หนังสือสวดมนต์วัดจอมแจ้ง

Page 1

หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ก

คํานํา สติปฏฐานเปนวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาวิธีหนึ่งที่ทําจิตใจใหสงบ มี ค วามเข ม แข็ ง และเกิ ด ความรู  ค วามเข า ใจที่ ถู ก ต อ งตามความเป น จริ ง การบริหารจิต เจริญปญญาดวยสติปฏฐาน ๔ เนนอานาปานสติมีประโยชน ทั้งดานการดํารงชีวิตประจําวัน ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ และดานเปาหมาย สูงสุดของชีวิต ทางคณะทานเจาภาพโดยมี คุณชุตปิ ภา จุลกะเสวี เปนผูน าํ บุญในการสราง หนังสือสวดมนต ประจําวัดจอมแจง และคณะศรัทธาผูฟงรายการ “ธรรมะ รับอรุณ” ทางสถานีวิทยุ คลื่น ๙๒.๕๐ โดยทานพระครูอุปถัมภกิจโกศล และ อาจารยพระมหาอํานวย ปฺญาวชิโร พรอมคณะ ไดใหการอุปถัมภ สนับสนุน ในครั้งนี้ดวย ทางคณะศรัทธาวัดจอมแจง ตองขอกราบอนุโมทนาขอบคุณ ในการรวมบุญครั้งนี้ดวยอยางยิ่ง และหวังวาหนังสือสวดมนตฉบับนี้จะไดให ประโยชนแกผูที่ไดทองสวดเพื่อการเขาถึงพระรัตนตรัยไดอยางสมบูรณ ขออํานาจคุณพระศรีรตั นตรัยและสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ตลอดถึง หลวงพอขวัญเมือง อันประดิษฐานในวิหารวัดจอมแจงแหงนี้ และอานิสงสแหงการถวายทานหนังสือ สวดมนตในครัง้ นี้ จงดลบันดาลใหทา นและครอบครัว จงเจริญดวย อายุ วรรณะ สุขะ พละ พรอมดวยธนสารสมบัติ ดังใจมุงปรารถนาทุกประการ เทอญ ขออนุโมทนา พระใบฎีกาอานนท ปฺญาปโชโต รักษาการเจาอาวาส วัดจอมแจง


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ขb

คําปรารภ การสวดมนตภาวนา ถือเปนการบริหารสุขภาพจิตทีด่ เี ยีย่ ม เพราะเมือ่ จิตใจ ของเราสงบ ระงับจากอารมณตา งๆ ทีค่ อยปรุงแตงจิตใจใหวา วุน ขุน มัว อยูต ลอด เวลา ทัง้ ทีเ่ ปนอิฏฐารมณ อารมณทนี่ า ใครนา ปรารถนา และอนิฏฐารมณ อารมณ ที่ไมพึงประสงคก็ตาม จะทําใหจิตใจของเรามีพลัง มีความสงบระงับเย็นดวย เหตุผล การสวดมนต ตองทําดวยใจศรัทธา มีสมาธิ มีความแมนยําในบทสวด หรือ ไมก็ตองอาศัยหนังสือคูมือ ตื่นเชา-เขานอน ควรสวดมนตภาวนากอน แมเพียง สัน้ ๆ ก็ยงั ดี จะไดโอกาสสํารวจดูตวั เองวา เรามีสว นดี สวนเสียอะไรบางในแตละ วัน จะไดปรับปรุงพัฒนาใหดีขึ้น และที่สําคัญอยาลืมตั้งจิตอธิษฐาน แผเมตตา จิตสงความปรารถนาดีไปใหเพื่อนรวมโลก ถาผูคนทั้งโลกกวา ๗,๐๐๐ ลานคน ไมวา จะนับถือศาสนาใด ปฏิบตั เิ ชนนี้ โลกจะมีแตสนั ติสขุ ไมเบียดเบียนกัน เพราะ เมตตาธรรมมาจากใจ เมื่อใจดีแลว กายวาจาก็จะดีไปดวย การทําวัตรเชา-เย็น เปนการสาธยายคุณพระรัตนตรัย ซึ่งเปนสิ่งที่ดีเปน มงคลแกชวี ติ และบางบทสวดทีเ่ ปนพระสูตร ก็เปนพระธรรมคําสอนอันประเสริฐ ของพระพุทธองค เชน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เปนตน การที่เราสวดสาธยายจึง เทากับวา เราไดมีสวนทรงจําพระธรรมคําสอนของพระพุทธองค ใหดํารงคงอยู เปนคุณเกือ้ กูลแกชาวโลกสืบไปนัน่ เอง และหากเขาใจในเนือ้ หาแหงพระสูตรนัน้ ๆ แลวนํามาปฏิบัติไดดวย ยิ่งจะกอเกิดอานิสังสผล เปนบุญบารมีธรรมแกชีวิต ยิ่งนัก เพราะเปนการสวดมนตดวยศรัทธา ที่ประกอบดวยปญญา ไดทั้งปริยัติ และปฏิบัติธรรม คูขนานกันไป. ชุติปภา จุลกะเสวี


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง คc

สารบัญ บทอธิษฐานขออโหสิกรรม..................................................... บทสวดทําวัตรเชา.................................................................. บทสวดทําวัตรเย็น................................................................. พุทธะมังคะละคาถา............................................................... บทกรวดนํ้าอิมินา.................................................................. คาถามงคลจักรวาล ๘ ทิศ..................................................... คาถาปองกันภัยทั้ง ๘ ทิศ...................................................... บทสวดไหวพระจุฬามณีเจดีย................................................ บทไหวพระเจา ๑๐ ชาติ........................................................ บทปลงสังขาร........................................................................ ระลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย................................................... ระลึกถึงคุณพระบิดามารดา................................................... ระลึกถึงคุณพระอุปชฌายอาจารย......................................... คํามอบกายถวายชีวิตแดพระพุทธเจา.................................... คํามอบกายถวายชีวิตแดพระอาจารย.................................... คําสมาทานวิปสสนากรรมฐาน............................................... คําแผเมตตา........................................................................... คําตั้งสัจอธิษฐาน.................................................................... อานิสงสแหงการชักชวนผูอื่นถวายทาน.................................. อานิสงสการสรางหนังสือเปนธรรมทาน..................................

หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา หนา

๑ ๒ ๑๓ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๕ ๒๗ ๒๘ ๓๑ ๓๕ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๓๙ ๔๔ ๔๕


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ข


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑

บทอธิษฐานขออโหสิกรรม กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง อะสัญจิจจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม. กรรมใดๆ ไมวา จะเปนกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ทีข่ า พเจาไดทาํ ลวงเกิน แกผูใด ทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไมไดตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอใหเจากรรมนายเวร ทั้งหลาย จงโปรดยกโทษใหเปนอโหสิกรรมแกขาพเจา อยาไดจองเวรจองกรรม ตอกันอีกเลย แมแตกรรมใดที่ใครๆ ทําแกขาพเจาก็ตาม ขาพเจาขออโหสิกรรมใหทั้งสิ้น ยกถวายพระพุทธเจาเปนอภัยทาน ขอจงดลใจใหเขาเหลานั้นกลับมีเมตตาจิต คิดเปนมิตรกับขาพเจา เพื่อจะไดไมมีเวรกรรมตอกันตลอดไป ดวยอานิสงสแหงอภัยทานนี้ ขอใหขาพเจาพรอมทั้งครอบครัว ตลอดจน วงศาคณาญาติ ผูมีอุปการคุณของขาพเจา พนจากความทุกขยากลําบากเข็ญใจ ความทุ ก ข อ ย า ได ใ กล ความเจ็ บ ไข อ ย า ได มี ขอให มี ค วามสุ ข สวั ส ดี มี ชั ย เสนียดจัญไรและอุปทวันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนา สิง่ ใดทีเ่ ปนไปโดยชอบประกอบดวยธรรมแลว ขอใหสงิ่ นัน้ จงพลันสําเร็จ จงพลัน สําเร็จ จงพลันสําเร็จเทอญ นิพพานะปจจะโย โหตุ.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒

คําทําวัตร เชา และ เย็น แปล คําบูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สะวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป, ปจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.ฯ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสิ้นเชิง ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน, (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ขาพเจา นมัสการพระธรรม, สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ปฏิบัติดีแลว, สังฆัง นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระสงฆ, (กราบ)


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓

ปุพพภาคนมการ

(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น, อะระหะโต, ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทธัสสะ, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, (๓ จบ)

๑.พุทธาภิถุติ

(หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส)

โยโส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานั้น พระองคใด, อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, วิชชาจะระณะสัมปณโณ, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ, สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔

โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย, พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม, ภะคะวา, เปนผูมีความเจริญ จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง, สัสสะ มะณะ พรหมะณิง ปะชัง สะเทวะ มะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด ไดทรงทําความดับทุกขใหแจงดวยปญญา อันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลกนี้พรอมทั้งเทวดา มาร พรหม, และหมูสัตว พรอมทั้งสมณะพราหมณ พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม, โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ทรงแสดงธรรมแลว, อาทิกัลยาณัง, ไพเราะในเบื้องตน, มัชเฌกัลยาณัง, ไพเราะในทามกลาง, ปะริโยสานะกัลยานัง, ไพเราะในที่สุด,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕

สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ทรงประกาศพรหมจรรย คือแบบแหงการปฏิบัติอันประเสริฐ, บริสุทธิ์ บริบูรณ สิ้นเชิง, พรอมทั้งอรรถะ พรอมทั้ง พยัญชนะ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น, ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น ดวยเศียรเกลา, (กราบระลึกพระพุทธคุณ)

๒.ธัมมาภิถุติ

(หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.) โย โส สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมนั้นใด, เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว, สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง, อะกาลิโก, เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล, เอหิปสสิโก, เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด, โอปะนะยิโก, เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว, ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ, เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๖

ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น, ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดวยเศียรเกลา, (กราบระลึกพระธรรมคุณ)

๓.สังฆาภิถุติ

(หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส) โย โส สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้น หมูใด, ปฏิบัติดีแลว, อุชุปะติปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว, ญายะปฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูม พี ระภาคเจา หมูใ ด, ปฏิบตั เิ พือ่ รูธ รรมเปนเครือ่ งออก จากทุกขแลว, สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว, ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้ คือ, จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู, นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๗

อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขานํามาบูชา, ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะ ที่เขาจัดไวตอนรับ, ทักขิเนยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน, อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, เปนเนื้อนาบุญของโลก ไมมีเนื้อนาบุญอื่นยิ่งกวา, ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระสงฆหมูนั้น, ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น ดวยเศียรเกลา, (กราบระลึกพระสังฆคุณ)

๔.รตนัตตยปณามคาถา

(หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา โย เจวะ สังเวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, พระพุทธเจาผูบริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ, โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจด ถึงที่สุด,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๘

โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก, วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจา พระองคนั้น, โดยใจเคารพเอื้อเฟอ, ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สวางรุงเรือง เปรียบดวงประทีป, โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, จําแนกประเภท คือ มรรค ผล นิพพาน, สวนใด, โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดที่ชี้แนวแหงโลกุตตระนั้น, วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ, สังโฆ สุเขตตา ภะยะติเขตตะลัญญิโต, พระสงฆเปนนาบุญอันยิ่งใหญกวานาบุญอันดีทั้งหลาย โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เปนผูเห็นพระนิพพาน ตรัสรูตามพระสุคต, หมูใด, โลลัปปะฮีโน อะริโย สุเมธะโส, เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจา มีปญญาดี, วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ, อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๙

บุญใด ที่ขาพเจาไหวอยูซึ่งวัตถุสาม, คือพระรัตนตรัยอันควรบูชายิ่ง โดยสวนเดียว, ไดกระทําแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้, ขออุปททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย จงอยามีแกขาพเจาเลย, ดวยอํานาจความสําเร็จ อันเกิด จาก บุญนั้น,

๕.สังเวคปะริทีปะกะปาฐะ

อิธะ ตถาคะโต โลเก อุปนโน, พระตถาคตเจาเกิดขึ้นแลว ในโลกนี้, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมที่ทรงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข, อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, เปนเครื่องสงบกิเลส เปนไปเพื่อปรินิพพาน, สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, เปนไปเพื่อความรูพรอม, เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ, มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ, พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลวจึงไดรูอยางนี้วา, ชาติป ทุกขา, แมความเกิดก็เปนทุกข, ชะราป ทุกขา, แมความแกก็เปนทุกข,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๐

มะระณัมป ทุกขัง, แมความตายก็เปนทุกข, โสกะปะริเทวะ ทุกขะ โทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา, ความโศก ความรํ่ า ไรรํ า พั น ความไม ส บายกาย ความไม ส บายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข, อัปเปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประสบกับสิ่งไมเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข, ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข, ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น นั่นก็เปนทุกข, สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา, วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข, เสยยะถีทัง, ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ, รูปูปาทานักขันโธ, ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นคือรูป, เวทะนูปาทานักขันโธ, ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นคือเวทนา, สัญูปาทานักขันโท, ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นคือสัญญา, สังขารูปาทานักขันโธ, ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นคือสังขาร,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๑

วิญญาณูปาทานักขันโธ, ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่นคือวิญญาณ, เยสัง ปะริญญายะ, เพื่อใหสาวกกําหนดรอบรูอุปาทานขันธเหลานี้เอง, ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผูมีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, ยอมทรงแนะนําสาวกทั้งหลายเชนนี้ เปนสวนมาก, เอวังภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, อนึ่ง คําสั่งสอนของผูมีพระภาคเจานั้น ยอมเปนไปในสาวกทั้งหลาย สวนมาก, มีสวนคือการจําแนกอยางนี้วา :รูปง อนิจจัง, รูปไมเที่ยง, เวทนา อะนิจจา, เวทนาไมเที่ยง, สัญญา อะนิจจา, สัญญาไมเที่ยง, สังขารา อะนิจจา, สังขารไมเที่ยง, วิญญานัง อะนิจจัง, วิญญาณไมเที่ยง, รูปง อะนัตตา, รูปไมใชตัวตน, เวทนา อะนัตตา, เวทนาไมใชตัวตน, สัญญา อะนัตตา, สัญญาไมใชตัวตน, สังขารา อะนัตตา, สังขารไมใชตัวตน, วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไมใชตัวตน,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๒

สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลาย ทั้งปวง ไมเที่ยง, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, ธรรมทั้งหลาย ทั้งปวง ไมใชตัวตน ดังนี้, เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ, พวกเราทั้งหลายเปนผูถูกครอบงําแลว, ชาติยา, โดยความเกิด, ชะรามะระเณนะ, โดยความแก และความตาย, โสเกป ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมนัสเสสิ อุปายาเสหิ, โดยความโศก, ความรํ่าไรรําพัน, ความไมสบายกาย, ความไมสบายใจ, ความคับแคนใจทั้งหลาย, ทุกโขติณณา, เปนผูถูกความทุกขหยั่งเอาแลว, ทุกขะปะเรตา, เปนผูมีความทุกข เปนเบื้องหนาแลว, อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปญญาเยถาติ, ทําไฉน การทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏชัดแกเราได, จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, เราทั้งหลายผูถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพานแลว พระองค นั้น เปนสรณะ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๓

ตั ส สะ ภะคะวะโต สาสะนั ง ยะถาสะติ ยะถาพะลั ง มะนะสิ ก ะโรมะ อะนุปะฏิปชชามะ, จักทําในใจอยู ปฏิบัติตามอยู ซึ่งคําสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น ตาม สติกําลัง, สา สา โน ปะฏิปตติ, ขอใหความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย, อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ, จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้เทอญฯ, (จบบททําวัตรเชา)

บทสวดทําวัตรเย็น คําบูชาพระรัตนตรัย

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สะวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป, ปจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๔

พระผูม พี ระภาคเจา, เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสนิ้ เชิง ตรัสรู ชอบไดโดยพระองคเอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน, (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวดีแลว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ขาพเจานมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ปฏิบัติดีแลว, สังฆัง นะมามิ, ขาพเจานอบนอมพระสงฆ, (กราบ)

ปุพพภาคนมการ

(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น, อะระหะโต, ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทธัสสะ, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, (๓ จบ)


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๕

๑.พุทธานุสสติ

(หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลญาโณ กิตติสัทโท อัพพุคคะโต, ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ไดฟุงไปแลวอยางนี้วา, อิติป โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยางนี้ๆ พระผูมีพระภาคเจานั้น, อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ, สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี, โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา, สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย, พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน ดวยธรรม, ภะคะวา ติ, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว ดังนี้,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๖

๒.พุทธาภิคีติ

(หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.) พุทธวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ มีความประเสริฐ แหงอรหันตคุณ เปนตน, สุทธาภิ ญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ และพระกรุณาอันบริสุทธิ์, โพเทสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, พระองคใด ทรงกระทําชนที่ดีใหเบิกบาน ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน, วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง, ขาพเจาไหวพระชินสีห ผูไมมีกิเลสพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา, พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระพุทธเจาพระองคใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย, ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่ หนึ่ง ดวยเศียรเกลา, พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (สี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา, พระพุทธเจาเปนนาย มีอิสระเหนือ ขาพเจา, พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา, พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระพุทธเจา,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๗

วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความตรัสรูดี ของพระพุทธเจา, นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอืน่ ของขาพเจาไมมี พระพุทธเจาเปนสรณะ อันประเสริฐของขาพเจา, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัจนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา, พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจาไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้, สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา, อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น, (หมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระพุทธเจา, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจา จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ, เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๘

๓.ธัมมานุสสติ

(หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว, สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง, อะกาลิโก, เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล, เอหิปสสิโก, เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด, โอปะนะยิโก, เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว, ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหี ติ, เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน ดังนี้,

๔. ธัมมาภิคีติ

(หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส) สะวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เป น สิ่ ง ที่ ป ระเสริ ฐ เพราะประกอบด ว ยคุ ณ คื อ ความที่ พระพุทธเจาตรัสไวดีแลว เปนตน, โย มัคคะปากะปะริยัตติโมกขะเภโท, เปนธรรมอันจําแนกเปน มรรค ผล ปริยัติ และ นิพพาน,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๑๙

ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว, วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเปนเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด, ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระธรรมใด เปนสรณธอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ข า พเจ า ไหว พ ระธรรมนั้ น อั น เป น ที่ ตั้ ง แห ง ความระลึ ก องค ที่ ส อง ดวยเศียรเกลา, ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม พระธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา, ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระธรรม เปนเครื่องกําจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา, ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระธรรม, วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม, นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัจนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา, ธัมมัง เม วันทามะเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญังปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๐

สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา, อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น, (หมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระธรรม, ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม, เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอไป,

๕. สังฆานุสสติ

(หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว, อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว, ญายะปฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่อง ออกจากทุกขแลว, สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติควรแลว,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๑

ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้ คือ, จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู นับเรียงตัวบุรุษได ๘ บุรุษ, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา, อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา, ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ, ทักขิเนยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน, อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ, เปนเนื้อนาบุญของโลก ไมมีเนื้อนาบุญอื่นยิ่งกวา ดังนี้,

๖. สังฆาภิคีติ

(หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส) สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต, พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม ประกอบดวยคุณ มีความประพฤติดี เปนตน,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๒

โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ แปดจําพวก, สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีลเปนตน อันบวร, วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง, ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจา เหลานั้น อันบริสุทธิ์ดวยดี, สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระสงฆ หมูใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย, ตะติยานุสสะติฏฐาณัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระสงฆ หมูนั้น อันเปนที่ตั้ง แหงความระลึก, องคที่สาม ดวย เศียรเกลา, สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ พระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา, สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข และทรงไวซึ่งประโยชน แกขาพเจา, สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระสงฆ, วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง, ขาพเจาไหวอยูจักประพฤติตาม ซึ่งความปฏิบัติดี ของพระสงฆ, นัตถิ เม สะระณังอัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมมี พระสงฆเปนสรณะ อันประเสริฐของขาพเจา, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัจนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา ของพระศาสดา,


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๓

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้, สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา, อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น, (หมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระสงฆ สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ, เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ ในกาลตอไป (จบบททําวัตรเย็น)

พุทธะมังคะละคาถา

สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ โกณทัญโญ ปุพพะถาเค จะ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ ปจฉิเมป จะ อานันโท โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อิเม โข มังคะลา พุทธา วันทิตา เต จะ อัมเหหิ เอเสตัง อานุภาเวนะ

นิสิโน เจวะ มัชฌิเม อาคะเณยเย จะ กัสสะโป หะระติเย อุปาลี จะ พายัพเพ จะ คะวัมปะติ อิสาเณป จะ ราหุโล สัพเพ อิธะ ปะติฏฐา สักกาเรหิ จะ ปูชิตา สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๔

อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสินทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโยฯ

กรวดนํ้าอิมินา

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อาจะริยูปะการา จะ สุริโย จันทิมา ราชา พรัหมมะมารา จะ อินทา จะ ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ สุขังจะ ติวิธัง เทนตุ อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ เย สันตาเน หินา ธัมมา นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ อุชุจิตตัง สะติปญญา มาราละภันตุ โนกาสัง พุทธาทิปะวะโร นาโถ นาโถ ปจเจกะพุทธโธ จะ เตโสตตะมานุภาเวนะ

อุปชฌายะ คุณุตตะรา มาตาปตา จะ ญาตะกา คุณะวันตา นะราป จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา มัชฌัตตา เวริกาป จะ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม ขิปปง ปาเปถะ โวมะตัง อิมินา อุททิเสนะ จะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง ยาวะ นิพพานะโต มะมัง ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว สัลเลโข วิริยัมหิมา กาตุญจะ วิริเยสุ เม ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง มาโรกาสัง ละภันตุ มา.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๕

คาถามงคลจักรวาล ๘ ทิศ สวดทุกคืนเพื่อปองกันภัยพิบัติตางๆ

อิมัสมิง มงคลจักรวาลทั้ง ๘ ทิศ ประสิทธิ จงมาเปนกําแพงแกวทั้ง ๗ ชั้น มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอนันตาราชะเสมานาเขตเต สะมันตา สะตะ โยชะนะสะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละ ปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ อิมัสมิง มงคลจักรวาลทั้ง ๘ ทิศ ประสิทธิ จงมาเปนกําแพงแกวทั้ง ๗ ชั้น มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอนันตาราชะเสมานาเขตเต สะมันตา สะตะ โยชะนะสะตะสะหัสสานิ ธัมมะชาละ ปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ อิมัสมิง มงคลจักรวาลทั้ง ๘ ทิศ ประสิทธิ จงมาเปนกําแพงแกวทั้ง ๗ ชั้น มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอนันตาราชะเสมานาเขตเต สะมันตา สะตะ โยชะนะสะตะสะหัสสานิ ปจเจกะพุทธะชาละ ปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ อิมัสมิง มงคลจักรวาลทั้ง ๘ ทิศ ประสิทธิ จงมาเปนกําแพงแกวทั้ง ๗ ชั้น มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอนันตาราชะเสมานาเขตเต สะมันตา สะตะ โยชะนะสะตะสะหัสสานิ สังฆะชาละ ปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

คาถาปองกันภัยทั้ง ๘ ทิศ

เมื่อทานสวดทุกวัน จะปองกันภัยอันตราย เกิดโชคลาภ บู ร พารั ส มิ ง พระพุ ท ธะคุ ณั ง บู ร พารั ส มิ ง พระธั ม เมตั ง บู ร พารั ส มิ ง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๖

อาคะเนรัสมิง พระพุทธะคุณัง อาคะเนรัสมิง พระธัมเมตัง อาคะเนรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ ทักษิณรัสมิง พระพุทธะคุณัง ทักษิณรัสมิง พระธัมเมตัง ทักษิณรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ หระดี รั ส มิ ง พระพุ ท ธะคุ ณั ง หระดี รั ส มิ ง พระธั ม เมตั ง หระดี รั ส มิ ง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ ปจจิมรัสมิง พระพุทธะคุณัง ปจจิมรัสมิง พระธัมเมตัง ปจจิมรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ พายัพรัสมิง พระพุทธะคุณัง พายัพรัสมิง พระธัมเมตัง พายัพรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ อุดรรัสมิง พระพุทธะคุณงั อุดรรัสมิง พระธัมเมตัง อุดรรัสมิง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๗

อิ ส านรั ส มิ ง พระพุ ท ธะคุ ณั ง อิ ส านรั ส มิ ง พระธั ม เมตั ง อิ ส านรั ส มิ ง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะ ภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม รักขันตุ สุรักขันตุฯ (กอนสวดคาถาบทนี้ ทานตองตั้งนะโม ๓ จบ และสวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ เสียกอน)

บทสวดไหวพระเกษแกวจุฬามณีเจดีย

สํานวนของ อาจารยพระมหาบุญรอด ปฺญาวโร อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระพุทธเจาทุกพระองค เมื่อขาจะดับจิตลง อยาใหใหลหลง ขอใหจิตจํานง ตรงทางพระนิพพาน ขอใหพบดวงแกว ขอใหแคลวหมูมาร ขอใหทันพระศรีอาริย ขาจะไปนมัสการ พระเกษแกว พระจุฬามณีเจดียสถาน เปนที่ไหว ที่สักการะ กุศลสัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระธรรมเจา ของพระพุทธองค เมื่อขาจะดับจิตลง อยาให ใหลหลง ขอใหจิตจํานง ตรงทางพระนิพพาน ขอใหพบดวงแกว ขอใหแคลว หมูมาร ขอใหทันพระศรีอาริย ขาจะไปนมัสการ พระเกษแกว พระจุฬามณี เจดียสถาน เปนที่ไหว ที่สักการะ กุศลสัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระสังฆเจา ของพระพุทธองค เมื่อขาจะดับจิตลง อยาให ใหลหลง ขอใหจิตจํานง ตรงทางพระนิพพาน ขอใหพบดวงแกว ขอใหแคลว หมูมาร ขอใหทันพระศรีอาริย ขาจะไปนมัสการ พระเกษแกว พระจุฬามณี เจดียสถาน เปนที่ไหว ที่สักการะ กุศลสัมปนโน ติ.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๘

บทสวดไหวพระเจา ๑๐ ชาติ

สํานวนของ อาจารยพระมหาบุญรอด ปฺญาวโร (ดัดแปลงจากของเกา) อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระเตมีย โพธิสัตโต, ภิญโญ ดวยเนกขัมมบารมี, พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทั่วโลก โลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศลสัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระมหาชนก โพธิสัตโต, ภิญโญ ดวยวิริยะบารมี, พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทั่วโลก โลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระสุวรรณสาม โพธิสตั โต, ภิญโญดวยเมตตาบารมี, พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทั่วโลก โลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๒๙

อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระเนมิราช โพธิสัตโต, ภิญโญดวยอธิษฐานบารมี, พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทั่วโลก โลกีย, ขามพนทุกข พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระมโหสถ โพธิสตั โต, ภิญโญดวยปญญาบารมี, พระชินสีห อุบตั ิ บังเกิดเลิศลํา้ เรืองรอง, รัศมีสที อง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทวั่ โลกโลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระภูริทัต โพธิสัตโต, ภิญโญดวยศีลบารมี, พระชินสีห อุบัติ บังเกิดเลิศลํา้ เรืองรอง, รัศมีสที อง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทวั่ โลกโลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระจันทกุมาร โพธิสัตโต, ภิญโญดวยขันติบารมี, พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทั่วโลก


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๐

โลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ข า จะไหว พ ระพรหมนารท โพธิ สั ต โต, ภิ ญ โญด ว ยอุ เ บกขาบารมี , พระชินสีห อุบัติบังเกิดเลิศลํ้าเรืองรอง, รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี, พระเจา โปรดสัตวทั่วโลกโลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจา ไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวย สําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขามพนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวย พระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศลสัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพริฑรู บัณฑิต โพธิสตั โต, ภิญโญดวยสัจจบารมี, พระชินสีห อุบตั ิ บังเกิดเลิศลํา้ เรืองรอง, รัศมีสที อง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทวั่ โลกโลกีย, ขามพนทุกขี พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโนฯ อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธฯ นะโม ขาจะไหวพระเวสสันดร โพธิสตั โต, ภิญโญดวยทานบารมี, พระชินสีห อุบตั ิ บังเกิดเลิศลํา้ เรืองรอง, รัศมีสที อง ฉัพพรรณรังสี, พระเจาโปรดสัตวทวั่ โลกโลกีย, ขามพนทุกข พนดวยบารมี, อเนกอนันตัง, พระเจาไดตรัสเหนือรัตนบัลลังก, พระเจาขามฝง ขามดวยสําเภาแกว ขามดวยสําเภาทอง, นําสัตวลอยลองขาม พนถึงฝง, ขามดวยพระอนิจจัง ขามดวยพระทุกขัง ขามดวยพระอนัตตา, กุศล สัมปนโน ติ.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๑

บทปลงสังขาร

สํานวนของ อาจารยพระมหาบุญรอด ปฺญาวโร (แกไขเปลี่ยนแปลงจากสํานวนของโบราณ) มนุษยเราเอย เกิดมาทําไม นิพพานมีสุข อยูใยมิไป ตัณหาหนวงหนัก หนวงชักหนวงไว ฉันไปมิได ตัณหาผูกพัน หวงนั้นพันผูก หวงลูกหวงหลาน หวงทรัพยสินศฤงคาร จงเสียสละเสียเถิด จะไดไปนิพพาน ขามพนภพสาม ยามหนุมสาวนอย หนาตาแชมชอย งามแลวทุกประการ แกเฒาหนังยาน แตลวนเครื่องเหม็น เอ็นใหญเการอย เอ็นนอยเกาพัน มันมาทําเข็น ใหรอนใหเย็น เมื่อยขบทั้งตัว ขนคิ้วก็ขาว นัยนตาก็มัว เสนผมบนหัว ดําแลวกลับหงอก หนาตาเวาวอก ดูนาบัดศรี จะลุกก็โอย จะนั่งก็โอย เหมือนดอกไมโรย ไมมีเกสร จะเขาที่นอน พึงสอนภาวนา พระอนิจจัง พระอนัตตา เราทานเกิดมา รังแตจะตาย


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๒

ผูดีเข็ญใจ ก็ตายเหมือนกัน เงินทองทั้งนั้น มิติดตัวไป ตายไปเปนผี ลูกเมียผัวรัก เขาชักหนาหนี เขาเหม็นซากผี เปอยเนาพุพอง หมูญาติพี่นอง เขาหามเอาไป เขาวางลงไว เขานั่งรองไห แลวกลับคืนมา อยูแตผูเดียว ปาไมชายเขียว เหลียวไมเห็นใคร เห็นแตฝูงแรง เห็นแตฝูงกา เห็นแตฝูงหมา ยื้อแยงกันกิน ดูนาสมเพช กระดูกกูเอย เรี่ยรายแผนดิน แรงกาหมากิน เอาเปนอาหาร เที่ยงคืนสงัด ตื่นขึ้นมินาน ไมเห็นลูกหลาน พี่นองเผาพันธุ เห็นแตนกเคา จับเจาเรียงกัน เห็นแตนกแสก รองแลกแหกขวัญ เห็นแตฝูงผี รองไหหากัน มนุษยเราเอย อยาหลงนักเลย ไมมีแกนสาร อุตสาหทําบุญ คํ้าจุนเอาไว จะไดไปสวรรค จะไดทันพระเจา จะไดเขานิพพาน อะหัง วันทามิ สัพพะโส อะหัง วันทามิ นิพพานะปจจะโยโหตุ.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๓

เมื่อเจามา เจาจะเอา เมื่อเจามา เจาก็ไป อันยศลาภ เหลือก็แต ทิ้งสมบัติ รางของตน จงเตือนตน ตนเตือนจิต ตนเตือนตน ตนแชเชือน สุขหรือทุกข ถาเราถือ หากปลอยวาง เพราะฉะนั้น

มีอะไร แตสุข มือเปลา มือเปลา หาบไป ตนทุน ทั้งหลาย เขายังเอา ของตน ตนได เตือนไมได ใครจะชวย อยูที่ใจ ก็เปนทุกข ก็วางทุกข จงเลือกทาง

มาดวยเจา สนุกไฉน จะเอาอะไร เหมือนเจามาฯ มิไดแน บุญกุศล ใหปวงชน ไปเผาไฟ ใหพนผิด ใครจะเหมือน ใครจะเตือน ใหปวยการฯ มิใชหรือ ไมสุขสันต สุขนิรันด วางทุกขเอย.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๔

บทปลงสังขาร

โอวาอนิจจาสังขารเอย เมื่อหมดหวังครั้งสุดทายไมหายใจ นอนตัวแข็งและสลดเมื่อหมดชีพ สูปาชาสิ้นเชื้อเหลือแตนาม นี่แหละหนอมนุษยเรามีเทานี้ วิญญาณปราศขาดลบดับจากกาย เมื่อชีวิตเรานี้มีลมอยู ทั้งภาวนาทําใจหัดใหเคย เมื่อสิ้นลมจิตพรากจากโลกนี้ อยาทําบาปนอยนิดใหติดพัน สูนรกอเวจีที่มืดมิด ตอนทนทุกขสยดสยองในกองไฟ หมั่นสวดมนตภาวนารักษาศีล ใหรูจักเคารพนบพระธรรม เราเกิดมาเพื่อตายไมใชอยู เมื่อเกิดมาเปนคนไดทั้งที เพื่อจะไดเปนสุขไมทุกขยาก ใครทําดียอมสุขแทจงแนใจ เรงบําเพ็ญทานศีลและภาวนา ทรัพยภายนอกเปนของโลกโศกระคน

มาลงเอยสิ้นสุดหยุดเคลื่อนไหว ธาตุลมไฟนํ้าดินก็สิ้นตาม เขาตราสังใสหีบสี่คนหาม ใครจะถามเรียกเราก็เปลาตาย หมดลมแลวก็ไมมีซึ่งความหมาย หยุดวุนวายทุกทุกสิ่งนอนนิ่งเลย จงเรงรูศีลทาน นะทานเอย อยาละเลยความดีทุกวี่วัน จะไดพาความดีไปสวรรค เพราะบาปนั้นจะเปนเงาตามเราไป สุดที่ใครจะตามติดไปชวยได ตามแตกรรมของผูใดที่ไดทํา สอนลูกหลานใหเคยชินทุกเชาคํ่า อยาลืมคําที่พระสอนวอนใหดี ทุกทุกคนจะตองสูความเปนผี ก็ควรสรางความดีติดตัวไป ไมคับแคนลําบากเมื่อเกิดใหม ใครทําชั่วทุกขยากไรยอมถึงตน แสวงหาแตสิ่งบุญกุศล ทรัพยภายในประดับตนพนทุกขเอยฯ


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๕

ระลึกถึงคุณพระศรีรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ องคสมเด็จพระศาสดา ทรงสงาดวยราศี ทรงมีเมตตาการุณ ทานเปนประทีปดวงสดใส องคแหงรัตนะมีสาม องคพระพุทธชินสีห ชาวพุทธทุกคนจงจดจํา ทุกคนจะเกิดเลื่อมใส ผูแนะนําคําสั่งสอน มวลหมูพระภิกษุสงฆ ลูกขอกมกราบวันทา

ขาขอนอมสักการบูชา ผูทรงปญญาและบารมี ประเสริฐเลิศดีพระคุณ แผบุญคํ้าจุนใหพนภัย ใหกําเนิดรัตนตรัยดวงงาม ระบือนามไปทั่วธานี ตรัสรูชอบดีซึ่งพระธรรม ชวยกันแนะนําใหแพรไป พระธรรมนําสุขใจสถาพร ศิษยพระชินวรทุกองค ไดดํารงพระศาสนา พุทธศาสนา จง ถาวรฯ

ระลึกถึงคุณ บิดา-มารดา อิมินา สักกาเรนะ ขาขอกราบสักการบูชา อันพระบิดามารดา ขาขอนอมระลึกถึงคุณ ทานมีเมตตาและการุณ มีพระคุณตอบุตรธิดา ไดใหกําเนิดลูกมา ทั้งการศึกษาและอบรม


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๖

ถึงแมนลําบากขื่นขม ทุกขระทมสักเพียงไร ทานไมเคยหวั่นไหว ตอสิ่งใดที่ไดเลี้ยงมา พระคุณทานลนฟา ยิ่งกวาธาราและแผนดิน ลูกขอบูชาเปนอาจินต ตราบจนสิ้นดวงชีวา ขอปวงเทพไทจงรักษา พระบิดามารดาของขาเทอญฯ

ระลึกถึงคุณอุปชฌายอาจารย อิมินา สักกาเรนะ ขาขอนอมสักการบูชา คุณพระอุปชฌายและอาจารย ผูใหการศึกษาและอบรม เริ่มตนจากวัยประถม ใหวิทยาคมเสมอมา เพิ่มพูนสติปญญา อีกวิชาศีลธรรมประจําใจ ทานชี้ทางสวางสดใส ทั้งระเบียบวินัยประจําตน ศิษยที่ดีตองหมั่นฝกฝน


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๗

ประพฤติตนเปนคนดี จงสังวรสํารวมเอาไว ทั้งกายและใจใหมั่นคง ตั้งจิตไวใหเที่ยงตรง เพื่อจรรโลงในพระคุณ ขอผลบุญโปรดจงเกื้อหนุน อาจารยผูมีพระคุณทุกทานเทอญฯ.

คํามอบกายถวายชีวิตแดพระผูมีพระภาคเจา

อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ภะคะวะโต ปริจจะชามิ. ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ผูเจริญ ขาพเจาขอถวายอัตภาพรางกายแดพระ ผูมีพระภาคเจา

คํามอบกายถวายชีวิตแดพระอาจารย

อิมาหัง ภันเต อาจะริยะ อัตตะภาวัง อาจะริยัสสะ ปริจจะชามิ. ขาแตพระอาจารยผเู จริญ ขาพเจาขอถวายอัตภาพรางกาย แดพระอาจารย

คําอาราธนาพระอาจารยเพื่อใหกรรมฐาน

นิพพานัสสะ เม ภันเต สัจฉิกรณัตถายะ กัมมัฏฐานัง เทหิ. ขาแตทานผูเจริญ ขอทานจงใหซึ่งพระกรรมฐานแกขาพเจา เพื่อกระทําให แจงซึ่งพระนิพพานในกาลบัดนี้ เถิด


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๘

คําสมาทานสมถกรรมฐาน (อานาปานสติ)

อุกาสะฯ ณ โอกาสบัดนี้ ขาพเจาขอสมาทาน ซึ่งพระกรรมฐาน ขอขณิก สมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ และวิปส สนาญาณ จงบังเกิดมี ในขันธสันดาน ของขาพเจา ขาพเจาจะตั้งสติไวที่ลมหายใจเขาออก หายใจเขารู หายใจออกรู สามหนและเจ็ดหน รอยหนและพันหน ตั้งแตบัดนี้ เปนตนไป เทอญ. เมื่อสมาทานกรรมฐานแลวพึงนั่งขัดสมาธิ (สุภาพสตรีจะนั่งพับเพียบก็ได) ขาขวาทับขาซาย มือขวาทับมือซาย ตั้งกายใหตรง ตั้งหนาตรง ทําใจใหสบาย หายใจใหเต็มที่ ไมตองเกร็งตัวเกร็งแขน ไมตองจดจอง ไมตองบังคับจิต ไมตอง บังคับลม ตั้งสติไวที่จมูก เวลาหายใจเขาลมกระทบสติรู เวลาหายใจเขาภาวนา ในใจวา “พุท” เวลาหายใจออกภาวนาในใจวา “โธ” หากจิตคิดไปทางอื่น พึงตั้งสติกําหนดจิตที่คิด ไมตองไปหามจิตไมใหคิด พึงกําหนดอยางนีจ้ นกวาจะเมือ่ ย แลวเปลีย่ นอิรยิ าบถ และกําหนดตามเดิมตอไป

คําสมาทานวิปสสนากรรมฐาน

อุกาสะๆ ณ โอกาสบัดนีข้ า พเจาขอสมาทานซึง่ วิปส สนากรรมฐาน ขอขณิก สมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ และวิปส สนาญาณ จงบังเกิดมี ในขันธสันดาน ของขาพเจา ขาพเจาจะตั้งสติไวที่รูปยืนในขณะที่ยืน โดยกําหนดวา “ยืนหนอ” ตั้งสติที่รูปเดินในขณะเดิน โดยกําหนดวา “ขวายางหนอ ซายยางหนอ” ตั้งสติ ไวที่รูปนั่งในขณะนั่ง โดยกําหนดวา “นั่งหนอ” ตั้งสติไวที่ทองในขณะหายใจเขา ทองพองขึน้ กําหนดวา “พองหนอ” ขณะหายใจออกทองยุบลง กําหนดวา “ยุบ หนอ” ขณะนึกคิดตั้งสติไวที่นามคิด กําหนดวา “คิดหนอ” เปนตน ตั้งแตบัดนี้ เปนตนไปเทอญฯ


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๓๙

บทแผเมตตาแกตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ อะหัง นิทุกโข โหมิ อะหัง อะเวโร โหมิ อะหัง อัพยาปชโฌ โหมิ อะหัง อะนีโฆ โหมิ สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ

ขอใหขาพเจามีความสุข ขอใหขาพเจาปราศจากทุกข ขอใหขาพเจาปราศจากเวร ขอใหขาพเจาปราศจากภัยอันตรายทั้งปวง ขอใหขาพเจาปราศจากความทุกขกายทุกขใจ ขอใหขาพเจามีความสุขกายสุขใจ รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเถิด

คําตั้งสัจอธิษฐาน

ขอเดชคุ ณ พระพุ ท ธเจ า , คุ ณ พระธรรมเจ า , คุ ณ พระสั ง ฆเจ า , คุ ณ พระอุ ป  ช ฌาอาจารย (หญิ ง ว า ครู บ าอาจารย ) คุ ณ พระมารดาบิ ด า, คุณทานบารมี ศีลบารมี, เนกขัมมบารมี ปญญาบารมี, วิริยะบารมี ขันติบารมี, สั จ จะบารมี อธิ ษ ฐานบารมี , เมตตาบารมี อุ เ บกขาบารมี , ที่ ข  า พเจ า ได บํ า เพ็ ญ มา, ตั้ ง แต เ ล็ ก แต น  อ ย, แต ร  อ ยชาติ พั น ชาติ , หมื่ น ชาติ แ สนชาติ , ทีร่ ะลึกไดกด็ ี มิระลึกไดกด็ ,ี ขอบารมีทงั้ หลายเหลานัน้ จงมาชวยประคองขาพเจา, ขอใหขาพเจา จงสําเร็จมรรคผล, ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด, นิพพานะ ปจจะโยโหตุ.

สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ

คําแผเมตตาแปล

สัตวทงั้ หลาย ทีเ่ ปนเพือ่ นทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเปนสุข เปนสุขเถิด อยาไดมเี วรแกกนั และกัน เลย


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๐

อัพฺยาปชฌา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.

จงเปนสุข เปนสุขเถิด อยาไดเบียดเบียนซึ่งกัน และกันเลย จงเปนสุข เปนสุขเถิด อยาไดมีความทุกขกาย ทุกขใจเลย จงมีแตความสุขกาย สุขใจ รักษาตนใหพนจาก ทุกขภัยทั้งหมดสิ้นเถิด

คําแผเมตตา (กรวดนํ้า) แบบพื้นเมือง

(ตั้งความปรารถนา) อิทัง ทานะกัมมัง นิพพานะปจจะโย โหตุ โน นิจจัง อิทัง สีละกัมมัง นิพพานะปจจะโย โหตุ โน นิจจัง อิทัง ภาวะนากัมมัง นิพพานะปจจะโย โหตุ โน นิจจัง

(คําหยาดนํ้าแผสวนบุญกุศล)

ยังกิญจิ กุสะกัง กัตตัพพัง กัมมัง สัพเพหิ กะเตหิ กะตัง ปุญญัง โน อะนุโมทันตุ สุณันตุ โภนโต เยเทวา อัสฺมิง ฐาเน อะธิคะตา ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สัพพะสัตตา1 สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ มาตาปตา โรสุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ ญาตะกา สุขิตา โหตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ อะญาตะกา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ ปสา สัพเพ ยักขา สัพเพ เปตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ ___________________________________________________ 1 ตามหลักแหงไวยากรณพึงวาสัพพะสัตตา แตบางแหงนิยมวา สัพพะสัตตานัง


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๑

สัพเพ นักขัตตา สุขัตตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ เทวา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ อาจะริยุปชฌายา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมัญจันตุ สัพพะสัมปตตีนัง สะมิชฌันตุ โว.

พุทโธ มังคะละ

พุทโธ มังคะละสัมภูโต พุทธะมังคะละมาคัมมะ ธัมโม มังคะละสัมภูโต ธัมมะมังคะละมาคัมมะ สังโฆ มังคะละสัมภูโต สังหะมังคะละมาคัมมะ

สัมพุทโธ ทีปะทุตตะโม, สัพพะทุกขา ปะมุญจะเร. คัมภีโร ทุทัสโส อะณุง, สัพพะภะยา ปะมุญจะเร. ทักขิเณยโย อะนุตตะโร, สัพพะโรคา ปะมุญจะเร.

วันทาหลวง (คําขอขมา)

วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ คะรุอุปชฌายาจะริเย สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ กัมมัฏฐานัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทมิ อาราเม พัธธะสีมายัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก เทวะโลเก พรัหมะโลเก ชัมพูทีเป ลังกาทีเป สะรีระธาตุโย เกสะธาตุโย อะระหังตะธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหัง วันทามิ สัพพะโส.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๒

วันทานอย

วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.

คําแสดงตนเปนพุทธมามกะ

เอสาหัง ภันเต สุจิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ อุปาสะกัตตัง สังโฆ ธาเรตุ อัชชะตัดเค ปาณุเปตัง สะระณัง คะตัง ขาพเจา ขอถึงพระผูมีพระภาคเจา แมนปรินิพพานมานานแลว กับทั้ง พระธรรมและพระสงฆ วาเปนสรณะที่พึ่งตลอดชีวิต.

คําอาราธนาศีล ๕

มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ. ทุติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สิลานิ ยาจามะ. ตะติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.

_________________________________________________________ หมายเหตุ : ถ า คนเดี ย ว เปลี่ ย น มะยั ง เป น อะหั ง , และเปลี่ ย น ยาจามะ เปน ยาจามิ. : ถาเปนศีล ๘ เปลี่ยน ปญจะ เปน อัฏฐะ.


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๓

สะระณะ และศีล ๕

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ หน) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุตยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง รับวา....อามะ ภันเต ๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๓. กาเมสุ มิฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๕. สุราเมระยะ มัชชะ ปะมาทัฎฐานนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๖. วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ๗. นั จ จะคี ต ะวาทิ ต ะวิ สู ก ะทั ส สะนะ มาลา คั น ธะ วิ เ ลปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะ วิภูสะนัฎฐานา เวระมะณีสิขาปะทัง สะมาทิยามิ หมายเหตุ : ถาเปนศีล ๘ ใหเปลี่ยนศีลขอ ๓ กาเมสุ มิจฉาจารา เปน อะพรัหมะจะริยา : เพิ่มศีลขอ ๖ , ๗ และ ๘


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๔

อานิสงสแหงการชักชวนผูอื่นถวายทาน

“ดู ก  อ นอุ บ าสกอุ บ าสิ ก าทั้ ง หลาย บุ ค คลใดถวายทานด ว ยตั ว เอง แตไมชกั ชวนผูอ นื่ ใหถวายทานดวย บุคคลนัน้ เมือ่ ตายไปแลวไมวา จะเกิดในทีใ่ ด ยอมไดซึ่งโภคสมบัติ (ความรํ่ารวย) แตจักไมไดซึ่งบริวารสมบัติ (มิตรสหาย, บริวาร) บุคคลใดชักชวนผูอื่นใหถวายทาน แตตนเองกลับไมถวาย บุคคลนั้น เมื่อตายไปแลวไมวาจะเกิดในที่ใด ยอมไดซึ่งบริวารสมบัติ (มากดวยมิตรสหาย, บริวาร) แตจักไมไดซึ่งโภคสมบัติ (มีความยากจน) บุคคลใดตนเองก็ไมถวายทานดวย แมคนอื่นก็ไมไดชักชวนดวย บุคคลนั้น เมื่อตายไปเกิดในที่ใดๆ ยอมไมไดแมสักวาขาวปลายเกรียน (ขาวสารหัก) พออิ่มทอง เขายอมเปนคนอนาถา หาที่พึ่งไมได บุ ค คลใดถวายทานด ว ยตนเองด ว ย ชั ก ชวนผู  อื่ น ให ถ วายทานด ว ย บุคคลนั้นเมื่อตายไปเกิดในที่ใดๆ ยอมไดทั้งโภคสมบัติ (ความรํ่ารวย) ทั้ง บริวารสมบัติ (มิตรสหาย, บริวาร) สิ้นรอยชาติบาง พันชาติบาง แสนชาติบาง” โอวาทธรรมของ พระสารีบุตรเถระ ถอดความจาก พระสูตรและอรรถกถาแปล ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย : ๒๕๒๕ เลมที่ ๔๐ หนา ๑๐๘


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๕

อานิสงสการสรางหนังสือเปนธรรมทาน

ทานที่ถวายหนังสือธรรมะ หรือพิมพหนังสือธรรมะแจกเปนธรรมทาน ขอใหทานจงเกิดความภาคภูมิใจเถิดวา ทานไดทําสิ่งที่มีคุณคา ๙ มงคล ดังตอไปนี้ ๑. ไดชื่อวาเปนผูมีสวนรวมในการรักษาพระพุทธศาสนาใหมีความยั่งยืน วัฒนาถาวร ๒. ไดชื่อวาเปนผูบําเพ็ญทานบารมีที่ยอดเยี่ยมคือ ธรรมทานบารมี ๓. ได ชื่ อ ว า เป น ผู  มี ส  ว นร ว มในการเผยแพร ห ลั ก ธรรมคํ า สอนของ พระพุทธเจา ๔. ไดชื่อวาเปนผูมีสวนรวมในการสรางความเห็นที่ถูกตอง (สัมมาทิฏฐิ) ๕. ไดชื่อวาเปนผูมีสวนรวมในการสงเสริมการปฏิบัติธรรมกรรมฐาน ๖. ได ชื่ อ ว า เป น ผู  มี ส  ว นร ว มในการเสริ ม สร า งสั น ติ ภ าพ และสั น ติ สุ ข แกชาวโลก ๗. ไดชื่อวาเปนผูมีสวนรวมในการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม อันดีงาม ๘. ไดชื่อวาเปนผูสงเสริมในการเลือกสรรสิ่งที่ดีใหแกผูรับ (เปนผูใหที่ดี) ๙. ไดชื่อวาเปนผูแสดงออกถึงนํ้าใจอันดีงามของกัลยาณมิตร (มิตรที่ดี) ทานที่ไดบําเพ็ญธรรมทานบารมีดังกลาวมาแลว ยอมประสบแตความสุข ความเจริญรุงเรือง ทั้งในชาตินี้และชาติหนา และเปนผูปราศจากทุกข โศก โรคภัย ทั้งปวง อกฺขรา เอกํ เอกฺจ พุทฺธรูป สมํ สิยา* สรางอักขรธรรมหนึ่งอักษร เทากับสรางพระพุทธรูปหนึ่งองค *(ที่มา : ศาสนวงศ ฉบับพระปญญาสามี, ๒๔๐๔)


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๖

รายชื่อผูรวมทําบุญพิมพหนังสือสวดมนต วัดจอมแจง อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม

สายวัดพระสิงห เชียงใหม พระครูอุปถัมภกิจโกศล พระมหาอํานวย ปฺญาวชิโร พระมหาวุฒิศักดิ์ อตฺถเมธี คุณแมสนิท อินทรเมรี คุณแมบัวลี ศรีรักษา คุณทองเหลือง สินชัย นายณัฐวุฒิ - นายณัฐดนัย ตอกัน คุณวิลาวัลย แกวฉลวย พรอมครอบครัว ส.กวีวัฒน คุณแมบัวผิน ไชยนิเวศน คุณแมกรรณิกา สุจริตจันทร พรอมลูกหลาน ม.ล.นิพล - คุณพัชรา นันทวัน ณ อยุธยา พรอมบุตรหลาน คุณวรินทรทิพย - คุณปกรณ อุปนันไชย คุณวรเดช - คุณเขมจิรา พรหมบุตร คุณชัชกรณ ชัยลังกา คุณชริศร จุลกะเสวี คุณชุติปภา จุลกะเสวี ร.ต.อ.ภูวเดช จุลกะเสวี คุณชอบ - ฐิติรัตน ขันทอง น.ส.ธวัลรัตน - น.ส.ธนันทกานต ขันทอง คุณพิมพนิภา ธนะขวาง คุณรชต - ด.ญ.นัฐวรรณ อุปนันไชย คุณนงเยาว คําเรืองฤทธิ์ - Tankeok Pheng พรอมครอบครัว คุณแมสุพิณ ไชยจินดา พรอมครอบครัว

300 บาท

3,570 บาท

500 350 3,500 700 700

บาท บาท บาท บาท บาท

700 บาท 1,500 บาท 700 บาท 300 700 1,400 500

บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๗

คุณแมศรีพรรณ มงคลแกว พรอมครอบครัว คุณพอเปลี่ยน - คุณแมศรีวร - นองปุย ใจการ คุณตาสมพงษ - คุณยายสาย ผองแผว คุณแมละไม นินมนตรัตน คุณแมทองพูล แซอึ้ง - คุณพัชรี พรชัย คุณพอทรัพย - คุณแมบุญชวย มธุรส - คุณสมพร คุณจิตบังเอิญ ทองเจริญ พรอมบุตรหลาน คุณพอประวร - คุณแมศรีรวย - น.ส.สุภาพ ปญญาเฟอน คุณอัครเดช - คุณเบญจพร - น.ส.มนพร - คุณปยวัฒน พงษจิตตภักดิ์ คุณชญฒว ไชยมงคล - น.ส.สุดฤทัย ใจฮืก คุณอรสุดา อุนใจ คุณกานต สัตยานุการ อ.มานิต - อ.ศรีทอน วรรณแดง คุณศรีพรรณ - คุณณัฐพล - น.ส.จารนัย งามสีขํา น.ส.พิมลมาศ - ด.ญ.ธัญญภัฏ งามสีขํา น.ส.จันทรติ๊บ กันธิยะ คุณมนตชัย - คุณกายส - ด.ช.พิสณฑ ขุมทอง คุณสมคิด บรรยาย คุณคณิศร วงแหลมทอง ดร.ศักดา เพ็งพันธุ คุณประไพ นิลแกว พรอมครอบครัว คุณวัชรี - รวิภัทร จินารักษ คุณพิทยา สมภมิตร คุณปารณีย หลํ่าแสง คุณธนิดา - คุณรัชวุฒิ พรหมทวี พออินสอน - แมศรีนวล นิ่มแสวง พรอมบุตร-ธิดา คุณอรุณี มโนวงคษา

200 210 210 210 350

บาท บาท บาท บาท บาท

420 บาท 490 280 210 70 70 350

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

1,000 บาท 700 บาท 700 บาท 700 บาท 350 บาท 140 บาท 220 บาท 700 บาท 140 บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๘

คุณสายหยุด ยามณี คุณจันทรพลอย ศรีประเสริฐ คุณพัฒนา ชัยคํามา คุณอุษา เปงชัยยะ คุณพันศรี สิทธิเลิศ คุณลัดดา อินทรมา พรอมครอบครัว คุณกันยสินี ปรีชาจินดาวุฒิ คุณดวงเดือน สกุลรุงเรืองศิริ น.ส.จารุวรรณ ทองสุข คุณธนกร สีคํายอด คุณประณม ขอดใจ คุณสมพงษ สกุลรุงเรืองศิริ คุณกมลพร ตั้งสกุล คุณกชกร ตั้งสกุล คุณวรุตตม เสตสุวรรณ คุณชาญณรงค การิวัตร คุณสุณีย และคุณธัญวรัตน เสมอใจ น.อ.หญิง อิสรีย ปาลกวงค ณ อยุธยา ส.อ. นิติพัฒน และ ส.อ.หญิง จามจุรี ปาลกวงค ณ อยุธยา คุณมนัญญา มิ่งขวัญ คุณจุไร - คุณเชรศร จุลกะเสวี คุณชัชรินทร จุลกะเสวี จาสิบเอกสมยศ สุนทรไชย นายจํานง นิลแกว นางลําเพย นิลแกว คุณอันธิ์ชา นิลแกว คุณธัญญลักษณ นิลแกว

350 140 140 700 140 350 700 350 210 140 140 140

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

420 บาท 5,000 2,000 1,000 100 700 500 350 350

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

700 บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๔๙

คุณถนอมศักดิ์ - คุณนงนุช นวลหลา คุณพอสุนทร - คุณแมผองศรี สิทธิมงคล สายกรุงเทพ พล.ต.ต.อัครชัย - กชพรรณ พงษศิริ และครอบครัว พ.ต.ท.จักร จุลกะรัตน และครอบครัว ส.อ.ประภาร - ภัณฑิลา นาคพงษ และครอบครัว คุณชวนชม จรรยาออน และครอบครัว คุณธีศิษฏ โคมทองสถิตย และครอบครัว คุณชริศร - ชุติปภา - ร.ต.อ.ภูวเดช จุลกะเสวี และครอบครัว ด.ต.สมเจต ยกตระกูล - วัชรี แซลี และครอบครัว จ.ส.ต.เขตต โควหกุล และครอบครัว คุณพิรดล คุปตถาวรฤกษ และครอบครัว คุณกุลวัฒน จงประเสริฐ คุณอชิรวิทย - มาริสา - ภรภัทร วรัตรุจิวงศ คุณพจนา ศุภศรี และครอบครัว คุณณัฏฐากานต พรหมศิริ และครอบครัว คุณภคมน สงาศรี และครอบครัว คุณชัยรัตน ไลสกุล และครอบครัว คุณชญานัทช จิ๋วพัฒนกุล และครอบครัว คุณพีรวิทย ศุภศรี และครอบครัว คุณจุฑามาศ สายสมุทร คุณชุลีพร เนื้อเย็น และ คุณสุปรีดี เอี่ยมสอาด คุณสิรภัทร มิ่งสอน และครอบครัว คุณพัฒพงษ นํ้าผึ้งมงคลสกุล และครอบครัว ร.ต.อ.หญิง รัตติกาล ขุนเภา และครอบครัว ส.ต.อ.อติกันต เปรมสุข และครอบครัว ส.ต.ท.หญิง วรรณภา ชมสาร และครอบครัว

1,540 บาท 2,000 3,500 3,000 2,000 1,400 1,000 1,000 1,000 770 700 700 700 700 700 700

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

700 บาท 630 630 560 500 500 500 500

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๐

คุณอาทิตยา สกุลแกว, คุณนพพล ศรีออน คุณพรพิมล โคตรบัว และครอบครัว คุณสุนิษา ศิริมงคลวรกุล คุณเชิดชาย จันสีดา และครอบครัว คุณขจรเกียรติ - กรณัฐ ศรีคง และครอบครัว ด.ญ.ณิชา อารีบําบัด น.ส.นตินา อารีบําบัด นายภัทรพงศ อารีบําบัด น.ส.อมรรัตน อินทรัตน นางละมอม อินทรัตน นางจิภัสสร จตุรพนิต นางสาวกัญญา ศรีนคร และครอบครัว นางสาวจิตวดี กิจประยูร นายดนัย มหัทธนะสมบูรณ ด.ช.ณัฐวชิระ มหัทนะสมบูรณ นายสมหวัง กิจประยูร นางสุภาพ กิจประยูร นางสาววิลาวัณย วุฒินันท นางสาวดนฤดี วิจารณปรีชา และครอบครัว นางสาวเบญสุภางค ศิริรังษี นางสาวอมรรัตน ตื้อมี ด.ญ.เขมิสรา พลอยบุตร นางสาวสุจิตรา ตื้อมี นางสมศรี เพิ่มทวี และครอบครัว นางจันทรเพ็ญ เหลาธนู นายพีรพงศ เหลาธนู ด.ญ.สุชัญญา เหลาธนู

350 บาท 210 3,500 3,500 70 70 70 70 70 490 300 70 70 70 70 70 70 70 210 70 70 70 70 70 70 70

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๑

ด.ญ.สามิณี เหลาธนู น.ส.รัตติยา อันนานนท และครอบครัว นางจิรวรรณ นิลโกศล และครอบครัว นางสาววรรณภัทร มงคลฤกษ คุณฉลวย มงคลฤกษ คุณเอิบ พลเพ็ชร น.ส.จริสุดา ทองสง ด.ช.รัฐศาฎย วิไลโรจน นางจงจิต พัฒมุข นางสาวสุภาพร นอยเผา คุณซกคู แซเลา และคุณจี้กิ้ม แซอึ้ง นางรัชดา สุทธิสวางวงศ และครอบครัว คุณดวงเดือน รังษีวงศ คุณสําอาง เกื้อเกตุ คุณวนิดา พูลเกตุ คุณอุไร วัฒนะ น.ส.วิลาวัณย อังคเมธากร และนายกฤติเดช เกาเอี้ยน คุณแมกิมลั้ง แซลิ้ม นางประมาณ วงคขาหลวง น.ส.มารยาท วงศขาหลวง น.ส.รจนา วงศขาหลวง นายองอาจ นางจันฑพร วงศขาหลวง น.ส.ศิรดา - น.ส.พรกมล - นายอธิปตย วงศขาหลวง สายวัดจอมแจง พระใบฎีกาอานนท ปฺญาปโชโต พระธนอรรถ รตนสิริ วัดมะขามหลวง พระณิชาภัทร กิตติญาโณ

70 70 140 70 70 70 70 70 630 140 500 100 100 100 100 70 70 70 140 140 140 140 140

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

500 บาท 300 บาท 200 บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๒

นายจํารัส นางโสภา พรหมตามัน แมอุยเบียว วรรณะ คุณชาญ นางบัวชุม ด.ญ.บุณยาพร โอฬารเสถียร พอหนานตั๋น แมอวน บุญเจริญ พอณรงคศักดิ์ แมกรรณิกา ปนดงเขียว อาจารยสุมาลี ปนกอง พอถวิล แมแสงจันทร ตันตะละ แมวันดี ใจหลา พอนอยประสิทธิ์ แมบุญเถิง กันทะสี พรอมครอบครัว พอรัตน แมแกวดี จันทา นายไชยพล นางจันทรนวล ปนดงเขียว แมอุยสา สุวรรณ ครอบครัว บุญเที่ยง อุทิศไปหา พอคําปน แมจุมใจ บุญเที่ยง พอนอยมา แมสา หลาคํา แมมูล นอยคําเขียว แมจิ๋น ใจฉกันจ แมศรีพันธ วรรณะ แมมาลี เชียงบุญ แมคําสุข ศรีอินตา แมพัชรี ฟองวรรณา แมพรรณ เขียวดง แมเบญจพร สุคําตัน แมอุไร สุคําปน แมคําใบ จันตะมา แมจันทรฟอง ทนารัตน แมชวนพิศ ปนกอง ด.ญ.ธมลวรรณ ปนกอง

840 500 500 400 350 350 300 300 300 200 200 200

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

200 บาท 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๓

แมวันเพ็ญ ภิญโญฤทธิ์ แมไร ปญญามัง แมลําดวน อินตา นางณัควรรณ มณีเลิศ แมทับ กันทิ แมสมศรี บุญเจริญ แมทองทิพย แกวเล็ก แมอนงค แสงสุวรรณ แมบัวผา ภูชัย พอมานิตย แมจันทนา ดวงเงิน แมลูน วรรณมูล นางสาวยุวดี วรรณมูล นายศักดิ์นิรันดร บุญเจริญ พอประจักษ แมบัวไลย ซอนฝน พอปวน แมจั๋น ถาดง แมจันทรออน ปอสุวรรณ แมสุใจ สุคําตัน นายบุญรอย นางธนาพร หลักทอง นายวิโรจน นางพรพิมล วรรณะ นางจันทรแดง ปนกอง แมบัวผัน วรรณะมูล แมพูนสุข สุคําปน แมอนงค สุคําปน แมสมศรี ปวงคํา แมแกวลูน ชัยชนะ แมอุยมูล อิ่นเจริญ แมมณฑา สุธรรมซาว

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๔

นายเฉลิมศักดิ์ นางภูนิษา ใจหลา นายทวนทอง จันทา นางสาวกาญจนา จันทา พอสวัสดิ์ แมบุญปน สารอูยี่ พอจําลอง แมทับ พรหมนุษย พอประพันธ แมขันแกว ปนเมือง พอชัย แมแดง จันทอง แมลาวรรณ ปนดงเขียว แมบัวเรียว คําตะ พอไพศาล แมดรุณี จันตะ แมอุยจันทร ศรีประเสริฐ แมอุยเบียว วรรณะ แมแดง วรรณะ พอหนานเกตุ แมวิลัย จันทอง แมจันทรฟอง ปนดงเขียว พอประหยัด แมคํามา ชัยชนะ พอจันทรคํา แมแกวมา แกวสุวรรณ นายอานนท จิณารักษ นายอานันท จิณารักษ พอสวัสดิ์ แมเฉลียว กาวิละ นายพิพันธ นางศรีแพร สุขแกว พรอมครอบครัว ด.ช.ณัฐพล ซอนฝน พอแกว แมปน ญาณะ แมยุพิน นันตา แมแสงจันทร กันทะปา พอติ๊บ วรรณะ แมแกวดี จันทา

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๕

แมสุนันท ปนกอง แมบานเย็น พวงทอง แมสมบูรณ สุคําปน แมอรทัย ศรีสมบัติ พอนอยเนียม วรรณะ พอบุญธรรม คําปน นางจารุณี จั๋นทา พออุนเรือน จันตะมา คุณชนกนันท จันตะมา คุณสมพงษ ปละดี พอตัน - แมยวง ปนดงเขียว แมจันทรศรี วันนะ แมออม บริษัท นันทพันธพริ้นติ้ง จํากัด

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 5,940 ขออนุโมทนาบุญ

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


หนังสือสวดมนต

วัดจอมแจง ๕๖

บันทึกธรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.