ทีช่ อบตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลางเกือ้ กูล แกชีวิตใหไดดําเนินอยูบนโลกนี้โดยไมของติดยึดถือถวงให เสียโอกาส เสียเวลา ลมๆ แลงๆ ไรสาระแกนสารอยูกบั โลก จนอยู เหนือโลกเหนือความเกิด ความแก ความเจ็บ ความตาย เหนือคํา วาแพหรือชนะ เหนือการเปรียบเทียบดวยประการทัง้ ปวง เหนือความสุข เหนือความทุกข อยูเหนือปญหาทุกอยางทุกประการ เพราะฉะนั้น จงยินดีตอการเห็นความดับ ความเย็น ความสงบ สํารวม ทําจิตใจ ใหเยือกเย็นเจริญจิตอยูในสุญตาวิหารธรรม ซึ่งถือวาทุกชีวิตก็ ปรารถนาความสุข สงบ ความเย็นจิตเย็นใจ เชนนี้ดวยกันทั้งนั้น เพราะฉะนั้นจงตั้งจิตอธิษฐานหมั่นภาวนาขอสรรพสัตว ทั้งหลายจงเปนเพื่อน เปนกัลยาณมิตร มีไมตรีจิตเคารพยําเกรง ปรารถนาประโยชนสุขตอกันและกันโดยไมมีขอบเขตจํากัด อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๐๓


ทําหนาที่ของตนๆ ใหเกิดมิตรภาพไมตรีจิตตอกันโดยทั่วหนา เปนเพื่อนรวมสังคมโลก ทําโลกใหงดงามดวยการทําชีวิตใหมี คุณคา จะอยูก็ขอใหอยูดวยความสงบรมเย็น ทําชีวิตใหเปนไป เพื่อเกื้อกูลเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน แมจะตองเจ็บปวยและ ตองตาย ก็ใหเปนไปดวยอาการแหงความสุขสงบ สรุปขอปฏิบัติดวยหลักคําสอนในวันแสดงพระโอวาท ปาติโมกขวา “พึงละเวนจากบาปกรรม ความชั่ว ทัง้ หลายทั้งปวง จงทําแตกศุ ล คุณธรรม คุณงามความดี ทัง้ กาย วาจา ใจ ใหถงึ พรอม บริบูรณ และทําจิตใจใหสงบสดชื่นสะอาดบริสุทธิ์ผองใสทุกเมื่อ” และกอนทีพ่ ระพุทธองคจะทรงดับขันธปรินพิ พานทรงตรัสเปนการ สรุปวิชาความรูทั้งหมดดวยพระโอวาทครั้งสําคัญวา... “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้, เราขอเตือนทานทั้งหลายวา... สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา ทานทั้งหลาย จงทําความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด นี่เปนพระวาจาในครั้งสุดทาย ของพระตถาคตเจา...” “ภิกษุทั้งหลาย! กิจอันใด ที่ศาสดาผูเอ็นดู แสวงหา ผลประโยชนเกือ้ กูล, อาศัยความเอ็นดู จะพึงทําแกสาวกทัง้ หลาย ภิกษุทั้งหลาย! นั่นโคนไม นั่นที่สงัด เธอทั้งหลายจงบําเพ็ญ (ทําความเพียรภาวนา), เธอทั้งหลายจงอยาเปนผูประมาท, เธอทั้งหลายอยาตองเปนผูที่ตองใจรอนในภายหลัง นี่เปนวาจา เครื่องพรํ่าสอนเธอทั้งหลายของเรา!” ๒๐๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การถือพระรัตนตรัย การถือพระรัตนตรัยเปนทีพ่ งึ่ กอนอืน่ ใดเราตองรูจกั ตัวเอง กอน วาทําไมเราจึงตองการทีพ่ งึ่ จากสิง่ อืน่ เพราะโดยสัญชาตญาณ ของสัตวโลก จะตองอาศัยความประคับประคองจากผูอื่นเปน เบื้องตน อันมีบิดา-มารดา วงศาคณาญาติหรือครูบาอาจารย และผูมีประสบการณมากอนคอยประคบประหงมให ดูด ดื่ม กิน เสาะแสวงหาปจจัย เพื่อยังชีพและฝกใหเปนผูมีความสามารถ ทีจ่ ะพูด จะยืน เดิน เคลือ่ นไหวแหวกวายโบยบินจนปกกลาขาแข็ง จนมีความคิด ความอานของตัวเองบางก็สรางรวง บางก็สรางรัง สรางบาน สรางเรือนเปนที่คุมแดด คุมฝน คุมอันตราย นี่คือ จุดเริ่มตน ของการเสาะแสวงหาโดยสัญชาตญาณ โดยเฉพาะคนไดตอสูดนิ้ รนแสวงหาวิชาความรูและปจจัยสี่ มาบํารุงบําเรอ ใหชวี ิตไดรบั ความสะดวกสบาย แสวงหาสิง่ บํารุง บําเรอใหพิลึกพิลั่นกวาสัตวใดๆ ทั้งวิชาความรูก็เปรื่องปราชญ ทั้งอํานาจก็ยิ่งใหญ จนกระทั่งสัตวใหญที่มีเขี้ยวเล็บดุราย ก็ถูก คนจับมาฝกใชงาน อํานวยความสะดวก และนํามาสูกรงเก็บ ไวดูเลนและเปนเหยื่อเปนอาหารได รวมถึงการแยงชิงอํานาจ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๐๕


ฆาฟนทําลายกันอยางดุราย หวังจะไดมาซึ่งความพึงพอใจดวย ความละโมบ ผลที่สุดก็เปนการกอกรรมทําเข็ญ เปนเวรเปนภัย ตอกันและกัน ถึงจะเปนเจาชายองครัชทายาท จอมกษัตริย จักรพรรดิผูยิ่งใหญ คหบดี เศรษฐีมหาศาล ครอบครอง เพชรนิลจินดาสิ่งลํ้าคาขาทาสบริพารมากมาย หรือคูผัวตัวเมีย เจาบาวก็สงางาม เจาสาวก็สวยเพริศพริ้ง หรือไดลูกไดหลาน สืบทายาทเปนที่ปรารถนาของชาวโลก ทั้งหมดลวนถูกครอบงํา ดวยอิทธิพลของกิเลสตัณหา ราคะ ความโลภ โกรธ หลง เปนตน เหตุของความพลัดพรากจากกัน โศกะ ปริเทวะ รํ่าไร รําพัน สิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง ดังทีก่ ลาวมานีค้ อื มูลเหตุของการเสาะแสวงหา ทีพ่ งึ่ และการถลําลึกสูการไรทพี่ งึ่ ฉะนัน้ ชีวติ นีจ้ งึ คูควรแกการพึง่ พระรัตนตรัย พระรัตนตรัยคือ ความงดงามประดุจเพชรอันลํา้ คาของโลก ๓ ประการ คือ พระพุทธเจา พระธรรมเจา พระสงฆเจา องค ไตรรัตนทั้ง ๓ นี้ คือ สื่อสัญลักษณความสุขสงบความผสมผสาน อยางสมบูรณลงตัวของธรรมชาติแหงชีวิตที่มีความงดงามยิ่ง ประดุจเพชรพลอย ๓ ชนิด ในเนือ้ หาเดียวกันทีเ่ ปนอยูโ ดยธรรมชาติ คือ คุณชาติอันประเสริฐสุด คูควรแกทุกคนในโลกที่จะนอมรับ มาเปนสรณะทีพ่ งึ่ พึงควรตระหนักวา ธรรมรัตนะ คือ ความงดงาม อันลํา้ คายิง่ นัน้ ทานเปรียบประดุจเพชรทีม่ คี ณ ุ ลักษณะอันอลังการ ในตัวมันเองอยูแลว เพียงคนทีม่ คี วามรอบรูเขาใจถึงคุณลักษณะ ขุดคนนํามาเจียระไนใหเกิดคุณสมบัติเปนที่ตองการของชาวโลก ฉันใด ธรรมรัตนะอันเปนธรรมชาติแหงความสุขสงบ ความสมบูรณ ของสรรพสิ่งที่มีอยูโดยธรรมชาติที่สิงซึมอยูทั่วทุกหนทุกแหง ๒๐๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เปนความงดงามอันไรที่ตําหนิ เปนสิ่งที่มีอยูไดโดยตัวมันเองและ เปนสิ่งสูงสุดที่ไมมีใครสรางขึ้น สถิตอยูทั่วในมวลชีวิตทั้งหลาย ซึง่ พระพุทธองคทรงตรัสไววา “ตถาคตจะเกิดขึน้ หรือไม่กต็ าม ธรรมชาติแห่งธรรมรัตน์คอื สัจธรรม (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เปนหลักธรรมเปนกฎแห่งความเสมอภาคของสากลเปน สิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว ซึง่ พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบแล้วนำามา ประกาศ เปดเผยต่อชาวโลกประดุจการหงายของที่ควำ่า เปดของ ที่ปด” จนมีคนรูแจงแทงตลอดแหลงกําเนิดสิ่งลํ้าคาดังกลาว ตามพระพุทธองคแลว จึงเกิดเปนองคไตรรัตน คือ แกวทัง้ ๓ ประการ คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ เปนที่พึ่งอันเกษมของ ชาวโลก การถือพระรัตนตรัยเปนที่พึ่งหรือความเปนชาวพุทธก็มี ตางระดับชั้นตามที่ปรากฏตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันคือ เราเริ่ม ปลูกฝงกันมาตั้งแตในยุคพุทธกาล ที่พระพุทธองคไดทรงแสดง สัจธรรมแกผูคนหลากหลายใหไดรูแจมแจงความจริงของชีวิต จุดประกายพุทธิปญญาใหแสงสวางแกชีวิต จนหลุดพนจาก อิทธิพลของกิเลส ตัณหา ความลุมหลง มัวเมา ความยึดมัน่ ถือมัน่ สิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงอันเปนบอเกิดของปญหาชีวติ นานัปการ เมือ่ ไดรบั การจุดประกายจากพระพุทธองคจนเกิดความเลื่อมใส ศรัทธา ปสาทะ จึงรับเอาพระรัตนตรัยเปนที่พึ่งเปนผูมีชีวิตอันสงบสุข สมบูรณแบบและไดสืบทอดสูยุคสมัยตอกันมา เราจะเห็นไดวาการเพาะบมเมล็ดพันธุแหงศรัทธาที่มีตอ องคพระรัตนตรัยถูกซึมซับเขาไปในสายเลือดจนเปนสายธาร อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๐๗


แหงศรัทธาและจิตวิญญาณ ผูที่เขาถึงพระรัตนตรัยก็เหมือนกับ ผูทมี่ คี วามรอบรูเขาใจในเรือ่ งของการเสาะแสวงหาแหลงของเพชร แลวนํามาเจียระไนใหเกิดเปนเพชรนํา้ เอกไดฉนั ใด ผูทเี่ ขาใจถึงพระ รัตนตรัยก็คือ ผูที่รูแจงตอสัจธรรมที่เปนกฎความจริงสากลคือ ความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งเปนความจริงของชีวิตและ สรรพสิง่ การรูเ ห็นความจริง อยางเชน พระพุทธเจาและพระอริยเจา แลวจะทําใหผูนั้นมีหัวใจอันบริสุทธิ์ มีชีวิตอันงดงาม สงบเย็นจะ ทําใหจติ ใจปราศจากความชัว่ ชา ตํา่ ทราม จะไมมคี วามอิจฉาริษยา จะไมมีมายาสาไถย เปนชีวิตจิตใจที่สะอาดบริสุทธิ์ จะไมมีความ ถือตัวทะนงตน ความคดโกง พูดเท็จ ปลิ้นปลอน หลอกลวง ไมมี ความดูถูก ดูแคลน ความยโสโอหัง ไมมีความเห็นผิด ไมมีความ เยอหยิง่ จองหอง และไมประพฤติความตํา่ ทรามอืน่ ๆ อันจะเกิดขึน้ ในจิตใจ ไมวาเวลาใดๆ ผู  ที่ ถื อ พระรั ต นตรั ย เป น ที่ พึ่ ง จะเป น ผู  มี ค วามรอบรู  ความเขาใจตัวเองกับผูอ นื่ โดยถองแท จะมีความระมัดระวังในการ ที่จะไมทําอะไรใหผิดใจกัน จะไมวิพากษวิจารณความดีหรือ ความผิดของผูอื่น เปนผูมีความสุภาพออนนอมถอมตนอยูเสมอ ทุกโอกาส มีอธั ยาศัยอันงดงามตอทุกคน โดยเฉพาะอยางยิง่ การ แสดงความกตัญูกตเวทีตอบิดา มารดา และผูมีอุปการคุณ อยางสมํ่าเสมอ ตลอดถึงการแสดงความมีนํ้าจิตนํ้าใจตอสิ่งที่ได เกื้อกูลใหรมเงา ใหที่พักพิงอาศัยสิ่งสาธารณูปโภคที่เอื้ออํานวย ความสะดวกทุกประการอยางทั่วถึงจริงๆ จนถึงกับวิถีชีวิตการ ดําเนินตลอดระยะทางของเราทานทัง้ หลายจะปราศจากอุปสรรค ทุกประการนี่แหละคือการถือพระรัตนตรัยเปนที่พึ่ง ๒๐๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประวัติของพระพุทธเจาโดยสังเขป พระสัมมาสัมพุทธเจาของเรามีพระนามเดิมวา “สิทธัตถะ” พระนามราชกุลวา “โคตมะ” มีพระบิดานาม พระเจาสุทโธทนะ มีพระมารดานามวา พระนางเจาสิรมิ หามายา ประสูตทิ สี่ วนลุมพินี วัน ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ กอน พุทธศักราช ๘๐ ป (กอนพระเยซูคริสต ๖๒๓ ป กอนพระมุฮัมมัด ๑,๑๗๓ ป) ขณะที่ประสูตินั้น ไดเกิดเหตุอศั จรรยแผนดินไหวเปนตน พระเจาสุทโธทนะ ทรงเปน พระราชาครองแควนสักกะของเผาชนศากยะ มีเมืองกบิลพัสดุ เปนนครหลวง เจาชายสิทธัตถะ เปนวรรณะกษัตริย (นักรบ) เปน องครัชทายาททรงไดรับการศึกษาอยางดีเยี่ยม พระชนมายุ ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจาหญิงยโสธรา (พิมพา) มีโอรส ๑ องค นามวา พระราหุล ทรงมีความสุขสําราญยิ่งในฐานะเปน เจาชายองครชั ทายาท เมือ่ พระชนมายุได ๒๘ พรรษา เจาชายสิทธัตถะ ไดทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ คนตาย ในสวนอุทยาน ทรง พิจารณาจนพบความจริงอันยิ่งใหญคือ ความทุกข ทรงอยากรู วาทําไมคนเราจึง แก เจ็บ ตาย ตอมาไดทราบวา ความเกิดเปน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๐๙


เหตุของความแก เจ็บ ตาย จากการประสูติของพระราหุล เมื่อ ทรงพิจารณาหาสาเหตุของความเกิดได ทรงพบวาความอยาก (ตัณหา) คือเหตุของความเกิด หลังจากนั้นเจาชายสิทธัตถะมี ความเบื่อหนายในโลกแหงความวุนวาย ความทุกข ปรารถนาจะ คนหาความดับทุกข จึงทรงสละฆราวาสวิสยั เมือ่ พระชนมมายุได ๒๙ พรรษา ออกบวชครองเพศสมณะเสด็จไปศึกษาและทดลอง ปฏิบตั ติ ามสํานักของอาจารยผมู ชี อื่ เสียงหลายทาน แตไมสามารถ ดับทุกขได แมทรงทดลองบําเพ็ญตบะอยางเขมงวดตามความ เชื่อถือของคนสมัยนั้น ก็ไมสําเร็จจนเวลาลวงไปถึง ๖ ป ในที่สุด ไดทรงหันไปปฏิบัติสมาธิภาวนาอยางจริงจัง ที่ใตตนโพธิ์ ณ คยาสีสประเทศ แหงแควนมคธ ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ จนได ปุพเพนิวาสานุสสติญาณในยามตน ไดจตูปปาตญาณในยามกลาง ๒๑๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


และไดอาสวักขยญาณในยามปลาย ไดตรัสรูสัจธรรมเปน สัมมาสัมพุทธเจาดับกิเลส และทุกขทั้งปวงไดอยางสิ้นเชิงใน ตอนรุงอรุณริมฝง แมนาํ้ เนรัญชรา พรอมดวยเกิดแผนดินไหวใหญ เปนอัศจรรย เมือ่ พระชนมได ๓๕ พรรษา กอนพุทธศักราช ๔๕ ป หลังจากนัน้ พระสัมมาสัมพุทธเจาไดเสด็จไปตามบานนอย เมืองใหญ สั่งสอนคนทุกชนชั้นวรรณะ เนนการปฏิบัติดวยการ ควบคุมสํารวจกาย วาจา ใจ ของตนตามสัจธรรมความจริงอัน เปนกฎธรรมชาติ เพือ่ ใหเกิดอานิสงส คือความสงบใจในชีวติ และ สังคม โดยไมตองอาศัยพลังอํานาจภายนอกใดๆ แบบเทวนิยม เมื่อพระพุทธศาสนาตั้งหลักมั่นคงแลว มีพุทธบริษัททั้ง ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เปนปกแผนดวยดี พระผูเปนดวง ประทีปแกวของโลกไดเสด็จดับขันธปรินิพพานเมื่อพระชนมมายุ ได ๘๐ พรรษา ณ วันเพ็ญเดือนวิสาขะ ที่เมืองกุสินาราหลังจาก ไดปฏิบัติพุทธกิจ มาเปนเวลานานถึง ๔๕ ป เหตุอัศจรรยคือ แผนดินไหวใหญไดเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เปนครั้งสุดทายใน พระชนมชีพของพระพุทธองค กอนเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงตรัสสั่งพระสงฆทั้งปวงวา ใหนับถือ พระธรรมวินยั ทีพ่ ระองคไดสงั่ สอนและบัญญัตไิ วแลว เปนศาสดา แทนพระองคตอไป ดวยเหตุนจี้ งึ ถือไดวา ตราบใดทีพ่ ระธรรมวินยั ยังอยู ตราบนั้นใครปฏิบัติตามพระธรรมวินัยดวยดี เทากับได ปฏิบัติบํารุงพระศาสดาเปนมหากุศลอันยิ่งใหญ นะ โม สัมมา สัมพุทธายะ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑๑


๒๑๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระธรรมคําสอน ของพระพุทธเจาโดยย่อ

พระพุทธองคไดทรงสรุปประมวลคําสอนไวในวันมาฆบูชา

ทามกลางสงฆองคอรหันตจํานวน ๑,๒๕๐ รูป ไวดังนี้ คือ “การละเวนจากการกระทําความชั่วทุกประการ การกระทําแต คุณงามความดีใหถงึ พรอมดวยความไมประมาท และการทําจิตใจ ใหสงบสะอาด บริสุทธิ์ผองแผวอยูเสมอ ทรงตรัสไววา นี่คือ หลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาทัง้ หลาย” แตการยึดถือปฏิบตั ิ ใหเหมาะสมกับวัย ควรปฏิบัติตามหลักธรรมดังนี้ ๑. สําหรับเยาวชนในปฐมวัย (วัยตนตั้งแต ๒๕ ปลงมา) เยาวชนควรจะปฏิบัติตนดังตอไปนี้ ๑.๑ เคารพบูชาพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ดวยการไหวกราบพระ สวดมนตเปนประจํา ประกอบพิธกี รรมเกีย่ วกับพระรัตนตรัยตามโอกาส พระพุทธองคตรัสไววา “บุคคลใดมีเพียงความ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑๓


๑.๒

๑.๓

๑.๔

๑.๕ ๑.๖

๒๑๔

ศรัทธาเชื่อมั่น ความเคารพในเรา บุคคลนั้นเปน ผูมีสวรรคเปนที่ไปในเบื้องหนา” เคารพนับถือบิดา–มารดา ปฏิบัติหนาที่ของ บุตรธิดาใหครบถวน เชื่อฟงคําสั่งสอนของทาน ปฏิบัติบํารุงทาน เปนตน ดังที่พระพุทธองคตรัส ไววา “การปฏิบัติบํารุงบิดา-มารดา เปนมงคล สูงสุดประการหนึ่ง” เคารพนับถือครูบาอาจารย ตัง้ อยูใ นโอวาทของทาน ตั้งใจศึกษาเลาเรียน ชวยกิจการงานของทาน เปนตน เอาใจใสในการศึกษาหาความรูแ ละความสามารถ ในการครองชีวิตจากการฟง การอาน การคิด และการทําจิตใจใหสงบ พิจารณาไตรตรอง ดังพุทธศาสนสุภาษิตทีว่ า สุจปิ ลุ ิ วิมตุ โต กะลังโส ปณธิโต ภะเว แปลวา “ถาปราศจากการฟง การคิด การไตถาม และการเรียนแลว จะเปน บัณฑิตไดอยางไร” รูจักเลือกคบเพื่อนทั้งชาย-หญิงที่ดีมีคุณธรรม งดเวนจากอบายมุขทั้งปวง เชน การพนัน การมั่วสุมในกาม ยาเสพติดชนิดตางๆ การ ทําตัวเปนนักเลงอันธพาล การเที่ยวเตรเฮฮา ไมเปนเวลา เปนตน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


๒. สําหรับผูในมัชฌิมวัย (วัยกลางตั้งแตอายุ ๒๖-๕๐ ป) มีหลักปฏิบัติดังตอไปนี้ ๒.๑ ขยันขันแข็งในการทํางานเลี้ยงชีพ รูจักเก็บหอม รอมริบ รูจักคบเพื่อนที่ดีงาม รูจักดํารงชีวิตตาม สมควรแกรายไดและฐานะ ผูขยันทํางานยอมมี โอกาสรํา่ รวยไดไมยาก ดังพุทธภาษิตทีว่ า อุฎฐาดา วันทะนา ธะนัง แปลวา “คนขยัน ยอมประสบ ความรํ่ารวย” ๒.๒ ทําหนาที่ของสามี-ภรรยา ใหครบถวน ๒.๓ ทําหนาที่บิดา-มารดาที่มีตอบุตรใหครบถวน ๒.๔ ทําหนาที่ของพลเมืองที่ดีตอรัฐ เชน ปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบตางๆ ของสังคมอยาง เครงครัด การเสียภาษีใหแกรัฐอยางครบถวน เปนตน ๒.๕ ควรศึกษาใหเขาใจความหมายอันแทจริงของ พระรัตนตรัยใหครบถวน เชน บูชาพระพุทธ ศึกษา พระธรรม อุปถัมภพระสงฆ เปนตน แลวจะไดที่ พึ่งอันประเสริฐดังพุทธภาษิตที่วา “สรณะใดๆ ในโลกที่จะเสมอเหมือน พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ยอมไมมี” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑๕


๒.๖ พยายามรักษาศีล ๕ เปนประจํา ในวันพระ ควรพยายามรักษาศีล ๘ และฟงเทศน ฟงธรรม เปนประจํา ๒.๗ ควรทําบุญใหทานเปนประจํา ดวยการใสบาตร ในวันเกิดของตน บริจาคทรัพยชวยองคการ สาธารณกุศลตางๆ ๒.๘ ควรพาลูกหลานไหวพระสวดมนตเปนประจํา หลังจากนัน้ นัง่ สมาธิประมาณ ๑๕ หรือ ๓๐ นาที แลวแผเมตตาอุทิศสวนกุศลแกบรรพบุรุษและ สรรพสัตวทั้งหลาย พระพุทธองคตรัสวา โลโก ปตถัมภิกา เมตตา “เมตตาเปนเครือ่ งคํา้ จุนโลก” ๓. สําหรับผูสูงวัย (วัยปลายตั้งแต อายุ ๕๑ ปขึ้นไป) ควรปฏิบัติตนดังตอไปนี้ ๓.๑ ควรพยายามลดบทบาททางโลกลง มอบหนาที่ การงานและทรัพยสมบัติใหทายาทดูแลแทน ๓.๒ ชวยดูแลแนะนําลูกหลานในกิจการตางๆ โดย ไมเขาไปดําเนินงานโดยตรง ๓.๓ ลดละความรูสกึ ในทางโลกเพราะ “กามทัง้ หลาย พระผูม พี ระภาคเจาตรัสวา เปรียบเสมือนความฝน มีทุกขมาก มีความคับแคนมาก” ๒๑๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


๓.๔ แสวงหาความสุขในทางธรรมใหมากขึน้ ดวยการ รักษาศีล ๕ ทําสมาธิเปนประจํา พยายามเจริญจิต พิจารณาใหเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ใหแจมแจง ดังทีพ่ ระพุทธองคตรัสไววา “ผูเห็นความเกิดและ ความดับ แมมีชีวิตอยูวันเดียว ประเสริฐกวา ผู  มีชีวิต อยู  ร  อ ยป แต ไ ม เ ห็ น ความเกิด ดั บ ” (ไมรูจักกฎแหงความเปลี่ยนแปลง) “.....ศาสนาในอนาคตจะเปนศาสนาสากลจักรวาล ซึ่ง ขามพนเรื่องพระเจาที่มีตัวตนและ ไมมเี รือ่ งความเชือ่ แบบฝงหัว เทววิทยา ศาสนานัน้ ครอบคลุมเรือ่ งธรรมชาติ และเรือ่ งจิต วิญญาณ ตัง้ อยูบนฐาน ความรูสึกทางศาสนา ที่เกิดจาก ประสบการณแหงสรรพสิ่ง ทั้งเรื่อง ธรรมชาติและจิตวิญญาณเปนเอกภาพ รวมอยางมีความหมาย พระพุทธศาสนาสามารถตอบสนองสิ่งที่พรรณนามานี้ ถาจะมีศาสนาใดๆ ทีเ่ ขากันไดกบั ความตองการทางวิทยาศาสตร สมัยใหม ศาสนานั้นก็คือ พุทธศาสนา” อัลเบิรต ไอนสไตน ยอดนักวิทยาศาสตรสมัยใหมผูคนพบพลังงานปรมาณู

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑๗


๒๑๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ถกปัญหาธรรมของสามเณรในวัด

ณ บรรยากาศอันรมรืน่ ภายใตรม เงาตนจามจุรอี นั มีเงาครึม้

มีกอไผขึ้นลอมรอบเปนกลุมๆ มุมหนึ่งของอาศรมโมกขธรรม ภายในวัดพระธาตุแสงแกวมงคล ไดมสี ามเณรสองรูปนัง่ เพลิดเพลิน เจริญธรรมอยูในบรรยากาศแหงวิเวกสถานอันชวนใหเจริญจิต พิจารณาธรรมนั้น สามเณรพุทธซึ่งพึ่งบวชใหม พื้นฐานเดิม ไมไดศึกษาประถมมัธยมกับเขา เพราะยากจนและกําพรา บิดา-มารดา มาแตเล็ก แตกเ็ ปนคนมีประสบการณในการทํางาน และทองเที่ยวไปหลายภูมิภาค เปนคนชางพูดชางเจรจา ในเมื่อ เห็นเพื่อนสามเณรซึ่งบวชมากอนหลายพรรษาแลวชื่อ สามเณร พรเทวัญ จึงไดสนทนาเรือ่ งราวอืน่ ๆ จากประสบการณแลกเปลีย่ น ซึ่งกันและกันมาพอสมควร สามเณรพุทธจึงไดตั้งปญหาถาม สามเณรพรเทวัญขึ้นมาวา 

เรื่องความเปนมาของพระพุทธรูป

สามเณรพุทธ : พี่เณรครับ ผมสังเกตเห็นวาใบหนา ของพระพุทธรูปในวัดนี้หรือที่อื่นหลายๆ แหง ทําไมเห็นหนา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๑๙


ไมเหมือนกันสักองค นี่ยอมหมายความวาพระพุทธรูปหรือ พระพุทธเจาเปนสิ่งที่จิตคนคิดสมมุติสรางสรรคปนแตงกัน ขึ้นมาเองกระมัง........! ในฐานะที่พี่เณรบวชมาหลายปแลว ชวยกรุณาตอบใหผมหายสงสัยไดไหมครับ...? สามเณรพรเทวัญ : อาว! คุยกันอยูดีๆ เอาเรื่องระดับนี้มา ถามผม ผมก็เปนเพียงสามเณรอยูในปาในเขาบวชมานานก็จริง แตไมคอยไดไปศึกษาที่ไหนแตในเมื่อทานถามผมมา ผมก็จะไมให เสียมารยาทก็จะขอตอบตามทีไ่ ดยนิ ไดฟง มาจากครูบาอาจารยทไี่ ด อบรมสัง่ สอนมา คืออยางนีค้ รับ......! ทานตองตัง้ ใจฟงหนอยนะครับ เพราะถือวาเปนเรื่องสําคัญทีเดียวนะครับ ผมจะคอยๆ ขยาย ความหมายเปนขั้นเปนตอนใหทานฟง แตตอนนี้จะขอตอบปญหา เฉพาะหนาที่ทานถามมากอน แตขอโปรดเขาใจวาไมใชคําตอบ ของผมเองนะ ก็เปนการสือ่ ความหมายของบัณฑิต ผูเ ปนบรรพบุรษุ มาหลายศตวรรษแลว ที่วาพระพุทธรูปมีหนาตาที่แตกตางกันไป มากมายจนเราไมสามารถจะเดินทางไปดูใหเห็นไดทั่วนั่นคือ สัญลักษณสื่อความหมายของหัวใจผูมีศรัทธาปสาทะอันแรงกลา และบริสุทธิ์ของผูที่มีความเคารพบูชาตอพระพุทธเจาจากบุคคล จํานวนมากมายยอมสะทอนถึงความรูสึกดีๆ ที่แสดงออกตอสิ่ง สูงสงดวยความศรัทธาปสาทะอันเปยมลน จุดนี้ผมก็ขอสรุปตรง ปญหาที่ทานตั้งขึ้นมาถาม ถูกแลวที่ทานคิดวาพระพุทธรูปหรือ พระพุทธเจาเปนสิ่งที่เกิดมาจากจิตใจ เพราะใจเปนบอเกิดของ ทุกสิง่ ทุกอยาง พระพุทธองคกท็ รงตรัสไววา ใจเปนประธานทุกอยาง ๒๒๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เกิดมาจากใจ นี่คือคําตอบตรงๆ ตามคําถามที่ทานตั้งขึ้นมา สามเณรพุทธก็ยังมีอาการมึนงงตอคําตอบ จากการแสดง สีหนาที่ตองใชความคิด สามเณรพรเทวัญจึงไดเปรยขึ้นวา .... ผมรูวาขณะนี้ทาน ยังไมแจมแจงตอคําพูดของผม แตอยางไรก็ขอใหทานอดทนฟง คําพูดของผมไปกอน ผมจะคอยๆ ขยายทัศนะเกีย่ วกับพระพุทธเจา ใหทานคอยๆ เขาใจ ถาไมรูในวันนี้มันก็เปนปริศนาดุจกุญแจ ดอกหนึ่งสําหรับหาชองทางเปดไปสูการคนควาหาความจริง เรื่องนี้ในโอกาสตอไป ในเมื่อเราพูดถึงพระพุทธรูป ผมก็ขอพูดในที่นี้เลยวา พระพุ ท ธรู ป เกิด ขึ้น มาตั้ง แต เ มื่อ ไหร ? เพราะว า หลั ง จาก พุทธปรินิพพานมาแลว ยุคตนๆ ไมมีพระพุทธรูปสักการบูชา เพราะหลักคําสอนของพระพุทธเจาไมทรงนิยมหลักเทวนิยม ไมบูชารูปเคารพ ตัวพระพุทธเจาก็ไมไดแสดงพระองควาเปนผูที่ รับคําสัง่ ของสวรรค หลักธรรมคําสอนของพระองครวมทัง้ วิถชี วี ติ ของพระองคตลอดจนถึงพระสาวกจะเนนความอดทนขม อินทรีย (ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) สงบ สังวร สํารวม กาย วาจา ใจ อยูกับสังคมโลกอยางสงบและสมถะแตเปยมดวยเมตตาธรรม ไมแบงแยกชนชัน้ วรรณะ หลักธรรมของพระองคจงึ เหมาะสมกับ ทุกคนสังคมโลก โดยเฉพาะยุคของจอมจักรพรรดิอโศกมหาราช พระองคเคยหยิ่งผยองในขัตติยมานะ ทําลายทํารายผูคนอยาง หฤโหด แผพระราชอาณาจักรยิง่ ใหญไพศาลในชมพูทวีป (ยุคหลัง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๒๑


พุทธกาลประมาณ ๒๐๐ กวาป) ในที่สุดพระองคไดหันพระทัย จากอโศกผูด รุ า ยมาเปนจอมจักรพรรดิอโศกผูท รงธรรม ไดทาํ การ เผยแผหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาไปทั่วราชอาณาจักร และนอกพระราชอาณาจักร มีการกอสรางวัดวาอารามพระธาตุ เจดียมากมายที่สุด ไมมีมหากษัตริยทั้งในอดีตและปจจุบันที่จะ เทียบบารมีพระองคได ในยุคนั้นก็ไมนิยมการสรางพระพุทธรูป จะทําเพียงสัญลักษณ เชน ตอนประสูติ ก็จะมีเพียงรอยพระบาท มีดอกบัว ๗ ดอกรองรับ การออกผนวชก็จะเปนสัญลักษณ มากัณฐกะที่มีแตอานวาง มีทวยเทพคอยอุมชูสี่เทาของมาและ กั้นฉัตร ตอนตรัสรูก็มีสัญลักษณตนโพธิ์และที่ประทับนั่งที่วาง จะมีเพียงภาพสวัสดิกะเปนสัญลักษณ หรือการแสดงธรรม ก็จะมีเครื่องหมายธรรมจักรเปนองคแทนการหมุนลอสัจธรรม แผไพศาลดวยฉัพพรรณรังสีอันโอฬารสูชาวโลก การสรางพระพุทธรูปเกิดขึ้นหลังพุทธปรินิพพานประมาณ ๕๐๐ ป ในแควนคันธารราษฎรอินเดียใต จากอิทธิพลของกรีก ทีพ่ ระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ไดแผอาณาจักรมาครอบครอง ถึงดินแดนแหงนี้ และไดสบื ทอดปกครองกันมาถึงยุคของพระเจา เมนันเดอร หรือพระเจามิลนิ ทแหงสาคาละนครในยุคนัน้ พระองค ไดเปนมหากษัตริยที่ยิ่งใหญและเปนบัณฑิตนักปราชญเมธีชน ไตถามปญหาปรัชญาลัทธิศาสนากับสมณะชีพราหมณ สวนใหญ แลวจะตองรอนใจจนแตมตอปญหาของพระเจามิลินทไมกลา สูหนาเปนที่โจษขานกันในวงกวาง จนกระทั่งไดพระนาคเสน ๒๒๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระภิกษุในพุทธศาสนาผูม อี ภิญญาปรีชาสามารถแกทางภูมปิ ญ  ญา ทางโลกีย และขยายความรูแจมแจงทางโลกุตรธรรมดวย อุปมาอุปไมยโดยแยบยลนานัปการ จนสยบความอหังการของ พระเจ า มิลิน ท ให เ กิด ความศรั ท ธาปสาทะอั น แรงกล า ต อ พระพุทธศาสนา ในที่สุดพระองคก็ไดเปนองคศาสนูปถัมภก ผูยิ่งใหญพระองคหนึ่ง และเปนผูตนคิดการสรางพระพุทธเจา เปนรูปเคารพขึ้นมา โดยอาศัยพื้นเพเดิมของชาวกรีกซึ่งมี ความเชี่ยวชาญการแกะสลักประติมากรรมเปนพุทธรูป เปน สัญลักษณแทนพระพุทธเจาขึ้นมาครั้งแรกในโลก เรียกวา พระพุทธรูปในยุคนีว้ า “ยุคคันธารราษฎร” รูปองคสรางตามศิลปะ ออกไปทางกรีก ยุคเดียวกันนี้ในเกาะลังกาทวีปก็ไดบันทึก พระธรรมคําสอนพรอมทั้งพระวินัยบัญญัติไวเปนลายลักษณ อักษรขึ้นมาครั้งแรกในโลกเชนกันจนที่สุดทั้งพระพุทธรูปและ หลักธรรมคําสอนถูกสรางและบันทึกเผยแพรไปสูวงกวางสู นานาอารยประเทศในโลกของพุทธศาสนา เปนอยางไรบางครับหลับไปหรือยัง หรือกําลังเคลิบเคลิ้ม ไปกับเรื่องราวที่ผมยกมาสาธยาย มันอาจจะมากไปหนอยครับ แต ผ มอยากจะพู ด ให เ ป น เชิ ง การศึ ก ษาความเป น มาของ พระพุทธรูปตามที่ทานตั้งคําถามขึ้นมา สามเณรพุทธ .... ไดเอยขึ้นวา ก็ดีแลวครับพี่เณรพรเทวัญ ไดอุตสาหเลาเรื่องที่ผมถามเพียงนิดเดียว ทานขยายออกไปไกล ถึงเรื่องสองพันปโนน ผมตองขอขอบพระคุณมากครับ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๒๓


๒๒๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ความหมายพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ

สามเณรพรเทวัญ .... เห็นสามเณรพุทธตื่นจากภวังค

ขึ้นมาระดับหนึ่ง จึงไดเสริมใสเชื้อเพิ่มเขาไปอีกวา ไหนๆ วันนี้ เราก็ไมไดทาํ งานกัน เรามานัง่ คุยกันใหรซู งึ้ ถึงพุทธคุณกันเลยครับ วันนี้ผมก็คิดวาเปนโอกาสดีของผมที่ไดมีคูสนทนาที่ถูกคอกัน ทีเดียว แตความจริงแลวสามเณรพุทธจะเปนผูฟงเสียมากกวา สามเณรพรเทวัญจึงไดเริ่มเรื่องขึ้นอีกวา ตามที่ผมไดยินไดฟง มาถึงลักษณะของพระพุทธเจา ทีเ่ ราจะตองรูจกั พระองคถงึ ขนาด ที่วายึดถือพระองคเปนที่พึ่ง ไดมาเลาสูกันฟงตอไป ทานอยา คิดวาผมจะเอาแตเรื่องหนักสมองมาคุยกัน แตผมเชื่อมั่นวา ถา เรารูจักพระพุทธองคจริงแลว เราจะรูสึกเบากายเบาใจที่สุด จะมีความสุข ความสงบที่สุด ขอใหเณรอดใจฟงตอไป สามเณรพรเทวัญ .... จึงไดเริ่มกลาวถอยคําที่นิ่มนวล นาเคารพในอากัปกิริยาที่สงบเสงี่ยมเจียมตัววา ผมไดยินไดฟง มาอยางนี้นะครับ พระพุทธเจาที่ปรากฏตอสายตาของชาวโลก ในยุคแรกเมื่อยังทรงพระชนมชีพอยูนั้น ผมจะขอยกตัวอยาง เชน อุปกาชีวก ที่พบพระพุทธองคเมื่อตรัสรูใหมๆ เห็นพระองค อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๒๕


อยูในอากัปกิริยาแหงความสงบสงางาม ก็ไดถามขึ้นวา “ทาน สมณะดูผวิ พรรณของทานผองใส ทานเคารพนับถือในพรหมจรรย ของผูใด” พระพุทธเจาทรงตรัสวา “เราเปนอนันตชิน ตรัสรูดวย ตนเอง!” อุปกาชีวก ไดฟง ดังนัน้ ก็แสดงกิรยิ าทาทางแลบลิน้ ปลิน้ ตาใส พ ระพุ ท ธองค ไม ไ ด แ สดงความเคารพเลื่ อ มใสแต ประการใด ตัวอยางนี้ก็แสดงใหเห็นวา ในสายตาของคนอื่น ก็เห็นพระพุทธองคเหมือนกับคนทั่วๆ ไป อีกตัวอยางหนึ่ง เชน หลังตรัสรูไดไปสูปาอิสิปตนมฤคทายวันเปนระยะทางอันไกลโข อยู เพื่อเสด็จไปหาปญจวัคคียหมูคณะเพียง ๕ คน ที่พระองค ทรงเล็งเห็นวาควรจะไปเทศนาโปรดเปนครัง้ แรก พวกปญจวัคคีย ทั้ง ๕ เมื่อเห็นพระพุทธองคเสด็จดําเนินมาแตไกล ก็ยังกลาวทัก ดวยถอยคําทีไ่ มเหมาะสมดูถกู เหยียดหยามพระองค และนัดหมาย กันที่จะไมขอตอนรับปฏิสันถารพระองคอยางที่เคยปรนนิบัติ มาแตกอ นหนหลัง แตพอพระองคเสด็จดําเนินใกลเขามา จากจิตใจ ที่เคยออนโยนภักดีมาแตกอน ทําใหลืมถอยคําที่สัญญากันไว บางก็รีบไปรับบาตร รับบริขาร บางก็เตรียมอาสนะสําหรับ ประทับนัง่ บางก็เตรียมนํา้ สําหรับลางพระบาท และทีส่ ดุ พระองค ก็ไดแสดงธรรมเปนครั้งแรก เรียกวา “ธัมมจักกัปปวัตนสูตร” เปนการสื่อความหมายของการหมุนวงลอแหงธรรมที่พระองค ทรงไดตรัสรูแจมแจงแลวเกื้อกูลประโยชนสุขสูชาวโลก ในครัง้ นัน้ เปนเหตุใหหนึง่ ในปญจวัคคียท งั้ ๕ ผูม อี าวุโสสูงสุด และเปนหนึง่ ในจํานวนพราหมณรอ ยแปดทีเ่ คยไดพยากรณทาํ นาย พระพุทธเจาเมื่อครั้งประสูติ ได ๕ วัน คือ อัญญาโกณฑัญญะ ๒๒๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตามคําทํานายของพราหมณจาํ นวนมากนัน้ มีมติวา พระราชกุมาร สิทธัตถะพระโอรสของพระเจาสุทโธทนะนี้ เปนผูมีลักษณะ มหาบุรษุ ปรากฏอยูครบถวนทุกประการ ในอนาคตหากพระองค อยูค รองบัลลังกกจ็ ะไดเปนพระมหาจักรพรรดิแผพระราชอาณาจักร ไปทั่วทิศทั้ง ๔ ถาหากวาจะสละพระองคออกผนวชก็จะไดเปน ศาสดาเอกของโลก ในบรรดาพราหมณรอยแปดมีอัญญาโกณ ฑัญญะพราหมณมีอายุนอยที่สุด ไดชูนิ้วชี้ขึ้นเพียงหนึ่งประกาศ อยางเด็ดเดี่ยววา “พระราชกุมารนี้ตอไปจะตองออกผนวชเพียง สถานเดียวและจะไดเปนศาสดาเอกของโลก” พอมหาบุรุษ ออกผนวช อัญญาโกณฑัญญะจึงไดพาพราหมณทไี่ ดเคารพนับถือ กันมาอยูดูแลอุปฏฐากมหาบุรุษ จนกระทั่งไดรับฟงพระธรรม เทศนา ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ทานไดแจมแจงตอสัจธรรม ของพระพุทธองค คือไดมองเห็นวา “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีเหตุเปนแดน เกิดขึน้ มาเปนธรรมดา สิง่ นัน้ ทัง้ หมดจะตองมีความดับไปเปนสภาพ” เรียกกันวาไดดวงตาเห็นธรรม และหลังจากนั้นก็ไดทรงแสดง พระธรรมอนัตตลักขณสูตร อาทิตตปริยายสูตร แสดงใหเห็นถึง ความไรแกนสารตัวตนของสิ่งทั้งหลายทั้งปวงและแสดงใหเห็น ความรอน โทษภัยของการเขาไปยึดมัน่ ถือมัน่ ในรูป รส กลิน่ เสียง ธรรมารมณ วาเปนของรอน แสดงดวยปริยายตางๆ จนพวก ปญจวัคคียทั้ง ๕ ไดดวงตาเห็นธรรมและบรรลุเปนพระอรหันต เปนพระสาวกขึ้นมาครั้งแรกในโลกครบองคพระไตรรัตน ตัวอยางนี้ก็แสดงใหเห็นวาพระพุทธองคก็ตองเปนผูเดิน ติดดิน มีวิถีชีวิตเหมือนกับนักบวชทั่วๆ ไปและกอนที่พระอานนท อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๒๗


จะไดมาเปนองคพทุ ธอุปฏ ฐาก ก็มพี ระสาวกสับเปลีย่ นกันอุปฏ ฐาก รับใชพระพุทธองค มีอยูครั้งหนึ่งที่เสด็จดําเนินไปถึงทางแยก พระพุทธองคประสงคจะเสด็จไปอีกทางหนึง่ แตพระสาวกไมยอม ติดตามจึงวางบริขารของพระพุทธองคไวบนพืน้ ดิน แลวแยกทาง ทิง้ พระพุทธองคตอ งเสด็จไปตามลําพัง นีก้ อ็ กี ตัวอยางหนึง่ ทีท่ าํ ให มองเห็นวิถีชีวิตธรรมดาของพระสัมมาสัมพุทธเจา และพระองค จะ ตองบิณฑบาตหากอนขาวอาหารจากคนทุกชนชัน้ ทีน่ อมถวาย ทรงนุง หมไตรจีวรดวยผาบังสุกลุ จากผาทีเ่ ขาทิง้ แลวหรือผาหอศพ พระองคทรงประทับอยูต ามโคนไมตามเรือนวางอยูก บั ดินทามกลาง ธรรมชาติปาเขา ไดเสด็จดําเนินไปประกาศพรหมจรรยไปตาม หมูบานนิคม ชนบท บางครั้งก็ถูกบริภาษดวยถอยคําผรุสวาท หยามเหยียดถูกดา ถูกใสราย ถูกทํารายทําลายก็หลายครั้ง หลายหน แตพระองคก็ทรงสงบนิ่งมิไดโตตอบถอยคํารุนแรง จะแสดงธรรมดวยปยวาจาอันสุภาพออนหวาน นีก่ อ็ กี ลักษณะหนึง่ ทีส่ ะทอนภาพถึงความเปนพระพุทธเจา ทีท่ รงออนโยนหนักแนนมัน่ คง สมถะเรียบงายอดทนตอการกระทบทั้งเรื่องดีและเรื่องราย ทั้งนี้ เพราะนํ้าพระทัยของพระองคเปยมดวยพระมหากรุณาธิคุณ พระบริสทุ ธิคณ ุ พระปญญาธิคณ ุ ซึง่ ก็สามารถสือ่ สูหวั ใจของเรา ผูม คี วามเลือ่ มใสเคารพศรัทธาในพระองค จะตองนอมนําพุทธคุณ ดังกลาวสูหัวใจของเรา ใหเปนผูที่ลดทิฐิมานะ อหังการ ความ ถือตัวทะนงตน แข็งกระดาง ประพฤติตนเปนคนสุภาพออนโยน มีนํ้าใจเมตตาอารีพรอมที่จะใหอภัย เปนคนที่มีจิตใจหนักแนน มั่นคงสุขุมรอบคอบไมเปนคนใจรอน รอได คอยได นี่คือลักษณะ การถือเอาพระพุทธเจาเปนทีพ่ งึ่ ทีจ่ ะเอือ้ ประโยชนสขุ สงบรมเย็น ๒๒๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ใหแกหัวใจของเราได และแผกระแสแหงพุทธคุณถึงหัวใจของ ผูอื่นไดสุดคณานับ หรืออีกนัยหนึ่งถาจะยอนสูคําถามเดิมที่ เณรพุทธไดถามผมมา ผมจะขอตอบแบบแยบยลใหไดมองเห็น ถึงพุทธคุณใหชัดเจนยิ่งขึ้นดังนี้ ผมจะขอตอบเพิ่มเติมอีกวาการสรางพระพุทธรูปที่คนเรา สรรสรางกันขึ้นมามากมายทุกยุคทุกสมัย จะมีหนาทั้งดุ ทั้งขี้เหร ทั้งที่สวยงามสมบูรณที่สุดและไมสมบูรณที่สุด ไมวาจะสรางดวย เงิน ทอง นาค แกวมณีอันมีคายิ่ง ตลอดถึง อิฐ หิน ปูน ทราย ก็ถือ ไดวาเปนสัจธรรมที่วา พระพุทธองคเกิดขึ้นมาในโลกยอม เปนประโยชนสขุ ตอผูค นสังคมทุกชนชัน้ ไมวา จะเปนบัณฑิต นักปราชญ คนโง สันดานหยาบอันธพาล ดุราย ไมวาเขาเหลานั้นจะมาจาก สถานะไหน ก็เปนผูที่เหมาะสมที่จะรับเอาพระพุทธคุณ หรือเอา พระพุทธเจามาสถิตสูหัวใจไดทั้งนั้น เพราะฉะนั้นพระพุทธรูป จะสวยงามหรือไมสวยงามอยางไร จะสรางดวยวัสดุอะไรก็แลวแต นั่นคือสื่อสัญลักษณของพระพุทธองค สูหัวใจของคนโดยไมจํากัด สมดังคําตรัสของพระองควา “ผูใดเห็นธรรม ผูนนั้ ผูชอื่ วาไดเห็นเรา ตถาคต (การเห็นธรรมก็เชน พระอัญญาโกณฑัญญะ ไดรูไดเห็น ตามที่กลาวมาแลว) ผูใดไมเห็นธรรม ผูนั้นไมชื่อวาเห็นเราตถาคต แมผูนั้นจะจับชายจีวรของเราอยู ก็ไมไดชื่อวาเห็นเราตถาคต” สามเณรพุทธฟงมาถึงตอนนี้แลวจึงพูดขึ้นมาบางวา “โอโห... พี่เณรพรเทวัญ พูดสาธยายมาเสียมากมาย ผมไมได รําคาญนะครับ ผมชอบฟงมากที่ทานนํามากลาวนี้ แตอยางไร ผมก็ขอแสดงนํ้าจิตนํ้าใจหนอยนะครับ พี่เณรเลามามากคงจะ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๒๙


คอแหงแลวนะครับ ผมจะขออนุญาตไปเอานํ้ามาใหพี่เณรไดดื่ม ผมนั่งฟงยังรูสึกคอแหงแลวเหมือนกัน สามเณรพรเทวัญจึงวา ดีเหมือนกันครับถือโอกาสไปยืดเสนยืดสายไปดื่มนํ้าที่โรงธรรม ดวยกัน พอไดดื่มนํ้าผอนคลายอิริยาบถ สามเณรทั้งสองก็นั่ง ตั้งทาสนทนากันตอโดยมีสามเณรพุทธเปนผูเริ่ม ทีนพี้ เี่ ณรพรเทวัญมีเรือ่ งอะไรดีๆ ทีจ่ ะเลาขานเปนวิทยาทาน ผมก็อยากจะฟงตอ สามเณรพรเทวัญจึงวา.. ดีแลวครับ ผมก็กาํ ลัง รูสึกมีเรื่องอื่นติดพันมาดวยเหมือนกัน ในเมื่อเปนความตองการ ของทาน ผมก็ขออนุญาตสาธยายตอ อยาหาวาผมอวดรูนะครับ ถือวาเราเปนลูกศิษยพระตถาคตเจาแลว เราจะตองรูเรื่องของ พระพุทธองคเปนธรรมดา และเรื่องที่ผมจะนํามาเสนอตอก็ไมใช ภูมิปญญาของผม เปนสิ่งที่ไดสดับตรับฟงมาก็ขอเลาสูกันฟง เรือ่ งตอไปก็คงจะเกีย่ วสัมพันธกบั พระพุทธเจาคือ พระธรรมทีท่ าํ ให พระพุทธองคไดเปนพระพุทธเจาหรือที่เราเรียกวา พระพุทธ แลวก็พระธรรม เพื่อเราจะไดเขาใจแจมแจงถึงจุดสุดยอดที่ทําให เกิดพระพุทธเจาและความสําคัญของพระธรรมทีเ่ ราถือเปนสรณะ ที่พึ่งลําดับตอจากพระพุทธเจาใหตรงตามความหมาย... พระธรรมถาเราจะกลาวถึงความเปนสัจธรรมของธรรม ที่พระพุทธเจาทรงตรัสวา “เปนสิ่งที่มีอยูกอนแตที่พระองคจะได ตรัสรู พระพุทธเจาจะเกิดขึ้นหรือมิไดเกิดขึ้นสิ่งที่เปนสัจธรรม ก็มอี ยูแลวโดยธรรมชาติเปนธรรมดาอยูแลว” คือ หลักแหงสามัญ ลักษณะที่มีความเสมอภาคของสรรพสิ่งในโลก นั่นคือกฎแหง ความเปนอนิจจังของสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง สังขารทัง้ หลายเปนทุกข ๒๓๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


และทุกสิ่งลวนไรแกนสาร ตัวตน คน สัตว มิใชเรา มิใชเขา มิใช คน มิใชสัตว มันเปนอนัตตา เปนสักแตวาธาตุตามธรรมชาติ มัน ไมใชทั้งพระอาทิตย ทั้งพระจันทร ไมใชโลกนี้หรือโลกอื่น ไมใช ความเกิดหรือความตาย มันไมมีลักษณะอะไรแมสักเทา อณูปรมาณูเดียววาเปนตัวตนก็หามิได เพราะฉะนั้น พระธรรม จึงเปนสิ่งที่ไมอาจจะสรรหาถอยคํามาบรรยายได สิ่งที่นํามา ขีดเขียนบันทึกอานทองจํากันนั้น ยังมิใชพระธรรมตัวจริง พระธรรมตองเปนสิง่ ทีป่ ระจักษแจงดวยใจจริงๆ เปนประสบการณ เฉพาะตนรูแกใจตนเอง จนเกิดความสลดสังเวชเบือ่ หนาย กระทัง่ มองเห็นสรรพสิง่ ไรตวั ตน คน สัตว พูดอะไรไมออก... คลายความ ยึดถือสิ่งใดๆ ในโลก เพราะมันเปนความรูที่เหนือคําบรรยาย ถึงขนาดเมือ่ พระพุทธองคไดประสบการณจากการตรัสรูจติ หลุด พนนั้น จึงรูสึกปราโมทยไมทรงฉันอาหารเปนเวลาถึง ๔๙ วัน นี่ก็แสดงใหเห็นวาธรรมะไมใชเรื่องที่เราจะนํามาทองจํากันได เทานัน้ แตมนั เปนความรูส กึ ตืน่ ตัวในการรูเ ห็นแจมแจงตอสัจธรรม นีแ้ ลว ก็จะคลายจากความลุมหลง ความมัวเมา ดวยราคะ ตัณหา โทสะ ความอาฆาตพยาบาทก็จะบรรเทา และทําใหหมดสิน้ ไปได ในที่สุด ผูที่มีธรรมะแจมแจงอยูในหัวใจแลว หัวใจจะสงบ เยือกเย็นสุขมุ และเรียบงาย ไมตนื่ ตระหนกสะดุงขยาด หวาดกลัว จะไมตนื่ เตนดีใจยึดติดอยูใน รูป รส กลิน่ เสียง ธรรมารมณ จิตใจ จะวาง จะเบา เรียกวาอยูใน สุญตาวิหารธรรม คือจิตยินดีอยูกับ ความวาง ความดับ ความเย็น เรียกวา มีชวี ติ เปนอยูกบั ธรรมชาติ เรียบงายและปลอยวาง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓๑


อาว!... เปนไงครับสามเณรพุทธ นั่งเอามือทาวคางอยู เปนไง พอจะสือ่ ความหมายทีพ่ ดู มาบางหรือเปลาครับ สามเณรพุทธ จึงวาจะฟงรูห รือไมรเู รือ่ งก็ตาม แตวา ผมเก็บเรือ่ งดีๆ ทีพ่ เี่ ณรพูดมานี้ ไวในหัวใจผมแลว มันจะจุดประกายเปนแสงสวางขึน้ มาในวันไหน เวลาใด ผมจะขอนอมรับสิง่ ทีเ่ ปนสัจธรรมนีด้ วยความเต็มใจและ ขอบพระคุณเปนอยางสูงในนํา้ ใจอันประเสริฐของพีเ่ ณร... สามเณร เทวัญจึงวา... สาธุ! อนุโมทนามิ ผมก็ขออนุโมทนาในกุศลนํ้าใจ อันงดงามของทาน และผมจะตองขออนุญาตเลาตอใหครบองค แหงไตรรัตน นั่นคือ พระสงฆ ซึ่งก็เปนหนึ่งในพระรัตนตรัยตอไป นะครับ... ความหมายของคําวา “สงฆ” หรือ “พระสงฆ” ผมจะขอ ยกตัวอยางมากลาวอีกครับ เพื่อกันการพูดอาจจะผิดพลาดได ทานตั้งใจฟงใหดีนะครับ...... ครั้งหนึ่งพระแมเจามหาปชาบดี พระแมนานางมีความรูสึกชื่นชมในพระพุทธองค ที่ไดเคยอุมชู ขณะเปนพระราชกุมาร เจาชายสิทธัตถะ หลังจากพระเชษฐภคินี พระแมเจาสิรมิ หามายาราชเทวีไดประสูตกิ าลพระมหาโพธิสตั วเจา สิทธัตถะราชกุมารแลว ๗ วัน องคพุทธมารดาก็ทรงทิวงคต จึงเปนหนาทีข่ องพระแมนานาง ไดโอบอุมเลีย้ งดูเพาะบมอุปนิสยั ดวยความรัก ดุจดังแกวตาดวงใจของพระนางเอง จนกระทั่งเมื่อ พระองคไดตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเปนพระพุทธเจา ขึ้นมาแลว พระแมนานางก็มีความปลาบปลื้มปติยินดีปราโมทย จะหาอะไรมาเปรียบปานมิได และมีความเลื่อมใสศรัทธาเปน ที่ยิ่งพระแมเจาจึงไดทรงปลูกดายดูแลบํารุงตนรักษาอยางดี ๒๓๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทุกขัน้ ตอน จนแกเต็มทีแ่ ลว พระแมเจาเสด็จไปเก็บดวยพระองคเอง นําสูขั้นตอนการกรอดาย ปนดาย ถักทอ ตัดเย็บเปนไตรจีวร ยอมดวยนํ้าฝาดทําดวยความประณีตบรรจงสุดความสามารถ ตามแบบชาววัง และพระแมเจาพรอมดวยบริวารไดนอมนํา ผาไตรไปสูสาํ นักพระพุทธองค เพือ่ ทูลถวายแดพระพุทธองคดวย พระองคเอง พระพุทธเจาเมือ่ จะแสดงใหเห็นความเปนสงฆปรากฏ แกพุทธบริษัท และเพื่อจะใหการถวายของพระแมนานางเปน อานิสงสอนั ยิง่ ใหญ พระพุทธองคทรงปฏิเสธการถวายผาไตรจีวร ที่จําเพาะเจาะจงของพระแมนานาง ทรงตรัสดวยนํ้าพระทัย ที่เปยมดวยความสุภาพออนโยน ทรงเปดพระทัยกวางโดย ไมสําคัญพระองควาสูงสงเลอเลิศตามวิสัยโลก พระองคทรง ประกาศทามกลางพุทธบริษัทวา “ขอใหพระแมนานาง จงถวาย แดสงฆเถิดจะเปนบุญที่ยิ่งใหญเกิดคุณเปนอานิสงสอันไพศาล” เมื่อนอมถวายแดพระพุทธเจาไมทรงรับ แลวทรงถวายตอ พระมหากัสสปะ พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระอุบาลี พระสังกัจจายน พระอรหันตเจาทั้งหลายที่ไดรับยกยองเปน เอตทัคคะ และทั้งที่ไมไดรับการยกยองผานไปเปนลําดับ ไมมี พระอรหันตเจาองคไหนเปนผูรับ ในที่สุดถึงองคสุดทายเปน พระบวชใหมที่ยังไมสําเร็จอภิญญาคุณธรรมแมเบื้องตน ไมรูวา จะสงตอถึงองคไหนไดแลว เพราะเปนองคสุดทายปลายแถว ก็จําตองรับผาไตรของพระแมนานางมหาปชาบดี พรอมเสียง สาธุการจากพระพุทธองคและพระสงฆหมูใหญ พระพุทธองค จึงไดอนุโมทนาสาธุการในทักขิณาทานเปนพระดํารัสที่ยกยอง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓๓


สงฆวา “ผูใดไดถวายทักขิณาทานแกสงฆโดยมิไดจําเพาะ เจาะจง ผูนั้นไดชื่อวาไดถวายทานแกเราตถาคต” อีกเรื่องหนึ่งที่พระองคไดตรัสถึงการยกยองสงฆในบรรดา หมูส าวกของพระองค มีพระติสสะเถระเปนตนเหตุของเรือ่ ง เพราะ ทานปวยอาพาธเปนฝเปนแผลเรื้อรัง นอนจมอยูกับนํ้าเลือด นํา้ หนองอยางนาเวทนาอยูท กี่ ฏุ ใิ นปา ความทราบถึงพระพุทธองคจงึ เสด็จดําเนินมาตมนํ้า อาบลางเยียวยาพยาบาลรักษาทําความ สะอาดบาดแผล ตมผาซักจีวรดวยพระองคเอง จนพระติสสะเถระ หายจากอาพาธ พระองคกไ็ ดทรงตรัสไวอกี วา “ผูใ ดปฏิบตั อิ ปุ ฏ ฐาก ภิกษุไข (รวมถึงสามเณร) ผูนนั้ ไดชอื่ วาดูแลอุปฏ ฐากเราตถาคต” จากตัวอยางทั้งสองเรื่องที่นํามากลาวเปนสิ่งบงชี้ถึงความ เปนพระสงฆ ในสายพระเนตรของพระพุทธองคนนั้ สือ่ ความหมาย ถึงความเปนพระสงฆวา พระพุทธองคไมไดแยกแยะผูนั้นเปน พระอรหันต ผูนั้นเปนพระปุถุชน ทุกรูปที่เขาสูในพระธรรมวินัย ของพระองค ไมวาจะมาจากวรรณะแพศย วรรณะศูทรอันตํา่ ตอย วรรณะจัณฑาลอันคนชั้นสูงหยามเหยียดรวมทั้งจอมโจรผูดุราย คนบาใบไรสติเชน นางปฏาจารา จะเปนวัยชรา วัยหนุม หรือวัยเด็ก ที่เขามาสูการบรรพชาอุปสมบทจะเปนในครั้งพุทธกาลหรือหลัง พุทธกาลมิไดจาํ กัดกาล จะหางกาลเวลาอันเนิน่ นานเพียงใดก็ถอื วา เปนพระสงฆ เปนสาวกของพระพุทธองคดวยกันทั้งนั้น ทั้งนี้ขอ ยกพุทธดํารัสอีกขอหนึ่งนํามายืนยันความเปนสงฆที่ทรงตรัสวา “ตัวกัลยาณมิตร กัลยาณจิตนั่นแหละคือตัวพรหมจรรย” ๒๓๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เพราะฉะนั้น การที่ใครจะแสวงหาความเปนพระอรหันต หรือความเปนพระสงฆดวยการยึดติดในตัวบุคคลดวยความ สําคัญตน จะไปคนหาทั่วโลกก็จะไมมีทางพบ แตการคนหา โดยไมสําคัญตน ทานจะพบพระอรหันตหรือพระสงฆไดใน ทุกแหงหน ดุจพระพุทธองคทรงมองพระสาวกดวยพระเนตร อันบริสุทธิ์ แมพระปุถุชน พระบวชใหมก็นับวาเปนพระสงฆ ขอนี้แสดงถึงพระสงฆอยูในหัวใจของพระพุทธองค พระองคทรง ลดการถือพระองคลงตอผูคนทุกชนชั้น ถาเราทานทั้งหลาย จะนอมรับนับถือผูคนสังคมโลก ดุจพระทัยของพระองคแผกวาง ไพศาล การถือพระสงฆเปนที่พึ่งตามนัยของพระองค จะทําให เราไรความสงสัยหมดขอของใจ และจะนิง่ สงบไดดจุ พระอริยเจานี่ คือความหมายถึงคําวาพระพุทธเจา พระธรรมและพระสงฆเปน รัตนะคือ แกวอันประเสริฐงดงาม ๓ ประการ โดยความหมาย ดุจกัน การที่เราทานทั้งหลายจะนอมเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนที่พึ่งก็จงนอมนํามาใสในหัวใจของเราใหเปนหนึ่ง เดียวกับพระไตรรัตน แลวเราก็จะไดรับความสุข ความสงบ ความรมเย็นในทุกที่ทุกสถานตลอดกาลทุกเมื่อ เปนไงบางครับ สามเณรพุทธ ผมรูสกึ วาทีเ่ ลามานีล้ วงเวลา มามากพอสมควร นี่ก็บายคลอยเขามาแลว ตอนนี้ไปสรงนํ้า กันกอนดีไหม มีโอกาสเราคอยนัดมาสนทนากันใหม สามเณรพุทธ ยกมือพนมไหวสามเณรพรเทวัญกลาวอนุโมทนาและขอบพระคุณ ในไมตรีจิตนอมนําสิ่งดีเลิศประเสริฐสุดมาสูหัวใจดวยความ เต็มใจยิ่ง จึงแยกกันไปสูกุฏิของตน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓๕


พระพุทธรู าไมแกชนฌกูจัฏนทรแดงศิลปะคันธาระยุคแรกของโลก ๒๓๖ อรุณปรุเจ งบนยอดเขาคิ


ใจบริสุทธิ์ ก็ไรปัญหา

วันตอมา สามเณรทัง้ สองไดขนึ้ ไปหอบูรพาจารยทมี่ ตี นสน

สามใบขึ้นดกเขียวขจี ดานทิศใตมีลําธารนํ้าไหลเซาะกอนหิน ดังซูซาในชวงฤดูกลางพรรษานี้ จึงไดพากันนั่งบนกอนหินที่ขาง ลําธารอันเปนมุมสงบรมรื่นอีกบรรยากาศหนึ่งของวัดพระธาตุ แสงแก ว มงคล สามเณรพุ ท ธจึ ง เป น ผู  เ ริ่ ม ต น สนทนาว า ..พี่เณรพรเทวัญครับ เมื่อวานเราเจอกันที่อาศรมโมกขธรรม วันนี้เรามาพบปะกันที่ดงสนหอบูรพาจารย ผมก็รูสึกวามีปญหา ที่ตอเนื่องมาจากเมื่อวานมาขอศึกษาถามไถ เพื่อความเขาใจ ในเรือ่ งของพระพุทธเจาเพิม่ เติมอีกสักเล็กนอย พีเ่ ณรคงไมรงั เกียจ นะครับ ..สามเณรพรเทวัญยิ้มรับนอยๆ สนองตอบรับในความ รูสึกสนใจของสามเณรพุทธที่ใฝหาความรู หาขอสนทนาที่เปน เรื่องราวทางพุทธศาสนา จึงพูดขึ้นวา “..มีอะไรก็นิมนตถามไถ กันไดไมเปนไรหรอกครับ ผมตอบไดผมก็จะตอบใหฟง ถาตอบ ไมไดผมก็จะคอยศึกษาหาความรูจากครูบาอาจารยมาตอบให ภายหลังก็ไดครับ..” สามเณรพุทธจึงนั่งคิดอยูครูหนึ่ง จึงตั้ง ประเด็นคําถามขึ้นมาวา “เอ...ที่ผมเห็นๆ มานี่มีอะไรทําใหสงสัย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓๗


อยากจะรูม านานแลว แตไมรจู ะถามใคร คืออยางนีค้ รับ พระพุทธรูป ทีเ่ ราพูดมาเมือ่ วานนีผ้ มไปเห็นในแหลงใหญในกรุงเทพฯ ตามราน แถวเสาชิงชา มีพระพุทธรูปและรูปของเกจิอาจารยตงั้ วางขายกัน เปนพุทธพาณิชยจนเปนสินคาที่ขายดีเปนแหลงใหญในใจกลาง มหานครทั้งสองฟากฝงถนน บางทีก็เห็นปายของวัดใหญ ๆ ทาน โฆษณาสั่งจองซื้อขายกันเหมือนกับพระพุทธเจาเปนสิ่งที่ซื้อขาย กันได เปนการหาผลประโยชนกันอยางชนิดที่แสวงหากําไรจน เกินควร และไมมกี ารเสียภาษีอกี ตางหาก นับวาเปนขอกังขาของผม มานานแลว ขอพีเ่ ณรลองคิดไขความของใจใหทราบหนอยซิครับ... สามเณรพรเทวัญนั่งเอามือคํ้าคางหาคําตอบที่ตรงประเด็น ตามหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา จึงไดพดู ขึน้ วา สามเณรพุทธนี้ ชางสังเกตสังกา ผมเองยังไมเคยคิดถึงเรื่องนี้เลย แตก็เปนสิ่งที่ นาถามอยูหรอกครับ เพราะมันเกิดขึ้นในวงการของชาวพุทธเรา ถาเราจะพูดตามจริงแลวความเปนพระพุทธเจานัน้ เปนสิง่ ทีซ่ อื้ ขาย กันไมไดแน แมวาสิ่งที่เปนสัญลักษณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆก็ตาม เพราะฉะนั้นในยุคตนๆ พุทธกาลถึงไมนิยมทํา รูปเคารพขึ้นมาไงครับ เพราะกลัววาคนจะหลงทางหลงยึดติดวา พระรัตนตรัยเปนอัตตาตัวตนอะไรนั่น หรือมากไปกวานั้นก็จะ หลงยึดติดในลาภสักการะผลประโยชนอันมหาศาล จนหันหลังให กับมรรคผลนิพพาน ผมก็เปนเพียงสามเณรตัวนอยๆ องคหนึ่ง ไมอยากจะพูดอะไรมาก ผมจึงขอเสนอทางออกวาอยาไดตั้ง ความสงสัยรวนเรในพระรัตนตรัยหรือตั้งแงมุมมองจับผิดผูอื่น ถาเราคอยจองแตจะจับผิดจับถูกกันแลว ผมวามันไมมีเวลาที่จะ ๒๓๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทําใหสมองของเราปลอดโปรงได มันจะคุกรุนอยูแตเรือ่ งความผิด ความถูกอยูเต็มสมอง ซึ่งในโลกนี้ถาเราจะมองกันในเรื่องของ ความวาวุนดวยแรงขับของตัณหากิเลส เวลาแหงชีวิตของเรามี ไมเทาไหร จะเอาเวลาที่ไหนมาแยกแยะไดทั่ว เราก็มีแตแยกับแย เทานั้น เพราะฉะนั้นพระพุทธองคจึงใหหันมาตรวจสอบพิจารณา ดูตัวเองใหมากๆ ศึกษาภายในจิตของตัวเองวามันมีความสงบ หรือความฟุงซานก็จงจัดการแกไขที่ภายในใจของเรา รูอะไรอื่น หรือจะเทาการรูจักใจตัวเอง ชนะอื่นหมื่นแสนหรือจะสูชนะใจ ตัวเองได เพราะฉะนั้นพระพุทธองคจึงทรงใหหลีกเวนสิ่งชั่วราย บาปอกุศลทั้งหลาย ใหรีบขวนขวายกระทําคุณงามความดีดวย กาย วาจา ใจ ใหถึงพรอมดวยความไมประมาท และทําจิตใจ ใหผองใสบริสุทธิ์อยูเปนนิจ นี่แหละครับคือคําตอบที่จะยุติความ สงสัยของทานได อยาลืมนะครับวาเราอยาไปมองหาเรื่องจับผิด คนอื่น ความผิด เรื่อ งมั ว หมองก็ จ ะเกิด ขึ้น ในใจของเราได เหมือนกัน ฉะนัน้ จงฝกทําใจใหเปนหนึง่ ไมตองไปแยกแยะโลกธาตุ ใหเปนที่รําคาญใจทําใหเกิดความกังขาไมเปนเรื่องครับ เราตอง พยายามตั้งจิตตั้งใจสงบสังวรระงับบังคับหามจิตใจไมแกวงเทา ไปหาหนาม ไมไปใสรายปายสีความผิดแกผูใด สรรพสิ่งมันก็เปน เพียงสังขารธรรม เกิดขึ้นมาแลวก็ดับไปเปนธรรมดา เราจะเอา อะไรมาเปนแกนสารสาระไมได “เปนไงครับเงียบไปเลย...” สามเณรพุทธจึงพูดขึ้นบางวา “...จริงซิครับ ถาเราไมมองใครในแงรายหัวใจเราก็สบาย เราก็อยู ตามประสาสมถะเรียบงายของเราไปวัน ๆ มันก็สบายใจดีนะครับ!” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๓๙


๒๔๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


การเวียนวายตายเกิด

และแลวสามเณรพุทธจึงไดเริ่มเรื่องปญหาการเวียนวาย

ตาย-เกิด วาเปนปญหาไมเขาใจชัดเจนกัน โดยเฉพาะวงการ ชาวพุทธที่ยังไมคอยเขาใจกันอีกหลายอยาง ซึ่งก็รวมถึงตัว ผมเองดวยเชนเดียวกัน คือ ปญหาเรื่องการเวียนวายตาย-เกิด วาตายแลวจะไปเกิดใหมอีกไหม คนที่ยังไมตายอยางพวกเรานี้ก็ ไมรวู ามันจะไปเกิดไดจริงหรือไม หรือคนทีต่ ายไปแลวจํานวนมาก ก็ไมเห็นใครกลับมาบอกวาเขาตายแลวไปเกิดใหมไหม หรือไป เกิดเปนอะไรกันบางมันนาสงสัยอยูเหมือนกันนะครับ หรือพี่เณร จะมีคําตอบที่ตรงประเด็นที่ผมตั้งขอสงสัยขึ้นมานี้ เราจะ หาคําตอบแกคําถามนี้ประการใด ผมเองไมไดคาดคั้นใหพี่เณร ตอบนะครับมันยากเกินไปไมตอบก็ได ผมเพียงตั้งขอสังเกต การสนทนาขึ้นมาเทานั้น สามเณรพรเทวัญใชสายตามองขึ้นไป ดูกิ่งสนจากตนนี้มาหาตนโนน จากตนโนนไปหาตนนี้เพื่อ คนหาคําตอบ เผือ่ บางทีมนั อาจจะมีอยูบ นยอดสนก็ไมเห็นคําตอบ มองลงพื้นดินใชไมเขี่ยคุยไปมาในพื้นดินก็หาคําตอบไมไดเชนกัน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๔๑


จึงครุนคิดในจิตตามที่พระพุทธองคทรงตรัสไววาทุกสิ่งเกิด มาจากใจ พอมองเขาไปในใจก็พอจะเห็นคําทีจ่ ะอรรถาธิบายขึน้ มาได จึงไดยิ้มนิดๆ แลวเปรยขึ้นวา สามเณรพุทธนี้ชางตั้งคําถามที่คน เขาอยากจะรูดจี งั เลย ผมก็จะขอตอบดวยสติปญ  ญาอันนอยนิดจะ ตรงประเด็นมากนอยขนาดไหนก็อยูทกี่ ารสือ่ การรับของผูตอบและ ผูฟง คืออยางนี้ครับ...ถาตอบแบบกําปนทุบดินก็ตอบวาผมไมเคย ตายไมรูจะเกิดใหมหรือไม หรือถาจะตอบแบบหาขอเปรียบเทียบ ในเรือ่ งกฎแหงกรรม ใครทําดียอมจะไดดี ใครทําชัว่ ก็จะไดรบั ผลชัว่ ใครกอกรรมทําเข็ญไวอยางไรก็จะตองไดรบั ผลตอบสนองเปนความ ทุกขยากลําบาก เปนปญหาแกตนเองและสังคม ผูที่ทําแตกุศล สรรสรางประโยชนอุทศิ เสียสละเพื่อสังคม ก็จะไดรบั อานิสงสเปน วาสนาบุญบารมีเปนที่พึ่งที่พักพิงตอผูคนสังคมโลก ผมจะขอยก ตัวอยางผูคนที่เรารูจักคุนเคยหรือที่เราไดยินกิตติศัพทของผูอื่น ในทางที่ดีงาม หรือจากเรื่องเลวรายทําลายความสุขสงบสันติ ถาเราจะพิจารณากันโดยแยบยลถึงแตละบุคคลที่ได สัง่ สมบาปบุญคุณโทษมีการอุปถัมภคาํ้ จุนหรือคอยใสรายจับผิด หาเรื่องกวนใจทําลายทํารายผูอื่นอยางนาสยดสยอง ทั้งๆ ที่เปน สิ่งที่ตนเองก็ไมปรารถนาที่จะใหใครทําตอตัวเอง แตเราเสียเอง กลับทําใหผูอื่น บางครั้งก็ทะเลาะวิวาทบางครั้งก็จี้ปลนสะดมถึง ขนาดประทุษรายรางกายเปนเรื่องราวขึ้นโรงขึ้นศาลเสียเวลา เสียเงินเสียทองเสียเกียรติยศชื่อเสียง บางทีถึงขนาดตองติดคุก หรือสูหลักประหารชีวิต ๒๔๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สําหรับผูทที่ าํ แตคณ ุ ประโยชนเกือ้ กูลอนุเคราะหสงเคราะห แกผูคนไมเลือกหนา เสียสละอุทิศตัวเองโอบอุมคํ้าจุนชวยเหลือ ผูอ นื่ อยางไมเห็นแกความยากลําบาก ทัง้ หมดทัง้ มวลนีห้ รือมากมาย กวานี้ ที่เราไมอาจจะสรรหามาบรรยายใหหมดสิ้นได แตเราก็สามารถดึงมาเฉพาะรายมาขยายเปนคําตอบของ ปญหาวา คนที่มีอุปนิสัยจิตใจที่ดีงามเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูคนรัก ธรรมชาติมคี วามรัก ความผูกพันกับสัตวรว มโลกนีย้ อ มหมายถึงวา เขามาจากคติทสี่ งู มากําเนิดในโลกมนุษย ผูทไี่ มรจู กั คุนเคยกันมา กอนหรือสัตวที่สื่อกันคนละภาษาก็จะมีความผูกพันหรือบางที เพียงสัตวตวั หนึง่ ทีเ่ ราเลีย้ งตายลงมันมีความรูส กึ เศราสลดเหมือน กับญาติสนิทไดตายจากพรากไป นีก่ ค็ อื สือ่ สัมพันธระหวางภพชาติ บางทีจะสังเกตเห็นไดจากคนและสัตวที่นําลูกของผูอื่นมาเลี้ยง แทๆ ก็มีความรูสึกวาเปนเหมือนกับลูกตัวเองจริงๆ เราจะเห็น อยูบอยๆ วา บางทีสตั วตางชนิดกันเลีย้ งลูกนอยของสัตวอกี ชนิดหนึง่ เชน แมหมาเลี้ยงลูกเสือที่พลัดจากแมใหกินนมตัวเอง หมาเลี้ยง ลูกแมว แมวใหลกู หมากินนม หรือทีใ่ นวัดพระธาตุแสงแกวมงคล นี้ก็มีใหเห็นไกตัวผูเลี้ยงลูกเมื่อแมไกไดรับอันตรายก็มีใหเห็นอยู บอยๆ ตามวิสยั ของไกปา ทีต่ อ งนอนบนกิง่ ไมสงู ในเมือ่ มาทําหนาที่ ของความเปนแม ไกตัวผูแทๆ ก็ตองมากกลูกนอนอยูกับพื้นดิน เหมือนกับแมไก โดยธรรมชาติก็ใชวามันจะเลี้ยงลูกไกจากแมไก ตัวอืน่ ก็หาไม หรือแมคนก็เชนกันมันมีความผูกพันเฉพาะตัว จะเห็น ไดวาคนเราทีม่ คี วามดี ความผูกพันทีไ่ ดเปนแมเปนลูกกันมากอน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๔๓


ถึงไดมาอุปถัมภคํ้าชูโอบอุมดุจพอแมกับลูก หรือตัวอยางตรงกัน ขาม ผูเกิดมาเปนคูอริยงั ไมไดทนั พูดอะไรกันเลยเพียงแคมองเห็น กันแวบเดียว มันก็รูสึกไมถูกชะตา หรือยิ่งพูดอะไรยิ่งทําใหเกิด แสลงใจ เปนเรื่องผิดหูผิดตากระทบกระทั่งอยูรํ่าไป ถึงขนาด อาฆาตพยาบาท หรือบางคนจิตใจจะเหี้ยมโหดดุราย จะพูดจะ ทําอะไรก็นากลัวเสียงหาวกาวราวนากลัวเหลือเกิน นี่ก็ถือวามี ของเกามาจากเดรัจฉานที่ดุรายมีเขี้ยวเล็บมากอน บางคนลุกลี้ ลุกลนหลุกหลิกวอกแวกเหมือนกับสัญชาตญาณของลิง บางคน ก็มีพละพลังดุจชางสาร บางคนออนแอนอรชรเหมือนเทพธิดา บางรายก็จะมีของเดิมติดมาอีกตางหาก มีเนื้อหนังและขนติดตัว มาบางสวนเหมือนกับกระบือ บางรายมีหนาตาและขนเหมือนกับลิง บางรายชอบดืม่ นํา้ เมาเดินโซซัดโซเซไมคอยตรงทางดุจงู ตาดุอกี ตางหาก บางรายชอบกินเนื้อสดๆ เลือดดิบๆ เหมือนเคยกินเคย ขบเคี้ยว ดูดกินอยางนั้นมากอน บางรายชอบใสรายปายสีชอบ ดาวา ปากอยูไมเปนสุขชอบเหาหอนอยูเปนสันดาน ทัง้ หมดนีต้ าม สายตาที่เรามองเห็นชัดๆ อยูแลวนาจะเปนคําตอบวาใครมาจาก สัญชาตญาณอะไรมากอน และทีเ่ ราจะตองมี คติภพในเบือ้ งหนา ก็นาจะเปนเหมือนผูที่เราเห็นสัญชาตญาณมีที่มาเปนเหตุเปน ปจจัยแสดงออกอยูในตัวอยางดังที่กลาวมาแลว เปนยังไงบาง ครับเณรพุทธ ผมรูสึกวาพูดวกวนไกลตัวไปหรือเปลา เอาอยางนี้ก็แลวกันนะครับ ผมจะขอยกตัวอยางเรื่อง กฎแหงกรรมที่เห็นในปจจุบันมาใหฟงตามตัวอยางที่ไดเจอกับ ๒๔๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ตัวเองและคําบอกเลาจากผูอื่นที่เขาไดประสบมาอยางในยุค พุทธกาล เชนองคอัครมหาสาวกเบื้องซายคือ พระโมคคัลลานะ เปนพระอรหันตองคเอตทัคคะดานมีฤทธิ์ อดีตชาติปางกอนเคย คิดประทุษรายบิดา-มารดา แมจะเปนพระอรหันตแลวก็ตองถูก พวกโจรหารอยพยายามฆาตั้งหลายครั้งหลายหน ทานก็ แผลงฤทธิ์หลีกเลี่ยงการประทุษราย ในที่สุดไดเล็งเห็นกรรมเวร ทีท่ าํ มากอนจึงยอมใหพวกโจรทํารายจนกระดูกทัว่ รางแหลกเหลว ดับขันธนิพพาน หรือตัวอยางหนึง่ ทีเ่ คยเปนขาวในหนาหนังสือพิมพ ผูม อี าชีพ ฆาวัวฆาควายรายใหญทานหนึ่ง มีอยูวันหนึ่งหลานชายคนที่แก รักมากไดลื่นลมบนดาดฟาปวยหนักอยูตั้งหลายวัน กอนตาย ทุรนทุรายมากมีเสียงรองเหมือนวัวควายทีก่ าํ ลังถูกฆา อีกรายหนึง่ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๔๕


อยูในตัวเมืองพะเยานี่เอง สมัยหนุม ๆ ก็เปนคนมีอาชีพฆาวัว ฆาควายแลเนือ้ ขาย ตอนอายุรวม ๙๐ ปแลว กอนตายก็ทรุ นทุราย รองเสียงหลงวามีวัวควายมาไลขวิด เสียงรองเหมือนวัวควาย เวลาถูกฆา พวกฆาหมูก็เชนกัน และคนที่ฆาคนก็เห็นกันอยูแลว วาตองถูกจองลางจองผลาญกอกรรมทําเข็ญแกกันและกัน และอีกตัวอยางหนึ่งของคนทําดีก็จะขอยกตัวอยาง เชน พระครูบาเจาศรีวิชัย ที่ทานพระอาจารยอานันทไดสืบทอดนํา พวกเราไดปฏิบตั เิ จริญรอยตามทานมาทุกวันนี้ ถามีคณะศรัทธา สาธุชนนิมนตทานไปบูรณะกอสรางพระธาตุเจดียที่ไหน ทานจะ ไมรับนิมนตทันทีทานจะขอนั่งภาวนาตั้งสัจจะอธิษฐานดูวาสนา บุญบารมีกอน มีหลายๆที่ที่ทานทําไมได ทานก็จะบอกวาไมใช วาสนาบารมีของทาน แลวก็จะบอกวาภายในเบือ้ งหนาจะมีเจาของ มาบูรณะกอสรางเอง ถาทีไ่ หนเปนวาสนาบุญบารมีทที่ า นจะสราง ไดแลว ทานก็จะทําการบูรณะกอสรางไดอยางรวดเร็วดุจปาฏิหาริย เหมือนผลงานชิ้นเอกที่ทานไดสรางถนนขึ้นสูพระธาตุดอยสุเทพ ทานก็บอกลวงหนาไวเลยวาการสรางทางจะเสร็จภายใน ๖ เดือน ก็ปรากฏแกสายตามหาชนโดยใชเวลาสรางเพียง ๕ เดือน ๒๒ วัน ทานไดบูรณะกอสรางวัดวาอารามอีกกวา ๑๐๐ แหง แมจะเปนยุคสมัยทีบ่ านเมืองแรนแคนขาวยากหมากแพง เปนชวง ระหวางของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งพึ่งสงบ และสงครามโลกครั้ง ทีส่ องกําลังคุกรุนจะเกิดขึน้ แตพระครูบาเจาศรีวชิ ยั ก็เปนผูทที่ รง บุญบารมี เปนที่พึ่งของสาธุชนดุจสายฝนอันชุมเย็นมาดับไฟรอน ๒๔๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แหงยุคสมัยทีโ่ ลกกําลังเกิดกลียคุ และกอนการกําเนิดพระครูบาเจา ศรีวิชัยก็แสดงใหเห็นวาเปนผูมีบุญใหญ บุญหนักมาเกิด ไดเกิด ปรากฏการณกอนการคลอด เปนแผนดินไหวพายุลมฝนกระหนํา่ ลงมาอยางหนัก เสียงอสุนีบาตฟาดเปรี้ยงปรางลงมาอยางนา สะพรึงกลัว พอทานคลอดออกมาจากครรภมารดา ปรากฏการณ ของดินฟาอากาศก็สงบลงเปนที่อัศจรรยนี่ก็แสดงใหเห็นวา ผูสรางบุญสรางกุศลอันใหญหลวงมาแตปางกอนไดมากําเนิด นีค่ อื คําตอบเรือ่ งวัฏสงสารทีผ่ มยก มาตอบเปรียบเทียบใหฟง มันเปนเรื่องที่ เกิดขึ้นเชนนี้มาแลวจริงๆ ครับ สวนใคร จะเชื่อหรือไมเชื่ออยางไร นั่นก็ขึ้นอยูกับ แตละบุคคล ถาประสบกับตัวเองก็จะรู ไดแนชัดเลยวามันเปนเชนนั้นจริง โดย เฉพาะผูท เี่ ปนสัมมาทิฐกิ จ็ ะยอมรับในเรือ่ ง ของสัจธรรมกฎแหงกรรม สวนผูที่เปนมิจฉาทิฐิก็จะไมเชื่อดื้อรั้น ทําผิดกอกรรมทําเข็ญซํ้าเติมเขาไปอีกเปนกรรมของสัตวโลกไป เพราะฉะนั้นคนโบราณจึงวา “สวรรคอยูในอก นรกอยูในใจ” ขอนี้หมายถึงวาคนเราจะชั่วก็อยูที่จิตใจ ถาใจดีอะไรทุกอยางมัน ก็จะเปนเหตุเปนปจจัยออกเปนผลใหดูดีไปทุกอยางทุกประการ ถาใจไมดีแลวจะคิดจะทําอะไรมันก็รูสึกติดขัดขัดของ จะพึ่งพี่ก็ อางเจ็บทอง จะพึง่ นองก็อางเจ็บใจ เพือ่ นพองบริวารทีเ่ คยรักชอบ กันมาก็หนีหาง เหตุปจจัยมันดูไรเหตุไรผลไปหมด และเปนเหตุ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๔๗


ใหเห็นแกตัวละโมบทําลายทํารายอะไรไดทุกอยาง คนโบราณ ผูเ ปนบรรพบุรษุ บูรพาจารยจงึ เตือนสติลกู หลาน ใหเปนผูท มี่ จี ติ ใจ ดีมีนํ้าใจงดงาม เอื้อเฟอเผื่อแผอดทนอดกลั้น ไมเปนคนใจรอน ใจราย ใหเปนคนมีจิตใจหนักแนนสุขุมเยือกเย็น มันจะเปนเหตุ ปจจัยเปนพลังอํานาจผลแหงคุณงามความดี เปนผลตอบสนอง ทั้งแกตนเองและผูอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งคนที่ใกลจะตายกอนที่จิตจะดับขันธ จะแตกสลาย บรรดาญาติทั้งหลายคอยกระตุนเตือนสติใหนึกถึง แตสิ่งที่ดีๆ กุศลผลบุญที่ไดสรางบําเพ็ญมา เชน การบริจาคทาน การรักษาศีลเจริญจิตเมตตาภาวนา สรางสาธารณประโยชน บําเพ็ญกุศล คอยเตือนสติใหระลึกถึงพระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ ใหภาวนาพุทโธเปนอารมณขณะจิตจะดับ เพือ่ ทีจ่ ะ ใหผูไปสูสัมปรายภพไปสูคติภพที่ดี คติภพที่จะไปเกิดนั้นมี ๖ ภูมิ แตตามทัศนะของพระพุทธเจาพระองคไมใหเพลิดเพลินยินดี ลุม หลงในภพในชาติ เพราะมันเปนบอเกิดความทุกข โสกะ ปริเทวะ ทําใหหลงอยูในวังวนแหงวัฏสงสารไมมีที่สิ้นสุด เปนยังไงบางครับพอจะเขาใจไหมครับสามเณรพุทธ สามเณร พุทธจึงพนมมือไหวพรอมกับยิ้มรับดวยความพอใจสําหรับ การไขขอของใจในเรื่องนี้ ซึ่งผมถามเพียงนิดเดียวทานอุตสาห ขยายไขขอของใจไดแจมแจง ขอขอบพระคุณมากครับ

๒๔๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เรื่องการอุทิศสวนกุศล ถึงผูลวงลับและกฎแหงกรรม

ผมยังมีเรือ่ งอืน่ อีกทีจ่ ะขอถามเพิม่ เติม ซึง่ ก็ถอื วาเปนเรือ่ ง

ที่ตอเนื่องกันอยูเหมือนกันคือ ผมอยากจะรูวาการทําบุญอุทิศ กุศลผลบุญใหแกผูที่ตายไปแลว จะไดรับหรือไม หรือทําอยางไร ถึงจะไดรับอานิสงส สามเณรพรเทวัญจึงไดตอบวาสาธุดีแลวครับ ก็เปนโอกาส ของผมจะไดตอบปญหาเชนนี้ เปนการสนองตอบแทนพระคุณของ ทายกทายิกาที่ไดถวายปจจัยสี่ คือเรื่องการอุทิศกุศลผลบุญถึง ผูตายนั้นเราจะตองยอนเขาสูเมื่อเรายังมีชีวิตอยูรวมกันกอน ตางคนตางก็มบี ดิ ามารดามีผอู ปุ การคุณ มีคนอันเปนทีร่ กั ทีป่ รารถนา ดวยกันทัง้ นัน้ เราจะตองปฏิบตั ติ อ กันและกันเมือ่ ยังมีชวี ติ ใหถกู ตอง โดยเฉพาะบุตรธิดาจะตองมีความกตัญูกตเวทิตาตอบิดามารดา และบิดามารดาก็ตองอบรมบมเพาะอุปนิสัยทําตนเปนแบบอยาง ที่ดีแกลูกหลาน อนุเคราะหสงเคราะหซึ่งกันและกันรวมทั้งผูมี อุปการคุณที่ตองเกี่ยวของ ตลอดถึงความผูกพันระหวางสามีกับ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๔๙


ภรรยา ก็ตองปฏิบัติตนใหเหมาะสมมีความเคารพ มีความ เกรงอกเกรงใจ มีเมตตาไมตรีตอ กัน และเรือ่ งอืน่ ทีจ่ ะตองอนุเคราะห สงเคราะหเกือ้ กูลอุดหนุนสงเสริมในทางทีด่ งี ามตามแตฐานะหนาที่ และโอกาส อันนีเ้ ปนเรือ่ งทีเ่ ราจะตองรวมกันทําประโยชนตนและ ประโยชนผอู นื่ แลวเราก็จะไดรบั นํา้ ใจเมตตาไมตรีเปนผลตอบสนอง ดุจการเพาะปลูกพืชผลเชนไรก็ยอมจะไดรบั อานิสงสของผลนัน้ ๆ สวนการทําบุญอุทศิ ใหแกกนั และกันหลังจากลวงลับดับขันธ ไปแลว ทีเ่ ณรพุทธไดถามกับผมขึน้ มานัน้ อานิสงสผลบุญจะถึงแก ดวงวิญญาณของผูลวงลับดับขันธไปหรือไมนั้นก็ขึ้นอยูกับวา เราทําบุญดวยความบริสทุ ธิท์ เี่ ปนบุญเปนกุศลกันหรือไม เราเปน ชาวพุทธถาทําบุญใหถกู ตองตามหลักวัฒนธรรมของพุทธศาสนา มีการบําเพ็ญทาน การรักษาศีล การฟงเทศนฟง ธรรม การเจริญจิต แผเมตตาภาวนาอุทิศสวนบุญกุศล ถาผูลวงลับมีความผูกพัน ระหวางญาติหรือมีกศุ ลเจตนาทีจ่ ะสือ่ สงถึงกันได ก็ยอมจะไดรบั เปนอานิสงสใหไดสมความปรารถนา แตถาเปนจําพวกที่เสวย วิบากอันรุนแรงก็ไมสามารถจะรับได ดุจเรามีญาติทมี่ ชี วี ติ อยูเปน คนวิกลจริตตองรอนเรพเนจรอยูสูกับภาวะอากาศทั้งที่รอนและ หนาวอยูตามที่สาธารณะตางๆ กินอยูดวยอาหารสกปรกเสื้อผา ผมเผารุงรังนํ้าก็ไมอาบ ถูกริ้นยุงกัดตอยก็อยูได เราจะไปดึงไป ฉุดใหเขาพนจากภาวะเชนนั้นเขาก็ไมยอม จะตองเสวยกรรมไป ตามวิบากเวรกรรมของเขาเชนนัน้ มีตวั อยางใหเห็นอยูทกุ บานทุก เมืองนี่ก็อีกตัวอยางหนึ่ง แตการทําบุญที่ตั้งจิตอุทิศผลถึงผูตาย ๒๕๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


และไดทําปาณาติบาตเลี้ยงสุรายาเมาคละเคลาในงานบุญ ตอง สูญเสียคาใชจายมิใชนอยการกระทําเชนนัน้ ก็เห็นชัดๆ อยูแลววา มันไมใชการทําบุญทํากุศลกลับเปนการเพิ่มบาปอกุศลขึ้นมาอีก และมันเปนคานิยมที่ผิดมิใชวัฒนธรรมของชาวพุทธที่แทจริง ดังนั้นจึงถือวาไมไดอานิสงสอะไรเลย พระพุทธองคก็ทรงตรัส ไวแลววา การฆาสัตวเอามาทําบุญเปนบาปทั้งผูใหและผูรับ ยิ่งการดื่มสุรายาเมาก็เปนการผิดศีลธรรม ทําใหเสื่อมเสียความ นาเคารพนับถือเสียสติสมปฤดี เพราะฉะนั้นการทําบุญที่จะใหไดรับอานิสงสทั้งแกผูให และผูร บั จะตองทําใหถกู ตองตามหลักศีลธรรมวัฒนธรรมอันดีงาม บางทานอาจคิดวาการทําบุญมันจะถึงแกผลู ว งลับไปแลวไดอยางไร ก็ตอ งขอตอบวามันเปนความรูส กึ ทีเ่ กิดขึน้ จากความผูกพันสัมพันธ กันและกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งความกตัญูกตเวที ที่ผูอยู เบื้องหลังจะตองมีจิตใจอันงดงามแสดงออกใหเปนสื่อสัมพันธ ดวยจิตใจยอมถึงหัวใจของผูรบั มันเปนกระแสจิตดุจกระแสไฟฟา ดวยอาศัยปจจัยสี่ที่เราตั้งใจอุทิศกุศลไปใหแลวนั้น ยอมจะแปร สภาพเปนอานิสงสตามมโนรสปรารถนาตามครรลองคลองธรรม เหมือนกับเรามีลูกมีหลานอยูตางบานตางเมือง คนละประเทศ คนละภาษา เงินตราปจจัยใชสอยก็แตกตางกัน ถาบุตรธิดาประสงค จะใหพอแมของตนไดอยูบานอยูเรือนทีด่ ี มีสงิ่ อุปโภคบริโภคหรือ เงินทองใหไวใชจายตามความประสงค จะสงบานทั้งหลัง จะสง รถเปนคัน จะสงเครื่องอุปโภคบริโภคจากประเทศนั้นๆ มาใหก็ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕๑


ยอมเปนไปไมได จะตองสงเงินจากตางประเทศผานมาสูประเทศ ของเราก็ไดแตปจจัยที่เปนธนบัตรแลวถึงจะนํามาแปรสภาพ เปนบานเรือนเปนรถยนตเครื่องอุปโภคบริโภค สรางเปนฐานะ หลักฐานอันมั่นคงใหไดอยูสุขสบายทั้งลูกหลานญาติมิตร แตถา ในกรณีที่ไมคอยมีความคิดอานที่สรางสรรคก็จะใชจายปจจัย เงินทองไปในทางอบายมุขสูญเสียไปโดยเปลาประโยชน นี่ก็เปน ตัวอยางใหเห็นวาอานิสงสผลบุญที่ลูกหลานคนอยูเบื้องหลัง แผอุทิศกุศลดวยปจจัยสี่ก็ฉันนั้น วายังไงเขาใจไหมครับมีอะไรสงสัยอีกไหม? สามเณรพุทธ ก็พูดขึ้นวา ถาจะใหถามมันก็มีเรื่องสงสัยถามกันไดเรื่อยๆ ครับ อยางกับคนบางคนขยันทํางานทําการแตไมรวย บางคนมีการ ศึกษาเรียนสูงมีสติปญญามากแตก็ตกอับ บางคนโงเงา บางคน ฉลาดบางคนก็พกิ ลพิการอยางนากลัวเอามาก ๆ บางคนมีรปู ราง หนาตาสดสวย บางคนรํ่ารวยมีอํานาจมียศ มีศักดิ์ บางคนเปน คนใจบุญ กิริยามารยาทงดงาม บางคนแข็งกระดางสรางกรรม ทําแตความชั่ว บางคนอายุตั้งมากไมเคยเจ็บปวยลมหมอนนอน เสือ่ หยูกยาไมคอยไดทานดวยซํา้ ไปสุขภาพพลานามัยยังแข็งแรง สมบูรณ บางคนแรกเกิดก็มีโรคภัยไขเจ็บเขาโรงพยาบาลมีสาย ระโยงระยางนาเวทนา บางคนมีแตโรคภัยไขเจ็บรุมเราอยูตลอด ไปที่โรงพยาบาลจะเห็นไดชัดเลยครับ อันนี้มันเปนเพราะอะไรที่ ผูคนมันมีอะไรเหลื่อมลํ้ากัน ขอพี่เณรลองไดโปรดชวยพิจารณา ชวยกันคิดหนอยครับ ๒๕๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สามเณรพรเทวัญจึงไดพูดขึ้นวา จริงนะสามเณรพุทธ ทั้งคนทั้งสัตวทุกภพทุกภูมิมันมีใหเห็นเชนนั้นดาษดื่นทั่วไป ถาจะ วาไปแลวตัวผมเองก็อยูในฐานะไมตางจากตัวอยางที่เราพูดกัน มาแลว แตผมรูสึกวามีวาสนาดีที่ไดเขามาบรรพชาทําใหมีความ รูสึกอะไรดีๆ ขึ้นมาแทนภาพอดีตที่นาสยดสยองเหมือนกัน อันนี้ ก็คงจะเปนเรื่องกฎแหงกรรมวิบากกรรม และผลอานิสงสแหง เมล็ดพันธุคุณงามความดี ที่เราไดเพาะหวานเอาไวเชนไรยอมจะ ไดรับผลเชนนั้น พระพุทธเจาตรัสวา สัตวโลกยอมมีกรรมเปนที่ กําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่งอาศัยดุจเงาติดตาม ตัวแตละผูคน เพราะฉะนัน้ เรามองเห็นแลววาทุกสิง่ ทุกอยางมันเกิดขึน้ มา จากการกระทําของเราเอง โดยมีจติ ใจเปนสือ่ นําการกระทํา บัณฑิต นักปราชญทงั้ หลายมีพระพุทธเจาเปนตน พระองคทรงตรัสไววา “พึงรักษาใจใหผองแผวสะอาดบริสุทธิ์และสงบแลวจะไดพบแต สิ่งที่ดีๆ เพราะทุกสิ่งสําเร็จไดดวยใจ” เปนยังไงเขาใจไหมครับ สามเณรพุทธ ถาไมเขาใจก็ฝากไวคิดแลวใหรูจักชางสังเกต พิจารณาดูเหตุปจ จัยของสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงทีแ่ สดงออกโดยทัว่ ไป ใหเห็นเปนครูเปนอุทาหรณ เปนแบบอยางใหเราไดอยางดีมาก สามเณรพุทธจึงไดยกมือไหวสามเณรพรเทวัญวา ขอบพระคุณ มากที่กรุณาขยายขอของใจใหกระจาง ถึงแมวาจะไมเต็มรอย ก็จะขอนําเอาไปพิจารณาเปนสวนตัวในโอกาสขางหนาแตผม ก็ยังมีปญหาอื่นอีกที่คนทั่วๆ ไปคงจะยังไมทราบชัดเจนรวมทั้ง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕๓


ตัวผมเองดวย คือ ปญหาเรือ่ งนรกและสวรรคมจี ริงไหมครับ.....? หรือที่พูดตอๆ กันมาวา สวรรคอยูในอก นรกอยูในใจ ทั้งสอง ประเด็นนี้มีความหมายตางกันอยางไร สามเณรเทวัญก็ตอบวาใชครับ มันเปนคําถามทีท่ กุ คนในโลก ก็คงจะสนใจกัน แตความหมายและความจริงมันคืออะไร อันนี้ เปนคําตอบทีเ่ ราจะใชคาํ พูดหรือสายตาความรูส กึ ของปุถชุ นทัว่ ไป เราก็จะไมเห็นและจะหาคําตอบจากของจริงไดยาก เพราะจะตอง เกิดขึ้นกับตัวเองถึงจะรูซึ้ง แตอยางไรก็ตามที่วาสวรรคอยูในอก นรกอยูในใจนั้น ถาเราฟงหรือเขาใจเพียงผิวเผิน ก็จะคิดวามัน เปนเรือ่ งทีจ่ ติ คิดขึน้ มาเองหาความเปนจริงมิได แตถา เราคิดใหลกึ ๆ ไตรตรองใหรูถึงเจตจํานงการกลาวของบูรพาจารยแลว เราก็จะ ไดที่มาของความหมายที่แทจริงที่ทานกลาวไวนั้น มันถูกตอง แนนอนวาทั้งนรกสวรรคหรือเรื่องดีเรื่องราย มันตองเกิดมา จากใจเปนปฐมเหตุ แลวจะทําใหเสวยวิบากทีเ่ ปนผลแหงอานิสงส บุญกุศล หรือบาปความชัว่ ลวนแตผานมาจากจิตจากใจ ไมใชเปน เรือ่ งนึกคิดเอาแบบลมๆ แลงๆ วาเปนคําพูดทีไ่ รสาระหาความหมาย ที่เปนหลักสัจธรรมอะไรไมได นี่แหละคือความเฉลียวฉลาด ของปราชญผเู ปนบรรพชน เราผูเปนคนรุนหลังเจาะไมลกึ คิดไมถงึ ก็หาวาทานเหลานั้นเบาปญญาแตที่แทใครกัน ที่มีสายตาที่ยังมี ฝาปดบังดวงตามองไมเห็นอะไรชัดเจน ก็เลยไมอยากจะทําบุญ กุศลหรือไมกลัวบาป มัวแตกระทําความชัว่ ไมเคารพนับถือยําเกรง บิดามารดาผูใหกาํ เนิด ไมเคารพยําเกรงผูเฒาผูแกครูบาอาจารย ๒๕๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พากันหันหลังใหแกศีลธรรมและศาสนา ทุกวันนี้คนเราจึง หาความสุขสงบรมเย็นใหแกจิตใจไดยาก จะบนกันวาเครียดไมมี เวลาเปนของตัวเอง ถูกกระชากลากไปดวยกระแสแหงความ อยากโดยไรทิศทาง จิตใจวาวุนหาจุดยืนที่แทจริงใหแกชีวิตไมได อันนี้คือคําตอบที่วา สวรรคอยูในอก นรกอยูในใจ สวนที่วาสวรรคนรกมีจริงหรือไม มันไมใชวามีแตสวรรค หรือนรกเทานั้น พระพุทธองคกลาววามีถึง ๖ ภูมิ คือ นรก เปรต อสูรกาย เดรัจฉาน มนุษย สวรรค ทีว่ าภูมนิ รกทีอ่ ยูตาํ่ สุดเรารอน ดวยเปลวเพลิงตลอดกัปปนั้น ก็หมายถึงคนที่ไดประกอบ กรรมทําความชั่วผิดศีลผิดธรรม ก็ตองตกอยูในภพภูมิที่ตํ่าและ เรารอนสุดแสนจะทรมานดวยบาปกรรมทีท่ าํ ไวจะตองเสวยวิบาก ถูกลงโทษใหไดรับเวทนาโหยหวนดวยอาการตางๆ สวนเปรตก็จะมีอาการแหงความหิวโหยอยูตลอดเวลา ดวยอํานาจแหงความใครความอยาก ความโลภลนพนประมาณ ทานอุปมาไววามีทองใหญเทาภูเขาเลากา รางกายซูบผอมสูงผิด มนุษยมนา ตาโปนถลนดวยประกายแหงความละโมบ แตปากเล็ก เทารูเข็ม นี่หมายถึงวาปากที่จะกินจะบริโภคจะอยูใชสอยปจจัย สีน่ นั้ ก็เพียงนิดเดียว แตการละโมบของความเปนเปรตนัน้ มันเกิน ประมาณนาสยะแสยง ทําใหดูอัปลักษณเปนอัปมงคลเปนภาพ ที่นากลัว และเปนอันตรายทั้งแกตัวเองและผูอื่น ภูมิแหงอสูรกายก็เต็มไปดวยความวิตกหวาดผวาระหวาด ระแวงหาความสุขสงบไมได เพราะไมมีความมั่นใจในอะไร อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕๕


ทุกอยางเปนภาพที่หลอกหลอนนากลัว เปนบรรยากาศของภูมิ ที่นาสังเวชเวทนา สามภูมินี้จัดเปนจําพวกสัมภเวสี เกิดขึ้นทันที ทันใดดวยแรงขับแหงวิบากกรรมรวมทั้งภูมิสวรรคดวย ภูมิเหลานี้อยูที่ไหน! พิสูจนไดอยางไร? ผูที่จะพิสูจน ใหเห็นจะแจงไดกต็ องเปนผูมญ ี าณวิถี เราจะมองกันดวยตาเปลา ตามวิสัยของปุถุชนก็จะไมสามารถมองเห็นได เพราะมันหยาบ เกินไปเหมือนหนอนอยูในคูถหารูวาคือคูถไม ขอนี้ฉันใดเรื่อง คําตอบก็ตองอยูในวิสัยของผูที่เปนวิสุทธิบุคคลจะรูไดเฉพาะตน ภูมิเดรัจฉานก็คือเปนสัตวที่ไมมีวิวัฒนาการ เปนจําพวกที่ ไมใครไดสาํ นึกรูเ รือ่ งผิดชอบชัว่ ดี ทําอะไรก็เปนไปตามสัญชาตญาณ เปนอยูอยางไรก็อยูอยางนั้น บางก็ถูกเขาจูงจมูก บางก็ถูกเขาใช ชักใชลากทํางานหนัก บางก็มีเขี้ยวมีเล็บที่ดุรายนากลัว บางก็ ถูกมัดถูกกักขังถูกโขกถูกสับถูกฆาถูกยิงมาเปนเหยื่อของผูอื่น อยางไมมีทางที่จะอุทธรณรองขอชีวิตกับใครไดเหมือนปลา เนือ้ สัตวหลายๆ ชนิด ทีเ่ ปนเหยือ่ อันเอร็ดอรอยแกผบู ริโภคอยาง นาสงสารสัตวโลกตาดําๆ แตมันก็เปนวัฏจักรที่สัตวใหญยอมกิน สัตวเล็ก ผูมีอํานาจยอมมีสิทธิ์เหนือกวาเปนกงกรรมกงเกวียน ภูมมิ นุษยโดยกําเนิดเดิมก็ถอื วา วิถชี วี ติ การเปนอยูกเ็ หมือน กับสัตวโลกโดยทั่วไป ตองตอสูกับภยันตรายจากสัตวรายอื่น เพื่อเอาชีวิตรอดตองอยูตามทองถํ้าคบไมเพื่อซอนกายให พนอันตราย จากภัยธรรมชาติและสัตวรา ย แตมนุษยมวี วิ ฒ ั นาการ เหนือกวาสัตวใดๆ มีพลังงานหลายๆ ดาน มีความสามารถทาง ๒๕๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


มันสมองที่วิเศษสุด สามารถพัฒนาตัวเองใหเปนผูที่มีระบบ วิถชี วี ติ ความเปนอยู มีความคิดความอานทีจ่ ะสรางสรรคปจ จัยสี่ และปจจัยอืน่ ๆ อีกหลายดาน จนเกิดเครือ่ งอุปโภคบริโภคอํานวย ความสะดวกไดวเิ ศษพิสดาร กระทัง่ เกิดมีผนู าํ ระบบปกครองบาน เมืองเปนประเทศชาติขนึ้ มาทัว่ โลก และมีวรี บุรษุ วีรสตรีเปนบุคคล สําคัญของโลก จนเกิดเปนประวัตศิ าสตรของมนุษยชาติขนึ้ มา ใน ดานจิตใจก็มีเจาลัทธิศาสดาผูนําทางจิตใจเปนศาสนาตางๆ ขึ้น มาในโลก นี่คือความเฉลียวฉลาดของความเปนมนุษย แตก็ถือ เปนภพภูมิที่อยูกึ่งกลางระหวางภพทั้งหลายผูมีจิตสํานึกที่ดีงาม ก็จะสูคติที่ประเสริฐ ผูเปนอันธพาลสันดานหยาบไมมองเห็นผิด เห็นชอบประโยชนไมใชประโยชน บุญกุศลบาปชั่วรายทั้งหลายก็ มัว่ แตเรือ่ งอบายมุข ก็มแี ตจะไปสูอบายภูมิ เพราะฉะนัน้ ภูมมิ นุษย นี่ถือวาเปนใจกลางของภูมิทั้งหลาย ภูมิสวรรคพวกเทวดาเทพบุตรเทพธิดาทั้งหลายก็มีหลาย ชั้นหลายระดับ ผูที่จะผานประตูเขาสูทางสวรรค ก็จะเปนผูที่มี จิตสํานึกที่ดีงามประกอบการกุศลคุณงามความดีเรียกวาผูมีหิริ ความละอายตอบาปความชั่ว มีโอตตัปปะ ความสะดุงกลัวตอ พิษรายแรงวิบากกรรมอันจักนําไปสูความเลวราย ฉะนั้นภพภูมิ ของเทพทานจึงจัดใหอยูในระดับสูงและเลื่อนไปตามลําดับของ ภูมิธรรม อันเปนสื่อนําสูผูมีวาสนาบารมีในการทํากุศลคุณงาม ความดีของทานทั้งหลายเหลานั้นใหสูงสงยิ่งๆ ขึ้นไป แตมัน ก็ไมแนนอนถาเกิดขาดหิรโิ อตตัปปะประมาทเมือ่ ไหรกต็ กสวรรค ไดเหมือนกัน ดังตัวอยางใหเห็นในปจจุบันก็มีดาษดื่น อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕๗


เปนไงบางครับสามเณร? อยาคิดวาผมเปนพระมาลัย พาทองนรกสวรรค ทีน่ คี่ อื หอบูรพาจารยเราไมไดไปถึงโนนหรอก ก็เพียงแคยํ่าอยูในคําถามและคําตอบของเราอยู ณ ที่นี้เอง ถาจิตใจของเราสะอาดบริสุทธิ์ก็จะสื่อรูเห็นสิ่งทั้งหลายทั้งปวง รวมทั้งภพภูมิที่กลาวมาแลว ดุจพระสัมมาสัมพุทธเจา กอนที่ทานจะตรัสรู ทานก็ได พระญาณเห็นพระองคเคยเกิดเคยตายมาหลายภพหลายชาติ จนทีส่ ดุ พระองคไดเบือ่ ในภพชาติ เพราะจะตองวนเวียนอยูในการ เวียนวายตายเกิดอยูในวังวนวัฏสงสาร เปนเรื่องตองทนทุกข ทรมานอยูในภพในชาติไมมียุติเรียกวา วัฏสงสารไมมีเบื้องตน ไมมีที่สุด เพราะฉะนั้นเมื่อไดทรงตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแลว ทรงมองเห็นชาติเปนทุกข กิเลส ตัณหา มายาเปนบอเกิดปญหา นานัปการ มองเห็นสัจธรรมแหงนิโรธ คือ ความดับไปเปนสภาพ ของสรรพสิง่ ทรงมองเห็นมัชฌิมาปฏิปทาทางทีจ่ ะดําเนินสายกลาง ไมสดุ โตงทัง้ สองฝายคือ ทางหมกมุนหลงระเริงดวยกิเลสกาม และ ทิฐิมานะอหังการความสําคัญตนวาเปนทางสุดเหวี่ยงทั้งสองฝาย จึงหันมาดําเนินตามทางสายกลางคือ อริยมรรคมีองค ๘ ประการ นําวิถชี วี ติ สูค วามสุข สงบรมเย็น เพราะไมขอ งไมตดิ อยูใ นภพในชาติ สงบ สังวร สํารวมจิตหลุดพนเรียกวาสูวิโมกขและนิพพาน เปนไงบางครับเงียบไปเลยสามเณรพุทธ สามเณรพุทธ จึงวาผมก็เคลิบเคลิ้มไปกับคําสาธยายของพี่เณรพรเทวัญ มันก็ ๒๕๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เปนธรรมดาครับฟงเรื่องวิเศษขนาดนี้ มันไมมีอะไรมาเปนสิ่ง แสลงหูแสลงใจ รูสึกวาสบายใจมากๆ ครับที่ไดฟงคําตอบของ พีเ่ ณรในวันนี้ ขณะนีร้ สู กึ วาเวลาบายคลอยแลวนะครับ เราก็คงจะ ตองแยกยายกันไปสรงนํ้า เพื่อที่จะไปทําวัตรเย็นรวมกันใน พระอุโบสถตอไป ผมขอกราบขอบพระคุณพีเ่ ณรอีกครัง้ หนึง่ ครับ วันตอมาหลังจากฉันภัตตาหารเชาเสร็จ สามเณรพุทธก็ได คุยกันสามเณรพรเทวัญวา วันนี้เรานาจะหาจุดสนทนาธรรมตอ เพราะผมไดฟง ทานคุยมาแลวเมือ่ วันกอน เลยนึกชอบทีจ่ ะฟงพีเ่ ณร เลาอะไรใหฟงอีก ก็ถือวาเปนการศึกษาหาความรูไปในตัว ตอนบายของวันนี้สามเณรทั้งสองไดขึ้นไปบนเนินเขาที่ตั้ง ของโรงเจศรีอริยเมตไตรย ซึง่ เปนบรรยากาศทีม่ องเห็นไดรอบทิศ จะมองไปทางทิศตะวันออกก็เห็นเทือกเขาใหญเปนทิวทัศน สันยาวทาบกับทองฟาสวยงามมาก มองไปทางเหนือทางใตทาง ตะวันตกก็มองเห็นภูเขาโอบลอมอยูไกลลิบโดยรอบ ดุจกําแพง ธรรมชาติที่สวรรคไดประทานให มองใกลมาอีกหนอยก็จะเห็น ทัศนียภาพของทุงนาและหมูบานอยูเปนกลุมๆ เปนภาพแหง ความจริงที่เหนือจินตนาการ ยามตะวันคลอยอัสดงเห็นเมฆเปน กลุมๆทับซอนกันสะทอนแสงทองของพระอาทิตยงดงามอลังการ ดุจสรวงสวรรคอันไพศาล เมื่อสามเณรทั้งสองไดขึ้นสูโรงเจ ศรีอริยเมตไตรย ไดไปนอมนมัสการกราบไหวสิ่งสักการบูชา ทั้งหลายภายในโรงเจแลว จึงหาจุดรมเงาที่มีเกาอี้โตะหินวางอยู รายรอบ แลวหามุมเหมาะๆ นั่งสนทนากันนั่นนี่พอประมาณแลว อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๕๙


สามเณรพุทธจึงไดตั้งขอสังเกตเปนคําถามขึ้นมาอีกวา วันนี้ลมพัดเอื่อยๆ เสียงกระดิ่งรอบชายคาโรงเจดังไพเราะ เพราะพริ้งดีมาก ดุจเสียงแซซอง สาธุการของทวยเทพทั้งหลาย มันเปนเสียงแหงความบริสุทธิ์วิเศษจริงๆนะครับ แตเรายังอยู ในบานในเมืองอยูกบั สังคม เสียงทีไ่ ดยนิ ไดฟง มาชวงนีร้ สู กึ ไมคอย สบายใจเทาไหร มันเปนเสียงโจษขานของชาวบานแตมันก็เปน ธรรมดานะครับ ทีพ่ ระพุทธเจาตรัสวามันเปนโลกธรรม มีสรรเสริญ ก็ตองมีนินทา มีทุกขก็ตองมีสุข มีลาภก็ตองมีเสื่อมลาภ มีรักก็มี ชัง มีไดยศศักดิก์ ม็ เี สือ่ มเสียไป แตผคู นเขาโจษขานกันเรือ่ ง “ขึด!” เพราะถึงฤดูกาลฝนตกมันไมตกตามความตองการของชาวบาน ชาวเมือง เขาก็โทษนัน่ โทษนีแ่ ลวโจษขานกันวา “ขึด!” เพราะเหตุนี้ ผมไมคอยสบายใจเหมือนกัน แตวันนี้บรรยากาศที่บนโรงเจนี้ดีมาก คําถามที่ผมถาม มานีค้ งจะไมสรางความลําบากใจใหพเี่ ณร ในการทีจ่ ะหาทางออก ใหแกปญ  หาทีค่ นสวนมากเขายังไมเขาใจเพราะงุนงงหรือลุมหลงอยู จะทําอยางไรใหไดรับแสงสวางทางพุทธธรรม สามเณรพรเทวัญจึงไดพูดขึ้นวา สามเณรพุทธนี่ชางตั้ง ขอสงสัยจังเลย พวกเราก็ถือวาเปนนักบวช เปนที่พึ่งทางใจของ คนทั้งหลาย หรือถือวาเปนผูนําทางจิตวิญญาณของสังคมก็ตอง คอยชีแ้ จงสิง่ ไหนเปนบาปบุญคุณโทษประโยชนหรือมิใชประโยชน ทางทีจ่ ะนําความเสือ่ มหรือความเจริญเปนผูนาํ ทางดานจิตใจแก ศรัทธาสาธุชน เพราะฉะนั้นในเมื่อเขาของใจหรือมีปญหาอะไร ๒๖๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เราก็ตองชวยทําใหเรื่องนั้นๆ ไดกระจางแจงตามหลักแหงพุทธธรรม ตามเหตุผลทีเ่ ปนจริงอยางทีเ่ ณรไดพดู ถึงเรือ่ งฟาฝนมันไมตกหรือ ตกนอยไป มันเปนเรื่องของปรากฏการณธรรมชาติที่เปนมาแลว เปนลานๆ ป บางครั้งก็แหงแลงจนผูคนอยูอยางลําบาก บางทีก็ เกิดพายุลมฝนกระหนํ่ามาอยางมากนํ้าทวมเสียหายแกไรนา บางครั้งถึงขนาดทวมบานทวมเมืองลมสลายกลายเปนทะเลไป หรือทีเ่ คยเปนทะเลก็เหือดแหงเปนทีด่ อนเปนพืน้ ทีร่ าบ เปนทีเ่ กิด ของตนไมปาไมขึ้นมาแทนที่ นี่เปนธรรมชาติความโนมเอียง ของโลกและความแปรปรวนของธรรมชาติ ไมมีใครสามารถไป หยุดยัง้ บังคับมันได บางครัง้ มนุษยและสัตวโลกตองตายกันเปนเบือ เพราะพิษภัยของธรรมชาติอยางเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๔๗ ก็ไดเกิดคลืน่ สึนามิกลืนชีวิตผูคนจํานวนนับแสน หรือบางทีก็เกิดหายนะภัย สงครามลมลางฆากันเอง โดยอาวุธหอกดาบปนและระเบิดปรมาณู ดุจไฟนรกอันเกิดจากนํ้ามือของมนุษยที่ยังมีกิเลสตัณหา ราคะ โทสะ โมหะ เขามาบันดลบันดาลหัวใจใหกระทําอะไรนาอายสัตว เดรัจฉานที่ไมมีความรู ไมมีความเฉลียวฉลาดไมมีสติปญญาอัน เลอเลิศเหมือนกับมนุษย แตมนุษยเองที่มีวิทยาการพัฒนาการ กลับกระทําการอันนาสยดสยองยิ่งกวาสัตวเดรัจฉาน ลองคิด ดูเถิดวาวิวัฒนาการแหงโลกาภิวัตนจะเปนสื่อนํามนุษยชาติไปสู จุดหมายปลายทางเชนไร “หายนะหรือศิวิไลซ” ผมนําออกนอก ประเด็นไปมากแลว ทีนี้เรากลับเขามาหาประเด็นคําวา “ขึด” คํานี้ไมใชศัพทที่ ใชในทางพระพุทธศาสนาแตเปนศัพททาง ไสยศาสตรกค็ อื ศาสตร อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๖๑


แหงความหลับใหลแฝงอยูใ นความเชือ่ ทีย่ ดึ ติดอยูใ นความหลงงมงาย ฉะนั้นคําตอบของคําวา “ขึด” ก็คือสิ่งที่คลุมเครือไมสามารถจะ ชีช้ ดั วามันคืออะไร เหมือนกับตาบอดคลําชางก็ไมไดรจู กั ลักษณะ อันแทจริงของชาง คลําจุดไหนก็วาชางเหมือนสิง่ นัน้ ๆ คําวา “ขึด” ก็เชนกันมันเปนคําทีเ่ ปนปญหาของคนทีย่ งั หลงงมงาย อยูใ นความ พิลึกพิลั่นของสิ่งที่ไมสามารถพิสูจนดวยเหตุผลได ในเมื่อเจอ เหตุการณอะไรที่ไมสมประสงค หรือเจ็บไขไดปวยก็จะไปโทษนั่น โทษนี่อยางลมๆ แลงๆ โดยไมหาทางแกดวยสติปญญา นี่ก็คือ คําตอบระดับหนึ่งหรือถาเราจะนําคําวา ขึด นี้มาเปรียบเทียบกับ ภาษาภาคกลางที่สวนใหญเขาใจก็จะตรงกับคําวา อัปมงคล กาลกิณี หรือเสนียดจัญไร อันนีเ้ ราก็จะเห็นชัดขึน้ ไปอีกระดับหนึง่ วา ความหมายของคําวา ขึด หรือสิง่ ทีเ่ รียกวาอัปมงคลสิง่ เสนียด จัญไรวาเปนความไมดีความชั่วรายสิ่งเหลานี้มันเกิดจากอะไร มันคงไมเกิดขึน้ ไดเองลอย ๆ มันก็ออกมาจากหัวใจของคนทีค่ ดิ ไมดี ทําสิง่ ทีข่ ดั ขวางตอความเจริญ เปนคนขวางโลกเปนคนไมยอมรับ ความจริง ไมหันมาพิจารณาดูตัวเองหรือพิจารณาดูตนเหตุของ ปญหา แลวหาวิธแี กทจี่ ะนําไปสูววิ ฒ ั นาการทีด่ กี วาเหนือกวาเปน ประโยชนมากกวา มัวแตไปโทษนัน่ โทษนีโ่ ทษผูอนื่ อยูราํ่ ไป เหมือน กับเห็นความผิดของผูอื่นเทาภูเขาเลากาแตขี้ผงเขาตาตัวเองก็ ไมยอมเขีย่ ออก เมือ่ ไหรเลาจะลืมหูลมื ตามีสติมปี ญ  ญาเห็นปญหา อุปสรรคแลวแกดวยปญญาความสามารถพัฒนาตน ใหพนจาก ความหลับใหลอยางไสยศาสตรและความปาเถื่อนลาหลัง หรือจะเทียบกับความหมายจากถอยคําดังทีก่ ลาวมาแลว โดยหา ๒๖๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


คําตอบจากคําสอนในพุทธศาสนาจากคําวา ขึด มาเปรียบเทียบ กับคําตรงกันขามกันคือ สิริมงคล ในมงคล ๓๘ ประการที่พระพุทธเจาไดทรงตรัสไวพอ เปรียบเทียบกันไดหลายขอ เชน การเลี้ยงดูบิดามารดา การดูแล เลี้ยงดูครอบครัว ความออนนอมถอมตน ความมีสัมมาคารวะ ความอดทน จิตที่ไมหวั่นไหว จิตที่สมบูรณปราศจากธุลี จิตใจ ผองใส ความมีเมตตาเอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือเกื้อกูลแกกันและ กัน ความเปนคนวานอนสอนงายไมมที ฐิ มิ านะแข็งกระดาง ความ เปนผูไ มประมาทในกุศลธรรมทัง้ หลาย ทัง้ หมดนีถ้ อื วาเปนคุณสมบัติ ของสิ่งที่เปนความดีงามเปนมงคลอันประเสริฐที่จะนําชีวิตไปสู ความมั่นคงเจริญกาวหนา สวนคนขึดหรือสิ่งอัปมงคลก็จะตรง กันขามกับสิง่ ทีก่ ลาวมาแลวทุกประการ ผูท หี่ ลงงมงายอยูใ นมุมมืด ที่ตรงกันขามเหลานั้น ก็จะทําใหชีวิตถดถอยลาหลังไรคา ชีวิต จะไมมั่นคงเจริญรุงเรือง ใครๆ ก็ไมอยากจะคบหาสมาคมดวย จะมีแตสรางปญหาใหแกตวั เองและสรางความสับสนใหแกสงั คม เปนการปดโลกทัศนแกตัวเองอยางนาเสียดาย ถาเรามองโลกใน แงดมี องไปใหรอบๆ ทิศ ขณะทีเ่ รานัง่ อยูบนโรงเจศรีอริยเมตไตรย ที่เรานั่งสนทนากันอยูในเวลานี้ ลองกวาดสายตาไปรอบๆ ซิครับ เห็นไหมครับเพียงแคนี้เราก็เห็นแลววาโลกมันกวางขวางและ งดงามขนาดไหนไมวายามอรุณรุงหรืออาทิตยอัสดงยามราตรี มองไปบนทองฟาทีม่ พี ระจันทรแจมจรัสดวงดารานอยใหญระยิบ ระยับเต็มผืนฟากวาง มันดูเปนบรรยากาศอันไพศาลอลังการ ลองหันมาพิจารณาดูตัวเองก็เล็กนิดเดียว ถาเปรียบเทียบกับ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๖๓


จักรวาลอันกวางใหญไพศาลแลว ก็จะเห็นความอัศจรรยพสิ ดาร ในตัวมนุษยเรามีความสัมพันธกับสิ่งที่เปนธรรมชาติอันงดงาม เหลือประมาณ เพราะฉะนั้นอยามองโลกแคบเหมือนอยูในมุมอับ เปนสิ่งที่ นําตนอยูในจุดทีเ่ ปนบรรยากาศทีค่ ละคลุงดวยสิง่ โสโครกสกปรก เห็นอะไรมันรกรุงรังผิดหูผิดตาโทษฟาโทษดิน คอยจองจับผิด ผูอ นื่ ก็เหมือนกับอยูใ นโลกมืด หลงงมงายหมกมุน อยูก บั การนินทา บนวาแตเรื่องอัปมงคลเรื่องขึด ซึ่งก็เหมือนกับขี้ผงเขาตายิ่งขยี้ ก็ยิ่งเจ็บยิ่งแสบ ยิ่งไมเปนผลดีตอสุขภาพและจิตใจ เพราะฉะนั้น จงเขี่ยขี้ผงออกจากตาแลวเราจะไดเห็นอะไรตามความเปนจริง จะเปนคนมีเหตุผลมีสติปญญาทันโลกกันบาง อยามัวหลับใหล ลาหลังอยูเลย ดูนั่นสิครับเมฆกอนมหึมา ณ ฟากฟาทางทิศ ตะวันตกกระทบแสงพระอาทิตยยามอัสดงชางงดงามเหลือเกิน เปนบรรยากาศของจักรวาลอันไพศาล นี่ก็ไดเวลาแลวนะครับ ทีเ่ ราจะตองแยกยายกันไปสูก ฏุ อิ าบนํา้ อาบทาเตรียมตัวทําวัตรเย็นกัน สามเณรพุทธจึงพนมมือไหวสามเณรพรเทวัญ ผมตองกราบ ขอบพระคุณและอนุโมทนาในการไขปญหาทุกประการทีผ่ มถามมา และพี่เณรก็ไมรังเกียจในการที่จะตอบใหผมไดเรียนรูศึกษา ยิง่ เปนบรรยากาศทีเ่ ราไดมาสัมผัสพบปะกันแลวนี้ เปนบรรยากาศ ที่ดีเลิศจริงๆ และคงจะตรงกับคําตอบของพี่เณรที่วา การได คบกับบัณฑิตไดฟงเทศนฟงธรรมนี่คือ มงคลอันประเสริฐ ผมจะนํามงคลอันลํ้าคานี้ประดับเสริมสรางชีวิตของผมตราบ กาลอวสาน ๒๖๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อัศจรรยธรรมะจากวันขึ้นปใหม่ วันนีก้ จ็ ะพูดถึงเรือ่ งปใหม เพราะวามีความรูสกึ ถึงความเปน อัตลักษณและเปนมรดกธรรมอันลํา้ คายิง่ ทีไ่ มเหมือนใคร ในเรือ่ ง วันปใหมแบบลานนาของเรา ปใหมแบบอืน่ ๆ ทีเ่ รามีความ ตื่นตัวตื่นใจมีความตื่นเตน มีความกระตือรือรน ในเรือ่ ง ของความสนุกสนาน ความ เพลิดเพลินเจริญใจในวันขึน้ ปใหม ๑ มกราคม หรือ วัน ตรุษจีน วันคริสตมาส วันขึน้ ปใหมของหลายๆ ประเทศ เขาก็จะกําหนดของเขาเองที่ เราไมอาจจะรูไดทั่วถึงเพราะในแตละภูมิภาคของโลกนี้มัน กวางใหญไพศาล แลวแตละเชือ้ ชาติเขาจะกําหนดกันอยางไร แต ปใหมของชาวลานนาเรานี้ ก็อยากจะนํามาเนนเพื่อเราจะไดรูถึง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๖๕


ความหมายทีล่ กึ ซึง้ คมคาย ทีผ่ สมผสานกับชีวติ กับสัจธรรมของ พระพุทธศาสนาไดอยางชนิดที่ไดปลูกฝงเขาไปในจิตใจจนเปน ขนบธรรมเนียมเปนวิถชี วี ติ ถึงแมวาเราจะไมรคู วามหมายแตทาน ก็ไดฝากไวใหเรานําไปขบคิดไดนําไปแกปญหา ไปขยายความรูที่ โบราณาจารยเจาทานผูกเอาไวดุจกุญแจสําคัญของชีวิต วันปใหมของชาวลานนาไทยที่เริ่มนับตั้งแต วันที่ ๑๓ ที่วา “วันสังขารลอง” เมื่อกอนนี้เราก็ตื่นเตนกับพอแม ปูยา ตายาย เพือ่ นบาน วาคืนทีร่ าศีมนี จะเคลือ่ นยายไปสูราศีเมษถือวาเปนวัน สังขารลอง (จั๋งขารลอง) ก็คือสังขารมันลวงไปมันเปนอนิจจังมัน ไมเที่ยงแท ชีวิตสังขารมันจะลวงไป จะมีการตีระฆัง จุดประทัด ยิงสีหนาทปน เปนสัญญาณใหคนทุกรูปทุกนามในถิ่นลานนาเรา นีห้ รือทีอ่ ยูในสวนไหนของประเทศ สวนไหนของโลกก็จะพยายาม ปลุกกันใหตื่นใหไดรูถึงความลวงไปผานไปของชีวิตสังขาร ใหได มาดู “ปูจั๋งขาร ยาจั๋งขารลอง” อันนี้คือเราจะตองยอมรับถึง ภูมิปญญาความเฉลียวฉลาดของบรรพบุรุษบูรพาจารยทานให เราไดมองเห็นความจริงวาวันปเกามันลวงไป กาวสูวนั ปใหมไมใช กาวธรรมดาแตเปนการกาวอยางมีความหมาย กาวอยางมีจุด หมายปลายทาง กาวยางอยางหนักแนนมั่นคงดวยสัจธรรม ให เห็นความจริงของชีวิตใหรูเทาทันความจริงของสังขารความจริง ของโลกวามันเปนของไมเทีย่ งแทแนนอน มีการเคลือ่ นไปเปลีย่ นไป เหมือนกับทางวิทยาศาสตรเขาก็ยอมรับวาความจริงของสรรพสิง่ มันเคลื่อนไปไมคงที่ เขาเลยพัฒนาสูวิวัฒนาการเปนพลังงาน ๒๖๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เอามาเปนพลังขับเคลื่อน ถาหากมันเที่ยงมันก็คงไมไปไหน รถมันก็ไมเคลื่อน เครื่องบินมันก็ไมสามารถทะยานขึ้นสูอากาศได มันก็จะหยุดอยูกับที่ เพราะมันไมเที่ยง มันถึงเกิดพลังการ ขับเคลื่อนเหาะเหินเดินอากาศได เราถึงกาวยางได กาวที่หนึ่ง กาวทีส่ อง กาวทีส่ ามไปได กาวสูความเจริญรุงเรือง กาวสูอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นีเ่ ปนพลังงานทุกอณูทมี่ กี ารเกิดดับทีม่ นั เคลือ่ นไป ซึ่งจะตองศึกษาใหรูแจงเห็นจริงมันเปนประโยชนทั้งทางโลก ทางธรรม เปนสัจธรรมโดยตัวมันเองตามธรรมชาติ เปนความ จริงที่ไมมีในระบบไหนที่วันปใหมจะมีความหมายลึกซึ้งถึงปานนี้ พอเห็นวาสังขารชีวิตมันไมเที่ยงแทแนนอนมันแปรเปลี่ยน ไปเปนธรรมดาก็ลุลวงมาถึงวันที่ ๑๔ เรียกวา “วันเนา” วันเนา ไมใชวันเนา คนสมัยใหมมาวาเปนวันเนาความหมายเดิมเลย ผิดเปาไปคิดวามันจะเนาจะเสียจริงๆแลวไมใช เนาตัวนี้มันเปน ความจริงเปนตัวสัจธรรมเรียกวา “หยุดวิง่ ตามตัณหา” หยุดทีจ่ ะ เพอฝน ทะเยอทะยานดวยความโลภ ความโกรธ ความหลง ดวย ตัณหา ดวยราคะ ดวยโทสะ ดวยโมหะ อยางพระพุทธองคที่ทาน ไดตรัสรูอ นุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ไดมองเห็นวาชีวติ รางกายสังขาร นี้เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พระองคก็ไดหยุด หยุดภพ หยุดชาติ กอนทีพ่ ระองคยงั ไมตรัสรูก ว็ งิ่ ตามตัณหาทองเทีย่ วไปในวัฏสงสาร ภพแลวภพเลา พอพระองคไดมองเห็นวาชีวิตนี้เปนของไมเที่ยง แทแนนอน ยึดมั่นถือมั่นอะไรไมได นั่นหมายถึง ไดรูจักหนาตา ตัวตัณหา แลวทานก็ไดเปรียบไววาไดรูจักกับนายชางผูปลูก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๖๗


สรางเรือน ผูป รุงแตง ใหฟงุ ซาน ใหลมุ หลงใหมวั เมา พระพุทธองคจงึ ไดรื้อถอนยอดเรือน ยอดเรือนก็คือความสําคัญตน ความหยิ่ง ลําพองตน การสรางอัตตาตัวตน วาดฝนภาพลวง อนาคตจะให เปนอยางนัน้ จะใหเปนอยางนี้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในประเทศอินเดีย เขาจะยึดถือเรื่องอัตตามีการบําเพ็ญพรตทรมานรางกาย ตัวตน ใหไดรับการทรมานไดรับความเจ็บปวดเรารอนเพื่อจะไดไปเกิด ชั้นปรมาตมันคือตัวตนที่ยิ่งใหญไปอีก แตพระพุทธองคทรงเห็น วามันไมเทีย่ งจะไปลุมหลงทําไม! จะไปมัวเมาทําไม! จะไปวิง่ ตาม ทําไม! วิ่งไปตามความอยากความใครแมทุกวันนี้ที่วาโลกเรามี ความเจริญทางเทคโนโลยีมีวิทยาการมีวิทยาศาสตรมีสิ่งที่เปน สุดยอดของวิชาในโลกก็ยังเปนไปเพื่อกิเลส เพื่อตัณหา เพื่อ สงเสริมความโลภ ความโกรธ ความหลง ความตองการของ คนในโลก เปนไปเพื่อความมัวเมางมงายวนเวียนมึนงงเหมือนอยู ทามกลางความมืดบอดทําใหหาเปาหมายที่สุดอันเปนจุดหยุด ที่สุดยอดของความสงบสุขไมได ดังมีตัวอยางที่เปนขาวในสหรัฐอเมริกา เด็กที่มีไอคิวสูงมี ความเฉลียวฉลาดการศึกษาเกงทุกดานเจนจบรูจนกระทั่งไอคิว จะลํา้ ตํารับตําราดวยซํา้ ไป ในทีส่ ดุ เด็กคนนีม้ คี วามเกงฉลาดมาก เกินไปแตไมมีคุณธรรม ไมมีมโนธรรมเขาไปในสมองทําใหเกิด ความกาวราว ความรุนแรงเอาปนยิงคนที่ไมมีความผิด คนที่ไมรู เรื่องอิโหนอิเหนกระทบกระทั่งกันเลยตายและเจ็บปวยกันเปน จํานวนมากหรือผูใ หญทมี่ คี วามปราดเปรือ่ งระดับโลกทีล่ าํ้ ยุคสมัย ๒๖๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ในเวลานี้ก็แขงขันกันทางเทคโนโลยี สรางพลังงานทุกรูปแบบ พรอมที่จะใชขีปนาวุธระเบิดลางผลาญทําลายแผเปนวงกวางขึ้น เรือ่ ยๆ จนเปนสงครามโลกก็เคยมีมาแลว และกําลังระเบิดทําลาย กันอยูทุกวันในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยเราดวย แถมยัง มีการ เตรียมพรอมเพิ่มพลังพลานุภาพแสนยานุภาพที่ระเบิด ทําลายลางผลาญอยางโหดเหีย้ มระดับโลกทุกขณะเวลา นีแ่ หละแสดง ใหเห็นวาวิชาการความรูความเฉลียวฉลาดบางทีมันก็อันตราย มากๆ เหมือนกับรถถึงมันจะดี มันจะวิง่ ไดไวขนาดไหน ถามันไมมี เบรกแลวก็อันตราย ตัวเบรกเปนตัวจุดหยุดในเมื่อความจําเปนที่ จะตองหยุด จะตองชะลอมันจะตองดี ถาไมดแี ลวก็จะเกิดอันตราย เสียหาย เพราะฉะนั้นวันเนาก็คือหยุด หยุดเปนทาสของตัณหา เปนทาสของกิเลสอยางกับเราเลนซอนหา (ภาษาลานนาเรียกวา เลนลับลี้) อีกฝายหนึ่งจะพยายามซอนตัวพยายามไมใหอีกฝาย หนึ่งเห็น หลอกลอใหอีกฝายหนึ่งคนหาตามหา ถาบอกวาเนา แลว! ก็คือไมหาแลว เบื่อที่จะหาแลว เหนื่อยแลวกับการเสาะ แสวงหาก็จะออกมาเจอหนาเจอตากัน เนาแลวก็คอื เราจะไดมอง เห็นประจักษแจงความจริงดังที่กลาวมาแลว ที่วาเนาแลวนี้เปน วันที่ ๑๔ คือวันที่เราไดเผชิญกับความจริง ไดสัมผัสสัมพันธกับ ความจริงวาชีวติ มันเปน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ยึดมัน่ ถือมัน่ อะไร ไมได อยางที่พระพุทธองคทําลายยอดเรือนเพราะรูเทาทัน ตัณหาเขาถึงนิพพาน คือความดับความเย็นอันนี้เราก็ไดชีวิตใหม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๖๙


ไดแสงสวางของชีวิตไดมองเห็นวิถีทางเดินของชีวิตเรียกวา “วันพญาวัน” (คือวันยิง่ ใหญสาํ คัญทีส่ ดุ ) ตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน เปนวันแหงความสวางไสวของชีวิต ธรรมดาคนเรานี้จะลุมหลง จะมัวเมาหมกมุนอยูกับความใครความอยากถึงแมวาจะลืมตา ถึงแมวาจะมีแสงสวางเจิดจาวูบวาบอยูบนเวทีโลกมีการรายรํา กันออกทาทางกันมากมาย แสดงตัวตนกันอยางกับไมใชคนแตก็ เปนที่ลุมหลงมัวเมาเปนที่ยอมรับของคนทั้งหลายทั้งโลก อยาง กับแมลงเมาบินเขาหากองไฟก็มแี ตอนั ตราย เรียกวาคนอยูในโลก แตไมรจู กั โลก ไสเดือนอยูในดินไมรจู กั ดิน ปลาอยูในนํา้ ไมรจู กั นํา้ นกอยูบนฟาไมรูจักฟาไมรูจักอากาศ คนอยูในโลกไมรูจักธรรม ไมรจู กั สัจธรรม มีหมอกควันเหมือนฝา มีสงิ่ มาปดบังดวงตาเรียก วา “อวิชชา” เพราะฉะนั้นเราตองทําลายมานทําลายฝาที่ปดบัง ดวงตา หันมาพิจารณาตัวเองใหมองเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลวแสงสวางก็จะเกิดขึ้น ใหไดมองเห็นสังขารชีวิตวาเปนของไม เทีย่ งผูนนั้ ชือ่ วาเห็นทางแหงพระนิพพาน ผูเห็นชีวติ วาเปนทุกข ไม นาลุมหลง ไมนายึดถือ ไมนาเขาไปผูกมัดผูกพัน ผูนั้นชื่อวาเห็น ทางแหงพระนิพพาน ผูเห็นวาสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงไรแกนสารไรตวั ตนเปนอนัตตา เปนสุญตา ผูนั้นชื่อวาเห็นทางแหงพระนิพพาน ทางแหงพระนิพพานคือเห็นแสงสวางของชีวติ เพราะทําให ชีวิตเราไดพบกับความสุขความสงบความรมเย็น เรียกวา วันพญาวัน (วันแหงความสําคัญยิ่งใหญ) นี้แหละคือความหมาย ที่ลึกซึ้งคือความหมายที่ไมอาจจะเอาอะไรมาเปรียบเทียบกับวัน ๒๗๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ปใหมของชาวลานนานี้ เรียกวาวันทีเ่ รามีชวี ติ ใหมกนั จริงๆ สัมผัส ของใหมที่ดีมีคุณคา เราไดรูเห็นชีวิตตามความเปนจริงแลวเราก็ จะไดมีสติปญญา ประกอบการทําบุญสุนทรทานรักษาศีลเจริญ จิตแผเมตตาภาวนา การประกอบคุณงามความดีฟง เทศนฟง ธรรม มีการขนทรายเขาวัด ขนทรายเขาวัดก็มีความหมายวา เราไม ประมาทแมวาทรายจะเม็ดเล็กเม็ดนอยถาเรานํามาคนละกอบ คนละกํามากองรวมกันในขวงแกวอาราม (ลานวัด) ในกํามือแตละ ผูคนในแตละครอบครัวมันก็จะเปนกองทรายใหญเปนเจดียทราย ขึน้ มา อันนีก้ แ็ สดงใหเห็นถึงการมองเห็นคุณคาของสิง่ เล็กๆ นอยๆ นํามาใหเปนประโยชน อยางกับคนที่ฉลาดเอาขี้วัวเอาใบไมแหง นํามาหมักเปนปุยชีวภาพนํามาใสตนไม ใสพืชพันธุธัญญาหารที่ เราปลูกฝงมันก็จะเกิดประโยชนมหาศาล อันนีแ้ หละของเล็กนอย แตเราไมมองขามคุณงามความดีเมื่อมีโอกาสเราจะตองขยัน ทําการเก็บเกี่ยวถักทอชีวิตของเราใหงดงามการปกชอปกธงบน เจดียทรายก็แสดงใหเห็นความโดดเดนของผูที่มีคุณงามความดี มีจติ ใจอันงดงามเปนผูมจี ติ ใจสูงสงเปนทีโ่ ดดเดนในสังคม มีความ โดดเดนในหมูคณะมีความภาคภูมิใจในชีวิต และจะมีการแห ไมคาํ้ สะหลีในชวงปใหม คํา้ ไมสะหลีคอื คํา้ ตนโพธิ์ หมายความวา เราจะตองชวยกันคํา้ ชูบวรพุทธศาสนา ทัง้ ภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตองชวยกันคํ้าชูบวรพุทธศาสนา ไปเห็นในประเทศจีน เห็นถํา้ แมชขี นึ้ ไปสูงมากบางคนทีก่ าํ ลังไมพอก็จะตองหามกัน ขึน้ ไปสูงแลวก็จะมีถาํ้ มีนาํ้ ตกมีบรรยากาศเห็นความงดงามของขุนเขา ธรรมชาติ บนยอดดอยสูงมีทานํ้าใหญมีเรือและในถํ้านั้นเขาก็จะ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗๑


มีไมคํ้าเล็กๆแตละคนที่ขึ้นไปทั้งเด็กคนหนุม คนเฒาคนแก ก็จะ นําไมคํ้าเขาไปสานรวมเปนศิลปะธรรมชาติ อันนี้ก็เปนปริศนาชี้ ใหเห็นวาเราจะตองอยูดวยกันแบบรวมกันคนละไมคนละมือ ชวย กันคํ้าชูชีวิตของกันและกัน ชวยกันเกื้อกูลสงเคราะหอนุเคราะห กัน ไมอนั เดียวมันจะตัง้ ไมไดมนั จะตองมีหลายๆ อันมาผสมผสาน มากายมาไขวกนั มันถึงจะคํา้ ยันกันได เราอยูคนเดียวในโลกไมได ตองอาศัยซึ่งกันและกัน อยาไปคิดวาเราดี เราแน เราวิเศษคน เดียวไมได มันจะตองอิงอาศัยซึง่ กันและกันนีแ้ หละคือความงดงาม ของชีวิต ความงดงามของวัฒนธรรม ความงดงามของพระพุทธศาสนาในอารยธรรมของอาณาจักร ลานนา และในชวงของเทศกาลปใหมก็จะมีการทํานํ้าขมิ้น สมปอย(สมปอยถือวาเปนของวิเศษของชาวลานนา จะนิยมใชเปน สิง่ สําคัญในการทําพิธขี อขมากรรม ขออโหสิกรรม) ขาวตอกดอกไม ธูปเทียนมาขอขมาสูมาคารวะพระพุทธรูปตนศรีมหาโพธิ์ ไปสรง นํา้ พระสงฆองคเจา ไปรดนํา้ ดําหัวพอแมครูบาอาจารยผเู ฒาผูแก เพื่อขอขมาลาโทษ ขอศีล ขอพร อันนี้ก็เปนอารยธรรมอันสูงสง ไมมีในโลกที่ไหนจะมีปใหมอยางดินแดนลานนาเรา เพราะวาคน เราอยูรวมกันยอมมีการกระทบกระทัง่ มีการประมาทพลัง้ พลาด ในบางครัง้ บางโอกาสจะดวยเจตนาหรือไมเจตนา ความกาวราว รุนแรง ทีม่ นั เผลอเกิดความฉุนเฉียวเกรีย้ วกราด หรือมันเปนดวย เหตุแหงกรรมเวรวิบากหรือเหตุใดก็แลวแต เราก็มาขอขมากรรม กราบไหวและก็ใหอโหสิกรรมใหอภัยซึง่ กันและกัน จะตองไมคอย จองจับผิดใคร จะตองไมทําลายทําราย ไมกอกรรมจองเวรใครๆ ๒๗๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อันนีแ้ หละเปนอารยธรรมทีส่ งู สงเปนมรดกอันลํา้ เลิศอยางยิง่ ใน วันปใหมของทางอาณาจักรลานนาไทย ที่มีความลึกซึ้งมีความ หมายสําคัญ มีความประทับจิตประทับใจ มีการสาดนํ้ารดนํ้าให กัน ซึ่งมีความหมายวาการแบงปนนํ้าจิตนํ้าใจใหความรมเย็น ให ความชุมฉํ่า ใหความสุขแกกันและกัน ไมถือเนื้อ ไมถือตัวปนปง กัน ทัง้ หนุมสาวรูจกั ไมรจู กั จะรดนํา้ กัน ไมมคี วามโกรธ ไมมคี วาม เกลียด มีแตความสุขอิ่มเอิบเบิกบานของสังคมในดินแดน ลานนาไทยเรา คนลานนา จะเรียกตัวเองเปน ไต อยูในพมาก็ดี อยูในจีนก็ดี อยูในอินเดียก็ดี อยูในสวนไหนของโลกก็จะเรียก ตัวเองเปน “ไต” และมีพิธีกรรม พิธีการแบบนี้ในชวงปใหม ปใหมจริงๆ แลว มันตรงกับการพัฒนาการของธรรมชาติ ที่สุด เพราะในชวงกอนหนานั้นใบไมมันจะรวงเพราะแลง ตนไม ตนหญาที่แหงเฉาจะตองสลัดใบ การสลัดใบก็มีความหมายเชิง สัจธรรมคือตองสลัดทิง้ และปลอยวาง เปนความจริงที่พระพุทธองคตรัส วา ธรรมะเปนสิง่ ทีม่ อี ยูกอนแลวโดยธรรมชาติ พระองคเปนเพียง ผูคนพบแลวจึงนํามาเปดเผยเหมือน เซอร ไอแซก นิวตั้น (I-ZAX NEWTON) ที่สังเกตเห็นผลแอปเปลหลนลงมาก็ทําใหไดรูวาโลก มีแรงโนมถวง ความจริงผลแอปเปลมันก็เกิดขึ้นและรวงหลนลง มาชานานแลวฉันใด แตการคนพบสัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา ไปไกลถึงขั้นอยูเหนือโลก มิใชเพียงแครูวาโลกมีแรงโนมถวง ซึ่งยังของอยูในโลก เพราะวาโดยธรรมชาติถาฝนอยูไปก็จะตาย เพราะมันรอนแหงแลงจะสลัดใบเหมือนจะตายทั้งปา มีแตกิ่ง แตกาน พืชที่อยูในดินที่เปนหัว เปนเผือก เปนมันก็จะทิ้งเครือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗๓


ทิง้ เถาฝงตัวอยูในดิน แมกระทัง่ ปูหอยกบเขียดก็จะฝงตัวอยูในดิน เรียกวาอยูในชวงจําศีลหยุดนิ่งสงบอดทนอดนํ้าและอาหารดํารง ชีวิตผสมกลมกลืนกับธรรมชาติอยางอัศจรรยยิ่งนี่คือสัจธรรม ความจริงแหงวิวฒ ั นาการสูความเจริญงอกงามของชีวติ ทีจ่ ะตอง สงบนิ่ง จะตองสลัดทิ้งอันเปนวิถีธรรมชาติ คนเราก็เชนกันถารู ศิลปะในการปลอยวาง อยูอยางสงบ บางทีถึงกับตองทําตัว เหมือนคนตาย ไมหลงตามกระแสปรุงแตง อยาไปรับรูอะไรมาก เกินไป เราก็จะไดสมั ผัสบรรยากาศความสงบรมเย็นทีส่ ดุ ของชีวติ ถึงเวลาชวงของปใหม ฟาฝนโปรยปรายลงมาเรียกวา พายุลมฝน ปใหม บางปก็เปนพายุพัดแรงมากถึงกับพัดหลังคาบานเรือน เสียหาย จะมีพายุลกู เห็บตกลงมาเปนภัยธรรมชาติทงั้ ทําลายและ ทาทาย ทัง้ เกิดความรมเย็นในผืนแผนดิน สัตวทจี่ าํ ศีลอยูกจ็ ะออก จากหลุมออกจากรู มาโลดเตนออกมาหากินสงเสียงรองระงม ดวยความอิ่มเอิบ เบิกบาน ตนไมก็จะผลิดอก ผลิใบงอกงาม คนเราก็มีความแชมชื่นรื่นเริง ดีใจที่ฝนตกลงมาสูแผนดินที่เรา จะไดเพาะปลูกพืชพันธุธญ ั ญาหารเมือ่ ถึงชวงฤดูกาลปใหม จะได ทํามาหากินตามวัฏจักรที่จะตองทําการ ทํางาน เพื่อใหมีปจจัยสี่ และสิง่ สําคัญอีกคือในวันปใหม ก็จะมีการ “เทศนาธรรมปใหม่” ในวันที่ ๑๕ ของเดือนเมษายน การเทศนธรรมปใหมนมี้ คี วามหมายก็ลกึ ซึง้ ทานไดผกู เปน ปญหาปริศนาธรรมขึน้ มา ตัง้ เปนบุคลาธิษฐานเรือ่ ง “ธรรมะปาละ กับพระพรหม” จะถามตอบปริศนาปญหาธรรมกัน ซึง่ ตามหลัก ๒๗๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ของศาสนาพราหมณ ก็ถือวาพระพรหมเปนเจาผูสรางโลก พระพรหมเปนผูลขิ ติ ชีวติ ลิขติ โลก พอพระพุทธศาสนาเกิดขึน้ มา พระพุทธองคชตี้ รงที่ “จิต” ของเราเปนบอเกิดของทุกสิง่ ทุกอยาง มาจากจิต เชน จะดีจะชั่ว เปนบุญเปนบาป จะทําดีจะทําชั่ว อยู ที่จิต จะลงนรกจะขึ้นสวรรคก็อยูที่จิตใจ อันนี้ตางจากของฮินดู ของศาสนาพราหมณ พระพุทธศาสนาเกิดขึน้ ทานจะเปรียบเทียบ ใหเห็นถึงวา พระพรหมถามปญหากับธรรมปาละ ธรรมปาละก็ คือตัวจิต พระพรหม (พระพรหมคือความปรุงแตงเกิดปมปญหา ชีวติ ) ถามปญหา ๓ ประการแกธรรมปาละโดยการตกลงกําหนด เวลา ๗ วัน ถาธรรมปาละตอบไดพระพรหมก็จะตองถูกตัดเศียร หัวจะตองขาด แตถาธรรมปาละตอบไมไดธรรมปาละก็จะตอง โดนตัดหัว จะตองตายในวันนั้น ซึ่งก็เปนปริศนา ใหเราไดรูวาคน เราถารูจักชีวิตจิตใจ รูจักการดํารงชีวิตเราก็จะตองเอาตัวรอด ถาเราไมรูจักชีวิต ไมรูจักการดํารงชีวิต เราก็คิดสั้นคิดฆาตัวตาย มีจิตวิปลาส เปนโรคประสาท เปนโรคจิต และเปนตัวตนเหตุ เปนบอเกิดปญหาตางๆ นานาขึ้นมาในโลก พระพรหมทานถามปญหากับธรรมปาละวา ตอนเชาสะหรี (ราศี) อยูที่ไหน? ตอนกลางวันสะหรีอยูที่ไหน? ตอนคํ่าสะหรีอยู ที่ไหน? ธรรมปาละก็คือตัวจิต ตัวชีวิตของเรานี้ คิดหาทางออก ของปญหา ก็ออกเดินทางไปเพื่อเสาะแสวงหาทางออกทางพน ทุกขทดี่ ที สี่ ดุ จนกระทัง่ เจอตนไมใหญตน หนึง่ ตนไมในทีน่ สี้ งู ยืนตน ตระหงานก็หมายถึงรางกายของเราทานทั้งหลาย ตัวธรรมปาละ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗๕


ก็คือจิตใจ ไปเจอตนไมใหญตนนั้น ก็มีนกอินทรี ๒ ตัวเกาะอยูบน ตนไม เห็นธรรมปาละเดินมาแตไกลก็รแู ลววาธรรมปาละเดินแบบ คิดหนักถึงเรื่องที่จะแกปญหาชีวิต พอเห็นธรรมปาละเดินมา นกตัวผูก็บอกนกตัวเมียวา “วันนี้เราไมตองไปหากินอะไรแลว วันนี้เหยื่อมาหาเราถึงที่นี้แลว ถาธรรมปาละตอบปญหาของ พระพรหมไมไดตองตายแนๆ ละ!” ธรรมปาละเดินมาเหนือ่ ยก็ไป พักใตรมไมใหญ เลยไดยินเสียงนกอินทรี ๒ ตัว คุยกันดวยจิต ไดยินลวงรูการสนทนากันวาปญหามันเปนอยางไรที่ธรรมปาละ กําลังคิดอยางลึกซึ้งนั้น (ในเนื้อเรื่องแสดงวาลวงรูภาษาสัตว) ปญหามี ๓ ประการ ทีพ่ ระพรหมถามธรรมปาละวา ตอนเชา สะหรีอยูที่ไหน? ตอนกลางวันสะหรีอยูที่ไหน? ตอนกลางคืน สะหรีอยูที่ไหน? แลวความจริงมันอยูที่ไหนแน นกตัวเมียถาม นกตัวผู ก็คุยกันตามประสาของนกอินทรี “อินทรีย” ตัวนี้ทานก็ เปรียบเทียบถึงภายในตัวเรานี้รางกายมี อินทรีย ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้คือนกอินทรีตัวผู นกอินทรีตัวเมียคือ รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ นั้นเอง ลวนแตมีความหมายทั้งนั้น ไมใชเปนเพียงนิยายปรัมปรา คนไมรเู ทาทัน คนไมรถู งึ ปญหา คน ไมรถู งึ ปริศนาก็คดิ วาเปนเรือ่ งไรสาระ ความจริงแลวเปนเรือ่ งของ ปญหาชีวิต เปนเรื่องที่เราจะตองนํามาขบคิดใหได ก็เลยถามวา ตอนเชาสะหรีอยูทไี่ หน? สะหรีตอนเชาอยูทหี่ นา ตอนกลางวันอยู ที่อก ตอนกลางคืนอยูที่เทา ธรรมปาละไดยินนกอินทรีคุยกัน หมายถึงคิดไดตีปญหาแตก ก็เลยโลงใจแจมแจงมองเห็นความ จริงของชีวติ หมายความวาขบคิดจนแกปญ  หาได ถึงวันทีก่ าํ หนด ๒๗๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


คือ ๗ วันพอดี พระพรหมก็มาถามวา ตอบไดหรือยัง? ธรรมปาละ ก็บอกหาคําตอบไดแลวไมมีปญหา (No Problem) แลว ตอนเชา อยูที่ไหน? ตอนเชาอยูที่หนา คือตอนเชาตื่นนอนคนเราจะตอง ลางหนา ตอนกลางวันอยูที่อก ตอนกลางวันมันรอนก็ตองเอานํ้า ลูบอก ตอนกลางคืนกอนนอนจะตองลางเทา สะหรีอยูที่เทา แตความหมายจริงๆนั้น หมายความวาราศีอยูที่หนาก็คือ เราจะตองมีดวงตามองเห็นดวงธรรม เราจะตองคิดจนมองใหเห็น ความจริงของชีวิต สะหรีก็คือตองใหเกิดสติ เกิดปญญาเรียกวา ราศีอยูที่หนาคือการมี “สัมมาทิฐิ” สัมมาทิฐิก็จะรวมพลอยูที่ อริยสัจ ๔ สติปฏฐาน ๔ อริยมรรค ๘ อยูในนั้นหมดเรียกวา มี สัมมาทิฐแิ ลวก็จะสามารถรูไดทกุ สิง่ ทุกอยาง ในเมือ่ เรารูประจักษ แจงเชนนีจ้ งึ เรียกวาไดดวงตาเห็นธรรมคือราศีอยูท หี่ นามันจะปรับ ระบบประสาทสัมผัสการรับรูวาชีวิตสังขาร รางกาย มันเปนทุกข มีสมุทัยเปนตัวสมุฏฐานกอเกิดเหตุแหงปญหาความทุกข อีกทั้ง ทุกสรรพสิ่งจะตองดับสูนิโรธเปนธรรมดา และมีอริยมรรค ทาง เดินแหงชีวิต มีสัมมาทิฐิมองเห็นความจริงแลวนอมนํามาสูจิตใจ แลวนํามาพินิจพิจารณาเอามาประกอบกับญาณ กับวิปสสนา ญาณมากลัน่ กรองดวยหัวอกหัวใจ ใหถอ งแทรอบคอบจนประจักษ แจงซาบซึง้ ประทับใจเปนความสวางไสวโชติชวงชัชวาลในดวงใจ ดุจแสงสวางในยามกลางวัน นั่นหมายถึงราศีอยูที่อก จนถึงที่สุด แลวคือจะตองกาวดําเนิน ตอนกลางคืนคือนําตนใหพนปญหาสู ความสุขสงบทุกกาวยาง เจริญรอยตามองคแหงอริยมรรค เอาชีวิตรอดไดสูผล สูพระนิพพาน อันเปนผลอานิสงสใหชีวิต อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗๗


สดชืน่ แจมใสเบาบางบริสทุ ธิส์ ะอาดสงบ คือราศีอยูท เี่ ทา พระพรหม ก็เลยตาย หมายความวา พอพระพุทธเจาเกิดขึน้ ศาสนาพราหมณ ก็หมดรัศมี ไมสามารถหลอกใครไดตอไปอีกวา พระพรหมผูเปน เจาสรางโลก พระพรหมผูกําหนดชะตาชีวิต จริงๆ แลวไมใชมัน ขึน้ อยูทกี่ ารกระทํา อยูทกี่ ารประพฤติปฏิบตั ิ อันนีค้ อื ความหมาย ของคําวาปใหมในดินแดนลานนาเรานี้มันมีความลึกซึ้งกินใจ ถึง จิตวิญญาณและเปนอารยธรรมที่สูงสง ไมใชเรื่องธรรมดา ไมใช เรื่องแคเพียงที่จะหาความสนุกสนานนําพาใหเกิดความลุมหลง ความลวงของกิเกสตัณหาไมใช ..เราจะตองมีสติ มีปญญาเราจะ ตองใชชีวิตของเราใหเพิ่มคุณคา กอเกิดประโยชนใหมีความสุข สงบ ความรมเย็น และมีแสงสวางของชีวิต โลกนี้ก็จะสวางไสว เรียกวา “วันพญาวัน วันปากป วันปากเดือน” หมายความวาเรา จะอยูใ นระบบสุรยิ คติ จันทรคติ หรืออะไรก็แลวแตจะอยูใ นอิรยิ าบถ ไหนทั้งกลางวัน กลางคืน ทุกทิวาราตรีทุกกาวยางของชีวิต มันก็ จะทําใหเราไดรับแสงสวาง ไปไหนก็ไมหลง แตถาเราไปที่ไหน ทามกลางความมืดก็จะตกหลุมตกรองหรือเขาไปในปารกปาพง หลงทิศหลงทาง แตถามีแสงสวางเราไมหลงทาง มีไฟฟาสองทาง มีไฟรถสองทาง ก็ไมเกิดอันตราย ถารถไมมไี ฟหนามันก็อนั ตราย ทั้งดานหนาและดานหลัง ถาไมมีไฟสองทาง เราก็จะเกิด การกระทบกระทั่งกัน ไมรูจักเรา ไมรูจักเขา ไมรูจักบาปบุญ คุณโทษ ไมรจู กั สิง่ ทีเ่ ปนประโยชน สิง่ ทีไ่ มเปนประโยชนกจ็ ะทําการ อันเปนบาป เปนอกุศล ก็เพราะวาหลงอยูในทางแหงความมืดมน อนธการ ทําผิดกฎหมายทําผิดศีลธรรม เดือดรอนเสียหายแกตวั เอง ๒๗๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เสียเวลา เสียโอกาส เสียชื่อเสียง เสียความเปนอิสรภาพ ตองถูก นําไปขึ้นโรงขึ้นศาลก็มีปญหา เสียเวลํ่าเวลา บางทีก็ติดคุกติด ตะรางบางทีตองโดนตัดสินประหาร หรือเกิดศึกสงครามกลียุค ตอสูกันเปนสงคราม ไมรูวาผิดถูก ทั้งๆ ที่ทุกคนก็รักตัวกลัวตาย แตคนเราในเมื่อขี้ผงเขาตามีอวิชชาเขาไปปดบังดวงตาแลว มันไมรูอะไรสักอยาง มันจะฆากันอยางเดียว ไมวาจะรูจักไมรูจัก ก็ฆากันได ฆากันทั้งผูหญิงผูชาย ทั้งเด็กเล็กเด็กนอย ผูเฒาผูแก ลางผลาญลางเผาพันธุ อันนี้แหละทั้งๆ ที่มีแสงสวางของพระอาทิตย มีแสงสวาง จากไฟฟามีผูรูนักวิชาการชาญฉลาดทั่วบานทั่วเมืองทั่วโลก แต มองไมเห็นสัจธรรมความจริงเรียกวามีอวิชชาเขามาปดบังดวงตา เพราะฉะนัน้ วันปใหมนเี้ ราจะตองมีชวี ติ ใหมมคี วามคิดทีใ่ หม มีสติ ปญญาที่สวางไสว รูวาวันสังขารลอง รูวาวันเนา รูวาวันพญาวัน มีการตอบปญหาของพระพรหม คือรูวิธีแกปมปญหาชีวิต สะหรี ก็คือ ความมีราศี ความดีความวิเศษ อยูในตัวเองมีคุณวิเศษ เมื่อ คนเรามีคุณวิเศษแลวก็จะสามารถรักษาตนใหพนอันตรายได พระพรหมก็ตองตาย พระพรหมก็ตองหมดอํานาจหรือมาร ที่จะมาผจญมาทํารายทําลายเราจะหมดโอกาส หมดอํานาจ พบกับแสงสวางที่เกิดขึ้นในใจ ความมืดมันก็หายไป ผูที่มีบารมี ผูที่มีการประพฤติ การปฏิบัติดี ก็จะอยูเหนืออารมณเหนือความ โลภ ความโกรธ ความหลงก็จะรักษาตนใหสงบเสงี่ยมสํารวม ทั้งกาย ทั้งวาจา ทั้งจิตใจ กิริยามารยาทสุขุมงดงามผองใส นาเคารพเลื่อมใส มีแตความสุข ความสงบ ความรมเย็นนี่คือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๗๙


ประโยชนอานิสงสของวันปใหม ที่ผสมผสานกับสัจธรรม กับ พระพุทธศาสนาก็จะเกิดคุณคาอันมหาศาลมีชีวิตความเปนอยูก็ จะดี พระพุทธองคตรัสไววา ผูท มี่ จี ติ อบรมมาดีแลวควรแกการงาน เราจะคิดอะไรก็จะดี ทําอะไรออกมาก็จะดี ชนิดทีค่ าดไมถงึ มันจะมี พลังงาน จะมีสิ่งบันดลบันดาลเกิดขึ้นอยางชนิดที่เรียกวาเปน ความมหัศจรรยของชีวิต มหัศจรรยของจิต อํานาจของจิตจะยิ่ง ใหญทําใหมีชีวิตชีวาผิวพรรณผองใส ขอใหเราทานทั้งหลาย ใหเขาใจไดรูถึงเรื่องความงดงาม คุณสมบัตขิ องพลังชีวติ ไมใชเปนเรือ่ งของพิธรี ตี องแบบลมๆ แลงๆ หาสาระไมได ที่จริงแลวลวนแตมีความหมายทั้งนั้น เปนเรื่องที่ดี วิเศษเปนเรือ่ งทีท่ าํ ใหเกิดคุณวิเศษเกิดเรือ่ งพิสดารอยางนาพิศวง เกิดขึ้นในชีวิตในสังคมอยูอยางรมเย็นเปนสุขทําใหเรามีคุณคามี ประโยชนเรียกวา เปนเนื้อนาบุญของชาวโลก จะอยูที่ไหนก็จะ เปนทีร่ มเย็นทัง้ ตัวเอง ทัง้ ผูอนื่ ไดมาพึง่ พักพิง ไดมาอยูใกล เหมือน กับไดมาอยูใตรมไมใหญมนั เย็นสบาย ตรงกันขามกับเราอยูในตึก มันจะรอน รอนจนเหงื่อไหลโชก ความรอนจากตึกปูนซีเมนตนี้ มันจะรอน แตพอเราอยูใตตนไมใหญความเย็นความชุมชื่นจาก ตนไมทซี่ มึ ซับจากความชุมฉํา่ ของบรรยากาศทําใหเราไดรบั ความ สุขไดสัมผัสจากธรรมชาติอยางแทจริง อันนี้แหละขอใหเราทาน ทั้งหลายจงทําความเขาใจและใหเราไดประพฤติปฏิบัติตามก็ได พบกับความจริงพบกับสัจธรรมมันเปนหลักธรรมชาติ แมกระทัง่ ตนไม ปู ปลา กบ เขียด กุง หอย มันก็มีธรรมชาติของเขาตอง ถือศีล ตองสลัดใบ (สลัดใบก็คือตองปลอยวาง) ตองรูจักการ ๒๘๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ปลอยวาง ไมถอื มึงถือกู มันก็ไมลาํ บากไมเดือดเนือ้ รอนใจอันตราย อะไรเกิดขึ้นถาเราสลัดความถือเนื้อถือตัว เมื่อไมมีความสําคัญ ตัวเราก็อยูสบาย ปลอยวางไมถือเขาไมถือเรา เราก็จะอยูรอด ปลอดภัยแลวเราก็จะไดรบั ความสุข ความสงบความรมเย็น รักษา มิตรภาพไมตรีตอ กันและกัน รักษาความเปนเพือ่ นรวมพรหมจรรย เพื่อนรวมโลกดวยมีจิตที่เมตตากรุณาออนโยน ถาเปนคนที่ แข็งกระดางเราเรียกวา “เหมือนกับคนตาย” และคนที่สุภาพ นอบนอม ออนโยนเปนสัญลักษณของความมีชีวิตชีวา มีการ พูดจาที่สุภาพออนโยนถอมตัวก็เปนลักษณะของผูที่มีชีวิต ชีวา มีปฏิสัมพันธที่ดีตอกันมีปยวาจาจะตองมีกิริยามารยาท ทีง่ ดงาม มีจติ ใจทีอ่ มิ่ เอิบเบิกบาน มีความสุข รักษาจิตใจ มีความ สดชืน่ ดวยบรรยากาศบริสทุ ธิ์ สูดแตความสะอาดบริสทุ ธิเ์ ขาปอด เขาไปในลมหายใจเขาไปในจิตวิญญาณรับเอาสิ่งที่ดีที่ละเอียด เขาไปในจิตเขาไปในชีวิตจิตใจ ตรงกันขามกับอารมณที่มัน ขุนของอารมณที่มันเปนบาปอกุศลเรียกวา “จิตใจดํามัวหมอง ตกตํา่ ” จะรับอารมณทมี่ นั รุนแรงฉุนเฉียวใสไปในลมหายใจ เขาไป ในชีวิตมันก็เปนอารมณ เปนความรูสึกที่หยาบ การกระทําก็ จะออกมาหยาบ กิริยามารยาทก็จะออกมาหยาบ มันจะไมนาดู ไมนาเขาใกลเหมือนกับตนไมที่เปนพิษ เขาไปใกลชิดมันก็จะเกิด คันเปนอันตราย เขาไปกินมันก็จะทําใหไดรับอันตรายถึงตายได เพราะฉะนั้นเราจะตองทําตัวเราเองใหมีสาระมีประโยชนเหมือน กับธรรมะปาละ เหมือนกับความหมายของวันปใหม ขอใหทาน ทั้งหลายไดนําไปพินิจพิจารณา นําไปจดจําใสในโสตประสาท อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๘๑


ในจิตวิญญาณและใหดาํ เนินเจริญรอยตามบรรพบุรษุ บูรพาจารย เราจะไดรับประโยชนจาก วันปใหมก็จะเจริญงอกงามกาวหนา และ ความสงบความรมเย็น ความผาสุกทั้งแกตัวเอง ตลอดถึง สังคมชาวโลกโดยถวนทั่วโดยไมมีประมาณ ขออํานาจแหงคุณพระศรีรตั นตรัย บุญบารมีของบูรพาจารย เจาที่ไดสรรสรางระบบการของวันปใหมมาอยางชนิดที่ผสม ผสานธรรมชาติกับสัจธรรม กลมกลืนเปนหนึ่งเดียวกับชีวิต กอเกิดคุณคาอันมหาศาลเปนสิ่งที่เราทานทั้งหลายจะตองได สืบสานและทําการเผยแพรความรูเรื่องวันปใหมแบบอาณาจักร ลานนาไทยทีก่ ลาวมาแลว ใหเปนองคความรูท เี่ ปย มดวยอัตลักษณ โดดเดนถึงความลํ้าคายิ่งสําหรับทุกชีวิต จะไดพบกุญแจไข สูป ริศนาธรรมสูส ติปญ  ญาอันลึกซึง้ อันเปนมรดกสุดยอดสูเ ปาหมาย เปนวัตรปฏิบตั เิ พือ่ อนุชนรุนหลังตอไปจะไดรเู ห็น ถึงความถูกตอง ตามกฎแหงธรรมชาติสูครรลองคลองธรรม แลวก็จะดําเนินชีวิต ทุกกาวยางอยางมีความรู มีลมหายใจที่มีแตความสุขสงบรมเย็น อยางอัศจรรยยิ่งเหลือประมาณดวยกันถวนทั่วจงทุกทานทุกคน เทอญ...

๒๘๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทําไมจะตองกราบไหว

การกราบไหวเปนกิริยาอาการของความรูสึกที่ดีงาม

ซึง่ สะทอนออกมาจากจิตใจทีใ่ สสะอาดบริสทุ ธิแ์ ละสุภาพออนโยน สูบรรยากาศอันอบอุน โอบออมอารีดวยอัธยาศัยเมตตาการุณย อิม่ เอิบเบิกบานสุขมุ ลุม ลึก อันเปนศูนยรวมแหลงกําเนิดอารยธรรม สูว วิ ฒ ั นาการชีวติ จิตวิญญาณถึงระดับขัน้ เชือ่ มัน่ กราบไหวตนเองได และพรอมที่จะลดตนกราบไหวผูอื่นไดดวยความบริสุทธิ์ใจ ซึ่งถือ วาการกระทําเชนนี้ คือคุณวิเศษสุดยอดของชีวิตที่อุดมดวย คุณลักษณะสงบสงางาม ผูที่กราบยอมเกิดมโนธรรม คุณธรรม เคารพดวยความจริงใจ ประเพณีที่ดีงามของการกราบนี้ไดรับ อิทธิพลจากอารยธรรมของอินเดีย และทางพระพุทธศาสนาถือวา การกราบเปนจริยธรรม ธรรมเนียมที่ตองปฏิบัติใหถูกตอง การกราบที่มองเห็นในสังคมปจจุบัน ระหวางผูที่กราบและ ผูที่เรากราบหรือสิ่งที่เรากราบ ควรเปนการแสดงออกที่จริงใจ ทัง้ นีม้ ใิ ชการเสแสรงแกลงทําชนิดอยางหนาไหวหลังหลอก อีกทัง้ มิใชการกระทําอยางขอไปทีแบบเลื่อนลอยเพียงพิธีรีตองหรือ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๘๓


สรางภาพเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งมิใชการแสดงออกถึง ความออนแอแบบยอมศิโรราบ และมิใชเพือ่ การแสดงมารยาซอน เรนแฝงประกายไฟแหงความละโมบ ความมักใหญใฝสูง ในเชิงอุดมการณ แตเบื้องลึกซอนเขี้ยวเล็บที่จะวางอํานาจ บาตรใหญ ฟาดหัวฟาดหาง ฟาดงวงฟาดงา คอยทิ่มแทงผูอื่น ทั้งตอหนาและลับหลัง ถาเจอสถานการณดังกลาว ผูปฏิบัติ จะตองระมัดระวังเปนอยางยิ่ง แมแตการซอนรูปของผูรู นักปราชญ นักบวช นักบุญ ก็ยิ่งตองระวังจะประมาทลุมหลง คารมวาจา ภาษาสละสลวย ไมได จะตองใชวิจารณญาณ สติปญ  ญาไตรตรอง ควรยึดตามหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา เปนเครื่องตัดสินชี้วัด อยาไดตกเปนทาสของการมอมเมาสราง กระแสมงคลตื่นขาว กระแสการโฆษณาชวนเชื่อที่มีกลไก ในการลวงหลอกใหหลงเชื่อยึดติดงมงาย เพื่อสรางจุดขาย หลากหลายรูปแบบ เพื่อสนองตัณหาของกลุมคนที่ประกอบ มิจฉาชีพ จะสรางเรือ่ งใสสสี นั กระตุนยัว่ ยุและลงทุนดวยสือ่ ตางๆ โฆษณากันอยางครึกโครมอยางเปนระบบการตลาดในการ แสวงหาลาภผล แสดงความเห็นแกตัวกันอยางออกหนาจนเปน กระแสคานิยมของสังคม โดยเบื้องลึกแลวนั่นคือประกายไฟ อันรอนแรงของกิเลสและอันตรายอยางมากที่สุด เพราะฉะนัน้ การทีจ่ ะกาวเดินหรือยืนหยัดอยูบนผืนแผนดิน อันกวางใหญไพศาลอยางสงางามโดดเดนทามกลางสังคมอัน หลากหลาย จะตองกลัน่ กรองขอมูลทุกรูปลักษณทกุ สถานการณ ๒๘๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อยางรอบคอบดวยวิจารณญาณอยางสุขุมสุภาพในการแสดง ความคารวะ เคารพสักการะกราบไหวบูชาดวยความศรัทธา เลื่อมใสเชื่อมั่นอยางชาญฉลาด ก็จะไดรับประโยชนอานิสงส อํานวยผลเหมือนเพาะเชื้อเมล็ดพันธุศรัทธาหลอเลี้ยงดวย สายธารแหงมโนธรรมใหชวี ติ จิตวิญญาณไดเจริญงอกงามไพบูลย อิ่มเอิบเบิกบานอยางเต็มที่จริงๆ ซึ่งเปนความงดงามบริบูรณ ที่สามารถพิสูจนศึกษาหาขอมูลจากผูที่ประสบความสําเร็จ สุดยอดทุกราย สิ่งโดดเดนที่สุดคือความเชื่อมั่นในตนเอง และ ความเคารพในสิทธิความเสมอภาคของผูอนื่ ดวยหัวใจอันบริสทุ ธิ์ ผองใสออนโยนและเปดใจกวาง มันจะเปนสนามแมเหล็กอันทรง พลังพลานุภาพ เปนศูนยรวมแหงพลังงานทุกอณูจุดประกาย แสงสวางอันโชติชวงชัชวาล ทําใหชีวิตมีพลังสามารถแกลวกลา อาจหาญและสงบนิ่งหนักแนนมั่นคงดุจขุนเขา พระพุทธองคผูเปนสุดยอดแหงอัจฉริยะไดทรงยกยอง สรรเสริญการไหวการกราบ ความสุภาพออนโยนมีมารยาท ออนนอมถอมตนเปนอุดมมงคลอันประเสริฐของชีวิตหรือเปน ความบริบูรณสงางามอยางยิ่งของชีวิต และจะตองรูตองเขาใจ ถึงกิริยาอาการรายละเอียดที่จะตองใหสัมพันธตอการกระทํา พรอมกับความรูสึกประทับใจ นั่นคือการจัดทาประนมมือไหว แบบเทพนมดุจดอกบัวตูมใหอยูระดับหัวใจ กอนจะกราบ ประนมมือไหวใหปลายนิ้วชี้ทั้งสองบรรจบระหวางหัวคิ้ว แลว กมกราบควรจะใหหนาผากติดถึงพื้น (ถาทําเพียงแคทํากิริยา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๘๕


คํานับศีรษะนิดเดียวจะไมไดความรูสึกที่ซาบซึ้ง) ขณะกราบทํา จิตใจนอบนอมออนโยนอยางชาๆ พองาม แลวคอยเงยศีรษะขึ้น ยกมือประนมไหวทที่ รวงอก แลวกมกราบดวยอาการสํารวมเคารพ ๓ ครั้ง โดยกราบครั้งที่ ๑ ขณะศีรษะจรดพื้นใหตั้งสติระลึกถึง พระพุทธองคเปนสรณะทีพ่ งึ่ พรอมการเปลงเสียงเบาๆ วา พุทโธ เม นาโถ กราบครัง้ ที่ ๒ ก็เชนกันใหตงั้ สติระลึกถึงพระสัจธรรม ความจริงเปนหลักชัยชีวติ เปนสรณะทีพ่ งึ่ พรอมกับการเปลงเสียง เบาๆ วา ธัมโม เม นาโถ กราบครั้งที่ ๓ ก็ตั้งสติใหมั่นคง ดวยความเคารพในพระสงฆผูเปนศูนยรวมจิตใจใหเปนหนึ่ง เปนสรณะทีพ่ งึ่ พรอมกับการเปลงเสียงเบาๆ วา สังโฆ เม นาโถ เมื่อกราบครบ ๓ ครั้งแลวพนมมือไหวใหปลายนิ้วมือจรด เหนือคิ้วพรอมคอมศีรษะโนมลงนิดหนอยดวยกิริยาอันออนโยน เปนชาวพุทธควรฝกการกราบไหวจนเปนกิจวัตรนิสัย จะเปนเหตุใหชีวิตจิตใจบริสุทธิ์ผุดผองสดชื่นแจมใส เปนปจจัย เสริมสรางความสุภาพออนโยน ดวยความเคารพคารวะตอ พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจา พระธรรมและพระสงฆ ใหไดราํ ลึก ถึงพระคุณของบิดามารดา ครูบาอาจารย ตลอดถึงการแสดง ความเคารพตอผูมอี ปุ การคุณดวยจิตสํานึกกตัญูกตเวทิตาคุณ จนเปนอุปนิสัย สูการบมเพาะมโนธรรมใหเจริญงอกงามไพบูลย จะเปนบอเกิดพลังงานเปนประกายเสริมสรางแสนยานุภาพทุก อณูสูพลังจิตตานุภาพสูความเชื่อมั่นในตัวเองสูง และพรอม ที่จะนอมรับนานาทัศนะจากผูอื่นไดอยางสรางสรรค หลอมรวม ๒๘๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


จิตใจทุกดวงใหเปนหนึ่งเดียวไดอยางเปนเอกภาพ เพราะจิตใจ ที่บริสุทธิ์ ออนโยน สุภาพ จะมีพลานุภาพอันทรงพลังที่เขมแข็ง หนักแนนมัน่ คงจะเปดใจกวาง ดุจแมนาํ้ ใหญนอยทุกสายยอมไหล รวมสูทะเลกวางจนเปนมหาสมุทรอันกวางใหญไพศาล ซึ่ง พระพุทธองคกไ็ ดทรงตรัสยืนยันและเปนแบบอยางของการลดตน ไมหลงสําคัญองคสคู วามเอ็นดูกรุณาเปย มดวยกัลยาณจิตยอมรับ ความเสมอภาคทุกชีวติ ดวยไมตรีจิต มิไดแบงแยกความแตกตาง แลวทรงเนนใหผเู จริญตามรอยพระพุทธบาทใหสลัดความยึดติด ในทิฐิมานะอหังการใหมีจิตออนโยนยอมรับเพื่อนรวมโลก โดยความเปนกัลยาณมิตร ใหมสี มั มาคารวะเคารพในสิทธิเสรีภาพ มิใหมีจิตอิจฉาและเหยียดหยาม อยาไปเที่ยววิพากษวิจารณ ความดีความชั่ว ความโงความฉลาด อยาใสรายปายสีใคร จงทํา จิตใจใหละเอียดละมุนละไมสุขุมลุมลึกสงบเสงี่ยมองอาจเปน หนึง่ เดียวอยางเอกภพ เปนอัตลักษณแหงความปกติดว ยอากัปกิรยิ า ออนนอมถอมตน อยาเปนคนโออวดแข็งกระดาง จงทําตนดุจ นํ้าที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ ที่สามารถผสมผสานกับสิ่งใดๆ ก็จะ กลมกลืนเปนหนึง่ เดียวกับสิง่ นัน้ ๆ ความมีสมั มาคารวะ ความรูจกั ประมาณตนก็จะทําใหเกิดมนุษยสัมพันธตั้งแตครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และตอเพือ่ นรวมโลก สูศนู ยรวมแหงมวลมนุษยชาติ อันเปนความมหัศจรรยแหงคุณลักษณะอันวิเศษของชีวิตที่ ฉายประกายพลังคุณธรรมความดีงามที่หลั่งออกจากมโนธรรม ใหไดเห็นชัดเจนโดดเดนบนใบหนาอันอิ่มเอิบเบิกบาน ดุจมวล ดอกไมนานาพันธุทั่วทุกผืนแผนดินโลกในแตละฤดูกาลจะมี อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๘๗


สีสันกลิ่นหอมละมุนละไมไปทั่วทุกสารทิศ ไมเลือกชั้นวรรณะ ของผูที่จะชื่นชมความงดงามอลังการของธรรมชาติ และไมได เรียกรองโฆษณาคุณวิเศษมีแตทําหนาที่อยางยอดเยี่ยมที่สุด ตามพลังธรรมชาติจะเกื้อกูลสรรพสิ่ง ดุจบุคคลที่มีจิตใจ บริบรู ณบริสทุ ธิ์ จะมีจติ ใจงดงาม ผิวพรรณผุดผองทุกอากัปกิรยิ า ทุกสถานการณ ไมวาจะอยูในเหตุการณเชนไร จะมีนํ้าใจ เปดกวาง มีความอดทนสูงไมใจรอน จะมีความสุภาพออนโยน ดวยมารยาทอันนาเคารพนับถือ จะไมแสดงความโออวดทะนง หลงสําคัญตน จะใชชวี ติ อยางเรียบงายเปนมิตรกับธรรมชาติ อยู รวมกับทุกชีวิตดุจดังญาติสนิท เปนกัลยาณมิตรมิไดแยกแยะ ความแตกตางของกันและกัน เปนเพื่อนอยูรวมกันในสังคมโลก ดุจทะเลกวางอันเปนศูนยรวมของแมนํ้าทุกสายในโลก ถาไม พิจารณาใหถองแทก็เขาทํานอง “พูดนี่มันงาย แตการกระทําได นัน้ มิใชงา ย” แตความจริงก็เปนสิง่ ทีต่ อ งอาศัยคนจริงทีจ่ ะสามารถ เอื้อมถึงสัจธรรมความจริง และทองแทยอมไมกลัวความรอน เพชรก็ไมกลัวการตัดการเจียระไน ทองยิ่งหลอมยิ่งสุกเปลงปลั่ง งดงาม เพชรยิ่งเจียระไนจะยิ่งเปลงประกาย คนดีก็เชนกันยิ่งเจอสิ่งยั่วยุ สิ่งทาทาย ยิ่งเจออุปสรรคก็ จะเปนการพิสจู นหวั ใจทีส่ ขุ สมบูรณ จิตใจทีง่ ดงามสะทอนใหเห็น อัตลักษณอันโดดเดนของคนดี คือความอดทน สงบหนักแนน ไมหวั่นไหวไปตามกระแสโลก จะรักษาความสมดุลมิตรภาพ ภราดรภาพ ไดอยางอัศจรรยยิ่ง เมื่อเกิดเปนมนุษยและเปน ๒๘๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พุทธศาสนิกชนดวยแลว มีหัวใจที่เปนกอนเนื้อชิ้นหนึ่งที่มี องคประกอบจากเลือดลมและอื่นๆ ที่บิดามารดาไดหลอมรวม เปนชีวิตที่สะอาดบริสุทธิ์ สดชื่น แจมใส สุขุม พรอมที่จะคารวะ นอบนอมกราบไหวผูคนไดทั่วสารทิศ ดวยการกราบไหวอยาง ออนโยนสุภาพทั้งใจทั้งกาย และโดยประการทั้งปวง โดยไมใสใจ วาผลจะปรากฏออกมาเชนไร ควรจะกมกราบคารวะแกดวงใจ ทุกดวง พรอมกับการตั้งปณิธานอันแนวแนปรารถนาใหได เห็นทุกชีวิตเปนดุจดวงดาราอันแจมจรัสสดใสโดดเดนตระการ เฉิดฉายทั่วพื้นพิภพ ใหบรรยากาศแหงการกราบการไหวอันเปน สัญลักษณของความสุขสงบ ความสมดุลของชีวติ จงเปนสายธาร แหงศรัทธาความเชื่อ ความมั่นใจ ความภาคภูมิใจ ความปติสุข สูสติปญญาเปนพลังขับเคลื่อนชีวิตสูโลกกวางใหญไพศาลได อยางมีประสิทธิภาพสูความสําเร็จแดมวลมนุษยชาติทุกยุคสมัย ตลอดกาลนาน

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๘๙


๒๙๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อะไรที่เปนอุปสรรคตอการรูธรรม

การที่แตละคนจะไดจังหวะประจักษแจงตอความรูความ

สําเร็จในเรื่องใดใด ตองถือวาเปนเรื่องสําคัญเฉพาะตนและจะ ตองอาศัยการสัง่ สมความรูและประสบการณมาอยางเต็มที่ รวม ถึงสิ่งแวดลอมเหตุการณตางๆ ตองเกื้อกูล โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูทําหนาที่จุดประกายแสงสวางจะตองใชภาษารหัสความรูสึก รับรูในการสื่อความหมายที่จะใชเปนองคประกอบเปนตัวชวย จะตองเขาถึงอารมณความรูสึกสิ่งที่อีกฝายหนึ่งกําลังเผชิญ อยางมีสติหยั่งรูเพื่อชวยดึงผูหลงอยูในกระแสสังคมโลกให หลุดพนจากสภาวการณนั้นๆ จะตองใชกระแสจิตในระดับที่จะ ทําหนาที่สื่อผานเขาถึงระดับที่จับจุดสูความตื่นตัวพรอมที่จะ ยื่นมือรับการฉุดดึงอยูในจังหวะที่จะใหความชวยเหลือและ การรับตองผสานรวมกันอยางมีความสมดุล ดุจแพทยผูมีความ สามารถสูงก็จะวิเคราะหอาการโรคของผูป ว ยไดอยางทะลุปรุโปรง แลวใหยารักษาตามอาการหนักเบาของคนไข การบําบัดรักษา ก็จะไดผลเปนที่นิยมยอมรับของคนทั่วไปไดอยางกวางขวาง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙๑


อีกปญหาหนึง่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งสัมพันธและเปนปญหาเรือ้ รังมา ทุกยุคทุกสมัย คือวิถปี ฏิบตั ทิ แี่ ตกตางกันของแตละครูบาอาจารย ที่ทุกคนมักจะของใจกันวา ทําไม? ทุกที่สอนไมเหมือนกันเลย ไปแตละที่ แตละครูบาอาจารย ก็จะชี้แนะทางปฏิบัติไปคนละ ทิศทาง ทําเอาบางคนถึงกับสับสนงงงวยไมรูวาจะจับเอาจุดไหน เปนเปาหมายของการปฏิบัติ ซึ่งเปนปญหาเกิดขึ้นกับคนทั่วไป ทุกแหงหน สิ่งนี้ตองถือวาเปนเรื่องปกติธรรมดาพื้นฐานของ แตละคน ทั้งตัวผูเปนครูบาอาจารย และผูเปนนักศึกษา ฝกฝน ปฏิบัติ แมกระทั่งในสมัยยุคพุทธกาล พระพุทธองคก็ทรงสอน ผูคนทุกชนชั้น ตามแตใครจะมีปญหามาหาพระองคดวยอาการ อยางไร ก็จะทรงแกตามสมุฏฐานอาการนั้นๆ ซึ่งไมเหมือนกัน อยูแลว เหมือนกับเรากินอาหารที่ตางรสชาติ เหมือนกับเรา กินยาที่ตางสรรพคุณตามอาการของผูปวยไข เราจะไปยึดเปน หลักตายตัวในเรือ่ งอาหารและจํากัดตัวยา ใหถกู ปากถูกโรคของ ทุกคน มันก็ไมใชเปนเรื่องของธรรมชาติ มันตองขึ้นกับรสนิยม และภูมิคุมกันของแตละคนฉันใดก็ฉันนั้น ดุจเดียวกันเราจะให ครูบาอาจารยทุกองค พูดเหมือนกันสอนเหมือนกันหมด มันก็ ไมใชเรื่องปกติธรรมดาเสียแลว แมความรูความสําเร็จทั่วๆ ไป ก็ จ ะเป น ประสบการณ ข องแต ล ะคนไปที่ มี อั จ ฉริ ย ภาพที่ แตกตางกัน แตความตื่นตัวรูและบรรลุถึงสัจธรรมเปนความพิเศษกวา ความรูความสําเร็จในเชิงวิชาการและประสบการณโดยทั่วไป เพราะสัจธรรมนั้นไมมีหลักสูตรสําเร็จตายตัวที่แนนอนที่เราจะ ๒๙๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สามารถเรียนรูทองจํา หรือคําเทศนา แมการที่จะตั้งเปาจริงจัง ปฏิบตั มิ ากเกินไป หรือทีใ่ นยุคไฮเทคทีพ่ ากันเหอจัดระบบเขาคอรส ดวยการโฆษณาเปนจุดขาย และยอมรับกันถึงกับตั้งเปนสถาบัน ขึ้นมามากมายหลายรูปแบบ ในระดับสูงขึ้นอีกคือการยึดหลัก พุทธพจน การตีความหมายใหออกมาตรงตามอรรถะพยัญชนะ ก็ใชวาจะทําใหเกิดความรูความตืน่ ตัวตอสัจธรรม การศึกษาการ ตีความหมายทีจ่ ะใหเขาถึงความจริง ในการใชสอื่ ภาษาหรือกิรยิ า อาการแสดงออกหรือการรับรูส จั ธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจานัน้ ใชจะอยูที่ปญหาของการตางภาษาตางเชื้อชาติตางยุคตางสมัย ตางกาลเวลาอันยาวนานก็หาไม แมในยุคพุทธกาลที่บุคคลทั้ง หลายไดมีโอกาสพบปะสัมผัสมองเห็นไดฟงพระพุทธองคแสดง ธรรมก็ยังมีความรูสึก มุมมองที่แตกตางกันไปตามอุปนิสัยและ พืน้ ฐานทางดานจิตวิญญาณ ตลอดถึงสภาพสิง่ แวดลอมเหตุการณ สัจธรรมจากพระสุรเสียงจากพระโอษฐของพระพุทธองคจนรู แจมแจงตาม และประสบผลสําเร็จบรรลุธรรมของแตละคนก็จะ มีความหลากหลาย ที่โดดเดนก็จะเปนผูทรงคุณวิเศษเปน เอกทัคคะเชี่ยวชาญแตกฉานมีความละเอียดลึกซึ้งที่ไดซึมซับ ไมเหมือนกัน ทั้งที่บางทีนั่งฟงดวยกันและเรื่องราวเดียวกัน หรือ จะมองกันตรงๆ ขณะอยูเฉพาะหนาพระพุทธองคก็ใชจะชื่อวาได มองเห็นพระพุทธองคเสมอไปไม เพราะฉะนั้นพระพุทธองคจึง ทรงตรัสวา “ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าได้มองเห็นเราตถาคต ผูใ้ ดเห็นเราตถาคต ผูน้ นั้ ต้องเห็นธรรม ผูไ้ ม่เห็นธรรม แม้จบั ชายจีวรเราอยู่ก็ไม่ชื่อว่าได้เห็นเราตถาคต” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙๓


และการรูก ารบรรลุถงึ ธรรมก็มใิ ชเปนเรือ่ งจะไปเทีย่ วโฆษณา เปดเผยไดโดยทั่วไป แตกระแสแรงดลใจจนถึงตาวางใจสงบนิ่ง ไดจนถึงที่สุด เปนปรากฏการณทางจิตใจที่ไดสัมผัสความวาง บริสุทธิ์ อิสรเสรีหลุดพนเปนประสบการณเฉพาะของแตละคน จนไมอาจจะสรรหาภาษาถอยคําใดๆ มาเปดเผยสัจธรรมอัน เบงบานในหัวใจอยางเต็มที่ได เพราะภาษาสมมุติบัญญัติที่ใชสื่อ โดยทั่วไปมันยังมีขีดจํากัด ดุจเมฆหมอกที่ปดบังคลุมเครือ ยิ่งคนหาความจริงดวยเหตุผลขอมูลหลักฐานมากเพียงไร ก็จะ ทําใหหลงอยูในวังวนการแสดงอัตตาตัวตนดุจเสนผมบังภูเขา สรางปญหาขึ้นมาอีกเทาภูเขาเหลากา มีท างเดีย วที่เ ป น ทางลั ด คือ ให รีบ สลั ด ตนให พ  น จาก สิง่ สมมติฐานโดยฉับพลัน อยาไดโลเลหวงหนาพะวงหลัง ทําลาย ภาพจินตนาการใหปราศนาการหมดสิ้น แลวอยูอยางเรียบงาย ทามกลางธรรมชาติอนั บริสทุ ธิ์ ไมตอ งกังวลถึงเรือ่ งทีจ่ ะอยูอ ยางไร และจะตายเมื่อใด สลัดความพอใจ ความไมพอใจอันเปนเหมือน ขยะหัวใจ แมความรูสึกยึดติดในความสุขความทุกขก็อยาไดเอา มาเปนอารมณ จงทําจิตใจใหวางและสงบประการเดียว ไมตอง ตัง้ ปญหา ไมตอ งเสาะแสวงคําตอบ เพราะโดยธรรมชาติอนั บริสทุ ธิ์ ของจิตใจ จะสรรหาถอยคําใดๆ มาสือ่ กันดวยภาษาพูดไมไดทงั้ นัน้ ดังนั้นผูรูทั้งหลายจึงหุบปากนิ่งสงบ จะออนนอมถอมตน สุภาพ ไมแสดงถึงคุณวิเศษ จะสมถะสันโดษอยางโดดเดี่ยวไมหลงตัว โฆษณาประกาศตัวตนดวยวิธใี ดๆ ทัง้ สิน้ ดังนัน้ ผูร ทู งั้ หลายเหลานัน้ จึงไดสรุปไวชัดเจนวา “เมื่อรูแจงบรรลุธรรมถึงที่สุดแลว จะพูด ๒๙๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อะไรไมไดทั้งนั้น เพราะอยูเหนือคําบรรยาย การอุปมาอุปไมยโดย ประการทั้งปวง และอยูเหนือการเปรียบเทียบใดๆ ทั้งหมดทั้งสิ้น” ทัง้ นีใ้ ชวา วิถแี หงธรรมจะเปนสิง่ ลีล้ บั ลึกซึง้ หรือสูงสงจนยาก จะเอื้อมถึงก็หาไม พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงตรัสถึงสัจธรรม ความจริง (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่ไรตัวตนคนสัตว) เปนสิ่งที่มี อยูแลวในทุกผูคนทุกรูปทุกนามอยางบริบรู ณโดยธรรมชาติมาแต ดัง้ เดิม ตถาคตจะเกิดขึน้ หรือไม ธรรมชาติความจริงแหงสัจธรรม ก็ไดมีอยูแลวในทุกที่ทุกแหงหน เราตถาคตเพียงเปนคนผูคนพบ มองเห็นความจริงของชีวิตและโลกลวนเปนอนิจจัง ไมมีอะไร จีรังยั่งยืน การหลงปรุงแตงสังขารดวยอุปาทานความยึดถือ อันเปนบอเกิดความทุกข และทุกสรรพสิ่งเปนอนัตตา เปนเพียง ภาพลวงตา ปราศจากตัวตนทีจ่ ะใหไปยึดถือหรือครอบครองอะไร ไมไดเลย แลวพระองคจึงทรงไดนํามาเปดเผย เหมือนการเปด ของที่ปด หงายของที่ควํ่า และไดชี้ทางชีวิตใหทุกคนไดมองเห็น ตนเองคือตัวสัจธรรมทีเ่ ปลงรังสีเฉิดฉายเจิดจาแหงความจริง มิให ลุมหลงงมงายยึดติดอยูกบั อารมณใดๆ อยาไดหลงทางสรางภาพ ความแตกตางระหวางเราและทาน อยาไดหลงสรางภาพระหวาง อริยบุคคลกับบุคคลธรรมดา อยาไดหลงสรางภาพวาเราเปน ผูกระทําหรือใครทําอะไรกับเรา ตองมองใหเห็นความเสมอภาค ความเปนอนัตตาสุญตาเปนสัจธรรมของชีวิตและของโลกเปน ธรรมชาติดงั้ เดิมอยูเสมอ พระพุทธองคทรงชีว้ านีค้ อื ทางสายตรง ของชีวิตที่ปราศจากการของติด จิตจะแนวแนเปนหนึ่ง คือสมาธิ จะสงบเยือกเย็นปราศจากความหืน่ กระหายความกระวนกระวาย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙๕


จะไมมคี วามวิตกกังวล ชีวติ จะผสานความเปนหนึง่ เดียวกับสัจธรรม อยางอิสรเสรี อยูในสุญตาวิหารธรรมอยูเหนือโลกโดยประการ ทั้งปวง ซึ่งจากสิ่งที่ดูเหมือนจะเปนอุปสรรค เปนปญหา แตถาเรา เขาถึงหัวใจสําคัญดังกลาวนี้แลว เราก็จะสามารถมองเห็นทุก สรรพสิ่งที่มีจุดเริ่มตนจากอนันตะสูอนันตะ หรือจากความวางสู ความวาง จากอนัตตาสูอนัตตา จากความสงบสูความสงบ จากภายในใจของทุกชีวิตที่ผสานกลมกลืนเปนหนึ่งเดียวกับ สรรพสิ่งจนแยกไมออกปราศจากการแยกแยะออกถึงความเปน เขา-เปนเรา ความเต็มบริบรู ณ-ความขาดตกบกพรองหรือสูญสิน้ ไมใชตัวเรา-ไมใชของเรา โลกนี้หรือโลกอื่น ไมใชความเปนอยู หรือความตาย ไมใชความสุขหรือความทุกข ไมใชความมืด หรือความสวาง ไมใชความสูงสงหรือตํ่าตอย ไมใชความโงหรือ ความฉลาด มันไมมีตัวตนแมสักเทาอณูหรือปรมาณูที่จะแสดง ศักยภาพความยโสโอหังความยิง่ ใหญ ทุกสรรพสิง่ ทีเ่ ปนปรากฏการณ ตางก็ตองสลัดพันธการ สลัดตนสยบจบฉากปราศนาการสูความ วางและสงบ ดุจเสียงระฆัง เราจะใชความพยายามตีสักเทาไร ทั้งเสียงทั้งระฆังทั้งคนตีก็ตองวางฆอน วางตน ปลอยวางและ สูความเงียบสงบเยือกเย็นเปนธรรมชาติหนึ่งเดียวกับนิพพาน วิมุตติ วิโมกขพนจากความเปนอะไรทั้งหมดทั้งสิ้น

๒๙๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมเนียมการทอดผาปา – กฐิน

สังคมชาวพุทธปจจุบันนี้จะนิยมทะนุบํารุงศาสนสถาน

วัดวาอารามดวยการทําบุญทอดผาปาสามัคคี กฐินสามัคคี จนเปนกิจกรรมสําคัญของสังคมชาวพุทธ เปนคานิยมการเรี่ยไร หาปจจัยเงินทองในลักษณะรูปการแสดงออกของความศรัทธา เลื่อมใส และเลยไปถึงเชิงการบังคับหรือบางก็เอาใจเจานาย เพื่อหวังผลประโยชนทางออมอยางใดอยางหนึ่ง การทําบุญ ทอดผาปาในปจจุบนั ไดทาํ กันจนเปนระบบ ตัง้ ประธาน รองประธาน ประธานกรรมการ และกรรมการในการเรี่ยไรเงินทอง เรียกวา การทําบุญทอดผาปาสามัคคี ยิ่งไดปจจัยเงินทองมากเทาใดก็จะ จัดงานกันอยางเอิกเกริก มีขบวนรถจํานวนมากนอยตามกําลัง พลของผูนําคณะแตละคน จะมีการแหแหนเพลิดเพลิน บางที เลยเถิดถึงกับมีสุรายาเมามาคลุกเคลา รองรําทําเพลงเขาสู วัดวาอารามศาสนสถาน จนมองดูแลวนาสลดสังเวชอยางยิ่ง แตก็เปนคานิยมอยางไรอารยธรรมไปเสียแลว อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙๗


แมแตการทําบุญทอดกฐินสามัคคีที่พระพุทธองคไดทรงมี พระบรมพุทธานุญาตใหพระสงฆไดกระทํากฐินัตถารกิจ ที่มี กําหนดเฉพาะกาลคือ หลังออกพรรษาแลวภายใน ๑ เดือน ทรงมี พระประสงคจะใหพระสงฆทอี่ ยูร ว มกันมาตลอดไตรมาส ๑ พรรษา ใหไดแสดงนํ้าใจรวมกันสามัคคีหาผาบังสุกุลที่เก็บรักษาไวชวง จาริกตอนกอนเขาพรรษา โดยการนํามากะตัดเย็บเปนขันธ เปน ไตรจีวร หรือผืนใดผืนหนึ่งยอมดวยนํ้าฝาดตากใหแหงแลวเสร็จ ภายในวันเดียว แลวสงเคราะหแกภิกษุรูปหนึ่งที่คณะสงฆได พิจารณาจะไดรับกฐินทาน คือมีผาที่เกาครํ่าคราเปนผูกระทํา กฐินัตถารกิจ เปนการอนุโมทนาสงเสริมใหความเคารพ ความ สามัคคีตอกันและกันซึง่ กอนเขาพรรษาตามธรรมเนียมของภิกษุ นักบวชก็จะจาริกภิกขาจารสัญจรไปตามทีต่ างๆ เพือ่ เปนตัวอยาง ใหชาวโลกไดเห็นภาพจริงของชีวติ พรหมจรรยทอี่ ยูรวมกับสังคม โลก ไมตองมียศถาบรรดาศักดิ์ ไมตองมีอํานาจอิทธิพลใดๆ ไม ตองมีทรัพยสนิ ศฤงคารขาทาสบริวารบํารุงบําเรอใหรกพะรุงพะรัง เปนภาระหนักหนวง เปนตัวอยางชีวิตอิสรเสรี คือปลอยวางจน เบากาย เบาสบายทั้งกายทั้งใจ ขณะจาริกไปตามนิคมชนบทใน สถานทีต่ า งๆ บางทีกเ็ จอผาทีเ่ ขาทิง้ ไวระหวางทางตามทีส่ าธารณะ และผาพันศพทีเ่ ขาทิง้ ไวตามปาชา ภิกษุนกั บวชเจอเขาก็พจิ ารณา เปนผาบังสุกลุ คือผาทีไ่ มมเี จาของก็จะนํามาตมแลวซักใหสะอาด แลวเก็บรักษาไว พอถึงชวงเทศกาลออกพรรษาก็จะนําผามารวม กันเปนสามัคคีทําพิธีกฐินัตถารกิจ อันเปนธรรมเนียมของการ ซักผาบังสุกุลและทํากฐินดังกลาวมาแลว ๒๙๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ปจจุบนั จากกาลเวลาทีเ่ ปลีย่ นผานไปตามยุคสมัย การสืบสาน บวรพระพุทธศาสนาจึงมีความแตกตางจากอารยธรรมดัง้ เดิมได เลือนรางจางหายไปจากเปาประสงคเดิมที่สมถะเรียบงายที่เปน ธรรมชาติเกื้อกูลแกการประพฤติพรหมจรรยใหบริสุทธิ์บริบูรณ อันเปนธรรมเนียมวิถีชีวิตของภิกษุนักบวชที่จะตองดําเนินดํารง ตนเปนอยูอยางสันโดษมักนอยจึงถูกลบเลือนไป ถาสมมติวา ณ ปจจุบนั นีถ้ า สาวกกับพระศาสดาจะเสด็จมาเจอกันระหวางทาง สาวกคงจะไมเงยหนามอง แมวาพระศาสดาจะเสด็จมาเจอกัน เชนนั้น และถึงกับพากันกมหนาเดินสวนทางกันไปเลย เพราะ พุทธบริษัทในปจจุบันที่ไดแปรเปลี่ยนสูวิวัฒนาการดวยลักษณะ การหลากหลายรูปแบบทีถ่ กู ครอบงําใหไหลไปตามกระแสตัณหา จนมึนงงไรทศิ ทาง จนยากทีร่ งั้ ดึงใหหวนกลับคืนสูการเจริญตาม รอยพุทธบาททีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงพระมหากรุณาชีท้ าง ใหทุกคนไดมองเห็นแสงสวางใหเจริญรอยตามวา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๒๙๙


“ภิกษุทงั้ หลาย! กิจอันใดทีศ่ าสดาผูเ อ็นดูแสวงหาประโยชน เกือ้ กูลอาศัยความเอ็นดูแลวจะพึงทําแกสาวกทัง้ หลาย กิจนัน้ เรา ไดทาํ แลวแกพวกเธอทัง้ หลาย ภิกษุทงั้ หลาย! นัน่ โคนไม นัน่ ทีส่ งัด เธอทั้งหลายจงบําเพ็ญ เธอทั้งหลายอยาเปนผูประมาท เธอ ทั้งหลายอยาเปนผูที่ตองรอนใจในภายหลัง นี่เปนวาจาเครื่อง พรํ่าสอนเธอทั้งหลายของเรา” นี่คือวิถีทางที่ทรงไดพิสูจนและ กลัน่ กรองมาอยางวิเศษจึงชีท้ างชีวติ ใหเราทานทัง้ หลายไดดาํ เนิน ตามรอยพุทธบาทองคพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา จากประสบการณที่ผานมาก็ยังมีสิ่งที่พอจะจดเปนภาพ แหงความทรงจําเรื่องของการทําบุญทอดผาปา เมื่อประมาณป พุทธศักราช ๒๕๐๒ มีโอกาสไดเห็นชาวบานจํานวนสัก ๒๐ กวาคน รวมกันจัดพิธที อดผาปาขึน้ ในหมูบาน โดยมีผาขาวทอดไวทกี่ งิ่ ไม ในปาละเมาะตรงที่ทางเดินของพระภิกษุจะสัญจร (ไมไดทอด ในวัด) พรอมสิง่ ของเครือ่ งไทยทานจํานวนหนึง่ แลวชาวบานก็พา กันแอบซอนตัวกันอยูในทีก่ าํ บังใกลๆ บริเวณนัน้ เมือ่ มีเหตุจาํ เปน จะตองพูดกันก็จะพูดกระซิบกันเพียงเบาๆ พอเห็นเวลาสมควร แลวก็จะมีเสียงกระแอมพอเปนสื่อใหพระภิกษุรูถึงความพรอม ทานก็จะเดินออกมาพิจารณาชักผาบังสุกุล พอไดยินเสียง พระทานทําพิธชี กั ผาบังสุกลุ ชาวบานก็จะกําหนดรูพากันออกมา จากที่ซอน จะนิมนตพระภิกษุรับเครื่องไทยทานที่จัดเตรียมไว พอประมาณ เสร็จแลวก็รบั การอนุโมทนาพรพากันกรวดนํา้ หยาด ลงพื้นดินเพื่ออุทิศกุศลผลานิสงสแผเมตตาจิตเปนเสร็จพิธี ๓๐๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เหตุการณดังกลาวไดทันเห็นเพียงครั้งเดียว เมื่อทบทวน ความทรงจําชวงเวลานั้นจะไมเห็นมีการจัดทําบุญทอดผาปากัน บอยเหมือนปจจุบนั แตทสี่ งั เกตพอจะเห็นไดจากการทอดผาบังสุกลุ ที่พอจะสื่อถึงความหมายดั้งเดิมอยูบาง ก็ตอเมื่อมีพิธีเผาศพ ก็จะนิยมทอดเฉพาะกอนที่จะเผาศพเทานั้น และทอดผาตาม จํานวนพระภิกษุสามเณร ที่เห็นครั้งแรกๆ ก็ใชผาเช็ดหนาผืนเล็ก บางแหงก็ใชผาดิบสีขาว จะไมมผี าไตรเปดไตรปด ผามหาบังสุกลุ ไมมี และไมมีการจัดพิธีแบบเรียกแขก พิธีการจะดําเนินไป อยางเรียบงายเขากับธรรมชาติบรรยากาศงานศพ มาถึงยุคปจจุบนั นี้การจัดงานศพ การทอดผาบังสุกุล เปนคานิยมสรางภาพอวด ความหรูหรา จัดฉากแตงแตมสีสันแสดงภูมิฐานความมีเกียรติ และศักดิศ์ รีของงาน ตลอดถึงผูม ารวมเปนแขกจะรับรองใสหวั โขน แสดงตัวตนกันหลากหลายรูปแบบ ซึ่งถูกกําหนดเปนคานิยม ของสังคมไปเสียแลวถึงกับตองยอมรับวาลํ้ายุคทันสมัยคอนขาง จะถลําลึก จนสุดจะกูขานเรียกใหกลับคืนสูความเปนธรรมชาติ เรียบงายที่เปยมดวยความหมายเนื้อหาสาระที่แทจริงมาตั้งแต ดั้งเดิมจึงถูกกลบเกลื่อนไป ตรงกันขามกับแหลงอารยธรรมตนกําเนิดเดิมทีช่ าวพุทธเรา ไดรบั สืบทอดมาจากประเทศอินเดียยังคงดํารงอยูอ ยางคงเสนคงวา มาเปนเวลายาวนานไมตํ่ากวา ๕,๐๐๐ ป ทั้งนี้มิใชความลาหลัง แตเปนการแสดงใหเห็นความอลังการแหงอารยธรรมไดหยัง่ รากลึก ไมไดออนไหวไปตามกระแสโลกาภิวัตน เปนการพิสูจนความ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๐๑


๓๐๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ยิ่งใหญสูงสงลึกลํ้าและทาทายผานกาลเวลาอันยาวนานได อยางอัศจรรย สูการชี้นําใหเห็นประกายแหงสัจธรรมของชีวิตได อยางบริสุทธิ์และเปดเผย ไรมารยาการปรุงแตงและมิใชเปน ความหลง งมงายยึดติดอยูกับอดีต อีกทั้งไมไดเหอเหิมตาม ความอหังการของยุคสมัย ที่ผูคนสังคมโลกมีความฉลาดรอบรู อะไรไดอยางพิสดาร แตจิตใจเปราะบาง ขาดภูมิคุมกันสุมเสี่ยง ตอพิษภัยอันตรายรอบดาน คนสังคมในยุคปจจุบนั จึงหาความสุข สงบยากยิ่ง ถึงกับตองใชยากลอมประสาทมากมายหลายชนิด ระบาดไปทั่วจนเพิ่มปริมาณปญหาแทรกซอนยุงเหยิงวุนวาย จนยากแกการเยียวยาแกไข แถมเปนสังคมแหงการแขงขัน แยงชิงความเปนใหญ มีความเห็นแกตวั กันอยางสุดเหวี่ยง มัวเมา ลุมหลงงมงายสรางอัตตาตัวตนกันทุกรูปแบบ ถึงจะมีความรู ความสามารถบันดาลสรางโลกใหดศู วิ ไิ ลซไดมากเพียงใดก็ยงิ่ แสดง ใหเห็นความผิดเพี้ยน ควบคุมตนเองก็แทบจะไมไหว ความรุดหนา ลํ้ายุคลํ้าสมัยดูเหมือนนับวันจะเปนระเบิดเวลาอันรุนแรงดวย พิษภัยอันตรายนาหวาดหวั่นยิ่งขึ้นทุกวัน เพราะชีวิตยิ่งเหินหาง จากความเปนธรรมชาติมากเทาไร ก็จะยิ่งไมมีพื้นที่ใหอยูอยางสุข สงบอันเปนสุดยอดปรารถนาของทุกชีวิต ทีนี้ยอนสูธรรมเนียมเรื่องผาปา – กฐิน ที่ไดสัมผัสเปน ประสบการณครั้งแรกในชีวิต เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๒๐ สมัยนั้น เวลามีคนตายลงบรรดาญาติและเพื่อนบานจะใชผาดิบสีขาวหอ พันศพอยางแนนหนาหลายรอบ จะมีไมไผผาซีก ๗ ซี่ ทําเปน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๐๓


ตราสังมัดศพแลวยกใสโลง จะเก็บศพไวทําบุญทักขิณานุปาทาน ๒ - ๓ คืน ก็จะนําไปทําพิธีฌาปนกิจ ณ ฌาปนสถาน กอนจะเผา ตองเอาผาพันศพออกใหการเผาไหมไดงายขึ้น ในชวงเวลา ดังกลาวไดมีชาวบานกลุมหนึ่งไดเอาผาพันศพนํามาทอดที่ตนไม เปนผาปาใกลบริเวณหนากุฏินอยที่พํานักในปา จึงไดออกมา พิจารณาชักเปนผาบังสุกลุ นํามาตมซักนํา้ และเก็บไวจนถึงเทศกาล ออกพรรษา จึงไดกําหนดนัดหมายรวมกันเปนสามัคคีทํา กฐินัตถารกิจกะตัดเย็บเปนขันธเปนผาไตรจีวร ยอมดวยนํ้าฝาด ตากใหแหงจนแลวเสร็จภายในวันเดียว แลวทําพิธีทอดเปนกฐิน ทาน กอนนุงหมครองผาก็ตั้งจิตใจอธิษฐานใหเห็นเปนสัจธรรม ตัวผาไตรจีวรก็ยงั คงเห็นคราบนํา้ เหลืองทีเ่ ปรอะเปอ นยังปรากฏชัด ทัง้ กลิน่ ศพก็เหม็นติดผาอยู จึงไดพจิ ารณามองใหเห็นตนเองและ ผูที่ตายไปแลวก็จะตองอยูในสภาพอยางเดียวกัน ขณะนุงหม ครองผากฐินทั้งตัวทั้งใจรูสึกหวาดเสียวนาขยะแขยงพอสมควร แตก็ไดความรูสึกเปนธรรมสังเวชเปนอานิสงสใหเห็นสัจธรรม ไดปรากฏชัดเจน เพราะจะตองทําจิตใจใหซึมซับอยางสุดซึ้งถึง กับทัง้ กลาทัง้ กลัว ทําใหลดความหลงตัวมัวเมาไดสมั ผัสสัจธรรม จากประสบการณจริง และไดมองเห็นภาพวิถีชีวิตพระสงฆ ยอนสูยุคพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงประทานพรใหภิกษุทุกรูป ไดถือเปนนิสัย เปนขอบัญญัติเปนสิ่งที่จะตองประพฤติปฏิบัติ ๔ ประการ คือ ๑.บิณฑบาต ๒.นุ่งห่มผ้าบังสุกุล ๓.อยู่โคนไม้ ๓๐๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


(อยู่ปาที่เงียบสงัด) ๔. ฉันยาดองด้วยนำ้ามูตรเน่า รวมเปน นิสัยของภิกษุสามเณร ๔ ข้อ ซึ่งเปนหัวใจของผูประพฤติ พรหมจรรยที่เริ่มกาวสูใตรมเงาผากาสาวพัสตร จะตองปฏิบัติ ตลอดชีวิต จากการดําเนินวิถีชีวิตอยูกับธรรมชาติ สัมผัสความ ยากลําบาก ความไมสะดวก อดกลั้นอดทนไมตามใจตนเอง บังคับจิตใจใหสงบสํารวมสังวร จะทําใหเกิดพลังคุมกันใหแก รางกายและจิตใจไดดีวิเศษวิสุทธิ์ จะมองเห็นประโยชนอานิสงส ของอุปสรรคปญหาความทุกขยากลําบากยุงยากทุกประการ เปนประดุจนํ้าทิพยที่บริสุทธิ์สะอาดจากธรรมชาติใหไดดื่มดํ่า ซาบซึ้งถึงคุณคาของชีวิตไดอยางอัศจรรยยิ่ง ดวยเหตุปจจัยดังกลาวพระสัมมาสัมพุทธเจาจึงไดทรง เลือกเฟนเสนทางสายตรงคือ มัชฌิมาปฏิปทาเปนทางสายกลาง ใหแกทุกชีวิต พรอมกับการกลั่นกรองอมฤตธรรมหลอเลี้ยงชีวิต จิตวิญญาณชาวโลกใหไดเจริญรอยตามพุทธบาทพระบรมศาสดา ดําเนินชีวิตบนวิถีอริยมรรคปรับสภาพความสมดุลพอดี พอใจ ไมมกั มากโลภลนพนประมาณ อดทนขมตนอยูอยางสงบเรียบงาย ไมยึดมั่นยึดติดสิ่งใดๆ ในโลก ทําจิตใจใหปลอดโปรงวางบริสุทธิ์ ไรกังวล ดํารงตนเปนแบบอยางชีวิตที่มีความสุขสงบที่สุดแก ชาวโลก สลัดพันธนาการสูช วี ติ อิสรเสรีกจ็ ะแผอานุภาพพลานุภาพ ใหผนื แผนดินโลกใหสงบรมเย็นทีส่ ดุ นิพพานัง ปรมังสุขงั นิพพาน เปนความสุขอยางยิ่ง และไมมีความสุขอื่นใดยิ่งกวาความสงบ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๐๕


๓๐๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


วันสําคัญทางพุทธศาสนา ๔ ประการ

คือ ๑. วันวิสาขบูชา

๓. วันอาสาฬหบูชา

๒. วันมาฆบูชา ๔. วันอัฏฐมีบูชา

วิสาขบูชา ลําดับแรกที่ชาวพุทธจะตองรูและรําลึกถึง คือ วันวิสาขบูชา ซึ่งเปนเหตุการณตรงกับวันเพ็ญวิสาขมาส เปนวันที่พระบรมศาสดาทรงประสูติกาล ๑ วันที่ทรงไดประสบ ความสําเร็จความรูอันสุดยอดที่เรียกวา การตรัสรู ๑ และวันที่ ทรงดับขันธปรินิพพาน ๑ ปรากฏการณสําคัญครั้งแรกคือ มหาบุรุษไดกําเนิดขึ้นบนพื้นปฐพี พรอมกับการแสดงนิมิตหมาย ถึงการอุบัติขึ้นของพระองคดวยจุดยืนอยางอาจหาญวา “อัคโคหมัสมิง โลกัสสะ อัตตมะ เราเปนผู้เลิศในโลก เชฏโฐหมัสสมิง โลกัสสะ เราเปนพี่ใหญ่ในโลก เสฏโฐหมัส สมิง โลกัสสะ เราเปนผูป้ ระเสริฐยิง่ ในโลก อยะมันติมา เมชาติ ก็แลชาตินี้เปนชาติสุดท้าย นัตถิทานิ ปุนัพพ โวติ บัดนี้ ภพใหม่จะไม่มีแก่เราอีก” พระพุทธองคไดประสูติกาลในราช กูลโคตมะแหงศากยะวงค ดินแดนมหาภารตะชมพูทวีป ประเทศ อินเดียเปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะและพระนางเจา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๐๗


สิริมหามายาเอกอัครราชเทวี ประสูติอยางกะทันหันบนพื้นดิน พืน้ หญาใตตน สาละ ณ สวนลุมพินวี นั ทามกลางความเปนธรรมชาติ ชวงตนสาละกําลังออกดอกเบงบาน ระหวางทางกรุงศากยะนคร และกรุงเทวทหะนคร และไดรบั การขนานพระนามวา “สิทธัตถะ” อันมีความหมายวา “สำาเร็จสมปรารถนา” ภายหลังจากการเจริญวัยจน พระชนมายุได ๒๙ ป เจาชายสิทธัตถะไดสลัดพระองคจาก พันธนาการทางโลกวิสัย เสด็จออกจากปราสาทราชวังสูปาเขาลําเนาไพรเปนนักบวช เสาะแสวงหาทาง โมกขธรรม ความหลุดพนเหนือสรรพสิ่ง ใชเวลาบําเพ็ญเพียรอยางอุกฤษฏทรมานพระองคดวยวิธีการ ตางๆ โดยเอาชีวิตเปนเดิมพันจนกระทั่งชีวิตแทบจะแตกดับ ดวย ความเพียรอันแรงกลาลองผิดลองถูกอยูเปนเวลาถึง ๖ ปเต็ม ในวันเพ็ญวิสาขปุณมีในคืนพระจันทรเต็มดวง ขณะที่มหามุนี สิทธัตถะไดนั่งคูบัลลังกบนหญาคาที่ปูลาดบนพื้นดินภายใต ตนโพธิด์ านทิศตะวันออก อันมีแมนาํ้ เนรัญชราไหลผานพรอมกับ ตั้งมโนปณิธานแนวแนมั่นคงวา “ตราบใดที่ไมไดประสบความ สําเร็จตรัสรู จะไมขอลุกจากที่นั่ง แมนขันธธาตุจะตองแตกดับ ก็ขอแลกเอาการตรัสรูสัพพัญูตญาณดวยชีวิต” ทรงบําเพ็ญ ภาวนาดวยเนกขัมมบารมีสูงสงจนถึงรุงอรุณวันเพ็ญวิสาขปุณมี พระองคก็ไดคนพบทางสายกลางคือ “อริยมรรค” ไดตรัสรู พระโพธิญาณเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา อุบัติขึ้นมาในโลก ขณะพระชนมายุได ๓๕ พรรษา และไดทรงเปลงอุทานขณะทีท่ รง คนพบโมกขธรรมคือ ธรรมชาติแหงความสวาง สงบรมเย็น กระชาก ๓๐๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หนากากของตัณหากระแสความใคร ความอยาก ความหวัง ภาพลวง ใหสูญสิ้นสูการรูแจมแจงสวางไสวอยูเหนือตัณหา อันเปนเพียงภาพลวงตาสูการตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ อยูเหนือสรรพสิ่ง ดวยพุทธอุทานลักษณะเยยหยันตัณหา ขึ้นทันที ในขณะทรงรูสึกพระองควา อยูเหนืออํานาจตัณหาแลว  ที่สุดแหงการทองเที่ยวของพระองค

“เรา! เมื่อยังคนไมพบแสงสวาง มัวเมาเสาะแสวงหา นายชางผูปลูกเรือน คือตัณหาผูกอสรางภพ (การสรางภาพลวง วาเปนตัวตน) ไดทองเทีย่ วไปในสังสารวัฏ กลาวคือ ความเกิดแลว เกิดอีกเปนอเนกชาติ ความเกิดเปนทุกขราํ่ ไป (สุดแสนทรมานทุก ภพทุกชาติ) นี่แน! นายชางผูปลูกสรางเรือน! เรารูจักเจาเสียแลว เจา (จักปรุงแตง) สรางเรือนใหเราไมไดอีกตอไป โครงเรือนคือ กิเลส ที่เหลือเปนเชื้อเกิดใหมของเจา เราหักเสียยับเยินหมดแลว ยอดเรือน คืออวิชชา เราขยีบ้ ดทําลายเสียแลว จิตของเราถึงความ เปนธรรมชาติ ทีอ่ ารมณอะไรจะยุแหยยวั่ เยาไมไดแลว เพราะการ ไดบรรลุถงึ ความหมดความอยากทุกประการ คือไดทาํ ใหถงึ ทีส่ ดุ แหงความทุกขบรรลุนิพพาน” พอพระพุทธองคไดทรงคนพบ ความจริงของชีวิตวามันเปนอนิจจัง ไมมีอะไรเที่ยงแทแนนอน จะตองมีความแปรปรวนเสื่อมทรุด จะตองแกเจ็บทนทรมาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๐๙


เปนทุกขอยูร าํ่ ไป และทุกรูปทุกนามจะตองกาวสูค วามวางสูส ญ ุ ตา อนัตตาไรตวั ตนคนสัตว สูสจั ธรรม สูธรรมชาติเดิมทีว่ างและสงบ แลวพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ไดจาริกไป ทรงสัง่ สอนผูคนทุกชนชัน้ ใหลดละความอหังการ ความสําคัญตน ไมใหยึดติดยินดียินราย ปลดเปลือ้ งของหนัก สลัดพันธนาการปลอยวาง สงบสํารวมออนโยน ดวยความเอือ้ เฟอ เปยมดวยเมตตาไมตรีจติ ไมใหถอื เขาถือเรา มี ความอดทนขมความรูสึกฝกจิตใหเขมแข็งเปนสมาธิมิให หวั่นไหวตอแรงเสียดสีกระทบกระทั่ง พระองคทรงสั่งสอนพุทธ สาวกใหหมั่นภาวนาพิจารณาตนเองอยูเนืองๆ มองชีวิตมองโลก โดยความเปนของวางอยูเสมอ ก็จะไดรับประโยชนเกื้อกูล ความสุขสงบรมเย็นเปนผลอานิสงส จนมีสาวกสาวิกาเปน พุทธบริษัทสืบทอดมรดกธรรมอยางเสมอภาค ที่ไดพึ่งรมโพธิ์ รมไทรจากพระสัมมาสัมพุทธเจานี้เปนเชน ดุจบิดามารดา โอบอุมคุมครองบรรดาลูกๆ ใหไดรับไออุน ความละมุนละไม ความประคับประคอง ความประทับใจ อันเปนสายใยแหง ความรักความปรารถนาอันสูงสุดเฝาฟูมฟกจนหัวใจจิตวิญญาณ ของมารดาบิดาไดประทับในดวงใจของบรรดาลูกๆ ตัง้ แตแรกเกิด จนเติบใหญ ถึงแกเฒาชรา แมใกลตายเสียงรําพึงถึงพอถึงแม ยังไดกองในโสตประสาทจวบจนวาระสุดทาย พระพุทธองคผูทรงเปนนาถะที่พึ่งแกชาวโลกก็ทรงบําเพ็ญ พุทธกิจดวยพระบารมีญาณอันไพศาลเปนเวลานานถึง ๔๕ พรรษา จนพระชนมายุลวงสูวัยชรา ก็ยังทรงเสด็จดําเนินดวยพระบาท เปลาเพื่อโปรดเวไนยสัตว ทั้งๆ ที่ ทรงอาพาธ ไอ อาเจียน และ ๓๑๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ถายเปนเลือด จนลุถึงสวนปาสาละวโณทยาน ของพวกมัลละ กษัตริยจ นกาวพระบาทเสด็จดําเนินตอไปไมไดแลว จึงทรงมีรบั สัง่ พระอานนทองคพุทธปฏฐากใหพับผาสังฆาฏิ ๔ ชั้นปูลาดกับพื้น ดินระหวางรมเงาตนสาละคู แลวทรงประทับนอนสีหไสยา หัน พระเศียรไปทางทิศเหนือ นอนตะแคงขวา พระหัตถขวารองรับ พระเศียร พระหัตถซายทอดยาวทาบราง ขณะขมพระโรคาพาธ พระกําลังพลานามัยออนลา จะตรัสรับสั่งอะไร พระสุรเสียงก็ แหบแหงแผวเบา ถึงกระนัน้ พระสัมมาสัมพุทธเจาก็ทรงมีพระราช หฤทัยเปย มลนดวยพระเมตตากรุณา ไดตรัสสอนสรุปธรรมเทศนา ที่ทรงแสดงมาตลอดพระชนมชีพวา “ภิกษุทงั้ หลาย! บัดนีเ้ ราขอเตือนท่านทัง้ หลายว่า สังขาร ทั้งหลายมีความเสื่อมสิ้นไปของธรรมดา ท่านทั้งหลาย จงทำาความเพียรเพื่อความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด นี่คือ โอวาทคำาสั่งสอนครั้งสุดท้ายของเราตถาคต” แลวพระสัมมา สัมพุทธเจาก็ทรงเขาฌานสมาบัติดับขันธปรินิพพานธาตุดวย พระชนมายุ ๘๐ พรรษา ทามกลางธรรมชาติเรียบงายใตตนสาละ เหนือ พื้น ดิน มีเ พีย งผ า สั ง ฆาฏิห นึ่ง ผืน รองรั บ พระวรกาย พระบรมศาสดาของชาวพุทธ ผูเปนพระศาสดาเอกของโลก ผูเปน สุดยอดแหงอัจฉริยะทีเ่ พียบพรอมดวยบุคลิกภาพ พระอัจฉริยภาพ พระบารมีญาณแผไพศาลดวยฉัพพรรณรังสีดวยพระมหากรุณา เมตตามิไดเลือกชนชัน้ วรรณะ ถือความเสมอภาคแหงมวลมนุษยชาติ เปนเพื่อน เปนกัลยาณมิตรมิไดแยกมิตรแยกศัตรู เปนเนื้อบุญ ที่พึ่งของชาวโลกมาตราบกาลนาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑๑


เพราะฉะนัน้ วันวิสาขบูชาจึงถือไดวาเปนวันทีม่ คี วามสําคัญ ยิ่งของมวลมนุษยชาติที่จะตองรําลึกและนอมรับแสงสวาง แหงพุทธิปญญาอันเปนมรดกธรรมอันลํ้าคายิ่งที่พระพุทธองค ทรงประทานใหชาวโลกไดอยูรวมกันดวยความรมเย็นเปนสุขมา ทุกยุคทุกสมัย วันอาสาฬหบูชา ยอนกลับสูวันวิสาขบูชา หลังจากที่ทรง ไดประสบความสําเร็จตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาแลว พระพุทธองคก็ทรงไดเสด็จดําเนินจากเมืองคยาสูเมืองพาราณสี ถึงปาอิสิปตนมฤคทายวันที่พํานักของปญจวัคคียทั้ง ๕ ที่เคย อยูรวมกันมากอนแลวไดพากันหลีกหนีจากไป ดวยพระองค เล็งเห็นวาเปนผูมีอุปการะและมีอุปนิสัยพอที่จะรับฟงสัจธรรมที่ ทรงตรัสรูได วันที่เสด็จมาพบคณะปญจวัคคียทั้ง ๕ เปนวัน อาสาฬหปุณมีพระจันทรเต็มดวง แลวพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ได ทรงโปรดแสดงธรรมเปดเผยสัจธรรมความจริงแหงชีวิต ดุจทรง หมุนลอธรรมใหขบั เคลือ่ นเพือ่ ประโยชนสขุ ใหแกผคู นเปนครัง้ แรก ซึ่งมีคณะปญจวัคคีย ทั้ง ๕ ที่เปนตัวแทนของสัตวโลกไดสดับ รับฟงปฐมเทศนาเปนครั้งแรก เรียกวา การแสดงธรรมจักรคือ ทรงชี้ใหเห็นโทษความเอนเอียงที่สุดโตงของชีวิต มี ๒ ทางคือ การลุมหลงมัวเมาเพลิดเพลินในกามกิเลสสนองความตองการ ตามความใครในตัณหา ๑ การทรมานตนจนตึงเครียด ยึดถือ สําคัญมั่นหมายผูกขาดกับอะไรมากเกินไป ๑ ทรงชี้โทษให มองเห็นวากระแสทาง ๒ ประการนี้ เปนสิง่ แสลงตอความสุขสงบ ถึงแมตามความรูสึกโดยทั่วไปของชาวโลก จะมองเห็นวาการได ๓๑๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


สนองกิเลสตัณหา ความตองการคือความรูสึกที่เปนอิสรเสรี แตหารูไมวาความเอร็ดอรอยแหงโลกียรสมันหอมหวานนาใคร นาปรารถนาก็จริง แตมนั เอิบอาบเคลือบดวยพิษรายเปนอันตราย เปนปญหาอันใหญหลวงทรมานทรกรรมใหสัตวโลกตกอยูใน หวงเหวลึก ไดรับความยากลําบากสุดแสนที่จะอดกลั้นและตอง หลั่งนํ้าตา ตกอยูในหวงแหงความโศกาอาดูร ดังนั้นพระพุทธองคทรงชี้ใหเห็นแสงสวางมองชีวิตและโลก ตามความจริงอันเปนสัจธรรมความจริงอยางยิ่งที่เปนอริยสัจ ๔ ประการ คือ ความทุกข ๑ ตัณหาคือ เชือ้ ไฟเหตุปจ จัยทีก่ อใหเกิด ความทุกข ๑ สรรพสิง่ มีความดับไปเปนสภาพธรรมดา๑ อริยมรรค ทางสายกลาง ๑ และทรงแยกแยะรายละเอียดอริยมรรคไวอีก ๘ ประการคือ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ การพูดจาชอบ การทําการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความเพียรพยายามชอบ ความมีสติระลึกชอบ ความมีสมาธิมุงมั่นตั้งใจชอบ ทรงชี้ใหเห็นสัจธรรม ความจริงแหงอริยสัจและทรงชี้ทาง อริยมรรคใหไดดําเนินตามทางสายกลาง เปนการชี้ทางสวางไสว แกชาวโลกใหไดเห็นและดําเนินตามจนทานอัญญาโกณฑัญญะ ผูอาวุโสหนึง่ ในจํานวนคณะปญจวัคคีย ไดรแู จมแจงเห็นธรรมวา “สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อาศัยเหตุปจจัยปรุงแตงเกิดขึ้นมาดวยเหตุปจจัย ใดๆ มันจะตองแตกดับสูญสิ้นไปดวยเหตุปจจัยนั้นๆ (คือมองเห็น อนิจจัง) เรียกวาการได “ดวงตาเห็นธรรม” และพระพุทธองค ก็ไดประจักษถงึ ความรูความตืน่ การไดมองเห็นแจมแจงสัจธรรม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑๓


ของทานอัญญาโกณฑัญญะ จึงไดทรงตรัสรับรองวา “โกณฑัญญะ รู้แล้วหนอ! โกณฑัญญะรู้แล้วหนอ!” หลังจากนั้นไดทรงแสดงธรรมที่สืบเนื่องกัน โดยชี้ใหเห็นวา สรรพสิง่ ทีป่ รากฏใหเห็นทัง้ ทีเ่ ปนรูปธรรมนามธรรม ลวนเปนอนัตตา ไรตัวตนที่แทจริง จะยึดมั่นถือมั่นสิ่งใดๆ ในโลกนี้ไมไดทั้งนั้น เพราะลวนวางเปลาจากตัวตนคนสัตว แลวทรงแสดงธรรมเนน ใหเห็นโทษภัยอันตรายของการไมรคู วามมัวเมาลุมหลงสรางภาพ ตัวตนขึน้ มาแลวสมมติยดึ ติดเปนอุปาทานดวยเปลวเพลิงแผดเผา ใหรุมรอนดวยทะเลไฟแหงราคะ โทสะ โมหะ ใหไดรับทุกขโทษ ตองทนทรมานลําบากอยางซํา้ ๆ ซากๆ จะตองตืน่ ตัวสลัดตน สลัด ความยึดมั่นถือมั่นดวยอุปาทานแลวรีบออกจากกองเพลิงไฟอัน รุมรอนใหหลุดพนโดยฉับพลัน ในที่สุดแหงการแสดงธรรมแกคณะปญจวัคคียทั้ง ๕ ตาง ก็ไดเห็นแจมแจงไดดวงตาเห็นธรรมเปนลําดับจนบรรลุพระอรหันต และไดทรงรับรองจากพระพุทธองคเขาสูค วามเปนภิกษุสงฆ ทําให เกิดพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ขึ้นมาในโลก พรอมบริบูรณเปนครั้งแรก ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ถือไดวา เปนเหตุการณสาํ คัญครัง้ ยิง่ ใหญแหงมวลมนุษยชาติทพี่ ระสัมมา สัมพุทธเจาไดทรงขับเคลื่อนหมุนลอธรรมจักรใหเปนไปเพื่อ ประโยชนเกื้อกูลความสุขสงบตอชาวโลก จึงถือวาวันอาสาฬหบูชาเปนวันที่มีความสําคัญอยางยิ่งที่ ชาวพุทธและชาวโลกจะตองนอมใจรําลึกถึงภาพการขับเคลื่อน ๓๑๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หมุนลอชีวติ สูแสงสวางแหงสัจธรรมจนเกิดความสงบรมเย็นดวย ฉัพพรรณรังสีที่เปนประกายแสงสวางจากดวงพระราชหฤทัย ที่ทรงพระมหากรุณาแผเมตตาสัตวโลกโดยไมจํากัดบุคคล ไมจํากัดกาลเวลา ขอน อ มบู ช าองค พ ระศรี รั ต นตรั ย ในทุ ก โอกาสแห ง อาสาฬหปุณมีที่แสงสวางแหงสัจธรรมสองใจผูคนดุจพระจันทร เฉิดฉายเต็มดวงงดงามอลังการแผซานไปทั่วสากลจักรวาล วั น มาฆบู ช า นอมรําลึกถึงพระสงฆผูทรงคุณวิเศษ ทรงบุญญาบารมี ผูสงบสํารวม ผูเปนเนือ้ นาบุญของชาวโลกทีไ่ ด จาริกจากสถานที่ตางทิศทางตางไดมาเฝาพระพุทธองคโดยมิได มีการนัดหมาย ณ เวฬุวนาราม วัดแหงแรกที่พระเจาพิมพิสาร สรางถวาย มีกอไผขึ้นเปนปาเปนดงรมรืน่ ไมไกลจากเขาคิชฌกูฏ นัก พระสงฆทั้งนั้นมากันมากถึง ๑,๒๕๐ รูป แตละองคก็ลวน สําเร็จอภิญญาเปนพระอรหันตขีณาสปและไดรับการบวชจาก พระพุทธองคดวยวิธีเอหิภิกขุ อุปสัมปทา คือ แบบพิเศษที่ทรง พิจารณาความเหมาะสมเพียงเรียกขานรับรองจากพระพุทธองค เองก็ถอื วาพิธบี วชเสร็จบริบรู ณ วันทีพ่ ระสงฆมาถึงพรอมทัง้ หมด ทั้งมวลเปนวันมาฆะปุณมี ขึ้น ๑๕ คํ่า พระจันทรสวางไสวเต็ม ดวงเหนือทองฟานภากาศ ปราศจากเมฆหมอกแจมจรัสเหนือ ดวงดาราใดๆ ปรากฏการณสาํ คัญในครัง้ นัน้ ถาจะพอเปรียบเทียบ ก็เหมือนลูกหลานคณาญาติทกี่ ระจายออกจากออมอกบิดามารดา ถิน่ กําเนิดเดินทางไปประกอบอาชีพตางบานตางเมืองทัง้ ใกลและไกล พอถึงเทศกาลสงกรานตปใหมไทยก็พากันหวนคืนสูมาตุภูมิ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑๕


มาพบปะกราบไหวขอพรพอแมปูยาตายายญาติผูใหญเพื่อเปน สิริมงคล เปนภาพแหงความอบอุนความสุขชื่นบานกันทั่วหนา ดังนั้นพระพุทธองคทรงเล็งเห็นพระสงฆมากันอยางพรั่งพรอม เชนนัน้ จึงถือโอกาสแสดงพระโอวาทปาติโมกขแดเหลาพระสงฆ สาวกทั้งหลาย และถือวาเปนเหตุการณสําคัญยิ่งอีกครั้งหนึ่ง จึงเรียกวาวันจาตุรงคสันนิบาต ทีม่ คี วามถึงพรอม ความบริบรู ณ ความสมดุล ครบองค ๔ ประการ พระโอวาทปาติโมกข์ (พระโอวาทที่จะตองรูจะตองสังวร ระวังอยางยิ่ง) ณ ปาเวฬุวนาราม อันเปนธรรมชาติที่เปนผืนแผนดินธรรม แผนดินทองที่พระเจาพิมพิสารสรางถวายเปนวัดแหงแรก ในพระพุทธศาสนา สถิตอยูนอกราชธานี เมืองราชคฤหเปน แดนสงบหางไกลผูค นพลุกพลานเหมาะแกการบําเพ็ญสมณธรรม ทามกลางพระสงฆหมูใหญ พระพุทธองคทรงประทับนั่งเหนือ พืน้ ปฐพีทมี่ พี ระสงฆสาวกเฝาลอมรอบเปนปริมณฑลพรอมเพรียง สงบเสงี่ยมสงางามอลังการนาอัศจรรยยิ่ง เปนความเงียบสงบ อยางนาทึ่งอัศจรรยจนแทบจะไดยินลมหายใจของกันและกัน เพราะตางก็อยูในอารมณหนึ่งเดียว ดวยความรูสึกละเอียด บริสุทธิ์วางปลอดโปรง พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงตรัสพระสุรเสียงแสดงพระธรรม เทศนาดวยพระสุรเสียงแจมใสชัดเจนจากกระแสจิตอันเปย มดวย พระมหากรุณาตอสรรพสัตวอยางเสมอภาค เปนการแสดง ๓๑๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระโอวาทปาติโมกขสรุปพระธรรมคําสอนและหลักการดําเนิน ชีวิตที่จะใหเกิดประโยชนสุขเกื้อกูลมวลมนุษยสูแสงสวางของ ชีวิต ใหเจริญรุงเรืองที่สุดเปนหัวขอธรรมสําคัญอยางยิ่งดังนี้ ๑. การไมกระทํากรรมอันเปนบาปไมทําชั่วทุกชนิด ๒. การทํากุศลคุณงามความดีใหถงึ พรอมดวยความไมประมาท ๓. การฝกฝนชําระจิตใจใหใสสะอาดสดชืน่ เบิกบานอยูเ สมอ ทรงตรัสเนนวานีค่ อื หลักใหญสาํ คัญคําสอนของพระพุทธเจา ทั้งหลาย และไดทรงตรัสถึงหลักหัวใจที่จะดํารงชีพและการอยู รวมกับสังคมโลกอยางสรางสรรคอีกวา ตองมีขันติธรรม คือ ความอดกลั้นอดทนดวยมโนธรรม ยิ่งนิ่งไดมากยิ่งเปนธรรมเปนเครื่องเผาผลาญลบลางกิเลสมาร ที่จะมาผจญไดอยางวิเศษอยางยิ่ง ผูร ทู งั้ หลายกลาวนิยามยกยองวา พระนิพพานคือ ความสงบ สํารวม ดับความรุมรอน มีจิตสุขุมเยือกเย็นเปนธรรมอันยิ่ง ผูมีจิตอิจฉาริษยากลั่นแกลงหาเรื่องใสรายกําจัดผูอื่น อยูไมเหมาะสมที่จะเปนบรรพชิตเลย ผูท มี่ พี ฤติกรรมชอบทรมานบีบบังคับใหผอู นื่ ไดรบั ความทุกข ยากลําบากดวยอคติขาดเมตตาธรรมไมเปนสมณะผูสงบเลย จะตองไมกลาวถอยคําใสรายรุนแรงกระทบกระทั่งผูอื่น จะตองไมทําการเบียดเบียนประทุษรายดุดันทําลายเขนฆากัน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑๗


จะตองสังวรสํารวมในศีลปาติโมกข เวนขาดจากขอหาม จะตอง ปฏิบัติขอที่ทรงอนุญาต จะตองไมละโมบโลภหลงยึดติดปจจัย ลาภสักการะ จงยินดีเสพเสนาสนะที่นั่งที่นอนที่อยูอาศัยใน สถานที่วิเวกสงบ ความตื่นตัวทําความเพียรฝกจิตใจใหวางสงบอยูเสมอ (เพราะจิตที่ไดรับการฝกใหนิ่งสงบไดอยางเต็มที่จะมีผลทําให การพูดการตัดสินใจหนักแนนแนวแนแมนยํา จะทําอะไรก็มี ความสําเร็จ ความสุขสมความปรารถนา) ทรงตรัสวานี้คือวิถีทางที่พระพุทธเจาทุกๆ พระองค (รวมทั้งผูรูทั้งหลาย) จะตองชี้นําทางดวยคําสอนชั้นสุดยอด เกื้อกูลประโยชนสุขอันสูงสุดอยางนี้แล เพราะวันมาฆบูชามีความเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณสําคัญๆ ถึง ๔ ประเภท ที่เกิดขึ้นในคราวเดียว และเพียงครั้งเดียวนับเปน ปรากฏการณครั้งสําคัญใหญหลวงและอัศจรรย สําหรับการ ประกาศถอยคําอันเปนสัจธรรมอยางยิง่ ของพระสัมมาสัมพุทธเจา ทัง้ หลาย ทัง้ อดีต ปจจุบนั และอนาคต ก็จะทรงตรัสสอนสัจธรรม และหลักการเชนนี้ จึงถือวามาฆบูชาเปนวัน “จาตุรงคสันนิบาต” คือความถึงพรอมดวยองคประกอบสําคัญ ๔ ประการคือ ๑. พระสงฆจํานวนถึง ๑,๒๕๐ รูปจาริกเดินทางมาจาก สถานที่ตางๆ ทั้งใกลและไกลโดยมิไดมีการนัดหมายกันไวกอน มาพรอมกันเพื่อเฝาพระสัมมาสัมพุทธเจา ๒. พระสงฆทั้งหมดลวนสําเร็จอภิญญาบรรลุพระอรหันต จบพรหมจรรยปราศจากความสงสัยไรกังวลจิตถึงพระนิพพาน ๓๑๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


๓. วันนัน้ ตรงกับวันมาฆมาส ทองฟาไรเมฆหมอก พระจันทร เปลงรัศมีเต็มดวงงดงามเหนือทองนภากาศ ขึ้น ๑๕ คํ่า (ตรงกับ เดือน ๕ เหนือ เดือน ๓ ใต) ๔. พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงตรัสสรุปสัจธรรมคําสอน ขั้นหัวใจเรียกวาทรงแสดง “พระโอวาทปาติโมกข” ดวยเหตุที่วันมาฆบูชามีความหมายสําคัญยิ่งตอมวล มนุษยชาติ จึงถือไดวาพระรัตนตรัยมีพระคุณอันใหญหลวง ทีช่ าวพุทธทัว่ โลกจะตองปฏิบตั ติ นสงบสํารวมบูชาวันจาตุรงคสันนิบาต ดวย กาย วาจา ใจ ระลึกถึงวันมาฆบูชา ดวยการถวายสักการะ บูชาโดยประการทั้งปวง วันอัฏฐมีบูชา หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงดับขันธ ปรินิพพานแลว บรรดาบริษัททั้งหลายทุกหมูเหลาก็ไดอาราธนา เคลื่อนยายพระบรมศพจากสาละวโณทยานไปสูมกุพันธนเจดีย เพื่อประกอบพิธีถวายพระเพลิง ในวันที่ ๘ เรียกวา “วันอัฏฐมี บูชา” คือรําลึกบูชาการถวายพระเพลิงพระผูมีพระภาคเจา จึงถือวาวันอัฏฐมีบูชาก็เปนวันวาระสุดทายของพระบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจาที่ตอเนื่องจากวันวิสาขบูชาอีก ๘ วัน เมือ่ ขาวการดับขันธปรินพิ พาน ไดแพรสะพัดไปอยางรวดเร็ว บรรดากษัตริยแ ตละแควนแตละเมือง ตางก็ราํ ลึกถึงพระพุทธองค อยางสุดซึ้งพากันมาแตละขบวนเปนจํานวนมากเพื่อจะถวาย สักการะพระบรมศพพระศาสดาเปนครั้งสุดทายมากันมากมาย ถึง ๗ หัวเมือง ผูค นทุกชนชัน้ ทุกหมูเ หลาทุกเพศทุกวัย ทัง้ บรรพชิต อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๑๙


นักพรต นักบวช ฤาษีโยคี พอรูขาวการปรินิพพานของพระสัมมา สัมพุทธเจา ทําใหถนนทุกสายจากทั่วสารทิศเต็มไปดวยผูคน ทั้ง ขบวนชาง ขบวนมา และขบวนเดินเทาตางมุงหนาสูเมืองกุสนิ ารา ผูคนหลั่งไหลกันมาอยางลนหลามจนมืดฟามัวดิน จึงทําใหการ ถวายพระเพลิงตองเลื่อนไปถึง ๘ วัน หลังจากวันปรินิพพาน ถา ธรรมเนียมของอินเดียโดยทั่วไปตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน จะรักษา ศพไวเพียงวันเดียวก็ตองนําไปเผากันอยางเรียบงายกลมกลืนกับ ธรรมชาติ แตในกรณีของพระสัมมาสัมพุทธเจาในครัง้ นัน้ เปนพิธี จําตองขยายการบริหารเวลาสําหรับสายธารของมหาชนอยาง หลีกเลีย่ งไมได เพราะมหาชนทีต่ งั้ ใจกันมารวมพิธถี วายพระเพลิง เปนพุทธบูชาเปนวาระสุดทายของพระสัมมาสัมพุทธเจาซึ่งเปน พระบรมศาสดาอันเปนที่รักเคารพเปนสรณะที่พึ่งดับทุกขดับยุค เข็ญที่มีความโดดเดนที่สุดของชาวโลก ถือวาเปนปรากฏการณ ครั้งสําคัญอยางยิ่งใหญของโลกจริงๆ และวันนั้นพระจันทร แรม ๘ คํ่า เดือน ๖ (ตรงกับเดือน ๘ ของชาวลานนาไทย) เปนวันถวายพระเพลิงพระบรมศพ ของพระสัมมาสัมพุทธเจา ณ มกุพนั ธเจดีย ระยะหางจากสวนสาละวโณทยานเพียงเล็กนอย

 การแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ภายหลังจากการถวายพระเพลิงเสร็จแลว บรรดากษัตริยทงั้ หลาย รวมทั้งพุทธบริษัทตลอดถึงพราหมณ ผูรูผูอาวุโส ตางก็ พรอมกันรวมประชุมตกลงคัดเลือกหาผูทนี่ าเคารพนับถือทีส่ ดุ ใน มหาสมาคมนั้นใหเปนกลางคนหนึ่งชื่อโฑณพราหมณทําหนาที่ ๓๒๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แบงปนพระบรมสารีริกธาตุ โดยเอาทะนานทองตักตวงแบง พระบรมสารีริกธาตุออกเปน ๘ สวน เทา ๆ กัน แลวทําพิธีมอบ–รับ ใหแกกษัตริยท งั้ ๘ หัวเมือง ครัน้ เมือ่ รับแลวตางก็จดั เปนขบวนชาง ขบวนมา ขบวนเดินเทาเปนพิธีที่ยิ่งใหญกลับสูนครเมืองของตน แลวทําการกอสรางพระเจดียทําพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไว ณ สถานที่อันโดดเดนที่สุด เพื่อใหมหาชนชาวเมืองไดนอม รําลึกถวายการเคารพสักการบูชาในแตละเมือง ดังนี้ ๑. กษัตริย มคธ ๒. กษัตริย ลิจฉวี ๓. กษัตริย ศากยะ ๔. กษัต ริย  ถูรี ๕. กษัตริย โกลิยะ ๖. กษัตริย มัลละ ๗. กษัตริย ปาวา ๘. กษัตริย เวทิปะ

อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุท ี่เมือ ง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง อาราธนาไปบรรจุที่เมือง

ราชคฤห์ เวสาลี กบิลพัสดุ์ อัลลกัปปะ รามคาม กุสินารา ปาวา เวทีปะ

และกษัตริย มูริยะ แหงเมืองปปผลิวันไดสงทูตมาขอสวน แบงทีหลังจึงไดแตพระอังคาร (เถาถาน) อาราธนาไปบรรจุที่ เมืองปปผลิวนั สวน โทณพราหมณ์ ไดขอทะนานทองทีใ่ ชตกั ตวง พระบรมสารีรกิ ธาตุไปเมืองของตน แลวบรรจุในพระสถูปเจดีย ที่เมืองตักศิลา นอกจากพระธรรมวินัยที่บรรดาสาธุชนทั้งหลายไดนอมมา ปฏิบตั สิ วู ถิ ชี วี ติ ดุจมีพระพุทธองคสถิตอยูในดวงใจใหไดรบั ความ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๒๑


สุขสงบรมเย็นแลวตางก็ไดถวายสักการบูชาพระเจดียที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุดวยความอบอุนใจดวยความปราโมทยปติ อิม่ ใจดุจไดสมั ผัสรมโพธิร์ มไทรจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าควบคู กันมา จนเปนวัฒนธรรมสําคัญยิ่งใหญตั้งแตอดีตมาถึงปจจุบัน จนเกิดมีสถาปตติยกรรมศิลปกรรมงดงามอลังการลํ้าคาอันเกิด

พระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่ขุดพบในประเทศอินเดีย

จากสายธารแหงศรัทธาดุจสายเลือดสูชีวิตจิตวิญญาณใหไดรับ ความสุข ความอบอุนอิม่ เอิบเบิกบานขยายแผกวางไปทัว่ ดินแดน ชมพูทวีป ดั ง นั้น ชาวพุ ท ธหรือ สาธุ ช นควรรํ า ลึก ว า มีวันพระที่สําคัญเปนปรากฏการณที่ยอนรําลึกถึง พระพุทธคุณ และพุทธานุภาพ อันยิง่ ใหญของพระพุทธเจา ในวันอัฐมีบชู านัน่ เอง และทั้ง ๔ วัน เปนวันสําคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธ ควรปฏิบัติเปนพุทธบูชาแดพระบรม ศาสดาผูเปนเอกของโลก ๓๒๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


อาณาจักรธรรมรุงโรจนในยุค “ จอมจักรพรรดิอโศก ”

ในชวงพุทธศตวรรษที่ ๒ คือเมือ่ พุทธศักราช ๒๐๐ กวาป

ไดเกิดมีมหาจักรพรรดิผูยิ่งใหญเกรียงไกรทรงพระนามวา “จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช” เปนพระราชโอรสของพระเจา พินทุสารกับพระนางวิมงั สาเทวีแหงนครปาฎลีบตุ รอันเปนศูนยกลาง การปกครองมหาอาณาจักร เปนผูท รงอิทธิพลอํานาจเหนือกษัตริย เหนือจักรพรรดิใดๆ ในดินแดนชมพูทวีปตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน คราใดที่พระองคทรงสั่งใหลั่นกลองศึกสูสมรภูมิรบ บายหนาไป ในทิศทางใดก็จะสูรบเหยียบยํ่าผูคนในเมืองนครนอยใหญอยาง หาวหาญ ดุเดือดเลือดซานจนผูคนมหาชนที่ถูกฆาลมตายกัน ระเนระนาดนองเลือดอยางนาสยดสยอง จนพระนามของ “จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช” เปนทีข่ ยาดหวาดกลัวสะเทือน สะทานไปทั่วผืนแผนดิน บรรยากาศดินแดนชมพูทวีปในครั้งนั้น มืดมัวสลัวดวยพิษภัยแหงสงคราม การแยงชิงอํานาจขยาย อาณาจักรไปกวางใหญไพศาล แตในหวงลึกของจิตใจผูคนทีต่ อง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๒๓


๓๒๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ประสบความสูญเสียอันใหญหลวง มีความทุกขระทมสุดแสนจะ พรรณนาไดตองตกอยูในหวงแหงทะเลทุกขสุดขมขื่น นํ้าตานอง หนาแทบจะเปนสายเลือด และแลว...ในทีส่ ดุ จุดหักเหแหงกษัตริย นักรบ ที่กระหายแตสงครามกลับแปรเปลี่ยนสถานการณเขาสู อาณาจักรธรรมของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา โดยอานิสงส ของสามเณรนอยในพระพุทธศาสนานามวา “สามเณรนิโครธ” ไดจุดประกายแสงสวางสูบรรยากาศโลกสูดวงหฤทัยของ “จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช” ขณะที่จอมราชันประทับอยูบนสีหบัญชร ไดทอดพระเนตร เห็นสามเณรนิโครธกําลังจาริกออกบิณฑบาตในยามอรุณรุงที่ หนาพระลานดวยกิริยาอาการสงบสํารวม สายตาทอดตํ่าสังวร อินทรียไมหลุกหลิก มีกาย วาจา ใจ อันฝกฝนสํารวม โดยชาติ กําเนิดสามเณรนิโครธ ก็มีสายขัติยะเชื้อราชสนิกูลเปนพระโอรส ขององครัชทายาทนามวา สุสิมะ เปนพระเชษฐาตางพระมารดา ของจอมจักรพรรดิอโศก เมือ่ คราวเกิดศึกแยงชิงบัลลังก เจาชาย สุสมิ ะองครชั ทายาทถูกสังหาร สวนพระชายา นามวาสุมะนาเทวี กําลังทรงพระครรภ จึงไดปลอมตัวเปนสามัญชนอุมทองหนีออก พระราชวังขณะทีถ่ กู ตามไลลาตัวอยางชุลมุนไปปะปนซอนตัวอยู กับพวกวรรณะจัณฑาลคือพวกชนชัน้ ตํา่ สุด และไดคลอดพระโอรส เปนพระราชกุมาร ภายใตตนนิโครธในบริเวณเทวสถานของ พวกจัณฑาล จึงตัง้ พระนามพระราชกุมารวา “นิโครธ” พระมารดา ตองระมัดระวังอยางพิเศษไมใหใครลวงรูถึงความลับ นอกจาก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๒๕


พระโอรสยิง่ เจริญวัยยิง่ กลัวอันตราย จนพระโอรสเจริญมายุ ๗ ป จึงคิดหาทางปลอดภัยที่สุดและมองเห็นชองทางเดียวเทานั้น คือใหบวช จึงไดนําไปฝากฝงมอบใหพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ชื่อ มหาวรุณเถระ ใหทําพิธีบรรพชา ดวยอาศัยที่พระมารดาได ทรงตักเตือนใหตองระมัดระวังตัวตออันตรายอยูเปนนิจ กอนจะ เขาพิธีบรรพชาพอมีดโกนจรดบนศีรษะเทานั้น ก็ไดดวงตาเห็น ธรรม เมือ่ ปลงผมเสร็จก็ไดสาํ เร็จ อรหันตผลทันที ซึง่ ก็เปนสัจธรรม ความจริงโดยธรรมชาติของสรรพสิ่งที่ยิ่งสูยากลําบาก ยิ่งมีสิ่ง ทาทายจากจุดเสีย่ งมากเทาไหร ก็จะเปนโอกาสสรางสถานการณ ที่สําคัญยิ่งใหญสูความสําเร็จสูงสุดยิ่งกวาปกติโดยทั่วไปฉันใด สามเณรอรหันตนโิ ครธก็ฉนั นัน้ ฟงดูแลวชางงายเหลือเกิน แตจดุ แปรเปลีย่ นถึงทีส่ ดุ ก็ตองผานสถานการณอนั สุดแสนเข็ญมาสูจดุ พลิกผันสําคัญยิง่ จนไดบรรลุอรหันตและทําใหไดมาเจอเจาเหนือ หัวจอมจักรพรรดิอโศก เมือ่ จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชพอทอด พระเนตรเห็นสามเณรก็เกิดความรูส กึ ผูกพัน ความรัก ความเอ็นดู ความเคารพเลื่อมใสศรัทธา ความประทับใจทําให จิตวิญญาณ ของจอมจักรพรรดิพลอยสงบเย็นไปดวย และทําใหพระองคฉกุ คิด ขึ้นมาทันทีวา ภายในรางของนักบวชนอยที่มีอายุยังเยาววัย (ละออนนอย) ผูนุงหมผากาสาวพัสตรนี้จะตองมีความพิเศษกวา สามัญชนโดยทัว่ ไปเปนแน จึงไดทรงมีรบั สัง่ ใหอาํ มาตยไปอาราธนา นิมนตสามเณรนิโครธเขาสูในพระราชฐาน พระเจาอโศกทรง ตรัสวา ทานทราบอาสนะทีค่ วรแลวนิมนตนงั่ เถิด สามเณรนิโครธ ๓๒๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เหลียวมองดูขางโนนขางนี้ไมเห็นมีพระภิกษุ จึงเดินสงบสํารวม มิไดตื่นตระหนกวิตกหวั่นไหว เขาไปใกลพระแทนบัลลังก ซึ่งได ยกเศวตฉัตรขึ้นแลวแสดงอาการแด พระเจาอโศก เพื่อตองการ ใหทรงทราบที่จะรับบาตร แลวพระเจาอโศกก็นอมถวายอาหาร จากตนเครื่องเสวยที่เขาเตรียมไวทูลถวายทุกชนิด พระองคได นอมนําอาหารทั้งหมดถวายสามเณรนิโครธ สวนสามเณรนอย อรหันตรับจังหันพอยังชีพใหเปนไปตามอัตภาพเทานั้น พอฉันภัตกิจเสร็จเรียบรอย สามเณรนิโครธก็ไดอนุโมทนา แสดงธรรมโปรดจอมจักรพรรดิอโศกใหไดมองเห็นโทษภัยของ ความประมาท ความคึกคะนองลําพองตนกอกรรมการทําเข็ญ เขนฆา ความอาฆาตพยาบาท จะตองตกอยูในหวงแหงความ หวาดระแวง การจองกรรมจองเวร ทําใหเกิดความวิตกทุกขใจให รุมรอนจากไฟภายนอกและภายในที่แผดเผาเต็มไปดวยพิษภัย อันตรายจากเพลิงบาปอกุศลใหหมนหมองและตองเสวยทุกข สุมไหมจากไฟอเวจีขุมนรกอีกสุดประมาณ แลวสามเณรนิโครธ ก็ไดชี้ทางสวางใหไดทรงหันพระทัยกลับมาสูความไมประมาทให ทรงกลับพระทัยชําระจิตใจใหบริสทุ ธิส์ ะอาดผองใส ให คิด พูด ทํา แตสิ่งที่เปนบุญกุศลสูคุณธรรมคุณงามความดีใหยิ่งๆ ขึ้น ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจาผูเปนองคพระศาสดาทรงตรัสสรรเสริญ ผูก ลับใจจากการทําบาปความชัว่ สูก ารทําบุญกุศลบําเพ็ญสาธารณะ ประโยชนการเสียสละประโยชนตนเพือ่ ประโยชนสงั คมแผอานุภาพ แหงคุณธรรมคุณงามความดีใหปรากฏขึ้นที่ กาย วาจา ใจ ก็จะ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๒๗


ทําใหเปลงประกายฉายออกที่ใบหนาอันอิ่มเอิบเบิกบานมีหัวใจ อันสดชื่นแจมใสหนักแนนมั่นคงเชื่อมั่นศรัทธาในพระรัตนตรัย ดํารงตนดวยหลักสัจธรรม คุณงามความดี ผูน นั้ แลชือ่ วาผูป ระเสริฐ เปนบัณฑิตที่แทจริง อนึ่งพระผูมีพระภาคเจาไดทรงตักเตือนมิใหประมาทในวัย ในความไมมีโรค และไมใหประมาทในการดําเนินชีวิต เพราะทุก ชีวิตกําลังถูกชราดึงเขาไปหาความตายทุกขณะเวลาชีวิตเปนสิ่ง ไมแนนอนไมมีอะไร จีรังยั่งยืน เมื่อมีจุดเริ่มตน ก็ตองพบจุดสิ้น สุดดวยกันทุกคน ไมมใี ครทีจ่ ะเปนใหญตลอดกาล ไมอาจจะทาน อํานาจมัจจุราชไดสักราย ถึงแมจะมีความมักใหญใฝสูงดิ้นรน ตอสูใหไดอํานาจลาภยศอันทรงเกียรติสูงสงและรวยลนฟา ในที่สุดทุกชีวิตก็จําตองละทิ้งสิ่งทั้งปวงไป อีกอยางหนึ่งไมควร ปลอยจิตใจเกิดความประมาทชอบดูถกู เหยียดหยามผูอนื่ การยก ตัวขมทานการชอบใสรายปายสีเพงโทษผูอื่น จะทําใหจิตใจของ เราพลอยเศราหมองขุนมัว เหมือนผงเขาตาทําใหเจ็บปวดพลามัว หรือเหมือนอยูทามกลางความมืดสลัวไมเห็นอะไร เดินควาผิด ควาถูกทําใหเสียศูนยเสียความสมดุล ใชชีวิตใหสิ้นเปลืองเวลา เปลืองตัวหลงมั่วอยูกับความประมาทอยูรํ่าไป อยางในโลกยุค ปจจุบันนี้มีสิ่งบํารุงบําเรอคลุกเคลาอยูกับความเพลิดเพลินกัน จนวาวุนดวยอาภรณมลังเมลืองกลิน่ สาปคาวอันระคนดวยเหยือ่ โลกียรส และดนตรีทว งทํานองเรงเรายัว่ ยวนอารมณใหจติ ใจเตลิด ซึมซับสัมผัสบรรยากาศจากแสงสีเสียงแหงโลกมายาลวงหลอก ๓๒๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ดวยหมอกควันแหงเทคโนโลยี โปปดหลอกลวงตนเองดวยการ เนรมิตสิง่ ทีบ่ นั ดาลใหเกิดความเพลิดเพลินกันอยางหนามืดตามัว ดิ้นกันสุดฤทธิ์โลดแลนกันอยางสุดโตง กูรองวิ่งวอน รองเรียก หาความสุขจากภาพมายา สรางฉากอันวิจิตรดวยแรงฤทธิ์ของ กิเลสความกระหายความอยากความใคร ไมมที สี่ นิ้ สุด จึงตองตก อยูในความประมาท มัวติดยึดไขวควาจะจับแตภาพลวงไมยอม มองชีวิตมองโลกตามความเปนจริง ขอถวายพระพร การกลาวสัมโมทนียกถาของสามเณรนิโครธ ทําใหบรรยากาศ ภายในพระบรมมหาราชวังเงียบสงบทําใหหวั ใจของ จอมจักรพรรดิ อโศกออนโยนและผองใส พระองคทรงเพงพิศสามเณรนอยทีอ่ ยู ในอาการสงบสงางามสํารวมอินทรียนิ่งอยูโดยมีสายตาทอดลง ตํ่าไมหลุกหลิกไมสะทกสะทาน ไมตื่นเตนมีราศีผุดผอง ครูหนึ่งผานไป จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชจึงไดตรัสถาม วา “ทานสามเณร! คําสอนโดยหลักสําคัญของพระศาสดาของ ชาวพุทธทานสรุปแสดงไววาอยางไร ? ขอถวายพระพร! อาตมาภาพทราบวา พระผูมพี ระภาคเจา ทรงประมวลหลักธรรมของพระองคลงในความไมประมาท ตาม นัยแหงทัตถิปโทปมสูตร ที่ทรงเปรียบเทียบวา ความไมประมาท นัน้ เหมือนรอยเทาชางใหญกวารอยเทาแหงสัตวทงั้ ปวง หมายถึง ความไมประมาทยอมครอบคลุมทุกสิ่งทุกอยางทุกประการ แม โอวาทครั้งสุดทายกอนที่จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสัมมา สัมพุทธเจาก็ทรงตรัสยํ้าเตือนใหตั้งมั่นอยูในความไมประมาท อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๒๙


พระคุณเจ้า ! อาการของความไมประมาทนั้นเปนอยางไร ? ขอถวายพระพร ! อาการของความไมประมาทนั้นคือให ระมัดระวังจิตใจมิใหกําหนัดยินดีในอารมณอันนากําหนัด (คือมี สติสัมปชัญญะ รูทันอารมณที่ลุมหลงวามันรุมรอนมองใหเห็น เปนพิษโทษภัยอันใหญหลวง ดวยการบังคับจิตใจใหเขมแข็งทรง พลานุภาพ) ใหระมัดระวังใจมิใหหลงงมงายการสําคัญตน มิให ตกเปนทาสความมัวเมาหมกมุนหลงการพนันการอบายมุขทุก ชนิด และไมใหยึดมั่นมัวเมากับอํานาจลาภยศทรัพยสินศฤงคาร อันเปนอาการของความประมาทงมงายมัวเมาถึงมีชีวิตอยูตั้ง รอยปก็เหมือนคนที่ตายแลว ตรงกันขามผูไมประมาทแมมีชีวิต อยูเพียงวันเดียวมีประโยชนและประเสริฐกวา ซึง่ เปนความงดงาม เบงบานสมบูรณบริบูรณที่สุดแหงคุณชาติของชีวิต พระคุณเจ้า ! ถอยคําแสดงธรรมของพระคุณเจายังความ ประทับใจอิ่มเอิบเบิกบานปลาบปลื้มปติสุขจริงๆ ขาพเจาพอใจ ในถอยคําอันเปนสัจธรรมของพระคุณเจาเปนทีส่ ดุ ไฉนจะไดรจู กั นามของพระคุณเจาบาง? มหาบพิตร ! อาตมาภาพยังเปนสามเณรอยู ในหมูสมณะ เรียกอาตมาภาพวา “สามเณรนิโครธ”จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช ไดทรงสัมผัสลิ้มรสความหอมหวานแหงโอชารสถอยคําอันเปน อมตะแหงสัจธรรมจากสามเณรนิโครธแลว ทําใหดวงหฤทัยของ พระองคอิ่มสุขสงบยิ่งกวาความสุขใดๆ ในโลก เกิดความรูสึก เยือกเย็นอิ่มเอิบซาบซานอยางอัศจรรย ดุจบุคคลที่เหน็ดเหนื่อย ๓๓๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


จากการตรากตรํางานหนักมายาวนานไดพักผอนในบรรยากาศ อันรมรื่นเย็นสบายผอนคลาย ไดดื่มนํ้าอันบริสุทธิ์ ไดอาบนํ้า อันเย็นใสสะอาด แลวไดรับประทานอาหารอันเลิศรส จะรูสึก ปลอดโปรงผอนคลายดับความเหน็ดเหนื่อยใหหายเปนปลิดทิ้ง หรือดุจผูทแี่ บกสัมภาระของหนักมาตลอด ไดปลดปลงปลอยวาง ของหนักจากไหล จะรูส กึ ไดเองวา ทัง้ กาย ทัง้ ใจ เบาสบาย ซึง่ ก็เปนกฎ แหงธรรมชาติทพี่ ระสัมมาสัมพุทธเจาทรงคนพบความจริงอยางยิง่ คือการปลอยวางเปนเปาหมายอันสูงสุดของพระพุทธศาสนา นับตัง้ แตนนั้ มาจอมจักรพรรดิอโศกไดทรงละเลิกการสงคราม หันมายึดหลักเมตตาธรรม และศึกษาธรรมจากพระโมคลีบุตร ติสสะเถระอยางจริงจัง และตัง้ ใจประพฤติใหมนั่ คงในธรรมอยางยิง่ อีกทัง้ ไดนมิ นตพระอุปคุตเถระ นําจาริกแสวงบุญตามสถานทีต่ า งๆ ทีเ่ กีย่ วกับพระบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจา อาทิ สถานทีป่ ระสูติ สถานทีต่ รัสรู สถานทีแ่ สดงปฐมเทศนา สถานทีด่ บั ขันธปรินพิ พาน แลวทรงสรางเสาศิลาจารึก และพระเจดียไวเปนเครือ่ งหมายเปน ประวัติศาสตรของพระสัมมาสัมพุทธเจา ความศรัทธาเลื่อมใส ของจอมจักรพรรดิอโศกมหาราชไดเกิดขึ้นอยางเทิดทูนสูงสุด ถึงกับทรงใชตราธรรมจักรเปนตราแผนดิน แมในยุคปจจุบนั อิทธิพล ของพุทธศาสนาสูญสิน้ ไปแลวจากดินแดนชมพูทวีป ครัง้ ทีอ่ นิ เดีย ตองตกเปนเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษหลายสิบป เมื่อไดรับ อิสรภาพจากอังกฤษโดยเนรูหเ ปนนายกมนตรีคนแรกจึงไดปรึกษา กับผูรู นักปราชญ ทั้งหลายถึงการใชตราเปนสัญลักษณ ของประเทศ จึงเห็นพรอมกันใช “ตราธรรมจักรและเสาอโศก” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓๑


ซึ่งก็เปนสัญลักษณ การหมุนลอธรรมจักรไปทั่วสารทิศ เปน ตราแผนดินและเปนธงชาติของประเทศอินเดีย นี้แสดงใหเห็นถึง อานุภาพแหงสัจธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา และอิทธิพลของ จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชไดเผยแผธรรมณาจักรไดอยาง กวางขวางและไดผลจริงๆ ตั้งแตยุคของพระองคแผขยายสู นานาอารยประเทศตราบทุกวันนี้ ผลงานอันยิง่ ใหญทจี่ อมจักรพรรดิ อโศกมหาราชไดทรงทุมเทอุทศิ ชีวติ เสด็จพระราชดําเนินเพือ่ ฟน ฟู สงเสริมการพระพุทธศาสนาโดยการขุดคนหาพระบรมสารีรกิ ธาตุ จากในพระเจดียตางๆ ๘ แหง แลวอาราธนาแบงบรรจุ สราง เพิ่มเติมเปนการเปนงานสําคัญอยางใหญหลวงทั่วแผนดิน ทั่ว พระราชอาณาจักรสรางวัดสรางพระเจดียส รางเสาอโศกมากมาย ถึง ๘๔,๐๐๐ แหง แลวทําพิธีเฉลิมฉลองสมโภชอยางมโหฬาร ถึง ๗ ป ๗ เดือน ๗ วัน โดยมีพระอุปคตเถระชวยดูแล ความปลอดภัยตลอดงาน เมื่อกอนจะถึงงาน ๗ วันที่จะมีการ ฉลองสมโภช จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชไดตรัสสั่งใหราชบุรุษ เที่ยวตีกลองรองประกาศไปทั่วพระนครวาขอปวงประชาราษฎร ลูกเราทุกคนจงสมานฉันทพรอมใจกันสมาทานองคศีล ๘ พรอมกันเฉลิมฉลองใหเปนมหากุศลทัว่ พระนครใหอลังการทีส่ ดุ จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชพรอมดวยเสนาอํามาตย ประชาราษฎรตกแตงกายดวยชุดขาวตางชืน่ ชมบุญญาบารมีของ มหาราชเจาผูทรงธรรมพากันตามเสด็จสูอโศกรามมหาวิหาร ประทับทามกลางพระภิกษุสงฆหมูใหญดวยความเคารพความ ปราโมทย แลวทรงตรัสคําถามวา ๓๓๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ! ในพระศาสนาของพระทศพล โลกนาถเจาของเราทั้งหลายมีใครบาง ไดสละตนบําเพ็ญทาน มากมายยิ่งใหญกวานี้มีไหม ? ในที่ประชุมสงฆซึ่งมีพระโมคคลีบุตรติสสเถระเปนประธาน จึงไดถวายพระพรวา “มหาบพิตร !ขึ้นชื่อวาผูถวายปจจัยทํานุ บํารุงการพระศาสนาของพระทศพล เชนกับพระองคนับตั้งแต พระพุทธเจาทรงพระชนมายุ จนถึงตราบเวลานี้ ไมมผี ใู ดทีจ่ ะทําได เสมอหรือมากกวา มหาบพิตร พระองคเทานั้น ทรงมีการบริจาค ที่ยิ่งใหญ....” จอมจักรพรรดิอโศกมหาราช ครั้นไดสดับคําวิสัชนาเชนนี้ ความปตปิ ราโมทยแผซานไปทัว่ พระวรกายไดทรงตรัสถามตอไป อีกวา ข้าแด่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ! การที่ไดทุมเทอุทิศเสียสละ คํ้าจุนบํารุงการบวรพระพุทธศาสนามากมายเชนขณะนี้ชื่อวาได เปนทายาทในพระพุทธศาสนาหรือยัง ? มหาบพิตร ! ผูที่จะเปนทายาทในพระพุทธศาสนาใชดวย เหตุเพียงเทานี้ไม ผูถวายการทํานุบํารุงดวยปจจัยเชนนี้เปนเพียง แค “ผูอุปฏฐาก” เทานั้น ถึงมาตรแมนวาบุคคลใดพึงถวายปจจัย ตั้งแตพื้นแผนดินมากมายจนสูงถึงพรหมโลก บุคคลนั้นก็ยัง ไมนับวาเปน “ทายาทในพระศาสนา” ไดเลย อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓๓


ข้าแต่พระคุณเจ้าผูเ้ จริญ ! ถาเชนนัน้ ทายาทในพระศาสนา จะมีขึ้นไดอยางไรเลา ? มหาบพิตร ! บุคคลใดจะเปนกษัตริยก็ตาม จะเปนผูรํ่ารวย มั่งมีก็ตาม จะเปนผูยากจนก็ตาม ไดใหบุตรของตนเองบรรพชา อุปสมบทในพระศาสนา บุคคลเหลานั้นชื่อวาเปน “ทายาทใน พระพุทธในศาสนา” ขอถวายพระพร ครั้นทรงสดับคําวิสัชนาของพระโมคคลีบุตรติสสะเถระเชน นี้ ทรงดําริวา “เราแมไดบริจาคทานมหาศาลเห็นปานนี้แลว ก็ยัง ไมถึงความเปนทายาทในพระศาสนาเลย..” จึงไดมีพระทัยมุงมั่น ตั้งความปรารถนาความเปนทายาทในพระศาสนาอยางทวมทน ทอดพระเนตรไปขางซาย ขางขวาเห็นเจาชาย มหินทราชโอรส ประทับยืนไมไกลจากพระองคนัก แตเดิมเราประสงคจะแตงตั้ง พระราชกุมารพระองคนี้ไวในตําแหนงอุปราช แตการอุปสมบท เปนคุณชาติอันเลอเลิศอุดมกวาตําแหนงเสียอีก...! “ลู ก เอย ลู ก สามารถอุ ป สมบทได้ ห รื อ ไม่ ?....” จอมจักรพรรดิอโศกตรัสถามเจาชายมหินทราชโอรส จําเดิมแตพระติสสะ พระอนุชารวมอุทรพระเจาอโศกได อุปสมบทอยูกอนแลว เจาชายมหินทราชโอรสทรงนอมพระทัยใน การออกบวชอยูแลว พอไดสดับพระราชดํารัสของพระราชบิดา ก็เกิดความปราโมทยปต เิ ปนอยางยิง่ รีบกราบทูลทันทีวา “ขอเดชะ สมมติเทพ ! หมอมฉันพรอมทีจ่ ะอุปสมบท ขอทูลกระหมอมโปรด ๓๓๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


พระกรุณาทรงพระบรมราชานุญาตใหหมอมฉันอุปสมบทแลว จะไดเปนทายาทในพระศาสนา” ในขณะทีพ่ ระนางสังฆมิตตาราชธิดา ประทับยืนใกลเคียงกับ เจาชายมหินท ซึ่งกอนหนานี้เจาชายอัคคิพรหมผูเปนพระสวามี ของพระนางสังฆมิตตาก็ไดออกผนวชรวมกับติสสะ พระเจาอโศก จึงตรัสถาม พระนางสังฆฆิตตาวา “ลูกเอย ลูกสามารถบรรพชาได้ไหม ?” “ทูลกระหม่อม เต็มใจบรรพชา สนองพระกรุณา” พระสังฆฆิตตาทูลตอบดวยความรูสึกปรีดาปราโมทย จอมจักรพรรดิอโศกทรงเบิกบานพระราชหฤทัยยิ่งนัก จึงตรัสกับพระสงฆทั้งหลายวา “...ข้าแด่พระสงฆ์ผู้เจริญ! ขอพระคุณเจาทัง้ หลายจงใหการบรรพชาอุปสมบทแดพระราชบุตร พระราชธิดาของเราดวยเถิด พระสงฆทงั้ หลายไดประกอบพิธอี ปุ สมบทใหแกเจาชายมหินท ซึง่ มีพระชนมายุ ๒๐ ป บริบรู ณ โดยมีพระโมคคลีบตุ รติสสะเถระ เปนพระอุปชฌายะมีพระมหาเทวะและพระมัชฌันติกะเปน พระอาจารย ฝายภิกษุณีสงฆไดทําพิธีบรรพชาแกพระนาง สังฆมิตตา เปนสามเณรรี ขณะพระชนมายุ ๑๘ ป โดยมีพระธัมม ปาลิตเถรีเปนพระอุปชฌายะ ขณะที่จอมจักรพรรดิอโศกเสวย ราชสมบัติได ๖ ป ไดเปนทายาทในพระพุทธศาสนาดวยความ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓๕


ภาคภูมิพระราชหฤทัยเปนอยางยิ่ง นับตั้งแตนั้นมาจึงถือเปน ธรรมเนียมเมื่อลูกชาวบานชาวเมืองมีอายุครบ ๒๐ ป บริบูรณ ก็จะนิยมบวชเปนพระภิกษุและแมอายุยังนอย (เปนละออน) ก็จะบวชเปนสามเณรทดแทนพระคุณของบิดามารดามาตราบจน ทุกวันนี้ จึงนับวาเปนอานิสงสอนั ใหญหลวง ทีจ่ อมจักรพรรดิอโศก ไดเพาะหวานเมล็ดพันธุแหงตนกลาสายพันธุดคี อื พระมหินทและ พระนางสังฆมิตตาไดเพาะลงในเนือ้ นาบุญจึงเจริญงอกงามไพบูลย แผกวางไพศาล คุณปู การของจอมจักรพรรดิอโศกมหาราชทรงไดทาํ นุบาํ รุง การพระพุทธศาสนาอยางเต็มความสามารถ พระองคไดทรงใช พระราชอํานาจสะสางมลทินในพระศาสนาอยางเฉียบขาด ใครที่จะกระทําไดเหมือนพระองคไมมีอีกแลว และทรงใชบารมี อันลนฟาของพระองคทํานุบํารุงการพระพุทธศาสนาใหแก ชาวโลกอยางไดผลเปนที่ประจักษครั้งยิ่งใหญนั้นคือ พระองคได อํานวยการใหความสะดวกแกคณะสงฆโดยมีพระโมคคลีบตุ รติส สะเถระเปนประธาน พรอมดวยพระสงฆจํานวน ๑,๐๐๐ รูป ทําสังคายนาพระไตรปฎกครัง้ ที่ ๓ ณ วัดอโศการาม นครปาฏลีบตุ ร ใชเวลา ๙ เดือนจึงสําเร็จ ชวงเวลาทําสังคายนาพระโมคลีบุตร ติสสระเถระอายุ ได ๗๒ พรรษาเปนปที่ ๑๗ ทีจ่ อมจักรพรรดิอโศก ไดเสวยราช ซึ่งวัดอโศการามแหงนี้มีพระอุปคุตเปนแมงานคอย ควบคุมดูแลการกอสรางโดยความอุปถัมภของพระเจาอโศก ๓๓๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


เมื่อทําสังคายนาพระไตรปฎกสําเร็จเรียบรอยสมบูรณแลว จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชจึงไดทรงปรึกษาคณะสงฆซึ่งมี พระโมคคลีบุตรติสสะเถระเปนประธานถึงการที่จะสงสมณะฑูต ไปเผยแพรพระพุทธศาสนา โดยมีศูนยกลางอยูที่มหานครปาฎลี บุตรเปนราชธานี จัดไปเปนสายใหญทั้งหมด ๙ สาย ดังนี้ ๑. คณะพระมัชฌัตติกะไปเผยแผธรรม ณ แควนกาศมีระ และคันธาระ ปจจุบันไดแกดินแดนแถบตะวันตกเฉียงเหนือของ อินเดีย กินเขาไปถึงบางสวนของอาฟกานิสถาน ๒. คณะมหาเทวะไปเผยแผธรรม ณ แวนแควนมหิสมณะ ปจจุบันไดแกแควนไมเซอรและดินแดนแถบลุมแมนํ้าโคธาวารี อยูทางใตของอินเดีย ๓. คณะพระรักขิตะ ไปเผยแผธรรม ณ วนวาสีประเทศ ไดแกแวนแควนกนราเหนือทางภาคตะวันตกเฉียงใตของอินเดีย ๔. คณะพระธรรมรักขิต เปนชาวฝรั่งชาติกรีกคนแรกที่ บวชเปนภิกษุไปเผยแผ ณ อปรันตกชนบทสันนิษฐานวาเปนแถว ชายทะเลเหนือเมืองบอมเบยในปจจุบัน ๕. คณะพระมหาธรรมรักขิตไปเผยแผธรรม ณ แควน มหาราษฎร ปจจุบันเปนดินแดนแถบตะวันออกเฉียงเหนือหาง จากบอมเบย ๖. คณะพระมหารักขิต ไปเผยแผธรรม ณ โยนกประเทศ ไดแกแวนแควนของฝรั่งชาติกรีกในทวีปอาเชียตอนกลาง เหนือ ประเทศอิหรานตอขึ้นไปถึงเตอรกีสถาน อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓๗


๗. คณะพระมัชฉิมะ ไปเผยแผธรรม ณ แควนดินแดน แถบภูเขาหิมาลัย ๘. คณะพระโสณะและพระอุตตระไปเผยแผธรรม ณ ดินแดนสุวรรณภูมิ คือผืนแผนดินไทย ๙. คณะพระมหินทระ ไปเผยแผธรรม ณ ประเทศลังกา จากผลงานอันยิ่งใหญที่จอมจักรอโศกมหาราชทรงเปน เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภอยางทุมเทอุทิศพระองคดวยชีวิต จิตวิญญาณไดมอบใหเปนมรดกสําคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใดไวบน ผืนแผนดินโลก แมนจะผานกาลเวลาอันยาวนานถึงสองพัน กวาปถอื วายังเปนผลงานอันโดดเดนเลอเลิศลํา้ คาอยางยิง่ สําหรับ มวลมนุษยชาติ ทําใหพระพุทธศาสนามีอัตลักษณพิเศษทั้งใน อินเดียและตางประเทศ ทําใหชาวโลกไดรูจักพระพุทธศาสนา ในฐานะเปนแสงสวางของโลก จนถึงกับทําใหองค์การยูเนสโก้ (unesco) ไดรว มกันคนหาจุดเดนสูงสุดของทุกศาสนาทีเ่ ปนสากล ที่สุด จากการ กลั่นกรองขององคการสหประชาชาติแลวตางก็ สรุปยอมรับวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาเพียงหนึ่งเดียว ที่พระพุทธเจาไดทรงสั่งสอนและยอมรับผูคนทุกชนชั้น ดวยหลัก เมตตาไมตรี มิไดมขี อยกเวนเปนผลสําเร็จทีพ่ สิ จู นไดโดยหลักการ ทีเ่ ปดเผยและเรียบงายตามธรรมชาติเปนความจริงทีส่ ดุ ตามหลัก สากล จึงไดพรอมกันเปนเอกฉันทประกาศเอาวันประสูติ วันตรัสรู และดับขันธปรินพิ พาน คือวัน “วิสาขบูชา” เปนวันสำาคัญสากล ของโลก ๓๓๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แม้อัลเบิร์ต ไอสไตน์ ยอดนักวิทยาศาสตร์อัจฉริยะ ของโลก ผูซึ่งคนพบพลังงานปรมาณูที่มีพลังมหาศาลในดาน วิท ยาศาสตร ได ใ ห ค วามเคารพยกย อ งพระพุ ท ธศาสนา เปนศาสนาสากลจักรวาล ทานไดกลาวไวดังนี้ “.....ศาสนาในอนาคตที่เปนศาสนาสากลจักรวาล ซึ่งสอนให้ข้ามพ้นเรื่องพระเจ้าที่มีตัวตนและไม่มีเรื่องความ เชือ่ แบบฝงหัวเทววิทยา ศาสนานัน้ ครอบคลุมเรือ่ งธรรมชาติ และเรื่องจิตวิญญาณ ตั้งอยู่บนฐานความรู้สึกทางศาสนา อันเกิดจากประสบการณ์ แห่งสรรพสิ่ง ทั้งเรื่องธรรมชาติ และจิตวิญญาณ เปนเอกภาพรวมอย่างมีความหมาย พระพุทธศาสนาสามารถตอบสนองสิง่ ทีพ ่ รรณนามานี้ ถ้าจะมี ศาสนาใด ที่เข้ากันได้กับความต้องการทางวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ศาสนานั้นก็คือ พระพุทธศาสนา” ความบริสทุ ธิแ์ หงสัจธรรมความจริงทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงนํามาเปดเผยประกาศเปนการเปดใจกวาง ดวยเมตตาธรรม แลวชีใ้ หมองเห็นหลักธรรมชาติจดุ เริม่ ตนของชีวติ ยอมมีการกาว เดินที่ผิดพลาดไดเปนของธรรมดาทั่วไป แตเมื่อรูตัววาผิดพลาด ไปแลวก็ใหหนั กลับมามองพฤติกรรมของตนทีไ่ ดกอกรรมทําเข็ญ มามากนอยเพียงใด แลวกลับใจชําระกาย วาจา ใจใหผองใสมา ทุมเทอุทิศชีวิตประพฤติตนเปนสาธุชนบําเพ็ญตนเปนผูเสียสละ เพือ่ ประโยชนสขุ ตอผูอนื่ และสังคม พระพุทธเจาทรงยอมรับผูนนั้ วาเปนผูรูเปนบัณฑิตนักปราชญ ดังเชน จอมจักรพรรดิอโศก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๓๙


มหาราชที่กลับพระทัยจากการทําสงครามมาสูการสงเสริม ธรรมยาตรา การสัญจรจาริกไปยังพุทธสถานสําคัญตางๆ เสด็จ พระราชดําเนินตามรอยพุทธบาทพระสัมมาสัมพุทธเจาจนปรากฏ เปนผลงานอันใหญหลวง และทําใหพระนามของพระองคเปนที่ แซซองสรรเสริญเปนมหาจักรพรรดิผูทรงธรรมยิ่งใหญที่สุด จนกษัตริยทั้งหลายทั้งในอดีต และปจจุบันที่พระพุทธศาสนาแผ ไปถึงก็จะเจริญรอยเปนพระมหากษัตริยผูทรงธรรมตามอยาง จอมจักรพรรดิอโศกมหาราชทุกประเทศ จนเกียรติศัพทของ พระองคฟุงขจรขจายเปนที่รูกันไปทั่วโลก ถึงกับทำาให้ เอช.จี.เวลส์ ปราชญ์เรือ่ งนามของโลก บันทึก เปนประวัติศาสตรโลกไววา “...ท่ า มกลางพระนามจำ า นวนหมื่ น พระนามของ กษัตริย์ทั้งหลายผู้ครองราชสมบัติ ในโลกประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ พระนามพระเจ้าอโศกส่องแสงเจิดจ้าโดดเด่น เพียงพระนามเดียวเปนดาราดวงเดียวเท่านั้น...”

๓๔๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ธรรมชาติที่เปนธรรมดาของปรากฏการณ

สิง่ ทีเ่ ปนปรากฏการณในโลกในจักรวาล สูววิ ฒั นาการของ

มนุษยรวมทั้งสัตวและแมลงตลอดถึงเซลลที่กอเกิดสิ่งมีชีวิต ทั้งหลาย เปนปรากฏการณธรรมดาๆ และเปนกฎของธรรมชาติ ไมใชเปนสิ่งใหม เชนเปนเรื่องดึกดําบรรพ เรื่องพิสดาร เรื่องที่นา อัศจรรยอะไรที่อาจจะคิดได ๒ ทางแหงอารมณ เชนทางลบ คิดเปนเรื่องนากลัวสะดุงหวาดหวั่น ความยุงเหยิงวุนวาย ความ ยุงยากสับสน ความอัปลักษณ ความนารังเกียจ นาชัง นารําคาญ ความชัว่ ชาระยํา ความผิดพลาดอันนาละอาย นาซํา้ เติม เหยียดหยาม ความผิดหวังทีจ่ ะตองชอกชํา้ ระกําหมนหมองใจ ทางบวก เชนเรือ่ ง ที่นาพึงปรารถนา นายินดีปรีดา จนตองหลงคลั่งไคล หรือความ เงียบสงบ หรือปญญาอันเลอเลิศ ความสะดวกสบายความงดงาม อะราอรามอลังการ อันชวนใหชื่นชมใหหลงรักนายินดีนา พึงปรารถนา สิ่งดีงามที่จะตองหลงเคลิบเคลิ้มใฝฝนสูความ โดดเดนสูงสงเลิศลํา้ ความสําเร็จสมปรารถนา ความนาภาคภูมใิ จ ทุกอยางทุกประการเปนเพียงปรากฏการณ เปนเพียงปรากฏการณ ตามธรรมชาติซึ่งที่จริงเปนเรื่องธรรมดา อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๔๑


โดยธรรมชาติของปรากฏการณ ฟาผาฟาฟาด ฟาสวยงาม ฟาสงบ พายุลมฝนกระหนํ่ารุนแรงนํ้าทวม ความแหงแลงกันดาร สันติภาพและสงคราม ความรักอันหวานชื่น ความชมชื่นความ ชิงชัง ความสุขสนุกสนานรื่นเริงบันเทิง ความทุกขยากแสนเข็ญ สุดแสนทรมานลําบาก การมีมิตรภาพไมตรีจิตผูกพันฉันทญาติ ความเหินหางความผูกอาฆาตมาดราย ความงดงามของมวล ดอกไมนานาพันธุ ความสวยงามของผูหญิง ความสงางามของ ผูชาย ความแหงแลงเหีย่ วเฉา ความเจ็บปวยความแกหงอมเหีย่ ว ยน หมดความสวยหมดเสนห หมดกําลัง หมดความสามารถและ ตองสยบตอความตาย และความวางอันเวิ้งวางสงบเงียบ สรรพสิ่งดังพรรณนามานี้และนอกเหนือกวานี้ เปนเพียง ปรากฏการณของธรรมชาติเปนของธรรมดาที่สุด ไมมีอะไรสลับ ซับซอน ไมมีอะไรที่จะเปนไปไมได และไมมีอะไรที่จะเปนเชนนี้ ตลอดกาล เพราะนั่นคือปราฏการณแหงความเสมอภาคของ สรรพสิง่ ทีจ่ ะตองเปน อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาสุญตา (คือความ เปลี่ยนแปลง แปรปวน ไรตัวตน)

๓๔๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ขอคิดและคติธรรมทายเลม

“ในโลกนี้ไมใชมีแตหนทางที่ราบรื่นเสมอไป มีความจริง

ก็มีความเท็จ มีสิ่งผิดก็มีสิ่งถูกที่ควบคูกันไปตลอดกาลเปน ธรรมดา สัจธรรมบางครั้งก็เผชิญกับความบิดเบือน จึงสามารถ เปลงรัศมีความเจิดจาออกมาใหเห็น ประวัตศิ าสตรมกั เต็มไปดวย หนทางคดเคี้ยว เต็มไปดวยหลุมบอขรุขระ บางครั้งเทพเปน ฝายชนะ บางครั้งมารเปนผูพิชิต” “การพูดหรือการตินั้นงาย แตความยากคือการทําใหสําเร็จ” “อยากินผิดของ อยามองผิดจุด อยาหยุดผิดกาล” “หญิงจะชั่วเพราะลิ้นชาย ชายจะวายเพราะกายหญิง” “ที่พักครั้งสุดทายของชีวิตคือปาชา” “การแตงงานคือหุนสวนชีวิตและนํ้าตา” “จะไปตี๋กลองแขงฟา จะไปขี่มาแขงตะวัน” “ชีวิตไมพอแกตัณหา เวลาไมพอแกความตองการ” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๔๓


“ขุนเขาไมหวั่นไหวเพราะแรงลมฉันใด บัณฑิตก็ไมหวั่นไหวเพราะนินทาสรรเสริญฉันนั้น” “มนุษยชาติและสิ่งมีชีวิตทั้งหลายอุบัติขึ้นมา ในโลกหนึ่งหมื่นพันลานป” “ระฆังดังเพราะคนตี แตคนดีไมตองตีก็ดัง” “สังคมจะดีไมได ถาไมมีคนเสียสละ” “การศึกษาไมใชการเรียนๆ ทองๆ แตเปนการเห็นอยางถูกตองและสมบูรณดวยตนเอง” “ความสุขสําราญที่ไมมีธรรมะเปนรากฐาน ก็คือความทุกขทรมานที่กําลังรอเวลาอยู” “โลกบูชาคนเกงทางสันติภาพ ไมมีใครไหวผูเกงทางสงคราม” “จงทุมเทสติปญญามานะพยายามใหถึงที่สุด ในเมื่อไดดํารงตนอยูบนแนวทางที่ถูกตองแลว” “อนาคตมีคามหาศาล โชคชะตาอยูที่ความเพียร” “บุญนําทานมา กุศลพาทานกลับ” “ซื่อสัตย ขยัน และกตัญู คือหลักการของการดําเนินชีวิต” “การใหอภัย จะไรความกังวล” “นกไมมีขน คนไมมีความรู ขึ้นที่สูงไมได” ๓๔๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“ของดีที่สุด ยอมพบอุปสรรคมากที่สุด” “ผูรูธรรม ชอบเอาชนะใจตัวเอง” “ถาตองการเปนอิสระ ตองชนะตัณหา” “บุญคุณตองทดแทน แคนตองใหอภัย” “ความรักคือสวนดอกไมที่รดดวยนํ้าตา” “เวลาดู สติอยูที่ตา เวลาฟง สติอยูที่หู เวลาเขียน สติอยูที่มือ เวลาคิด สติอยูที่ใจ” “ชีวิตที่ไมเคยประสบการตอสู ยอมเปนชีวิตที่ออนแอ” “มิตรภาพประกอบขึ้นจากหูที่ยอมรับฟง หัวใจที่เมตตาและมือพรอมที่จะชวยเหลือ” “เพื่อนควรทนรับความบกพรองของเพื่อน” “ผูที่มีประโยชนมากที่สุดคือผูซึ่งรูวิธีอยูรวมกับผูอื่น” “มนุษยสัมพันธคือ ศาสตรที่สําคัญที่สุดในการดําเนินชีวิต” “บุคคลแรกที่เราตองตรวจสอบคือตัวเราเอง” “ผูไมรูจักตัวเองมักทําลายความสัมพันธกับคนรอบขางเสมอ” “ศัตรูตัวรายกาจของเรา คือความเขาใจตัวเองผิด” “ผูที่ไมใหอภัยคนอื่นก็เทากับทําลายสะพาน ซึ่งตนเองจะตองใชขาม” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๔๕


“รากแกวงดงามคือความคิด เมตตาจิตนั้นเปนสวนศรี เอาสุนทรวาจาเปนมาลี เอาความดีเปนผลของตนเอย” “ถึงพอจนทนไดไมทุกขหนัก เทาลูกรักประพฤติตนเปนคนชั่ว ลูกกี่คนทนเลี้ยงไมหมองมัว ไมโศกเศราเทาลูกตัวชั่วระยํา” “กานบัวบอกลึกตื้นชลธาร มารยาทสอสันดานชาติเชื้อ โฉดฉลาดเพราะคําขานควรทราบ หยอมหญาเหี่ยวแหงเรื้อบอกรายแสลงดิน” “พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย สถิตทั่วแตชั่วดี ประดับไวในโลกา” “สอนคนอื่นเชนไร ควรทําตัวเชนนั้น ฝกตนเองไดแลว จึงควรฝกผูอื่น เพราะวาตัวของเราเอง ก็ฝกยากยิ่งนัก” “ยังกิญจิ สุมทะยะธัมมัง สัพพัญตัง นิโรธธัมมัง สิ่งใดก็ตามมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งทั้งปวงนั้นยอมมีความดับไปเปนสภาพธรรมดา” ๓๔๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“ธรรมวินัยใดที่เปนไปเพื่อความเกียจคราน ธรรมวินัยนั้นไมใชของเราตถาคต” “โอชีวิต คิดขึ้นมา นาอนาถ เชาอุมบาตร ลาดตระเวน เชนทหาร วอนพี่นอง ใสบาตรนิด คิดเปนทาน อยาประจาน วาหลวงพี่ นี้ยากจน” บาป ๗ ประการในทัศนะของมหาตมะ คานธี “เลนการเมืองโดยไมมีหลักเกณฑ หาความสุขสําราญโดยไมยั้งคิด รํ่ารวยเปนอกนิษฐโดยไมตองทํางาน มีความรูมหาศาลแตความประพฤติไมดี คาขายโดยไมมีหลักศีลธรรม วิทยาศาสตรเลิศลํ้า แตไมมีมนุษยธรรม บูชาสูงสุดแตไมมีความเสียสละ” “จงพอใจในชีวิตของตนเอง โดยไมตองเอาไปเปรียบเทียบกับชีวิตของผูอื่น” “สายธารธรรมชุมฉํ่าเย็น ใหเปนสุขดับความทุกขดับกระหายมลายสิ้น” “มีความโกรธอยูในใจ เหมือนมีไฟมาสุมทรวง โกรธคนอื่น เหมือนจุดไฟเผาตัวเอง เมตตาคนอื่น เหมือนสรางบานใหตนเอง” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๔๗


คําคมจากบทกลอน วรรณคดีและวรรณกรรม “รักใดเลารักแนเทาแมรัก ผูกสมัครรักแทไมหวั่นไหว หวงใดเลาเทาแมหวงดังดวงใจ ที่แมใหกับลูกอยูทุกครา ยามลูกขื่นแมขมอยูหลายเทา ยามลูกเศราแมโศกวิโยคกวา ยามลูกหายไปแมหวงดังดวงตา ยามลูกกลับมาแมหมดลดหวงใย ยามมีกิจหวังใหเจาเฝารักษา ยามถึงคราลวงลับดับชีวา หวังใหเจาปดตาเวลา...ตาย...” “อันความกรุณาปราณี จะมีใครบังคับก็หาไม หลั่งมาเองดุจสายฝนอันชื่นใจ จากฟากฟาสุราลัยสูแดนดิน” “ถาทําผิดกฎหมาย จะถูกจําคุกในเรือนจํา ถาทําผิดศีลธรรม จะถูกจําคุกในเรือนใจ” “คนเกงๆ นั้นมีมาก คนดีๆ ก็มีดาษดื่น คนรํ่ารวยก็มีมากมาย แตคนที่เสียสละนั้นหายากมาก” ๓๔๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“เขาก็คน เราก็คน ยนยอหรือ เขาก็มือ เราก็มีหัตถ ไมขัดสน เขาทําได เราทําได ไมอับจน เกิดเปนคน ไมคิดสู ดูใชคน” “โชครายไมไดมาจากการบันดาลของผีสางที่ไหน แตมาจากความประมาทไมรอบคอบของบุคคลนั้นเอง” “ใบไมสะบัดพลิ้วได เพราะลมพัด ลิ้นคนสะบัดพลิ้วได เพราะประโยชนพัด” “ผูกินเกินพอดี จงเตรียมตัวไวใหเต็มที่ เพื่อพบความไมมีอะไรจะกิน ผูกินอยูแตพอดี มีโอกาสจะเกิดความอารี แกผูไมมีอะไรจะกิน” “ลมเอง ลุกเอง ลมตรงไหน ลุกตรงนั้น นั้นแหละ ความเขมแข็ง” “ชีวิตนี้มีหวัง ยังตองเกิด รีบทําเถิดความดี ยอมมีผล บุญจะนําตามลิขิต ชีวิตตน ติดตามตนตอไปใน โลกหนา” “ความยากลําบาก กุศลธรรมเจริญยิ่ง ความสามารถก็ไรความหมาย ถาไมมีการเผชิญอุปสรรค” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๔๙


“บังคับใจไวไดเปนกําไรชีวิต ตามใจทุกอยางจะขาดทุนจนหมดตัว” “อยากมีเงิน ตองทํางาน จึงพานพบ อยากเรียนจบ ตองขยัน หมั่นศึกษา ถาอยากรัก ตองฝกใฝ เวียนไปมา อยากมีหนา เสนอหนา อาสาคน” “ยิ้มเถอะนะ หัวใจ อยาไดบึ้ง ยิ้มใหซึ้ง ตรึงใจ ใบหนาหวาน ยิ้มไปเถิด ยิ้มสู หมูภัยพาล ยิ้มชื่นบาน ซึ้งมิตร ชวนติดใจ” “จงสละทรัพย เพื่อรักษาอวัยวะ ควรสละอวัยวะ เพื่อรักษาชีวิต ควรสละทั้งทรัพยและชีวิต เพื่อรักษาธรรม” “เมื่อใด ไดความสุข ใหระวังทุกขจะปะปน เมื่อดี มาถึงตน ใหระวังชั่วอยามั่วดี” “กตัญู กตเวที นั้นดีเลิศ เปนเครื่อง เชิดชูสงา เพิ่มราศี เปนรากแกว ขวัญคน ของคนดี เปนสักขี ชี้ใหเห็น วาเปนคน”

๓๕๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“จะรวย ขอใหรวย ในทางดี จะหนี ขอใหหนี ในสิ่งชั่ว จะกลัว ขอใหกลัว ในสิ่งบาป จะกราบ ขอใหกราบ ในผูทรงศีล” “เปลวเทียนละลายแทง เพื่อเปลงแสงอันอําไพ ชีวิตเรามลายไป เหลือทิ้งอะไรไวทดแทน” “ตื่นเชา ใหลางหนา (ตองมีความเห็นชอบ) กลางวัน ใหลางใจ (ตองตรวจสอบตนเอง) กอนนอน ใหลางเทา” (ดําเนินชีวิตเรียบงาย) ๑. ๒. ๓. ๔.

เมา ๔ แบบ เมาสุราหมดสําคัญ เมาการพนันหมดตัว เมามิตรชั่วหมดความดี เมาสตรีหมดสตางค

“อุปนิสัยเปนเรื่องที่จะตองแกไขปรับปรุงจุดดอย แตพรสวรรคเปนเรื่องที่ตองนํามาใชเปนจุดเดน” “ความหายนะทั้งหลายในโลกนี้ ครึ่งหนึ่งมาจากคนเราอยากมีความสําคัญ” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕๑


“ผูที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดคือคนที่มองตัวเองดี และมองไดตรงกับความเปนจริง และมองผูอื่นวามีศักยภาพที่จะพบความสําเร็จ ขณะเดียวกันเขาจะถูกดูดเขาหาผูที่ประสบความสําเร็จเหมือนกัน” “มนุษยเรามีความสามารถตามธรรมชาติมากมาย ที่จะเขาใจทุกคนในโลก ยกเวนตัวของเราเอง ถาไมรูจักตัวเองแลวก็ยากที่จะเขาใจผูอื่น” “ไมมีความสําเร็จที่ยิ่งใหญครั้งใด จะสําเร็จลุลวงดวยบุคคลเพียงคนเดียว คนที่มีความเจ็บปวด มักทําใหคนอื่นเจ็บปวดดวย และตนเองก็เจ็บปวดเพราะคนอื่นไดงาย” “ศิลปะในการพูดไมใชพูดในจังหวะที่เหมาะสมเทานั้น แตจะตองเวนไมพูดเรื่องบางอยางออกไป ไมวาเรื่องนั้นจะเยายวนการพูดสักเพียงไรก็ตาม” คาถาถอนพิษ “ถาถูกดาวาดวยถอยคํารุนแรงดุราย จงตอบกลับดวยวาจาสุภาพออนโยนและนุมนวล ตองทําใจดีสูเสือเอาชนะความชั่วดวยความดี ถาเจอคนอารมณรายจงพยายามเอยชมเขาใหมากๆ จากรายก็จะกลายเปนดี” ๓๕๒

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


“ในคนดียอมมีเลวปนอยูกึ่งหนึ่ง ในคนเลวยอมมีคนดีปนอยูกึ่งหนึ่งดวย” “การเอยชมคําหวาน ชวยใหจิตใจคนเบิกบาน คําวิพากษวิจารณ ทําใหคนฟงหอเหี่ยว” “การเอาชนะใจคนตองเริ่มตนดวยการคํานึงถึงคนอื่นกอน นี้เปนหลักพื้นฐานของผูนําในหมูชน” “คนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองจะมีสุขภาพดี มีอายุยืนยาวและมีหัวใจที่แข็งแกรง” “หนุมสาวกอนแตงงานมักคิดวาอีกฝายทําอะไรถูกไปหมด แตตอนที่กําลังคิดจะหยาจะมองอีกฝายทําผิดไปเสียทุกเรื่อง เขากับคําพังเพยที่วา เมื่อยามรักนํ้าตมผักยังวาหวาน เมื่อยามชังแมนนํ้าตาลก็พาลขม” “วิธีจูงใจคนที่ไดผลดีคือ การรับฟงสิ่งที่เขาพูด และตองทําใหเขาเชื่อวาคุณเปนเพื่อนผูจริงใจ” “สาเหตุแหงความแตกราวคือ การหมดสิ้นความไววางใจกัน ความไววางใจเปนรากฐานของความสัมพันธทุกชนิด ถาปราศจากความไววางใจผูนําก็ทํางานไมได” “การไววางใจผูอื่นเปนการเสี่ยง ทวาสิ่งที่ไดรับกลับมากคุมคา” อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕๓


“คนยอมมีความสําคัญเหนือสิ่งอื่นใด ทรัพยสินอํานาจเปนของชั่วคราว ไมจีรังยั่งยืน ไมมีของขวัญใดยิ่งใหญกวาการทําใหคนอื่นรูสึกสบายใจ” “ผูนําตองมีหัวใจดุจราชสีห มุงมั่นสิ่งใดจงกาวไปเถิด อุปสรรคกีดขวาง คนจริงฝาไปไดไมยากเย็น เทพเจาแหงความสําเร็จ ชอบคนกลา กลาๆ กลัวๆ มิใชผูนํา” “ไดก็ไมดีใจ ไมไดก็ไมเสียใจ ไมรีบไมเรง ไมทะยานอยากได ถึงก็ชางไมถึงก็ชาง เดินไปเรื่อยๆ มุงสูทางสงบ เหนื่อยก็พัก” ชีวิตคือทะเลทุกข ณ หวงแหงความทุกขและยุคเข็ญ บรรดามหาบุรุษ และวีรสตรีมักจะเกิดขึ้นขณะนั้นเสมอ ธรรมชาติแหงสัจธรรมของความทุกขทุกประการ ยอมชดเชยโอกาสงามๆ แกคนผูคนหาวิถีทางทุกขณะเวลา แมนองคพระจอมมุนีก็อุบัติขึ้นดวยเหตุอันเดียวกันนี้ เพราะฉะนั้นความทุกข จึงเปนบรมครูของโลก และเพราะความทุกขนี้แหละทําใหโลกงดงามมีคุณคา หวงแหงทะเลทุกขนี้แหละ คือแหลงอมฤตที่บัวแดง ๓๕๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


แหงพุทธชาดไดอุบัติเบงบานสะพรั่ง ทุกยุคทุกสมัย และตลอดกาล สัจธรรมของชีวิต ทุกกาลเวลา ที่เฝาดูความสุขความสําเร็จ ความอิ่ม ความประทับใจของชีวิต แมเรื่องของความสับสนวุนวาย เรื่องภาระปญหาอันหนักหนวงยิ่ง กับเรื่องอื่นอีกจิปาถะ ความไมสบายเจ็บไข ความเปนหรือความตาย ความพลัดพรากโศกเศราสะเทือนใจ ความไมสะดวกขัดของ เรื่องทั้งหลายทั้งปวงของชีวิตและโลก ทุกยุคทุกสมัย ทุกอยาง ทุกเหตุการณ ตลอดวัน ตลอดคืน ตลอดป และตลอดกาล ทุกสิ่งลวนเปนเพียงภาพอันเลือนราง หาใชอะไรทั้งสิ้น แมอาการเฝาดู มองโลกอยางผูรู สูทั้งหลาย : จงมาดูโลกอันตระการดุจราชรถ ที่พวกคนเขลาหลงหมกมุนอยู แตผูรูหาของอยูไม อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕๕


ยิ้มใหโลกทาพิสูจน อันความสําคัญมัน่ หมายในตัวตนนัน้ ไซรปราศจากสาระแกนสาร จิตใจที่สะทอนความอยากอันหลากหลายก็เปนเพียง ภาพลวงตา ความจริงแลวสรรพสิง่ ไมมอี ะไรจีรงั ยัง่ ยืนเลยแมสกั สิง่ เดียว จะมัวเมาวนเวียนเสียเวลาของแวะยึดติดกับอะไรอยูท าํ ไมเลา! ดังนั้นจงรีบปลอยวางละทิฐิถือตนใหเฉียบขาดฉับพลันเถิด จงอยูกบั ธรรมชาติจนกลมกลืนเปนหนึง่ เดียวอยางธรรมดา ที่สุด อยูกับดอกไม พื้นดิน ผืนหญา กอนหิน แลวยิ้มใหฟา ยิ้มใหจิต อา! วิเศษจริงๆ! ความมหัศจรรยของธรรมชาติอัน สุดแสนธรรมดานี้ นิพพานัง ปรมัง สุขัง สุขอื่นหมื่นแสน ไมมาตรแมนความสงบ มหาวิทยาลัยชีวิต บทเรียนที่จะสามารถทดสอบผ่านสู่เปาหมายความ สำาเร็จของชีวติ ตองเปนตัวประสบการณเฉพาะตัว ไมมใี ครหนา ไหนจะใหผูอื่นได ดังนั้น บทเรียนที่ดีที่สุด คือ จากตัวชีวิตของเราเองเทานั้น เมือ่ เขาใจถึงชีวติ จิตใจตัวเองไดแลว จะเปนวิถที างสูค วามเขาถึงใจ ๓๕๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ซึ่งกันและกัน จนเปดใจกวางยอมรับจุดเดนของผูอื่นใหผสาน ความคิดที่แตกตางใหหลอมรวมกันไดจนถึงที่สุด จะไมมีการ แยกแยะความเปนพวกเขา-พวกเรา ตัวเราหรือผูอนื่ ความสําคัญ ตน ความหยิง่ ยโสโอหังถือตัว จะถูกพัฒนาสูค วามสุภาพออนนอม ถอมตน ความเขมแข็งอดทน ความเสียสละ ความเมตตาอารี ความเห็นอกเห็นใจ การใหอภัย อันเปนสายธารแหงชีวิต สูความ สงบรมเย็นดวยมิตรภาพ ภราดรภาพ ภัยใหญที่ตองระวังที่สุด คือความใคร ความอยาก อํานาจยศถาบรรดาศักดิ์ ความหยิง่ ผยองสําคัญตัว ลาภสักการะ ชือ่ เสียง เกียรติคณ ุ เสียง สรรเสริญเยินยอ เปนสิง่ แสลงเลวรายตอความสงบสุขเปนพิษภัย อันตราย ตอการประพฤติธรรม และเปนศัตรูรายกาจทีส่ ดุ ของชีวติ ศาสตรสุดยอดของชีวิต การมีความรูเรื่องอะไรตางๆ มากมายอยางไรก็แลวแต ไมอาจเปรียบเทียบกันไดกับความสามารถหยุดการแสวงหาทุก อยางทุกประการ ซึ่งการทําไดดังนั้นเปนสิ่งสูงสุดเหนือสิ่งทั้งปวง ธรรมชาติที่แทจริงของชีวิตนั้น ถาเขาใจซึมซาบแลว คําพูด ของมนุษยทกุ ภาษา ไมสามารถจะอรรถาธิบายหรือเปดเผยมันได การบรรลุเปาหมายอันสูงสุดของชีวิตนั้นมันไมมีอะไรจริงๆ ที่จะใหใครๆ ตองรูหรือเขาถึง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕๗


ศิลปะสุดยอดของชีวิต ไมจําเปนตองพูดอะไรใหมากคําจงทําจิตใหเปนหนึ่ง แลวหุบปากนิ่ง อยาไดเที่ยวไปวิพากษวิจารณใครเปนเด็ดขาด จงอยูอยางอิสรเสรี มีเมตตาและไมตรีอยูเสมอ นี่คือยุทธศาสตร เหนือสมรภูมิทุกสนาม วิถีทางแหงสันติสุข ไดมาก็ไมดีใจ ไมไดก็ไมเปนไร ไมรีบไมเรง ไมทะยานอยาก ถึงก็ชาง ไมถึงก็ชาง เหนื่อยก็พัก แลวเดินตอไปเรื่อยๆ มุงสูความสงบสุข

๓๕๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ทางธรรมชี้นําจากยอดเขาคิชฌกูฏ

อรุณรุง บนยอดเขาคิชฌกูฏ ทีไ่ ดประมวลรวมเนือ้ หา

สาระเปนเพียงเชือ้ ชนวนจุดประกายจิตใจใหเกิดแสงสวางสูความ ตืน่ จากความหลงงมงายหมกมุนอยูในมุมมืด ทําใหหลงสําคัญผิด ดวยอาการตางๆ ใหไดลืมตามองเห็นชีวิตและโลกตามความเปน จริงทีม่ นั วางจากตัวตนคนสัตว เพราะสรรพสิง่ ไมมอี ะไรจีรงั ยัง่ ยืน ซึง่ เปนสัจธรรมความจริงอยางยิง่ ของพระพุทธศาสนาอันเปนหลัก สากลโลก เมือ่ ประจักษแจงความจริงดังกลาวแลว พระพุทธองคไดทรง โปรดชี้ทางดําเนินชีวิตดวยหนทางอันประเสริฐ ๘ ประการ เปน ทางอริยมรรคสูอริยผล คือความปลอยวาง ไมยึดติดทองเที่ยววิ่ง หาเหยือ่ คือความสุข และไมตอ งวิง่ หนีหวาดกลัวความทุกขอปุ สรรค ปญหาทั้งปวง ไมถือเขาไมถือเราไมยึดมั่นสิ่งใดๆ ในโลก เพราะ สรรพสิง่ ลวนไรตวั ตน จะยึดถืออะไรไมไดทงั้ นัน้ ถาไรเยือ่ ใย ไรยดึ ติด ใจจะวาง บริสุทธิ์สุขสงบ ชีวิตจิตใจที่มีความสมดุลอยางเต็ม ทีจ่ ะอยูเหนืออารมณ สงบนิง่ ไดทกุ สถานการณ จะไมแสดงอาการ อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๕๙


ดีใจหัวเราะอยางคนบา จะไมขุนแคนแสดงอาการโมโหรายดุดัน คุมคลั่งและจะไมตองเสียใจเศราโศกพิไรรําพันตอการสูญเสีย ความผิดหวังถึงกับตีอกชกตัว อันเปนพัฒนาการกาวดําเนินของ ชีวิตที่สมบูรณสูโลกกวางอยางอิสรเสรี สูความสงบรมเย็นอยาง ยิ่ง ของชีวิต คือ พระนิพ พาน อั น เป น เป า หมายสู ง สุ ด ของ พระพุทธศาสนาสูศนู ยรวมแหงความเสมอภาคแดมวลมนุษยชาติ เพื่อเกื้อกูลประโยชนสุขอันสูงสุดแกชาวโลก

๓๖๐

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ชีวิตและประสบการณของผูเขียน ชื่อ

ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม

ประวัติการศึกษา ประถมศึกษาปที่ ๔ โรงเรียนบ้านศรีชมุ ตำาบลดอกคำาใต้ อำาเภอพะเยา จังหวัดเชียงราย ประวัติส่วนตัว บวชเป น สามเณรและอุ ป สมบทที่ วั ด ศรี ชุ ม ซึ่ ง เปนถิน่ กำาเนิด โดยมีพระครูปญ ุ ญาลังการ เปนพระอุปช ฌาย์ ซึ่ ง พระครู ปุ ญ ญาลั ง การ ได้ บ วชเป น สามเณรกั บ พระครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่วัดศรีโคมคำา (วัดพระเจ้าตนหลวง) ทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยา พระครูบาเจ้าศรีวิชัย สิริวิชโย เปน พระที่มีปฏิปทาวัตรปฏิบัติทรงศีลทรงธรรมเปนที่เคารพ เลื่อมใสศรัทธาของชาวลานนาไทย และชาวไทยทั่วประเทศ มีค รู บ าอาจารย์ เ ป น ที่เ คารพนั บ ถือ ๔ องค์ คือ ๑. พระครูปุญญาลังการ ๒. พระสังฆปริณายกเว่ยหล่าง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๖๑


คุณพอหลา พุทธรรม

คุณแมนอย พุทธรรม

บรรพบุรุษและบุพการี

ฟองแกชวฌกูฏ ๓๖๒คุณพอรุอมูณรุลงบนยอดเขาคิ

คุณแมบุตร ฟองแกว


แห่งนิกายเซ็น ๓. ท่านพ่อพุทธทาส อินทปญโญ ๔. พระครูบาเจ้า ศรีวิชัย สิริวิชโย สามเณรอานันท์ ฟองแก้ว บวชพรรษาแรก ก็อยูพ ่ าำ นัก ที่วัดศรีชุม และเริ่มศึกษาสนใจหนังสือ “สูตรเว่ยหล่าง” ของนิกายเซ็นที่เน้นหลักปฏิบัติบรรลุธรรมแบบฉับพลัน เช่น สอนให้รู้จักตนเองที่มีธรรมชาติอันบริสุทธิ์อยู่แล้ว เทียบกับคำาสอนของพระพุทธเจ้าว่า โดยธรรมชาติจิตเดิม สะอาดบริสุทธิ์เปนประภัสสร หรือชีวิตและโลกเปนของว่าง เปนอนัตตาสุญตาอยู่แล้ว และท่านเว่ยหล่าง ก็สอนเน้นที่ “ความว่าง” เช่น ไม่มีต้นโพธิ์ (กายเปนอนัตตา ไร้ตัวตน) ไม่มีกระจกเงา (จิตเปนสุญตา ความว่าง) เมื่อทุกสิ่งว่าง ฝุนละอองจะจับอะไร (กิเลสอาสาวะ ก็ไร้ที่ยึดเกาะ) และตรงกับหลักหัวใจของพระพุทธองค์ โดยมีปรกติอยู่ในสุญตาเปนวิหารธรรม พรรษาที่ ๒ ได้ไปอยู่สวนโมกขพลาราม ตำาบลเสม็ด อำาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปนสามเณรอุปฏฐาก ท่านพ่อพุทธทาส คืนแรกไปถึงสวนโมกข์ฯ เวลา ๕ ทุ่ม ถูกทดสอบด้วยคำาถามแบบปรมัตถ์ ท่านพ่อพุทธทาส “เธอมาที่นี้ด้วยประสงค์สิ่งใด ?” สามเณรอานันท์ “กระผมอุตส่าห์เดินทางไกลจาก อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๖๓


จังหวัดเชียงราย ด้วยความจริงใจ จะมาขออาสาอยูร่ บั ใช้งานท่านพ่อ ครับผม” ท่านพ่อพุทธทาส “ที่นี่ไม่มีงาน !” สามเณรอานันท์ “ถ้างั้นเกล้ากระผมมาขออาศัย ศึกษาธรรมกับท่านพ่อครับ” ท่านพ่อพุทธทาส “ที่นี่ไม่มีธรรมะที่จะสอนใคร” สามเณรอานันท์ “ที่เกล้ากระผมมานี้น่าจะเปน เปาหมายเดียวกัน !” ท่านพ่อพุทธทาส “อะไรคือเปาหมายของเธอ ?” สามเณรอานันท์ “คือการแสวงหาความว่าง !” (โมกขธรรม) ท่านอาจารย์ผู้เฒ่าเพ่งจ้องมองสามเณรโดยไร้คำาถาม และคำากล่าวใดๆ บรรยากาศแห่งความเงียบสงบพร้อมด้วย สายตาแห่งเมตตาของท่านพ่อพุทธทาสและความอ่อนโยน อย่างไร้เดียงสาของสามเณรอานันท์ ได้สอื่ ความเข้าถึงอุปนิสยั จิตใจ ได้เริม่ อยูใ่ กล้ชดิ เปนศิษย์กน้ กุฏเิ ปนสามเณรอุปฏ ฐาก ท่านพ่อพุทธทาสในคืนที่ ๒ และมีโอกาสแสดงธรรม ๑ ครั้ง โดยท่านพ่อพุทธทาสเปดใจให้พระเณรในวัดได้แสดงทัศนะ ทางธรรม ณ ลานหินโค้ง เปนสถานที่ลานทราย ท่ามกลาง ปาเขา และก้อนหินเรียงราย เปนธรรมชาติแบบสวนเซ็น ของญี่ปุน อันเปนบรรยากาศย้อนยุคพุทธกาล ๓๖๔

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


หลังทำาวัตรคำา่ เสร็จ ถึงคิวของสามเณรอานันท์ได้ขนึ้ นัง่ แท่นหินแสดงธรรมในยามราตรี ด้วยหัวข้อการแสดงธรรม “สรรพสิง่ ล้วนเพียงภาพมายา” ในเนือ้ หาของการแสดงธรรม ว่า “สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกที่ปรากฏให้เห็นและสัมผัส ล้วนเปนภาพมายา จะหาอะไรสักสิง่ หนึง่ ทีจ่ ะเปนภาพความ จริงให้ยึดถือไม่ได้ทั้งนั้น เพราะมันว่างเปล่าจากตัวตน แม้ ผู้แสดงธรรมจะเปนพระพุทธเจ้าหรือท่านพ่อพุทธทาส จะเปนใครๆ ก็แล้วแต่รวมทัง้ คนฟงด้วย ก็ลว้ นเปนเพียงภาพ มายา อีกทั้งสถานที่ลานธรรมหินโค้ง หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ ปรากฏให้เห็นให้สัมผัสในสวนโมกขพลาราม ทุกอย่าง ทุกประการ ก็ลว้ นเปนเพียงภาพมายา...” จากการแสดงธรรม ชี้นำาสู่สัจธรรมความจริงที่ทวนกระแสโลกที่ลานหินโค้ง ในคำา่ คืนนัน้ ท่ามกลางหมูค่ ณะพระเณรเถรชีฟง แล้วมีอาการ “มึนงง!” มองเห็นสามเณรแสดงธรรมพากันติดอยู่แค่เพียง ภาพลบไม่ทะลุปรุโปร่งถึงความว่าง จึงเกิดปฏิกิริยาดุจ ถูกครอบคลุมด้วยฝาปดบังดวงตามองอะไรสับสนว้าวุ่นกัน ไปหมด พากันไปถึงอาจารย์ผเู้ ฒ่าเพ่งเปาทีส่ ามเณรอานันท์ ที่อาจหาญแสดงธรรมไร้สาระแก่นสารเปนการไม่สมควร อย่างยิง่ ทีจ่ ะแสดงการลบหลูข่ องสูง (คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์) ในทีส่ ดุ ทุกคนก็ได้รบั คำาตอบจากท่านอาจารย์ผเู้ ฒ่าว่า “นั่นเปนทัศนะของสามเณร!” กระแสคลื่นแห่งอหังการจึง อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๖๕


ค่อยเงียบจางหายไป เพราะหลักความจริง “สรรพสิ่งล้วน เพียงภาพมายา” คำาสอนของท่านพ่อพุทธทาส ก็จะมุ่งให้ ลดทิฐิมานะ ไม่ให้หลงสำาคัญตน ทำาจิตว่างและปล่อยวาง ไม่ให้หลงยึดมั่นถือมั่นเปน “ตัวกู” “ของกู” ทั้ง “กู” “สู” เปนขยะปญหาให้ปดทิ้ง คงเหลือแต่ “จิตว่าง” ปล่อยวาง จิตบริสทุ ธิ์ สว่างและสงบเปนชีวติ สุขสงบร่มเย็น คือเปาหมาย อันสูงสุดของพุทธศาสนา จากหัวใจที่ได้ทุ่มเทเทิดทูนบูชาบูรพาจารย์ที่สำาคัญ ถึงท่านที่ ๔ คือ การเจริญตามฮีตรอยบาทวิถีพระครูบาเจ้า ศรีวิชัย สิริวิชโย ที่เน้นวัตรปฏิบัติตามศีลธรรมกัมมัฏฐาน ชี้ชัดสู่หลักพุทธธรรมแบบพื้นเมืองลานนาไทยคือให้มุ่งเปา สูค่ วามเปนพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ เปนสัจธรรม โดยธรรมชาติที่ผสานกลมกลืน เป นหนึ่งเดีย วกั บชีวิต ทุกรูปนามอยู่แล้ว และเปนความเสมอภาคของทุกชีวิต ๓๖๖

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ที่ไร้สาระแก่นสาร ความยึดถือเราเขาจึงปลาสนาการ คงเหลือแต่หวั ใจอันว่างบริสทุ ธิเ์ บาบางวางเฉยต่อโลกธรรม ฉายประกายแห่งเมตตาธรรมแผ่รงั สีแห่งความสุขสงบร่มเย็น เปนบารมีธรรมแผ่ไพศาลโดยไม่มีประมาณ พร้อมกันนี้ก็ได้ สร้างพิพธิ ภัณฑ์พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ทีว่ ดั บ้านปาง ถิน่ กำาเนิด ของท่าน และเรียบเรียงหนังสือ “มหัศจรรย์พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ” ได้จัดพิมพ์เปนรูปเล่มขนาดสมบูรณ์เผยแพร่ ๘ ครั้ง จำานวนหลายหมื่นเล่ม และฉบับกระเปาพิมพ์แจก ๓ ครั้ง จำานวนหลายหมื่นเล่มแจกเปนธรรมทาน กิ จ กรรมสำ า คั ญ ได้ ริ เ ริ่ ม จั ด งานพิ ธี น ้ อ มรำ า ลึ ก ถึ ง พระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ในวันที่ ๑๑ มิถนุ ายน ครบรอบวันกำาเนิด และ ๒๑ กุมภาพันธ์ ครบรอบวันมรณภาพ ทำาให้งานพิธีนี้ เปนทีย่ อมรับของจังหวัดลำาพูน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพะเยา เปนงานพิธีประจำาป โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปพุทธศักราช ๒๕๓๐ จนถึงทุกวันนี้ จากการน้ อ มนำ า คำ า สอนของบู ร พาจารย์ ชั้ น ยอด เปนแม่พิมพ์หล่อหลอมรวมจิตวิญญาณด้วยใจรักในการ ประพฤติพรหมจรรย์เปนบรรทัดฐาน แล้วได้ถ่ายทอดสู่ คนรุน่ ใหม่จงึ หวังว่าจะมีผสู้ บื สานเจริญรอยตามสืบไป ถือว่า เปนความภาคภูมิใจอย่างสูงยิ่ง

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ

๓๖๗


๓๖๘

อรุณรุงบนยอดเขาคิชฌกูฏ


ภาพอาคารและภายในโรงเจศรีอริยเมตไตรย์



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.