หนังสือสวดมนต์ วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล

Page 1


ตามรอยพระบาทองคบรมศาสดา เจาตองมีดวงจิตดุจหินผา มุงหมายที่นิพพานใหแมนมั่น อยาปลอยใจออนแอเหมือนเศษทราย จะพายแพกิเลสแมเล็กนอย จงแหวกวายทวนสายธารแหงตัณหา พญามารกับองคพุทธะมักคูกัน จงบากบั่นมุงมั่นสรางบารมี กิเลสมารรายก็สยบอยูแทบเทา พุทธภูมิสิ่งสูงสง คืออาณาจักรของคนกลาพลีชีพเพื่อพระธรรม นิพพานคือนํ้าอมฤตธรรมประจําโลก ใครปวยทุกขสุขโศกหรือโลภโกรธหลงมืดมน จงอธิษฐานจิตลิ้มรสสรงธารธรรม เจาจะประสบความสะอาด ความสงบ ความสวางไสวจากพระพุทธองค

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

ณ โฮงหลวงวัดบานปาง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ลําพูน ๒๑ ก.พ. ๓๒




ตามรอยบาทนักบุญ ทางของนักบุญเปนทางแหงความเสียสละ ความบริสุทธิ์ เปนทางประเสริฐที่สุด และยอมมีอุปสรรคขวากหนามขวางกั้นเปนธรรมดา จงกาวดําเนินไปดวยความอดทน และสุขุม ทางของนักบุญก็จะทอดสูดวงใจของทานทุกคน

พร ธรรมและเมตตา

ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม

วันจันทร์ที่ 6 เดือนธันวาคม พุทธศักราช 2536


พิมพ์ถวายเป็นพุทธบูชา อิมินาปุฺญกัมฺเมนะ ดวยเดชะกุศลผลบุญที่ขาพเจา

ทั้งหลาย ไดถวายหนังสือสวดมนตทําวัตรเปนธรรมทาน เพื่อ เปนพุทธบูชา ธัมมบูชา สังฆบูชานี้ ขออุทิศกุศลผลบุญนี้ไปให แก มารดา บิดา ครูอุปชฌายอาจารย เหลาญาติ ของขาพเจา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ที่ระลึกไดก็ดี ระลึกไมไดก็ดี และ สรรพสัตวทั้งหลายทั่วทุกสารทิศ โดยไมมีประมาณใหไดรับ สวนบุญนี้ดวย และขออานิสงสที่ขาพเจาทั้งหลายไดกระทํานี้ จงเปนพลวปจจัยอุปนิสัยตามสง ใหขาพเจาเจริญดวย มนุษย สมบัติ สวรรคสมบัติ นิพพานสมบัติ ในปจจุบันชาตินี้ ดวยเทอญ.


ค�าน�า ก่อนที่ท่านจะไหว้พระสวดพระกัมมัฏฐานเจริญจิตเมตตาภาวนา ให้ ท่านได้ขงขวายหาพานใส่ดอกไม้มา 1 ใบ แล้วแต่งข้าวตอกดอกไม้ ธูป เทียน อย่างละ 5 เล่ม จัดแบ่งโดยเรียบร้อยดีงามเป็น 5 ส่วน ให้นั่งคุกเข่าถือพาน ขึน้ เหนือคิว้ แล้วกล่าวค�าชุมนุมเทวดา ต่อด้วยค�าขึน้ ขันธ์ 5 โกฐาก หน้า 16 ว่าจบแล้วให้นา� ไปประเคนพระพุทธรูปซึง่ เป็นพระประธานในวัดหรือในบ้าน เสร็จแล้วให้ตั้งต้นสวดกัมมัฏฐานพร้อมกับก�าหนดจิตพิจารณาไปด้วย ขอให้เข้าใจว่าทุกขณะเวลาคือปัจจัยแห่งการประพฤติธรรมทั้งนั้น ขณะสวดสาธยาย ขณะนิง่ ขณะเคลือ่ นไหวอิรยิ าบถ ทัง้ 4 (ยืน เดิน นัง่ นอน) ขณะบริโภคปัจจัย 4 (จีวร เสื้อผ้า อาหาร เสนาสนะ ยารักษาโรค) ขณะเจ็บปวยหรือสุขสบาย หรือเวลาใกล้ตาย หรือเห็นความตายของผู้อื่น นั่นคือจิตได้หมุนจักรธรรมโดยมีไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เป็น สือ่ น�าการเห็นแจ้งซึง่ นิพพานอันจะน�าวิถชี วี ติ พ้นจากทางลุม่ หลงโดยประการ ทั้งปวง ไม่สะดุดหลงยึดติดโลกบัญญัติใดๆ ทั้งสิ้น เมื่อสวดถึงค�าไหว้ พระธาตุแสงแก้วมงคล หน้า 31 (ถ้าเราไหว้พระธาตุที่ไหนก็ให้เปลี่ยนชื่อ พระธาตุทนี่ นั่ ) เสร็จแล้วให้นงั่ สมาธิ คือเอาเท้าขวาทับเท้าซ้าย พนมมือไหว้ แล้วกล่าวค�าอธิษฐานภาวนา หน้า 32 แล้วให้เอามือวางทับซ้อนกันที่ตัก มือขวาวางซ้อนทับบนมือซ้าย หงายมือทั้งสองขึ้น ตั้งตัวให้ตรงด�ารงสติมั่น ให้หลับตางับปาก ส�ารวมกายวาจาใจ ให้ร�าลึกถึงพุทธคุณ โดยบริกรรม ภาวนาเอาพุทธานุสติเป็นอารมณ์กัมมัฏฐานทุกลมหายใจเข้าออก หายใจ เข้าก�าหนด “พุท” หายใจออกก�าหนด “โธ” บริกรรมไปจนกว่าจิตจะสงบ


เป็นฐานที่ตั้งแห่งการเจริญวิปัสสนา (การเจริญวิปัสสนาหมายความว่า การท�าในใจให้เพ่งพิจารณา ให้เห็นแจ้งสัจธรรม ตามสภาวะแห่งสังขารหรือ สิ่งทั้งหลาย) เมื่อจิตใจสงบแล้วให้เจริญจิตพิจารณาสติปัฏฐาน ทั้ง 4 พิจารณาเป็น อย่างๆ คือให้พิจารณากาย 1 เวทนา 1 จิต 1 สภาวธรรมหรือสิ่งทั้งปวง 1 พิจารณาให้เห็นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือพิจารณาให้เห็นโทษภัยของ ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย และความที่จะต้องพลัดพรากจาก สิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวง ให้เราใช้สติปญั ญา พิจารณาอย่างใดอย่างหนึง่ โดยละเอียด แยบคายตามแต่สติปัญญาของใครจะสั่งสม อบรมมามากน้อยเพียงไร ให้ ภาวนาพิจารณาบ�าเพ็ญเพียรไปจนจิตเกิดความแจ่มแจ้ง เห็นโทษเห็นภัย ในวัฏสงสาร (ความวนเวียน ซ�้าๆ ซากๆ) จนเกิดความเบื่อหน่ายคลายจาก ความเพลิดเพลิน ความมัวเมาไปตามความโลภ ความโกรธ ความหลง ขณะทีป่ ญ ั ญาพิจารณาจนเกิดความรูส้ กึ เบือ่ หน่ายคลายความก�าหนัด คลายจากความโลภ ความโกรธ ความหลง นี่แหละคือธรณีประตูที่ นักปฏิบตั ไิ ด้กา้ วสูท่ างแห่งสัมมาปฏิบตั ิ (การปฏิบตั ติ นให้กลมกลืนเป็นหนึง่ เดียวตามกฎแห่งธรรมชาติ) ขอให้เพียรพยายามปฏิบตั เิ ช่นนีไ้ ปเรือ่ ยๆ เพราะ วิธีนี้แหละที่ท�าให้เกิดมรรคหรือ ทางที่จักน�านักปฏิบัติสู่ผลจนท�า พระนิพพานให้แจ่มแจ้ง ประจักษ์แก่ดวงตาให้ยงิ่ ๆ ขึน้ ต่อจากนีก้ เ็ ทน�า้ หยาด กรวดน�้าแผ่เมตตา กุศลจิตแด่ผู้มีอุปการคุณ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย การสวดมนต์พระกัมมัฏฐานเจริญจิตเมตตาภาวนานี้ อย่างน้อยท�าให้ ได้ทุกเวลาเช้า-เย็น หรือเมื่อไปนมัสการปูชนียสถานที่ส�าคัญ หรือที่วิเวก หรือใช้สวดในงานปฏิบตั ธิ รรมรุกขมูล งานเข้าปริวาสกรรม ใช้บทกัมมัฏฐาน นี้สวดจักเป็นประโยชน์เจริญในทางกุศลเกิดผลานิสงส์อย่างมากมาย คือ จิตใจจะเกิดความสงบ สะอาด สว่างไสวได้ธรรมจักษุบรรลุถึงอมฤตธรรม อันจักอ�านวยผลให้ผู้ปฏิบัติให้อยู่เหนืออ�านาจแห่งความเกิด ความแก่


ความเจ็บ ความตาย หรือโลกธรรมทั้งมวล บทสวดกัมมัฏฐานและบทอืน่ ๆ ได้รบั การสืบทอดกันมาแต่บรู พาจารย์ โดยเฉพาะพระครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญแห่งลานนาไทย ซึง่ ถือได้วา่ เป็นแบบ อย่างของบทสวดสาธยายและปฏิบัติกัมมัฏฐานโดยตรง ท่านพระครูบาเจ้า ศรีวิชัยยังได้แนะวิธีปฏิบัติการภาวนาให้หลายๆ อย่าง ที่เรียกว่ากัมมัฏฐาน รวมอันเป็นแนวทางที่ท่านถือปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจ�าอยู่แล้ว ในที่นี้ยังได้ บรรจุค�าสอนอานิสงส์การรักษาศีลที่พระครูบาเจ้าศรีวิชัยได้แนะน�าและ ยกตัวอย่างวิถชี วี ติ ทางธรรมของผูค้ นหลายชัน้ วรรณะในยุคต่างๆ ทีไ่ ด้จรรโลง และเผยแพร่ธรรมวินัยสู่ชาวโลก เช่นพระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งเป็นแบบ อย่างอันดีเยี่ยมของชนชั้นปกครอง ที่ได้อุทิศพระองค์เพื่อเชิดชูพระพุทธ ศาสนา ถึงขนาดทรงให้พระราชบุตร พระราชธิดา บวชเพือ่ เป็นภิกษุ-ภิกษุณี (พระมหินและพระนางสังฆมิตตา) ประพฤติธรรมและเผยแพร่พุทธธรรม พร้อมกับคณะสงฆ์ทที่ รงได้สง่ ไปตามสายต่างๆ ทัง้ ในชมพูทวีปและต่างแดน เพื่อเกื้อกูลความสงบสุขสู่มนุษยชาติตราบทุกวันนี้ ซึ่งในการจัดพิมพ์หนังสือสวดกัมมัฏฐานเป็นธรรมทานครั้งนี้ ได้รับ สายธารศรัทธาจาก คุณเดวิด คุณกนกวรรณ ดารี่ และเด็กชายอานันดา เด็กหญิงสุชาดา ดารี่ เพื่อให้เป็นบารมีธรรมกุศลเกื้อกูลอานิสงส์ แด่ ดวงวิญญาณ คุณพ่อปลัดมานะ ไชยมงคล คุณพ่อยูจีน ดารี่ ในโอกาส ท�าบุญอายุวัฒนมงคล คุณกนกวรรณ ดารี่ (ไชยมงคล) ครบรอบ 33 ปี เพื่อ ส่งเสริมสืบสานสัมมาปฏิบัติกัมมัฏฐานแบบจารีตโบราณสายลานนาไทย ซึ่งถือว่าเป็นทางสายตรงที่น�าสู่การรู้แจ้งสัจธรรมของชีวิตหรือโลก เพราะ แต่ละบทจะเจาะตรงทีต่ วั ของเรา ทุกสิง่ ต้องเริม่ ต้นทีช่ วี ติ มิใช่จะต้องค้นคว้า แสวงหาจากทีอ่ นื่ ไกล การเรียนรูโ้ ลกก็ตอ้ งรูใ้ นรายละเอียดทีก่ ายยาววาหนา


คืบนี้ที่เป็นศูนย์รวมของสรรพสิ่ง แม้การรู้จักพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ก็รู้จักได้จากภายในตัวเรานี้เอง เพราะฉะนั้นการให้ธรรมทาน ของศรัทธาผู้เคารพเลื่อมใสครั้งนี้ ดุจการให้ดวงตาคือดวงธรรมแก่ ชาวโลก พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ว่า “ตราบใดยังมีการปฏิบัติชอบอยู่แล้ว ไซร้ โลกนี้จะไม่ว่างจากพระอรหันต์” และทรงย�้าอีกว่า “สุขอื่นหมื่นแสน ไม่มาตรแม้นความสงบ” นี้คือบทพิสูจน์วิถีชีวิตที่ประเสริฐสุด คือทาง แห่งความสงบส�ารวมเท่านัน้ ทีจ่ ะยังความอิม่ ความเต็มให้แก่จติ วิญญาณให้ แก่ชาวโลกได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เจ้าภาพยังได้ร่วมกุศลสร้างศาสนสถานหลายอย่างให้เป็น พุทธสถานในวัดพระธาตุแสงแก้วมงคล จึงถือได้ว่าท่านเจ้าภาพได้เพาะ หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งบุญกุศลในเนื้อนาบุญอันประเสริฐ เพื่อประโยชน์สุข แก่ตนและชนทั้งหลายอย่างยิ่งใหญ่ จึงขออนุโมทนาในกุศลเจตนาและ ขอบพระคุณเป็นอย่างยิง่ ขออ�านาจคุณพระศรีรตั นตรัยจงอภิบาลคุม้ ครอง คุณเดวิด คุณกนกวรรณ ดารี่ และเด็กชายอานันดา เด็กหญิงสุชาดา ดารี่ พร้อมด้วยญาติมิตร ให้แคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวง ขอจงประสบ แต่ความสุขความส�าเร็จทั้งทางโลกและทางธรรม จงทุกประการ พร ธรรมและเมตตา

ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม

กระท่อมหญ้าคาบนยอดเขาคิชฌกูฏ วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล 23 เมษายน 2556


สารบัญ ข้อประพฤติธรรมที่พระพุทธองค์ทรงประทานแก่พระโมคัลลานะ พระมหากรุณาจากองค์พระบรมศาสดา ว่าด้วยที่สุดของพรหมจรรย์ พรหมจริยสูตรว่าด้วยเหตุประพฤติพรหมจรรย์ แนวทางของการปฏิบัติธรรม ชุมนุมเทวดา ( สัคเค แปล ) ค�าขึ้นขัน 5 โกฐาก กัมมัฏฐานแปล วันทาหลวง สวดกัมมัฏฐาน ไฟ 4 กอง ลม 7 กอง ค�าไหว้ปาระมี 30 ทัส ค�าไหว้ปาระมี 9 ชั้น ค�าไหว้พระธาตุแสงแก้วมงคล ค�าอธิฏฐานก่อนภาวนา กรวดน�้าตอนเช้า ปัฏฐนฐปนคาถา กรวดน�้าตอนเย็น ค�าสูมาพระแก้วเจ้าตั้ง 3 ค�าไหว้พระครูบาเจ้าศรีวิชัย วันทาน้อย อริยมรรคมีองค์แปด ค�าบูชาพระรัตนตรัย ปุพพภาคนมการ ปัพพชิตอภิณหปัจจเวกขณปาฐะ ปัจฉิมพุทโธวาทปาฐะ ค�าปรารถนาไหว้พระจุฬามณีฯ

หน้า 9 9 10 10 11 16 16 19 20 21 25 25 26 28 29 30 31 32 35 37 38 38 39 44 45 45 48 49


ค�าไหว้พระโพธิสัตว์เจ้า ระลึกถึงคุณบิดา-มารดา ระลึกถึงคุณอุปัชฌาย์อาจารย์ การกล่าวภาวนา โยขันดอก ค�าขอปีติ ค�าภาวนาพุทธคุณ ค�าภาวนาธรรมคุณ ค�าภาวนาสังฆคุณ ค�าภาวนาเมตตาตนเอง ค�าภาวนาพรหมวิหาร ค�าภาวนากายะคะตาแลฯ ค�าภาวนาทิฏฐี ค�าภาวนากังขา ค�าภาวนาไตรลักษณ์ (3 ไตร) การภาวนาศีล แนะน�าการเดินจงกรม การเข้านิโรธสมาบัติ ค�าไหว้คุณ รูปพรหมมี 4 แล การภาวนาเพ่งดูบุญตัวเอง ค�าขอสมาทานเอาครองวัตร ธรรมเทศนาอานิสงส์การรักษาศีล เสียงกระซิบสู่ดวงใจฯ ค�าอาราธนาศีล 5 ค�าอาราธนาศีล 8 ค�าอาราธนาพระปริตร ค�าอาราธนาธรรม ค�าถวายสังฆทาน ค�าถวายข้าวพระพุทธ ค�าลาข้าวพระ ค�าจบขันข้าวก่อนใส่บาตร

50 54 54 56 56 57 58 58 59 59 60 61 61 62 62 65 65 68 69 69 70 71 74 85 89 89 89 90 90 90 91 91


ข้อประพฤติธรรมที่พระพุทธองค์ ทรงประทานแก่พระโมคัลลานะ ...โมคัลลานะ ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ได้สดับว่าบรรดาธรรมทัง้ ปวงไม่ควร ยึดมั่นครั้นได้สดับดังนั้นแล้ว เธอทราบชัดธรรมทั้งปวงด้วยปัญญาอันดียิ่ง ดังนั้นแล้ว เธอได้เสวยเวทนาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นสุขก็ดีเป็นทุกข์ก็ดี มิใช่ สุขมิใช่ทุกข์ก็ดี เธอพิจารณาเห็นว่าไม่เที่ยง พิจารณาเห็นด้วยปัญญาเป็น เครือ่ งหน่าย พิจารณาเห็นด้วยปัญญาเป็นเครือ่ งดับ พิจารณาเห็นด้วยปัญญา เป็นเครื่องสละคืนในเวทนานั้น เมื่อพิจารณาเห็นดังนั้น ย่อมไม่ยึดมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่สะดุ้งหวาดหวั่น เมื่อไม่สะดุ้งหวาดหวั่น ย่อม ดับกิเลสให้สงบได้เฉพาะตัวและทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่ จบแล้ว กิจที่จะต้องท�าได้ท�าเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องท�าอย่างนี้อีกมิได้มี ว่าโดยย่อข้อปฏิบตั เิ พียงเท่านีแ้ ล ภิกษุชอื่ ว่าน้อมไปแล้วในธรรมทีส่ นิ้ ตัณหา มีความส�าเร็จล่วงส่วน เกษมจากโยคะล่วงส่วน เป็นพรหมจารีบุคคลล่วง ส่วน มีที่สุดล่วงส่วน ประเสริฐสุดกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายฯ

พระมหากรุณาจากองค์พระบรมศาสดา ภิกษุทั้งหลาย ! กิจอันใดที่ศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแล้วพึงท�าแก่สาวกทัง้ หลาย กิจอันนีเ้ ราได้ทา� แล้วแก่พวกเธอ ทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ! นั่นโคนไม้ นั่นที่สงัด เธอทั้งหลายจงบ�าเพ็ญ เธอทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาท เธอทั้งหลายอย่าเป็นผู้ที่ต้องร้อนใจใน ภายหลัง นี่เป็นวาจาเครื่องพร�่าสอนเธอทั้งหลาย ของเรา ฯ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม


ดูกรอานนท์ ธรรมและวินัยใด ที่เราตถาคตแสดงแล้ว และได้บัญญัติ แล้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้นจักเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว ฯ ผู้ใดเห็นธรรม ผู้ที่เห็นเราตถาคต

ผู้นั้นเห็นเราตถาคต ผู้นั้นคือผู้เห็นธรรม

ว่าด้วยที่สุดของพรหมจรรย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ดังพรรณนามาฉะนี้ พรหมจรรย์นี้จึงมิใช่มีลาภ สักการะและความสรรเสริญเป็นอานิสงส์ มิใช่มีความถึงพร้อมแห่งศีลเป็น อานิสงส์ มิใช่มีความถึงพร้อมสมาธิเป็นอานิสงส์ มิใช่มีญาณทัสสนะเป็น อานิสงส์ แต่พรหมจรรย์นี้มีเจโตวิมุตติอันไม่ก�าเริบ เป็นประโยชน์ เป็นแก่น เป็นที่สุด

พรหมจริยสูตร ว่าด้วยเหตุประพฤติพรหมจรรย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พรหมจรรย์นี้เราประพฤติมิใช่เพื่อหลอกลวงคน มิใช่เพือ่ เรียกร้องคน (ให้มานับถือ) มิใช่เพือ่ อานิสงส์ ลาภสักการะ และความ สรรเสริญ มิใช่เพื่ออานิสงส์เป็นเจ้าลัทธิอย่างนั้นอย่างนี้ มิใช่เพื่อให้คนรู้จัก ตัวว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ที่แท้พรหมจรรย์นี้เราประพฤติเพื่อสังวร เพื่อปหานะ (ความละ) เพื่อวิราคะ (คลายความก�าหนัดยินดี) เพื่อนิโรธะ (ความดับทุกข์) ๑๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นได้ทรงแสดงพรหมจรรย์ อันเป็นการละเว้น สิ่งที่กล่าวตามกันมา เป็นทางหยั่งลงสู่พระนิพพาน เพื่อสังวร เพื่อปหานะ ทางนัน้ มหาบุรษุ ทัง้ หลายผูแ้ สวงหาคุณอันใหญ่ได้ดา� เนินแล้ว ชนเหล่า ใดด�าเนินตามทางที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้แล้วนั้น ชนเหล่านั้นชื่อว่าท�า ตามค�าสอนของพระศาสดาจะกระท�าที่สุดทุกข์ได้ จบพรหมจริยสูตรที่ ๕

แนวทางของการปฏิบัติธรรม

ที่ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม ได้แนะน�าแก่สานุศิษย์ ณ ที่วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อ.ดอกค�าใต้ จ.พะเยา บัดนี้เป็นเวลาแห่งการบ�าเพ็ญเพียรภาวนาแล้วขอให้เราท่านทั้งหลาย จงอธิษฐานจิตตั้งใจ เพื่อจะน้อมน�าชีวิตสู่วิถีทางแห่งพุทธธรรมในการที่จะ เอาธรรมปฏิบตั มิ าเจริญเป็นอารมณ์กมั มัฏฐาน ให้ผสานปรากฏแจ่มแจ้งแก่ ดวงจิตดวงใจของเราให้ยิ่งๆ ขึ้น เพราะการบ�าเพ็ญภาวนานี้ เป็นหน้าที่ โดยตรงโดยเฉพาะของพุทธบริษทั ทัง้ มวล ไม่วา่ จะเป็นบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ ก็มคี วามจ�าเป็นเหมือนกันทัง้ นัน้ เพราะการปฏิบตั ธิ รรมเป็นสิง่ จ�าเป็นแก่ชวี ติ ทุกชีวิตไม่จ�ากัดบุคคล ไม่จ�ากัดกาลเวลา ไม่จ�ากัดสถานที่ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ๆ ไม่วา่ เราจะท�ากิจการท�างานอะไรอยูห่ รือไม่วา่ เราจะอยูใ่ นอิรยิ าบถใด ๆ เรา ก็ควรฝกให้มีสติปัญญาในการที่จะมองให้เห็นชัดแจ้งในชีวิต และสรรพสิ่ง ตามสภาพความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงด้วยความไม่ประมาทอยู่เสมอ หมายความว่าการปฏิบัติกัมมัฏฐานหรือการเจริญจิตภาวนานี้ (การท�าให้ เกิดขึ้นในใจบ่อย ๆ) เราจะต้องบ�าเพ็ญเพียรในทุกที่ทุกสถาน ทุกโอกาส ไม่ ว่าจะเป็นเวลาท�ากิจท�างานอะไรอยูค่ อื ให้เรามีสติสมั ปชัญญะในการพิจารณา โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๑๑


ดูงานดูคน ดูทุกสิ่งทุกอย่าง มองโลกแล้วย้อนเข้ามาพิจารณาดูภายใน ตัวเรา มองให้เห็นสภาพแห่งความเหมือนกันของสิ่งทั้งหลาย ว่าสรรพสิ่ง ทัง้ ปวงมีสจั ธรรมอยู่ในตัวมันเอง หรืออยูใ่ นสัจจะอันเดียวกันตลอดเวลาอยู่ แล้ว คือความเป็นอนิจจัง ความเป็นทุกขัง ความเป็นอนัตตา หรือความไร้ แก่นสารของสิง่ ทัง้ ปวง หรืออยูด่ ว้ ยสุญญตาวิหารธรรม คือมองเห็นโลกโดย ความเป็นของว่าง หรือมองเห็นความว่างในทีท่ งั้ ปวง เราจงพิจารณาให้เห็น อยู่ทุกวันเวลาหรือในทุก ๆ เหตุการณ์ที่มาพบพาน ทั้งทางตา ทางหู ทาง จมูก ทางลิ้น ทางกาย และทางจิตใจ แล้วเราก็น้อมเข้ามาพิจารณาให้เห็น เป็นไตรลักษณ์ คือ สัจธรรมแห่งความเป็นของไม่เทีย่ ง ความเป็นทุกข์ ความ ยึดถือว่าเป็นตัวตนไม่ได้ ของสิ่งทั้งปวงดังที่กล่าวแล้ว การปฏิบัติธรรมนี้ไม่ จ�าเพาะว่าจะต้องมานั่งหลับหูหลับตาอยู่กับที่ จนตัวแข็งทื่อเท่านั้น ทั้งนี้ หมายความว่าเป็นการเจริญจิตให้พจิ ารณาทีจ่ ะปรับตัวให้กลมกลืนเป็นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติ เพราะสิ่งทั้งหลายมันจะมีการวิวัฒนาการสู่การเกิด-ดับ เป็นสภาพตลอดเวลาอยู่แล้ว เราก็ต้องมีสติปญ ั ญาให้ทันกับเหตุการณ์นั้นๆ ที่ปรากฏแล้วจางหายไป...... จางหายไป...... ไม่มีเรื่องใดจีรังยั่งยืนสักเรื่อง ไม่ว่าเรื่องดีเรื่องร้าย เรื่องใหญ่เรื่องเล็ก ในที่สุดก็จะสู่สภาพความว่าง เราต้องไม่ปล่อยให้สิ่งทั้งหลายมาหลอกลวงหรือมามีอ�านาจอิทธิพลเหนือ เรา เราต้องกล้าเผชิญหน้ากับทุกสิง่ ทุกอย่างทีเ่ ราพานพบไม่วา่ จะเป็นบุคคล ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ แม้กระทั่งความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ที่บังเกิดขึ้นแก่คนที่เรารู้จัก หรือไม่รู้จักก็ตามเราก็น้อมน�ามาพิจารณาให้ เห็นว่า ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย หรือเป็นความพลัดพราก จากสิ่งทั้งหลายว่ามันเป็นธรรมดาของสัจธรรมที่จะต้องเป็นอยู่อย่างนั้น ไม่มีใครจะหลีกเลี่ยงได้ ไม่ว่าจะเป็นมหาจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ หรือสามัญชน ไม่วา่ ผูว้ เิ ศษศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือคนยากไร้อนาถา ไม่วา่ ใครจะมีอา� นาจลาภยศจน ล้นฟาก็ไม่มใี ครจะหลีกหนีพน้ สภาวธรรมนีไ้ ปได้ ในเรือ่ งนีเ้ ราจะต้องน้อมน�า ๑๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


มาพิจารณาทุกวันเวลา วันละหลาย ๆ ครั้ง ด้วยการท�าอยู่เช่นนี้แล สภาพ ธรรมหรือสภาวะแห่งสัจจะก็ฉายแสงสว่างไสวขึ้นภายในตัวเรา หรืออีกนัย หนึง่ ก็คอื การท�าให้แจ้งซึง่ พระนิพพานคือความรูเ้ ห็น ความไม่มไี ม่เป็น ไม่ใช่ สิ่งใด ๆ ภายในใจของเรานี้แหละถ้าพูดกันตามความเป็นจริงแล้ว โดยเนื้อ แท้แห่งสัจธรรมของพระพุทธองค์ หรือองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือสิ่งที่ เรียกว่านิพพาน ไม่ได้อยูท่ ไี่ หนอืน่ มันอยูภ่ ายในตัวเรานีเ้ อง คืออยูภ่ ายในเนือ้ อยูภ่ ายในกระดูก อยูภ่ ายในลมหายใจ อยูใ่ นตา อยูใ่ นหู อยูใ่ นลิน้ อยูใ่ นกาย อยู่ในจิตใจ อยู่ในสิ่งทั้งหลาย อยู่ในบุคคลทุกรูปทุกนาม อยู่ตามท่อนไม้ ก้อนหิน อยู่ในอวกาศ อยู่ในธาตุดิน ธาตุน�้า ธาตุลม ธาตุไฟ อยู่ในวิญญาณธาตุ ถ้าเราเพ่งพิจารณามองให้ถกู ต้องตามหลักสัมมาปฏิบตั เิ ช่นนีแ้ ล้วเราจะเห็น ได้อย่างแจ่มชัดว่า ทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีอะไรขัดกันเลย ถึงเมื่อร้อนเราก็ รับสภาพแห่งความร้อน ถึงเมื่อหนาวเราก็ยอมรับสภาพแห่งความหนาว เมื่อทุกข์เราก็รับสภาพแห่งความทุกข์ เมื่อเจ็บปวยเราก็ยอมรับสภาพแห่ง ความเจ็บปวย ถึงเวลาที่จะต้องตาย เราก็ยอมรับสภาพของสิ่งนั้น ๆ เราไม่ ไปฝนไม่ไปขัด ไม่สะดุง้ หวาดหวัน่ ไม่หลงงมงายไปตามอารมณ์ ปล่อยให้สงิ่ ทั้งหลายเป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ให้สัจธรรมได้น�าวิถีชีวิตของเรา ผสาน กลมกลืนกับธรรมชาติอย่างเต็มที่ ชีวิตของเราก็จะสู่ทางแห่งอิสรภาพ ปราศจากสิ่งร้อยรัด ไม่ติดไม่ข้องอยู่ด้วยเรื่องใด ๆ มีอะไรก็ท�าไปตามความ เหมาะควรแก่ฐานะหน้าที่ เหมือนกับสายลม มันมีอสิ ระทีจ่ ะพัดไปทางเหนือ ทางใต้ ไปทางตะวันออก ไปทางตะวันตก ขึ้นเบื้องบน ลงเบื้องต�่า อย่างนี้ มันเป็นอิสระ ไม่ข้อง ไม่ยึด ไม่ติดสิ่งใด ๆ หรือ ที่ไหน ๆ นีเ่ ป็นข้อกัมมัฏฐานทีข่ อแนะน�าให้ทา่ นทัง้ หลายได้หนั มามองดูโลกและ ตัวเราโดยละเอียดถีถ่ ว้ น อย่ามองข้ามและล�าเอียง อย่าตัดสินสิง่ ใดด้านเดียว หรือด้วยความเห็นแก่ตัว ไม่จ�าเป็นว่าเราจะต้องปฏิบัติตามวิสัยโลก แต่เรา ต้องพร้อมที่จะให้อภัยแก่บุคคลที่เราไม่ชอบใจ หรือในเหตุการณ์อันเป็นที่ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๑๓


ไม่สบอารมณ์ เราต้องยอมรับสภาวจิตของแต่ละบุคคลมันไม่เหมือนกัน ยิ่ง ต่างกาลต่างเวลา ต่างสถานที่ ต่างบุคคล ต่างเหตุการณ์ ทุกสิง่ ทุกอย่างย่อม มีการเปลี่ยนแปลงเป็นหลักธรรมดา แม้อาหารก็ยังเปลี่ยนรส คนก็ย่อมมี เปลี่ยนอารมณ์ สายลมยังเปลี่ยนทิศทาง กาลเวลาไม่หยุดนิ่งสรรพสิ่งทั้ง หลายย่อมไหลไปสู่ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนันตา ฉะนั้นเราจงมาฝกท�า ในใจไม่ให้ยึดถือว่าเป็นตัวเรา – ตัวเขา ท�าในใจให้อยู่เหนือความรู้สึก ว่ามี สัตว์บุคคล ให้อยู่เหนือสิ่งสมมติบัญญัติทั้งมวล ถ้าไม่ส�าคัญมั่นหมายว่ามี เรามีเขาแล้ว มันก็ไม่มีปัญหา ไม่มีเรื่องขัดขวางกัน คนเรามันก็เข้ากันได้ทุก รูปทุกนาม หรือเข้ากันได้ทกุ เหตุการณ์ ด้วยวิถที างนีแ้ หละทีจ่ ะท�าให้สจั ธรรม อันมีอยูใ่ นโลกในสากลโลกมารวมกันอยูภ่ ายในตัวเรา อย่าไปจ�ากัดตัวของเรา อย่าไปจ�ากัดว่าจิตนี้เป็นของเรา อย่าไปจ�ากัดคนอื่น อย่าไปจ�ากัดสิ่งใด ๆ ปล่อยให้สิ่งทั้งปวงเป็นไปตามสภาวะของมันโดยไม่มีขอบเขตจ�ากัด หรือ พยายามมองดูชีวิตและโลกนี้โดยความเป็นของว่างอยู่เสมอ เพราะนี่แหละ คือโพธิมณฑลหรือสถานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ประทับอยู่เนือง ๆ นี่คือ สุญญตาวิหารธรรม ณ จุดนีแ้ หละทีเ่ ป็นประโยชน์ เป็นบุญญาพลาอานิสงส์ จะเป็นมรรคเป็นผลท�าพระนิพพานให้แจ่มแจ้งปรากฏแก่ดวงตาของเรา โดยพลัน ขอให้ทุกท่านจงพยายามตั้งจิตอธิษฐานบ�าเพ็ญเพียรภาวนาให้ บุญสมภารของแต่ละท่านให้แก่กล้าเข้มแข็งในทางพุทธธรรม อย่าได้หลงทาง ที่จะท�าให้จิตใจเสื่อมทราม หรือปล่อยตัวปล่อยตนให้ประมาทต่อชีวิต แม้ กระทั่งการอยู่การกิน การบริโภคปัจจัย 4 (จีวร เสื้อผ้า อาหาร สถานที่อยู่ อาศัย และยารักษาโรค) เราก็ต้องไม่ประมาทเพราะว่าวันเวลาที่ผ่านไป ๆ นั้นไม่มีอะไรแน่นอน เราจะตายเดี๋ยวนี้ จะตายวันนี้ จะตายพรุ่งนี้ ไม่มีใคร อาจจะรู้ได้ เพราะฉะนั้นเราจงมาปลุกกาย ปลุกใจให้ตื่นขึ้น เพื่อลืมตาดู องค์พระพุทธเจ้า ลืมตาดูธรรมสัจจะ ที่มีอยู่ในตัวเราให้ปรากฏแจ่มแจ้งยิ่ง ๆ ขึ้น ซึ่งมีทางนี้ทางเดียวที่เราจะต้องเพียรพยายาม พยายามบ�าเพ็ญภาวนา ๑๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ไปอย่างไม่ลดละ บรรลุถงึ ทีส่ นิ้ สุดของทางแห่งการปฏิบตั ไิ ด้โดยไม่ตอ้ งสงสัย เพราะสัจธรรมหรือนิพพานเป็นทัศนวิสัยที่พระพุทธองค์ได้ทรงประทาน ให้แก่ชาวโลก เราจงเปดจิตเปดใจขึ้นเพื่อพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ เปดจิตเปดใจขึ้นเพื่อพระธรรมทุก ๆ พระธรรมขันธ์ เปดจิตเปดใจขึ้นเพื่อ พระอริยสาวกทุก ๆ พระองค์ มาสถิตสถาน ณ วังแก้วแห่งดวงจิตเรา จงท�าให้ โลกแห่งมายาการ โลกแห่งความไม่เทีย่ งแท้แน่นอน โลกแห่งความทุกข์ยาก ล�าบาก โลกแห่งกิเลสตัณหา ปัญหานานัปการ ให้เป็นโลกของพระพุทธองค์ อย่างเต็มที่ จงยังชีวติ และวันเวลาทุกขณะให้เป็นปัจจัยเพือ่ พระนิพพานทุก เมื่อ มองให้เห็นทุกสิ่งทุกอย่างดุจความว่างเปล่า ปล่อยทุกสิ่งทุกอย่างให้ ผสานกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวตามกฎของธรรมชาติ ให้ดินท�าหน้าที่ของดิน น�้าท�าหน้าที่ของน�้า สายลมท�าหน้าที่ของลม ไฟท�าหน้าที่ของไฟ สรรพชีวิต ทัง้ หลายก็จงมีลมหายใจ เพือ่ รักษาตนในทางแห่งความส�ารวมสังวรสงบและ สันติเถิด.

พุทธสุภาษิต

สัพฺเพธัมฺมา นาล� อภินิเวสายะ สิ่งทั้งหลายทั้งปวง อันบุคคลไม่ควรยึดมั่นถือมั่น

คาถาของพระอัชชชิ

ย�กิฺจิ สมุทยธัมฺมัง สัพฺพันฺตัง นิโรธธัมฺมัง

สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีการเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไปเป็นธรรมดา โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๑๕


ชุมนุมเทวดา (สัคเค แปล) สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน อารามวัตถุหิ ( เคหะวัตถุหิ ) เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา ติฏฐันตา สันติเก ยังมุนิวะระจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ สัคเค กาเม สาธุ โว โน ดูราสัปปุริสะ ตั้งหลาย สุณันตุ จุ่งจักฟัง มุณิวะระจะนัง ยังบาลีธรรมอันประเสริฐแห่ง พระพุทธเจ้า อันได้สถิต ฐาเน ในส�านักอารามแห่งผู้ข้าตั้งหลาย ยักขะคันธัพ พะนาคา คือ ยักขา เทวดา นาคะ เทวดา เทวะ อันว่าเทวดาตั้งหลาย ติฏฐันตา อันตั้งอยู่ภูมิยะ จะเหนือแผ่นดินก็ดี สัคเค ในเมืองฟาก็ดี กาเม จะ ในกามโลกคือเมืองคนและเมืองฟาตั้งหกก็ดี คิริสิขะระตะเฏ เหนือจอมเขา ขึ้นเบื้องบนก็ดี จันตะลิกเขตเต อันอยู่ในอากาศก็ดี วิมาเน อันอยู่ในวิมาน ปราสาททีเป อันอยู่ในทวีป ในเกาะก็ดี รัฏเฐจะ อันอยู่ในเมืองก็ดี คาเม จะ อันอยูใ่ นบ้านนิคมคามก็ดี ตะรุวะนะคะหะเน ในต้นไม้ในปาไม้ ในคุม่ เครือเขา ในถ�้าก็ดี เคหะวัตถุมหิ ในเรือนก็ดี เขตเต ในไร่นาก็ดี ชะละถะละวิสเม ในน�้าในบก ในที่บ่ราบบ่เปียง อะยันตุง จุ่งมาเสตุง เพื่อจักมาอนุโมทนา สาธุการ ซึ่งผู้ข้าตั้งหลาย ในการได้มา ปาเป็งวัตร ปฏิบัติกัมมัฏฐาน เจริญเมตตา ภาวนา ในกาละบัดนี้ ยามนี้จิ่มแด่เตอะ ฯ

ค�าขึ้นขัน ๕ โกฐาก โยโส สมเด็จเลยพระเปนเจ้าตนเปนปน เกล้าโลกลือชา โส ภควา อันว่า พระพุทธเจ้าตนนั้นนา อรหัง ตนเปนอรหันตา ตนวิเศษ ตรัสรู้แจ้งเจตยอด เญยยธรรม สัตถา วะโห ตนเปนนายน�าหมู่ เญยยะโก น�าสัตว์เข้าสู่ พระนิพพานน�าสัตว์ออกจากสงสารสมุทรสาครยาวย่านกว้าง น�าสัตว์ข้าม ๑๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ถึงต่าตางยอดเกษมสุข น�าสัตว์ปนจากทุกข์ติทิและกิเลสพันห้าร้อยบ่เศษ ตัดเสียด้วยดี เพื่อปารมีเจ้าได้สร้างมาเมินมากกว้าง ว่าได้ 4 อสงไขย ปาย แสนมหากัปป พระเปนเจ้าฮอมหับมาตัง้ แต่เกาถราบต่อเต้าเถิงได้ตรัสพญา สัพพัญู ขึ้นนั่งเหนือแต่นแก้ว ผาบแปแล้วยังหมู่มารา พระก็มา เตสนา สั่งสอนปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 บ่เมินเนิ่นจ้าก็ได้เถิง อะระหันตา เป็นรัตนะ 3 สิ่ง ครบถ้วนยิ่งบรมวล รัตนัง อันว่าแก้วทั้ง 3 นี้นาเลยดีกว่าแก้วตุกสิ่งใด ๆ ในสากลโลก เถิง แม้นว่าแก้วแกมฝนแสนห่า ก็ยังบ่มีก่าเต้าแก้ว 3 ดวง แม้นว่าแก้วตั้งหลาย ตั้งปวง เอาไปเปนแหวนทอดห้าง ก็ฮู้แตกม้างบ้างแหงใน เถิงแม้เนระตีกัญ ไจยใสจั้นจาติ ก็ยังบ่สู้สะอาดเต้าใดนา เถิงว่าแก้วประภาจมจื่นหลับลุกตื่น ได้กิ๋นยังบ่เต้ารสศีลรสธรรมพระพุทธเจ้า เถิงว่าวิทูรย์แก้วเก้าแก้วกอโกฏ สีแดงเพชรเม็ดสีแสงวะวาบเปนแก้วก่ามากราคาแปง กันว่าเอาไปเปนแหวน เครื่องหย้อง ก็งามแต่แห่งห้องเขตเมืองคน กันว่าดับจิตตนก็เอาไปตวยบ่ได้ เถิงว่ามีเข้าของไว้ใจ้จ่าย หลายหมื่นหลายปัน ลูกหลานตี่อยู่ทางหลังก็ลู่กั๋น เอาไปกิ๋น ๆ จ่าย ๆ ก็บ่เป็นขัวเปนฮาวแก้วก่ายขึ้นสู่จั้นฟาตี่ตางงาม อันว่า แก้วตัง 3 นี้นา ดียิ่งโยชน์กว่าแก้วมณีโชติจักรวัติราจา โย สันนิสิโน วะระโพธิมูเล มารังสะเสนัง มะหันจิ๋งวิจัยโย สัมโพธิ มาคัญจิ๋ง วะอะนันตั๋ญญาโณ โลกุตตะโม ตั๋งปะณะมามิพุทธัง ตั๋งปะณะ มามิธัมมัง ตั๋งปะณะมามิสังฆัง,สาธุ สาธุ โอกาสะ ข้าแต่พระปัญจะรัตนะ ผ่านแผ้ว พระแก้วเจ้าตั้ง 5 ผะการ อันทรงอนันตาธิคุณญาณวิเศษ เหตุว่า อัชจะในวันนี้ก็เป็นวันดี ดิถีอันวิเศษ เหตุว่าเดือน..... ( ขึ้น...แรม ) ค�่า ก็มา จุจอดรอดเถิง เติงเสียยังสมณะศรัทธาและมูลศรัทธาผู้ข้าทั้งหลายก็บ่ละ เสียยังฮีตบ่รีตเสียยังกองประเพณีอริยะสัปปุริสะเจ้าทั้งหลาย ก็จึ่งได้พา กั๋นปาเป็งวัตรปฏิบัติกัมมัฏฐาน เจริญเมตตาภาวนา ผู้ข้าทั้งหลายก็จึ่งได้ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๑๗


โสรงขงขวายตกแต่งแปงพร้อม แล้วน้อมน�ามายังมธุปุบผา ราจาดวงดอก เข้าตอกดอกไม้และล�าเตียน มาจ�า๋ เนียนไว้เหนือขันธ์ ปัน เปน 5 โกฐาก ส่วน ปฐมะวิภาคเบื้องต้นหัวตี ขอถวายปูจาแก่พระมุนีตนสักสวาด กับตั้ง พระสารีริกธาตุ ตั้งพระพุทธรูปพระพุทธบาท พระธาตุ พระธรรม พระเจติยะ เจ้าตั้งหลายว่าสันนี้แท้ดีหลี ส่วนตุติยะภาคกัณฑ์ถ้วนสอง ปองส�าแดงโตษ หลอนผู้ข้าทั้งหลายได้กระท�าฮ้ายโตษโตษา ผู้ข้าขอถวายปูจา พระนวโลกุต ตระธรรมเจ้าเก้าผะการกับตัง้ พระปริยตั ธิ รรมเจ้า 10 ประการ ส่วนตะติยะ วารกั๋ณฑ์ถ้วน 3 งามบ่เส้า ผู้ข้าตั้งหลายขอถวายบูชา ยังพระอริยะสาวกะ ทัง้ หลาย หมายมีพระอริยะมหาโกณทัญญะเปนเก้า ถราบต่อเต้าเถิงพระอริยะ สาวกจุตนจุองค์ๆ ส่วนจะตุวารกัณฑ์ถ้วน 4 งามล้วนที่บ่อาจจักสังขยา ผู้ข้าตั้งหลาย ก็ขอถวายปูจายังวิปัสสนากัมมัฏฐาน และสมถะกัมมัฏฐาน ดวงวิเศษ อันเปนเหตุหื้อปัณณะสัตว์ทั้งหลาย ได้เถิงโสดา สะกิทาคา อะนะคา อะระหันตา อรหันตี๋ ปาระมีญาณ ส่วนปัญจวารกั๋ณฑ์ถ้วน 5 ผู้ข้าตั้งหลาย ก็ขอถวายปูจ า ยังครูบาอาจารย์เจ้าทัง้ หลาย ตนสัง่ สอนยังสมถะกัมมัฏฐาน และวิปสั สนากัมมัฏฐานหมายมีพระอริยะมหากัสสปะเปนเก้า ถราบต่อเต้า เถิงครูบาอาจารย์เจ้าตั้งหลายตนสั่งสอนยังอักขระ พยัญชนะ ฑีฆะรัสสะ น�้าธรรมก�าสอนบทบาทบาลี แก่สมณะศรัทธาผู้ข้าทั้งหลาย หลอนสมณะ ศรัทธาและมูลศรัทธาผู้ข้าตั้งหลายได้ประมาทด้วยอเนกจาติ หากหลอนมี ด้วยอิริยะปาตะตั้ง 4 อันรู้แจ้งถี่ หากได้กระท�าดั่งอั้นก็ดี อันบ่รู้แจ้งถี่ หาก ได้กระท�าดั่งอั้นก็ดี ได้ปมาตะประมาท ได้ขึ้นที่ต�่าย�่าที่สูง ได้ติเตี๋ยนนินทา เล่าหน้าจาขวัญ ว่าค�าบ่ดีบ่งาม ได้ถ่มน�้าลายได้คายน�้าหมาก ตกใส่ข่วงแก้ว ทั้ง 3 ประการ ได้เอาลูกไม้ในวัดในวามากิ๋นโดยบ่ได้บอกได้กล่าวดั่งอั้นก็ดี ผู้ข้าตั้งหลายก็กลั๋วเปนโตษ ขอพระปัญจะรัตนะผ่านแผ้วพระแก้วเจ้า ตั้ง 5 ประการ จุ่งมีธรรมะเมตตา อว่ายหน้าเปนปฏิคะหะรับเอาแล้ว ๑๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ยังอามิสะปูจา สูมาคารวะแห่ง สมณะศรัทธาแลมูลศรัทธาผู้ข้าตั้งหลาย เพื่อหื้อหายกลายเป็นวิปาโกอโหสิกรรม อย่าหื้อเปนนิวรณ์ธรรมกรรมอัน แก่กล้า อันจักห้ามดับเสียยังหนทางขึ้นสู่จั้นฟา และพระนิพพาน เสียแก่ สมณะศรัทธาและมูลศรัทธาผู้ข้าตั้งหลายนั้น จุ่งจักมีเตี่ยงแต้ดีหลี พุทธะปูชามหาเตชา ธัมมะปูชามหาปญญา สังฆะปูชามหาลาภา ปูชาระเห ปูชายะโต พุทเธยะติ จะ สาวะเก ปะปญจะสะมะติกกัน๋ เตตินเน โสกะปริเทเว เต ตาทิเสปูชายะโต นิพพุเต อะกุโตภะเย นะสักกา ปญญา สังขาตุง อิเมตตะมาป เกนะจิ อิมินา อัคคิธูปะ บุปผาราชา ปูชาคาระวา กัมเมนะเมตไตยะ พุทธัสสะทัสสะนัญจะ ละภามิหัง ยาวานุปชชะเต พุทโธ เมตไตยโย เทวะปูชิโต สังสาเร สังสารันโตป อะปาเยนะขะมามิหัง นิพพานะ ปจจะโย โหตุ โน นิจจัง ฯ

กัมมัฏฐานแปล

(หันทะ มะยัง กั๋มมัฏฐานะ สุตตะ ปาฐัง ภะณามะ เส) สาธุ สาธุ อัสสาสะ ปัสสาสะ นิสสาสะสุ วิ อะ ติ มะ สัง อัง ขุ 8 ตั๋วนี้ ได้พระสูตรเจ้า 8 ก�๋าปีกือว่า สุตตั๋นตะ ละหุระสูตร สุสิมะสูตร ฑีฆะนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตะนิกาย อังคุตตะระนิกาย ขุททะกะนิกาย รวมกันได้ 8 ก�๋าปี อันจักลมอันข้าหายใจออกไป ได้สองหมื่นหนึ่งปันขันธ์ ปา ปา มะ จุ ปะ 5 ตั๋วนี้ ได้พระวินัยเจ้า 5 ก�๋าปีกือว่า ปาราจิกกั๋น ปาจิตตี๋ มะหาวรรค จุลละวรรค ปริวาร รวมกันได้ 5 ก�า๋ ปี อันจักลมอันข้าหายใจเข้ามา ได้สองหมืน่ หนึ่งปันขันธ์ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ 7 ตั๋วนี้ ได้พระอภิธัมมาเจ้า 7 ก�๋าปี กือว่า สังคิณี เปนตา วิภังคะ เปนหู ธาตุกะกา เปนดัง ปุคคะละปัญญัติติ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๑๙


เปนปากและลิน้ กะถาวัตถุ เปนตัว๋ ยะ มะ กะ เปนจิตใจ มหาปัฏฐาน รักษา ดินน�้าลมไฟนี้ไว้ บ่หื้อดับหื้อวอด ได้สี่หมื่นสองปันขันธ์ รวมกั๋นตัง 3 วรรค นั้น ได้แปดหมื่นสี่ปันขันธ์ อันว่า พระสูตร พระวินัย พระอภิธัมมา พระปรมัตถะ เจ้าสามถะไหล บ่จักลมเข้าออกไปมาได้ ผู้ข้าก็เตี่ยงว่าจักตายเน่าปอง อยู่บ่ได้ กะตาธิการ ปาเป็งธรรมกระท�าบุญ ไหว้สานมัสการ เมตตา ภาวนา ไหว้พระนบธรรมด้วยตน แห่งข้าได้แล (กราบ)

วันทาหลวง

(หันทะ มะยัง นะมัสสะการะ มหาธาตุ ภะณามะ เส) วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ครุอุปัชฌายาจะริเย สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ กัมมัฏฐานัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะสีมายัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สารีระธาตุ มหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก เทวะโลเก พรัหมะโลเก ชัมพูทีเป ลังกาทิเป สะรีระธาตุโย เกสาธาตุโย อะระหันตาธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติ สะหัสเสธัมมะขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหังวันทามิ สัพพะโส ฯ (กราบ)

๒๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


สวดกัมมัฏฐาน

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (วา ๓ หน กราบ) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ (กราบ) นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมา โณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ พุทโธ เม นาโถ ธัมโม เม นาโถ สังโฆ เม นาโถ กัมมัฏฐานัง เม นาถัง กัมมัฏฐานะทายะกะ จะริโย เม นาโถ อะหัง ภันเต พุทธานุสติกัมมัฏฐานัง ยาจามิ พุทธานุสติกัมมัฏฐานัง เทถะ เม ภันเต อะหัง ภันเต ปติ อุปจาระสะมาธิง ยาจามิ ฯ (กราบ) อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโตโลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ ฯ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตั๋ง เวทิตัพโพ วิญูหีติ ฯ (กราบ) โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๒๑


สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะ ปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเณยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ (กราบ)

บทสวดกัมมัฏฐาน อัตถิ อิมัสมิง กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสัง นะหารู อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง วักกั๋ง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกั๋ง ปหะกั๋ง ปัปผาสัง อันตั๋ง อันตะคุณัง อุทะริยัง กะรีสัง ปตตั๋ง เสมหัง ปุพโพ โลหิตั๋ง เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตั๋ง มัตถะเก มัตถะลุงคันติ ทวัตติงสาการัง ฯ อะยัง อัตตะภาโว อะนิจจั๋ง ทุกขัง อะนัตตา อะสุจิ อะสุภัง อิมัง กัมมัฏฐานัง ปุนัพภาโวติ ฯ อะจิรัง วะตะยัง กาโย ปะฐะวิง อธิเสสสะติ ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ นิรัตถังวะ กะลิง คะรัง ฯ ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ฯ รูปักขันโธ เวทนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญา ณักขันโธ ปัญจักขันธา อัชฌัตตา พะหิทธา สังขารา อะนิจจา ทุกขา อะนัตตา วิปะริณามะธัมมา ฯ อะนิจจา วะตะ สังขารา อุปปาทวะยะธัมมิโน อุปปัชชิตวา นิรุชฌันติ เตสัง วูปะสะโม สุโข ฯ นามะรูปัง อะนิจจั๋ง ขะยัตเถนะนิจจั๋ง วะตะ นิพพานัง นามะรูปัง ทุกขัง ภะยัตเถนะ สุขัง วะตะ นิพพานัง นามะรูปัง อะนัตตา อะสาระกัต ๒๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


เถนะ สารังวะตะ นิพพานัง นามะรูปัง อะนิจจัง นามะรูปัง ทุกขัง นามะรูปัง อะนัตตา นิจจัง วะตะ นิพพานัง สุขัง วะตะ นิพพานัง สารัง วะตะ นิพพานัง นิพพานัง ปะระมัง สุขัง ฯ (กราบ)

กรวดน�้าแผ่เมตตา ยังกิญจิ กุสะลัง กัมมัง กัตตัพพัง สัพเพหิ กะตั๋ง ปุญญังโน อะนุโม ทันตุ สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมิ๋ง ฐาเน อะทิคะตา ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ มาตาปตะโร สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพเพ ญาตะกา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพเพ อะญา ตะกา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ สัพเพ ปสา สัพเพ ยักขา สัพเพ เปตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพเพ นักขัตตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพเพ เทวา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพเพ อาจะริยู ปัชฌายา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, สัพพะสัมปัตตีนัง สะมิชฌันตุโว. พุทโธ มังคะละ สัมภูโต สัมพุทโธ ทีปาทุตตะโม พุทธะมังคะละ มาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุญจะเร ธัมโม มังคะละ สัมภูโต คัมภีโร ทุทัสโส อะณุง ธัมมะมังคะละ มาคัมมะ สัพพะภะยา ปะมุญจะเร สังโฆ มังคะละ สัมภูโต ทักขิเณยโย อะนุตตะโร สังฆะมังคะละ มาคัมมะ สัพพะโรคา ปมุญจะเร (กราบ) เกสา – ผม โลมา – ขน นะขา – เล็บ ทันตา – เขี้ยว ตะโจ – หนัง มังสัง – จิ๊น นะหารู - เอ็น อัฏฐี่ – กระดูก อัฏฐิมิญจั๋ง – ขะหมองดูก วักกั๋ง - หมากแกว หะทะยัง – หัวใจ ยะกะนัง – ตับ กิโลมะกัง – พังฟด ปหากั๋ง - ม้าม ปัปผาสัง – ปอด อันตั๋ง – ไส้ใหญ่ อันตะคุณัง – ไส้น้อย อุททะริยัง - อาหารใหม่ กะรีสัง – อาหารเก่า มัตตะเก – ดูกหัว มัตถะลุงคัง – อ่องออหัว โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๒๓


ปะฐะวีธาตุ รูปะธัมมา โมการัง เอกะวีสะติ ปตากุนนัง สัปปะปาปัง วินาสันตุ อะหังวันทามิ สัปปะตา กะ ขะ คะ ฆะ งะ รูปปักขันโธ เปนกุนปอแห่งข้ามีซาวเอ็ดแล ปตตั๋ง – น�้าดี เสมหัง – น�้าเสลด ปุพโพ – น�้าหนอง โลหิตตั๋ง – น�้าเลือด เสโท – น�้าเหงื่อ เมโท – น�้ามันข้น อัสสุ – น�้าตา วะสา – น�้ามันเหลว เขโฬ – น�้าลาย สิงฆานิกา – น�้ามูก ละสิกา – น�้ามันไขข้อ มุตตั๋ง – น�้าเยี่ยว อาโปธาตุ นามะธัมมา นะทวาทะสะ มาตากุนนัง สัปปะปาปัง วินาสันตุ อะหังวันตามิ สัปปะตา จะ ฉะ จะ ฌะ ญะ เวตะนากขันโธ เปนกุนแม่ แห่งข้ามีสิบสองแล อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ้ กะ ขะ คะ ฆะ งะ จะ ฉะ จะ ฌะ ญะ ระฏะ ระฐะ ระดะ ระฒะ ระณะ ตะ ถะ ตะ ธะ นะ ปะ พะ ปะ ภะ มะ ยะ ละ ระ วะ สะ หะ ฬะ อัง อันว่าอักขระทัง้ หลาย 41 ตัว๋ นี้ คือหากเปนรูปะธรรม และนามะธรรม ตะโจ ตันตา สะระอัตถะ อันว่าอักขระ 8 ตั๋วนี้ คือว่า อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ้ 8 ตั๋วนี้ คือว่าเปนรูปะธรรม และนามะธรรม ละหุ มัตตา ตะโย รัสสา อันว่ารัสสะ 3 ตัวนี้ คือว่า อะ อิ อุ 3 ตั๋วนี้ คือ ได้รัสสะเป็นที่รัดที่คู้ คือได้หน่องคู้ทั้งสองแล รัสสะแห่งเอว คือ ได้ อิ และ อุ คือ ได้รัสสะแห่งข้อแล่ทีฆา อา อี อู เอ โอ้ 5 ตั๋วนี้ชื่อ ทีฆา แล่ อา ตัวนี้คือ ได้ขาปายซ้าย อี ตัวนี้คือได้ขาปายขวา อู ตัวนี้คือแขนปายซ้าย เอ ตัวนี้คือ ได้แขนปายขวา โอ้ ตัวนี้คือ ได้ล�าตัวทั้งมวล แล่เหตุดั่งอั้น อักขระ ทั้งหลาย 41 ตัวนี้ คือหากเปนรูปะธรรมแลนามธรรมก็มีในตัวแห่งข้านี้แล ๒๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ไฟ ๔ กอง สันตาปะนะเตโจ คือไฟไหม้หื้ออุ่นหื้อร้อนถะราบทั่วไปในตัวแห่งข้านี้กองหนึ่งแล จินะเตโจ คือไฟไหม้หื้อเฒ่าหื้อแก่ ค�่าชราไปทั้งวันทั้งคืน นี้กองหนึ่งแล หะทะยะเตโจ คือไฟไหม้หัวใจบ่อหื้อสบาย เป็นที่สะดุ้งตกใจกลัว นี้กองหนึ่งแล ปะวัตติเตโจ คือไฟไหม้อาหารหื้อเปอย หื้อร่วนแหลว เป็นอาจมได้นี้กองหนึ่งแล เตโชธาตุ ปุตก�๋าลัง ฉะปัญญาสะ พุทธะกุณณัง สัปปะปาปัง วินาสันตุ อะหังวันตามิสัปปะตา ระฏะ ระฐะ ระตะ ระฒะ ระณะ สัญญากขันโธ คือได้คุณพระพุทธเจ้า 56 แล่ไฟ 4 กองก็มีในตั๋วแห่งข้านี้แล

ลม ๗ กอง อุทธัง กามาวาตา คือลมอันเกิดแต่สะดือขึ้นไปแผวหัว ข้าจึงอ้าปาก พับตา มืนตา หลับตา ได้นี้กองหนึ่งแล อะโธ กามาวาตา คือลมอันเกิดแต่สะดือลงไปแผวตีน๋ ทัง้ สอง ข้าจึงยก ย่างย้ายไปมาได้ นี้กองหนึ่งแล กุสิยา กามาวาตา คือลมอันเกิดแต่ในกวงตองนอกไส้ในปุมหื้อเปน เปียธิ ได้นี้ กองหนึ่งแล โกฐา สายา กามาวาตา คือลมอันเกิดแต่ในกวงไส้ หากรับเอาอาหาร ลงไปเปน อาจมได้นี้กองหนึ่งแล อะคะมัง กาละสาริโน กามาวาตา คือลมอันเตียวตามข่ายเอ็น เส้นใหญ่เส้นน้อย หื้อคู้หื้อเหยียดหื้อตวง หื้อติ่ง ได้นี้กองหนึ่งแล อัสสาสะ กามาวาตา คือลมอันข้าหายใจออกไปคือได้พระวินัยเจ้า 5 คัมภีร์หากจักออกไปนี้กองหนึ่งแล ปสสาสะ กามาวาตา คือลมอันข้าหายใจเข้ามาคือได้พระสูตรเจ้า 8 คัมภีร์หากจักเข้ามานี้กองหนึ่งแล โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๒๕


วาโยธาตุ สัพพะคุณณัง สัพพะอัฏฐะติงสะ ธัมมะคุณณัง สัปปะปาปัง วินาสันตุ อะหังวันตามิ สัปปะตา ตะ ถะ ตะ ธะ นะ คือได้คุณพระธรรม 38 สังขารักขันโธ คือได้สังขารักขันธ์ 52 แล่เจตะสิก 52 ก็มีในตั๋วแห่งข้านี้แล ฯ กุสสะลาจิตตั๋ง อะกุสสะลาจิตตั๋ง อัพยากะตาจิตตั๋ง ยะกาลัง จะตุททะสะ สังฆะคุณณัง สัปปะปาปัง วินาสันตุ อะหังวันตามิ สัปปะตา ปะ ผะ ปะ ภะ มะ วิญญาณักขันโธ เป็นคุณพระสังฆะ 14 ยะ ละ ระ วะ สะ หะ ฬะ อัง อันว่า อักขระทั้งหลาย 41 ตัวนี้ คือหากเปนรูปะธรรมแล่ นามะธรรม ก็มีในตั๋วแห่งข้านี้แล ฯ ( กราบ )

ค�าไหว้ปาระมี ๓๐ ทัส

(หันทะ มะยัง มะหาปาระมียะสุตตะปาฐัง ภะณามะ เส) 1. ทานะปาระมี สัมปัน โน ทานะอุปะปาระมี สัมปัน โน ทานะปะระมัต ถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 2. สีละปาระมี สัมปันโน สีละอุปะปาระมี สัมปันโน สีละปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 3. เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปัน โน เนกขัม มะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 4. ปัญญาปาระมี สัมปันโน ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน ปัญญาปะ ระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 5. วิริยะปาระมี สัมปันโน วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน วิริยะปะระมัต ๒๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 6. ขันติปาระมี สัมปันโน ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน ขันติปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 7. สัจจะปาระมี สัมปันโน สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน สัจจะ ปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 8. อะธิฏฐานะปาระมี สัมปันโน อะธิฏฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปัน โน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทตุ า อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 9. เมตตาปาระมี สัมปันโน เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน เมตตา ปะระมัตถะปาระมี มัสปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา 10. อุเบกขาปาระมี สัมปัน โน อุเบกขาอุปะปาระมี สัมปัน โน อุเบกขา ปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา ทะสะปาระมี สัมปันโน ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน ทะสะปะระมัตถะ ปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา มุทุตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปโส ภะคะวา ฯ พุทธัง สะระณัง ธัมมัง สะระณัง สังฆัง สะระณัง นะมามิหัง (กราบ)

คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๒๗


ค�าไหว้ปาระมี ๙ ชั้น

(หันทะ มะยัง นะวะปาระมียะปาฐัง ภะณามะ เส) สาธุ สาธุ พระปัญ  ญาปาระมี 30 ตัด๊ สาธุ พระปัญ  ญาปาระมีวดั แวดล้อม วิริยะปาระมี ล้อมระวังดี สีละปาระมี บังหอกดาบ เมตตาปาระมี ผาบ แป ทัง้ ปน ทานะปาระมี หือ้ เป็นผืนตัง้ ต่อ อุเบกขาปาระมี หือ้ ก่อเปนเวียง สัจจะ ปาระมี แวดระวังดีเปนไม้ไต้ ขันติปา ระมี กลายเปนหอกดาบบังหน้าไม้และ ปนไฟ อะธิฏฐานปาระมี ฟันดาบไปทุกแห่ง แข็ง ๆ แรง ๆ ปราบฝูงหมู่มาร ผีสาง พรายเปรตทุกทวีปพบถิ่นพั้งพ่ายหนี นางธรณีอัศจรรย์ โสเสมือนฝัน อยู่ข้าง ๆ น�้านทีนองกว้างต่อกว้าง แตกตี๋ฟองนองนะเนือก เปนข้าวตอก ดอกไม้ถวาย ปูชาพระแก้วแก่นไท้ สะทังพระพุทธังเลยจุง่ มาผายโผด อนุญาต โทษโผดผู้ข้าแท้ดีหลี แม่ธรณีออกมารีดมวยผมอยู่ที่ธาตุ ช้างร้ายคายคะจัง งาสิบดิน พ่นน�า้ นทีลงผัดผาย คอพลายหักทบท่าว พญามารร้องอ่าว ๆ ปูน กลัว๋ กราบยอมือขึ้นทูนหัวใส่เกล้า ผู้ข้านี้ได้ชื่อว่าลูกศิษย์พระพุทธเจ้ามีบุญ สมภารอันมากนัก พระพุทธเจ้าจิง่ จักตัง้ ปัญ  ญาปาระมีไว้ 9 ชัน้ ตัง้ ไว้ตงั หน้า ก็ได้ 9 ชั้น ตั้งไว้ตังหลังได้ 9 ชั้น ตั้งแต่หัวเถิงตี๋นก็ได้ 9 ชั้น ตั้งแต่ตี๋นเถิง หัวก็ได้ 9 ชั้น แม่นว่าลูกปนจักมาเสมอเหมือนฝนแสนห่า ก็บ่จักมาใกล้ได้ ข้าพเจ้าเลยได้ว่าพุทธะคุณณัง ธัมมะคุณณัง สังฆะคุณณัง พุทธะอินตา ธัมมะอินตา สังฆะอินตา อัตสะอับ แม่ธรณีผู้อยู่เหนือน�้า ผู้อยู่ค�้าแผ่นดิน กันข้าได้ระนึกคิดเถิง คุณพระปตา คุณพระมารดา คุณครูบาอาจารย์ คุณพระแก้วเจ้าทั้ง 3 ประการ คือคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ และคุณแดดคุณฝน คุณลม คุณสกุลราชเจ้าก็ดี คุณพระตนภาวะนาก็ดี คุณนางอุตถะราก็ดี คุณพระปัจเจกเจ้าก็ดี คุณแม่ธรณีเจ้าก็ดี จุ่งมารักษา ตั้งก�้าหน้า และก�้าหลัง ตนตั๋วแห่งผู้ข้าในคืนวันนี้ ยามนี้ จิ่มแต่เตอะ ๒๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


พุทโธพุทธังรักษา ธัมโมธัมมังรักษา สังโฆสังฆังรักษา พุทโธพุทธัง อะระหัง ธัมโมธัมมัง อะระหัง สังโฆสังฆัง อะระหัง พุทโธพุทธังกัณหะ ธัมโมธัมมังกัณหะ สังโฆสังฆังกัณหะ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง (กราบ)

ค�าไหว้พระธาตุแสงแก้วมงคล

(หันทะ มะยัง นมัสสะการะรัตนะมังคะละธาตุ ภะณามะ เส) ข้า ฯ ขอน้อมกายวาจาจิตถวายบูชา แด่องค์พระธาตุแสงแก้วมงคล อุดมรัตน์ เพื่อให้บังเกิดนิสัยปัจจัยในพระโพธิญาณ อันเป็นพระบรมธาตุ แห่งองค์พระศรีรัตนตรัย ข้า ฯ ขอน้อมจิตถวายบูชาด้วยดวงดอกไม้อันเบ่งบานและแย้มกลีบ ซึ่งพระโพธิญาณอันเฉิดฉาย บ่งชี้มูลสังขาร โดยธรรมชาติมิได้มีลักษณะ บุคคลตัวตนเราเขาว่านี้รากเหง้านิสัยสรรพสัตว์ ซึ่งดับเย็นเป็นธาตุนิพพาน อยู่แล้ว ข้า ฯ ขอน้อมจิตจุดประทีปแห่งสติปัญญา บูชาแด่พระโพธิญาณ อันแจ้ง ส่องแล้วที่สุดแห่งปวงสังขาร อันเป็นพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า ทั้งหลาย และพระอริยะเจ้าทั้งปวง ข้า ฯ น้อมถวายเครื่องสักการบูชา แด่องค์พระธาตุแสงแก้วมงคลแล้ว ขอจงคลาดแคล้วจากอ�านาจภัยมารทัง้ ปวง ขอจงประสบแต่ความสุขสวัสดี มงคล และขอจงเจริญไปด้วยมรรคผลนิพพาน ตลอดชั่วกาลนานแด่เทอญ ฯ (กราบ)

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๒๙


ค�าอธิฏฐานก่อนภาวนา สาธุ สาธุ สาธุ อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ตัสสะ ภะคะวะโต ปะริจจะชามิ ข้าแต่พระผูม้ พี ระภาคเจ้า พระองค์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้า ขอมอบกาย ถวายอัตตภาพชีวิตนี้เพื่อปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน เป็นการ บูชาแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น นิพพานัสสะเม ภันเต สัจฉิกะระนัตถายะ วิปัสสนากัมมัฏฐานัง เทหิ ข้าแต่ท่านพ่อครูบาเจ้าศรีวิชัยผู้เจริญ และครูบาอาจารย์เจ้าทั้งหลายทุก ๆ พระองค์ขอท่านโปรดจงได้ให้ซึ่งวิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อท�าให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน ณ โอกาสต่อไปนี้ อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้าขอสมาทาน ซึ่งวิปัสสนา กัมมัฏฐานะ ขอขะณิกะสมาธิ อุปจาระสมาธิ อัปปะนาสมาธิ และวิปัสสนา ญาณ 16 จงบังเกิดขึน้ ในขันธสันดานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะตัง้ สติกา� หนด ไว้ที่ลมหายใจเข้าออก หายใจเข้าก�าหนด “พุทธ”หายใจออกก�าหนด “โธ” สามหน เจ็ดหน ร้อยหน พันหน ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเทอญ ฯ (กราบ ๓ หน)

๓๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


กรวดน�้าตอนเช้า

(หันทะ มะยัง สัพพะปตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.) ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม, เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา, สัตว์ทั้งหลาย ไม่มีที่สุด ไม่มีประมาณ, จงมีส่วนแห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้ ท�าในบัดนี้, และแห่งบุญอื่นที่ได้ท�าไว้ก่อนแล้ว; เย ปยา คุณะวันตา จะ มัย์หัง มาตาปตาทะโย, ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน, คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด, ซึ่งเป็นที่รักใคร่และมีบุญคุณ เช่นมารดาบิดา ของข้าพเจ้าเป็นต้น ก็ดี; ที่ข้าพเจ้าเห็นแล้ว หรือไม่ได้เห็น ก็ดี; สัตว์เหล่าอื่นที่เป็นกลาง ๆ หรือเป็นคู่เวรกัน ก็ดี; สัตตา ติฏฐันติ โลกัส์มิง เต ภุมมา จะตะโยนิกา, ปญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว, สัตว์ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในโลก; อยู่ในภูมิทั้งสาม; อยู่ในก�าเนิดทั้งสี่; มีขันธ์ห้าขันธ์ มีขันธ์ขันธ์เดียว มีขันธ์สี่ขันธ์; ก�าลังท่องเที่ยว อยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ก็ดี; ญาตัง เย ปตติทานัมเม อนุโมทันตุ เต สะยัง, เย จิมัง นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง, สัตว์เหล่าใด รูส้ ว่ นบุญทีข่ า้ พเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์เหล่านัน้ จงอนุโมทนา เองเถิด; ส่วนสัตว์เหล่าใด ยังไม่รสู้ ว่ นบุญนี้, ขอเทวดาทั้งหลายจงบอก สัตว์เหล่านั้น ให้รู้; โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๓๑


มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา, สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน, เขมัปปะทัญจะ ปปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา. เพราะเหตุที่ได้อนุโมทนาส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว; สัตว์ทั้งหลาย ทัง้ ปวง, จงเป็นผูไ้ ม่มเี วร อยูเ่ ป็นสุขทุกเมือ่ ; จงถึงบทอันเกษมกล่าวคือ พระนิพพาน; ความปรารถนาที่ดีงามของสัตว์เหล่านั้น จงส�าเร็จเถิด.

ปฏฐนฐปนคาถา

(หันทะ มะยัง ปฏฐะนะ ฐะปะนะ คาถาโย ภะณามะ เส.) ยันทานิ เม กะตัง ปุญญัง เตนาเนนุททิเสนะ จะ, ขิปปง สัจฉิกะเรยยาหัง ธัมเม โลกุตตะเร นะวะ, บุญใดที่ข้าพเจ้าได้ท�าในบัดนี้, เพราะบุญนั้น และการอุทิศ แผ่ส่วนบุญนั้น, ขอให้ข้าพเจ้าท�าให้แจ้งโลกุตตรธรรมเก้าในทันที; สะเจ ตาวะ อะภัพโพหัง สังสาเร ปะนะ สังสะรัง, ถ้าข้าพเจ้าเป็นผู้อาภัพอยู่ ยังต้องท่องเที่ยวไปในวัฏฏสงสาร; นิยะโต โพธิสัตโตวะ สัมพุทเธนะ วิยากะโต, นาฏฐาระสะป อาภัพพะ- ฐานานิ ปาปุเณยยะหัง, ขอให้ข้าพเจ้าเป็นเหมือนโพธิสัตว์ผู้เที่ยงแท้ ได้รับพยากรณ์แต่ พระพุทธเจ้าแล้ว; ไม่ถึงฐานะแห่งความอาภัพ 18 อย่าง; ปญจะเวรานิ วัชเชยยัง ปญจะกาเม อะลัคโคหัง ๓๒

ระเมยยัง สีละรักขะเน, วัชเชยยัง กามะปงกะโต

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ข้าพเจ้าพึงเว้นจากเวรทั้งห้า; พึงยินดีในรักษาศีล; ไม่เกาะเกี่ยว ในกามคุณทั้งห้า; พึงเว้นจากเปอกตมกล่าวคือกาม; ทุททิฏฐิยา นะ ยุชเชยยัง สังยุชเชยยัง สุทิฏฐิยา, ปาเป มิตเต นะ เสเวยยัง เสเวยยัง ปณฑิเต สะทา, ขอให้ขา้ พเจ้าไม่พงึ ประกอบด้วยทิฏฐิชวั่ ; พึงประกอบด้วยทิฏฐิทดี่ งี าม; ไม่พึงคบมิตรชั่ว; พึงคบแต่บัณฑิตทุกเมื่อ; สัทธาสะติหิโรตตัปปาตาปกขันติคุณากะโร, อัปปะสัย์โห วะ สัตตูหิ เหยยัง อะมันทะมุย์หะโก ขอให้ข้าพเจ้าเป็นบ่อที่เกิดแห่งคุณ, คือ ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ความเพียร และขันติ; พึงเป็นผู้มีศัตรูครอบง�าไม่ได้; ไม่เป็นคนเขลา คนหลงงมงาย; สัพพายาปายุปาเยสุ เฉโก ธัมมัตถะโกวิโท, เญยเย วัตตัต์วะสัชชัง เม ญาณัง อะเฆวะ มาลุโต, ขอให้ข้าพเจ้าเป็นผู้ฉลาดในอุบาย แห่งความเสื่อมและความเจริญ; เป็นผู้เฉียบแหลมในอรรถและธรรม; ขอให้ญาณของข้าพเจ้าเป็นไป ไม่ข้องขัดในธรรมที่ควรรู้, ดุจลมพัดไปในอากาศ ฉะนั้น; ยา กาจิ กุสะลา ม์ยาสา สุเขนะ สิชฌะตัง สะทา, เอวัง วุตตา คุณา สัพเพ โหนตุ มัย์หัง ภะเว ภะเว, ความปรารถนาใด ๆ ของข้าพเจ้าที่เป็นกุศล, ขอให้ส�าเร็จโดยง่าย ทุกเมือ่ ; คุณทีข่ า้ พเจ้ากล่าวมาแล้วทัง้ ปวงนี,้ จงมีแก่ขา้ พเจ้าทุก ๆ ภพ; โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๓๓


ยะทา อุปปชชะติ โลเก สัมพุทโธ โมกขะเทสะโก, ตะทา มุตโต กุกัมเมหิ ลัทโธกาโส ภะเวยยะหัง, เมือ่ ใด, พระสัมพุทธเจ้าผูแ้ สดงธรรมเครือ่ งพ้นทุกข์ เกิดขึน้ แล้วในโลก; เมื่อนั้น, ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากกรรมอันชั่วช้าทั้งหลาย, เป็นผู้ได้โอกาส แห่งการบรรลุธรรม; มะนุสสัตตัญจะ ลิงคัญจะ ปพพัชชัญจุปะสัมปะทัง, ละภิต์วา เปสะโล สีลี ธาเรยยัง สัตถุสาสะนัง, ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ความเป็นมนุษย์; ได้เพศบริสุทธิ์; ได้บรรพชา อุปสมบทแล้ว; เป็นคนรักศีล; มีศีล; ทรงไว้ซึ่งพระศาสนาของ พระศาสดา; สุขาปะฏิปะโท ขิปปาภิญโญ สัจฉิกะเรยยะหัง, อะระหัตตัปผะลัง อัคคัง วิชชาทิคุณะลังกะตัง, ขอให้เป็นผู้มีการปฏิบัติโดยสะดวก,ตรัสรู้ได้พลัน; กระท�าให้แจ้งซึ่ง อรหัตตผลอันเลิศ, อันประดับด้วยธรรม มีวิชชา เป็นต้น ยะทิ นุปปชชะติ พุทโธ กัมมัง ปะริปูรัญจะ เม, เอวัง สันเต ละเภยยาหัง ปจเจกะโพธิมุตตะมัน ติ. ถ้าหากพระพุทธเจ้าไม่บังเกิดขึ้น, แต่กุศลกรรมของข้าพเจ้า เต็มเปียมแล้ว; เมื่อเป็นเช่นนั้น, ขอให้ข้าพเจ้าพึงได้ญาณ เป็นเครื่องรู้เฉพาะตนอันสูงสุด เทอญ.

๓๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


กรวดน�้าตอนเย็น (หันทะ มะยัง อุททิสสะนาทิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปชฌายา คุณุตตะรา อาจะริยูปะการา จะ มาตาปตา จะ ญาตะกา สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราป จะ พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาป จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปง ปาเปถะ โวมะตัง อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง

ด้วยบุญนี้อุทิศให้ อุปัชฌาย์ผู้เลิศคุณ แลอาจารย์ผู้เกื้อหนุน ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ สูรย์จันทร์ และราชา ผู้ทรงคุณหรือสูงชาติ พรหมมาร และอินทราช ทั้งทวยเทพ และโลกบาล ยมราช มนุษย์มิตร ผู้เป็นกลาง ผู้จองผลาญ ขอให้เป็นสุขศานต์ ทุกทัว่ หน้าอย่าทุกข์ทน บุญผองที่ข้าท�า จงช่วยอ�านวยศุภผล ให้สุขสามอย่างล้น ให้ลุถึงนิพพานพลัน ด้วยบุญนี้ที่เราท�า แลอุทิศให้ปวงสัตว์ เราพลันได้ซึ่งการตัด ตัวตัณหาอุปาทาน โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๓๕


เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว อุชุจิตตัง สะติปญญา สัลเลโข วิริยัมหินา มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม นาโถ ปจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง เต โสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ทะสะปุญญานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา

๓๖

สิ่งชั่วในดวงใจ กว่าเราจะถึงนิพพาน มลายสิ้นจากสันดาน ทุก ๆ ภพที่เราเกิด มีจิตตรง และสติทั้งปัญญาอันประเสริฐ พร้อมทัง้ ความเพียรเลิศเป็นเครือ่ งขูดกิเลสหาย โอกาสอย่าพึงมีแก่หมู่มารสิ้นทั้งหลาย เป็นช่องประทุษร้ายท�าลายล้างความเพียรจม พระพุทธผู้วรนาถ พระธรรมที่พึ่งอุดม พระปัจเจกะพุทธสม ทบพระสงฆ์ที่พึงผยอง ด้วยอานุภาพนั้น ขอหมู่มารอย่าได้ช่อง ด้วยเดชบุญทั้งสิบปอง อย่าเปดโอกาสแก่มาร เทอญ ฯ (กราบ)

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าสูมา พระแก้วเจ้าตั้ง ๓ (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ ฯ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วะ ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม ฯ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ฯ อิมัง ทานะกัมมัง นิพพานะปจจะโย โหนตุ โน นิจจัง อิมัง สีละกัมมัง นิพพานะปจจะโย โหนตุ โน นิจจัง อิมัง ภาวะนากัมมัง นิพพานะปจจะโย โหนตุ โน นิจจัง นิจจัง วะตะ นิพพานัง สุขัง วะตะ นิพพานัง สารัง วะตะ นิพพานัง นิพพานัง ปะระมัง สุขัง ฯ

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๓๗


ค�าไหว้พระครูบาเจ้าศรีวิชัย อะยัง วุจจะติ ศรีวิชัยยาจะนะ อุตตะมัง สีลัง สิริวิชะโย จะ มะหา เถโร นะระเทเวหิ ปูชิโต โสระโห ปจจะยาทิมหิ มะหาลาภา ภะวันตุ เม อะหัง วันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิระสา อะหัง วันทามิ สัพพะโส สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ (ดังข้าพเจ้าจะกล่าวต่อไปนี้ พระมหาเถรเจ้ารูปใด ผู้มีนามว่าศรีวิชัย ผู้มีศีลอันอุดม ผู้อันนรชนและเหล่าทวยเทพทั้งหลายบูชาแล้ว ผู้ยิ่งใหญ่ ตลอดกาลทัง้ ปวง ด้วยการนอบน้อมนัน้ เป็นปัจจัย ขอลาภอันใหญ่ จงบังเกิด มีแก่ขา้ พเจ้า ข้าพเจ้าขออภิวาทซึง่ พระเถระรูปนัน้ ตลอดกาลทัง้ ปวง ข้าพเจ้า ขออภิวาทซึ่งพระเถระรูปนั้น ด้วยเศียรเกล้า) (กราบ)

วันทาน้อย สาธุ อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา กะตั๋ง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินา กะตั๋ง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิฯ (กราบ ๓ หน)

๓๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


อริยมรรคมีองค์แปด (หันทะ มะยัง อะริยัฏฐังคิกะมัคคะปาฐัง ภะณามะ เส) (มรรคมีองค ๘) อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. หนทางนี้แล เป็นหนทางอันประเสริฐ ซึ่งประกอบด้วยองค์แปด เสยยะถีทัง. ได้แก่สิ่ง เหล่านี้คือ:- สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ, สัมมาสังกัปโป ความด�าริชอบ, สัมมาวาจา การพูดจาชอบ, สัมมากัมมันโต การท�าการงานชอบ, สัมมา อาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ, สัมมาวายาโม ความพากเพียรชอบ, สัมมา สะติ ความระลึกชอบ, สัมมาสะมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ. (องคมรรคที่ ๑) กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, ความเห็นชอบเป็นอย่างไรเล่า ? ยัง โข ภิกขะเว ทุกเข ญาณัง, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ความรู้อันใด เป็นความรู้ในทุกข์, ทุกขะสะมุทะเย ญาณัง, เป็นความรู้ในเหตุให้เกิดทุกข์, ทุกขะนิโรเธ ญาณัง, เป็นความรู้ใน ความดับแห่งทุกข์, ทุกขะนิโรธะคามินิยา ปะฏิปะทายะ ญาณัง, เป็นความรู้ ในทางด�าเนินให้ถึงความดับแห่งทุกข์. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าวว่า ความเห็นชอบ. (องคมรรคที่ ๒) กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป, ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย, ความด�าริชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? เนกขัมมะสังกัปโป, ความด�าริ ในการออกจากกาม, อะพ์ยาปาทะสังกัปโป, ความด�าริในการไม่มุ่งร้าย, อะวิหงิ สาสังกัปโป. ความด�าริในการไม่เบียดเบียน, อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าวว่า ความด�าริชอบ. โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๓๙


(องคมรรคที่ ๓) กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาวาจา, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, การพูดจาชอบเป็นอย่างไรเล่า ? มุสาวาทา เวระมะณี, เจตนาเป็น เครื่องเว้นจากการพูดไม่จริง, ปสุณายะ วาจายะ เวระมะณี, เจตนาเป็น เครื่องเว้นจากการพูดส่อเสียด, ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี, เจตนาเป็น เครื่องเว้นจากการพูดหยาบ, สัมผัปปะลาปา เวระมะณี, เจตนาเป็นเครื่อง เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวาจา. ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าวว่า การพูดจาชอบ. (องคมรรคที่ ๔) กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต, ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย, การท�าการงานชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? ปาณาติปาตา เวระมะณี, เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการฆ่า, อะทินนาทานา เวระมะณี, เจตนาเป็น เครื่องเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี, เจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการประพฤติผิดในกามทั้งหลาย. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรา กล่าวว่า การท�าการงานชอบ. (องคมรรคที่ ๕) กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, การเลี้ยงชีวิตชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, สาวกของพระอริยเจ้า ในธรรมวินัยนี้, มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ, ละการเลี้ยงชีวิตที่ผิดเสีย. สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ. ย่อ ส�าเร็จความเป็นอยู่ด้วยการเลี้ยงชีวิตที่ชอบ. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมา อาชีโว, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าวว่า การเลี้ยงชีวิตชอบ. (องคมรรคที่ ๖) กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาวายาโม, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, ความพากเพียรชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูก่อน ๔๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้, อะนุปปนนานัง ปาปะกานัง อะกุสะ ลานัง ธัมมานัง อะนุปปาทายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยัง อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณหาติ ปะทะหะติ, ย่อมท�าความพอใจให้เกิดขึน้ , ย่อมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว้, เพื่อจะยังอกุศลธรรม อันเป็นบาปที่ ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น, อุปปนนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง ปะหานายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยัง อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณ หาติ ปะทะหะติ, ย่อมท�าความพอใจให้เกิดขึน้ , ย่อมพยายาม, ปรารภความ เพียร, ประคองตั้งจิตไว้, เพื่อจะละอกุศลธรรม อันเป็นบาป ที่เกิดขึ้นแล้ว, อะนุปปนนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อุปปาทายะ, ฉันทัง ชะเนติ, วายะ มะติ, วิริยัง อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณหาติ ปะทะหะติ, ย่อมท�าความพอใจ ให้เกิดขึ้น, ย่อมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคองตั้งจิตไว้, เพื่อจะยัง กุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น, อุปปนนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง ฐิติยา, อะสัมโมสายะ, ภิยโยภาวายะ, เวปุลลายะ, ภาวะนายะ, ปาริปูริยา, ฉันทัง ชะเนติ, วายะมะติ, วิริยัง อาระภะติ, จิตตัง ปคคัณหาติ ปะทะหะติ. ย่อมท�าความพอใจให้เกิดขึ้น, ย่อมพยายาม, ปรารภความเพียร, ประคอง ตั้งจิตไว้, เพื่อความตั้งอยู่, ความไม่เลอะเลือน, ความงอกงามยิ่งขึ้น, ความไพบูลย์, ความเจริญ, ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวายาโม. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรา กล่าวว่า ความพากเพียรชอบ. (องคมรรคที่ ๗) กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาสะติ, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, ความระลึกชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูก่อนภิกษุ ทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้, กาเย กายานุปสสี วิหะระติ, ย่อมเป็น ผู้พิจารณาเห็นกายในกายอยู่เป็นประจ�า, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๔๑


วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้, เวทะนาสุ เวทะนานุปส สี วิหะระติ, ย่อมเป็นผูพ้ จิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนา ทั้งหลายอยู่เป็นประจ�า, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้, จิตเต จิตตานุปสสี วิหะระติ, ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจ�า, อาตาป สัมปะ ชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌา โทมะนัสสัง, มีความเพียรเครื่อง เผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไม่พอใจ ในโลก ออกเสียได้, ธัมเมสุ ธัมมานุปสสี วิหะระติ, ย่อมเป็นผู้พิจารณาเห็นธรรม ในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจ�า, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา, วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. มีความเพียรเครื่องเผากิเลส, มีสัมปชัญญะ มีสติ, ถอนความพอใจและความไม่พอใจ ในโลกออกเสียได้. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าวว่า ความระลึกชอบ. (องคมรรคที่ ๘) กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ, ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย, ความตั้งใจมั่นชอบ เป็นอย่างไรเล่า ? อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ, ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้, วิวิจเจวะ กาเมหิ, สงัดแล้วจากกามทั้ง หลาย, วิวจิ จะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ, สงัดแล้วจากธรรมทีเ่ ป็นอกุศลทัง้ หลาย, สะวิตักกัง สะวิจารัง, วิเวกะชัง, ปติสุขัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เข้าถึงปฐมฌาน, ประกอบด้วยวิตกวิจารณ์, มีปีติและสุข อันเกิด จากวิเวกแล้วแลอยู,่ วิตกั กะวิจารานัง วูปะสะมา, เพราะความทีว่ ติ กวิจารณ์ ทั้งสองระงับลง, อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส, เอโกทิภาวัง, ๔๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


อะวิตักกัง อะวิจารัง, สะมาธิชัง ปติสุขัง ทุติยัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เข้าถึงทุติยฌาน, เป็นเครือ่ งผ่องใสแห่งใจในภายใน, ให้สมาธิเป็น ธรรมอันเอกผุดมีขึ้น, ไม่มีวิตก ไม่มีวิจารณ์, มีแต่ปีติและสุข อันเกิดจาก สมาธิแล้วแลอยู่ ปติยา จะ วิราคา, อนึ่ง เพราะความจางคลายไปแห่งปีติ, อุเปกขะโก จะวิหะระติ, สะโต จะ สัมปะชาโน, ย่อมเป็นผู้อยู่อุเบกขา, มีสติและสัมปชัญญะ, สุขญ ั จะ กาเยนะ ปะฏิสงั เวเทติ, และย่อมเสวยความ สุขด้วยนามกาย, ยันตัง อะริยา อาจิกขันติ, อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารี ติ, ชนิดที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญผู้นั้นว่า, “เป็นผู้อยู่อุเบกขา มีสติ อยู่เป็นปกติสุข” ดังนี้, ตะติยัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เข้าถึงตติยฌาน แล้วแลอยู่, สุขัสสะ จะ ปะหานา, เพราะละสุข เสียได้, ทุกขัสสะ จะ ปะหานา, และเพราะละทุกข์เสียได้, ปุพเพวะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา, เพราะความดับไปแห่งโสมนัส และโทมนัสทั้งสอง ในกาลก่อน, อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขาสะติปาริสุทธิง, จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ, เข้าถึงจตุตถฌาน, ไม่มีทุกข์ ไม่มี สุข, มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติ บริสุทธิ์เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่. อะยัง วุจจติ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, อันนี้เรากล่าว ว่า ความตั้งใจมั่นชอบ.

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๔๓


ค�าบูชาพระรัตนตรัย

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัม มะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป, ปจฉิมา ชะนะตานุกัมปมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคัณหาตุ, อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลส, เพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน. (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ. ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม. (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ) ๔๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ปุพพภาคนมการ (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโลมะเส) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น, อะระหะโต, ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส, สัมมาสัมพุทธัสสะ. ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง. (กราบ ๓ หน)

ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณปาฐะ (บทสวดส�าหรับภิกษุสามเณรทุกองค์ ใช้เตือนตนเอง) (หันทะ มะยัง ปพพะชิตะอะภิณหะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส) ทะสะ อิเม ภิกขะเว ธัมมา, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมทั้งหลาย 10 ประการเหล่านีม้ อี ยู;่ ปพพะชิเตนะ อะภิณห์ งั ปจจะเวกขิตพั พัง เป็นธรรม ที่บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจ. กะตะเม ทะสะ ? ธรรมทั้งหลาย 10 ประการนั้น เป็นอย่างไรเล่า ? เววัณณิยัมหิ อัชฌูปะคะโต-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ์หัง ปจจะเวก ขิตัพพัง, คือ บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, เราเป็นผู้เข้า ถึงเฉพาะแล้วซึง่ วรรณะอันต่างอันพิเศษ, (มีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว, อาการ กิริยาใดของสมณะ เราต้องท�าอาการกิริยานั้นๆ), ดังนี้. โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๔๕


ปะระปะฏิพัทธา เม ชีวิกา-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจจะเวก ขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, การเลีย้ งชีวติ ของ เราเนื่องเฉพาะแล้วด้วยผู้อื่น, (เราควรท�าตัวให้เขาเลี้ยงง่าย), ดังนี้. อัญโญ เม อากัปโป กะระณีโย-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ์หัง ปจจะเวก ขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, ระเบียบการปฏิบตั ิ อย่างอื่นที่เราจะต้องท�า (ให้ดีขึ้นไปกว่านี้) ยังมีอยู่ (มิใช่เพียงเท่านี้), ดังนี้. กัจจิ นุ โข เม อัตตา สีละโต นะ อุปะวะทะตี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ์หัง ปจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจ ว่า, เมื่อกล่าวโดยศีล, เราย่อมต�าหนิติเตียนตนเองไม่ได้ มิใช่หรือ, ดังนี้. กัจจิ นุ โข มัง อะนุวิจจะ วิูู สะพ์รัห์มะจารี สีละโต นะ อุปะวะ ทันตี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิตพึงพิจารณา โดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, เมือ่ กล่าวโดยศีล, เพือ่ นสพรหมจารีทเี่ ป็นวิญูชน, ใคร่ครวญแล้ว, ย่อมต�าหนิติเตียนเราไม่ได้ มิใช่หรือ, ดังนี้. สัพเพหิ เม ปเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจจะเวกขิตัพพัง. บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจ ว่า, ความพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น, จักมีแก่เรา, ดังนี้. กัมมัสสะโกม์หิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิ สะระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัล์ยาณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณห์ งั ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิต ๔๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


พึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, เราเป็นผูม้ กี รรมเป็นของตน, มีกรรม ที่ต้องรับผลเป็นมรดกตกทอด, มีกรรมเป็นที่ก�าเนิด, มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์, มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย, เราท�ากรรมใดไว้ ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม, เราจักเป็นผู้รับ ผลตกทอดแห่งกรรมนั้น, ดังนี้. กะถัมภูตัสสะ เม รัตตินทิวา วีติปะตันตี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจว่า, วันคืน ล่วงไป-ล่วงไป ในเมื่อเราก�าลังเป็นอยู่ในสภาพเช่นไร (บัดนี้เราก�าลัง ท�าอะไรอยู่), ดังนี้. กัจจิ นุ โขหัง สุญญาคาเร อะภิระมามี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณ์หัง ปจจะเวกขิตพั พัง, บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, เราอย่า ยินดีในโรงเรือนอันสงัดอยู่หรือหนอ, ดังนี้. อัตถิ นุ โข เม อุตตะริมะนุสสะธัมมา อะละมะริยะญาณะทัสสะนะวิ เสโส อะธิคะโต, โสหัง ปจฉิเม กาเล สะพ์รัห์มะจารีหิ ปุฏโฐ นะ มังกุ ภะวิสสามี-ติ ปพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิตพึง พิจารณาโดยแจ่มชัดอยูเ่ นืองนิจว่า, ญาณทัสนะอันวิเศษ ควรแก่พระอริยเจ้า อันยิ่งกว่าวิสัยธรรมดาของมนุษย์, ที่เราได้บรรลุแล้ว, เพื่อเราจะไม่เป็น ผู้เก้อเขิน, เมื่อถูกเพื่อนสพรหมจารีด้วยกันถามในภายหลัง, มีอยู่แก่เรา หรือไม่, ดังนี้. อิเม โข ภิกขะเว ทะสะ ธัมมา, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมทั้งหลาย 10 ประการ เหล่านี้แล; โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๔๗


ปพพะชิเตนะ อะภิณ์หัง ปจจะเวกขิตัพพา, เป็นธรรมที่บรรชิตพึง พิจารณาโดยแจ่มชัดอยู่เนืองนิจ. อิติ ด้วยประการอย่างนี้แล. -(ไตร. ล. ๒๕/๙๑/๔๘.)

ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส.) หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้, เราขอเตือนท่านทั้งหลายว่า ; วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา, อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ท่านทั้งหลาย, จงท�าความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด, อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา. นี้เป็นพระวาจามีในครั้งสุดท้าย ของพระตถาคตเจ้า.

๔๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าปรารถนา ไหว้พระจุฬามณีฯ (หันทะ มะยัง นมัสการะ มหาจุฬามณี เจตียะธาตุ ภะณา มะเส) อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ เมื่อข้าได้ดับจิตลง อย่าให้ใหลหลง ขอให้จิตจ�านงตรงทางพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถาน เป็นที่ไหว้สักการะกุศลสัมปันโน อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระธรรมของพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ เมื่อข้าได้ ดับจิตลง อย่าให้ใหลหลง ขอให้จิตจ�านงตรงทางพระนิพพาน ขอให้พบดวง แก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าจะไปนมัสการ พระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถาน เป็นที่ไหว้สักการะกุศลสัมปันโน อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระสังฆะเจ้าของพระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ เมื่อข้า ได้ดับจิตลง อย่าให้ใหลหลง ขอให้จิตจ�านงตรงทางพระนิพพาน ขอให้พบ ดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าจะไปนมัสการ พระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถาน เป็นที่ไหว้สักการกุศลสัมปันโน ติฯ (กราบ)

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๔๙


ค�าไหว้พระโพธิสัตว์เจ้า

(หันทะ มะยัง นมัสสะการะ โพธิ สัตโต ภะณา มะเส) อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระเตมีย์ โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยเนกขัมมะบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระมหาชนก โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยวิริยะบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้าโปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้าได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วยส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วยพระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระสุวรรณสาม โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยเมตตาบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ ๕๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระเนมิราช โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยอธิษฐานบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระมโหสถ โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยปัญญาบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระภูริทัตต์ โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยศีลบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๕๑


อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระจันทกุมารโพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยขันติบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัสเหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระพรหมนารท โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยอุเบกขาบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระวิฑูรบัณฑิตโพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยสัจจะบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ ๕๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระเวสสันดร โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยทานะบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระเจ้าอโศก โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยบุญบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธฯ นะโม ข้าจะไหว้พระหงษ์หิน โพธิสัตโต ภิญโญ ด้วยอิทธิบารมี พระชินสีห์ อุบัติบังเกิดเลิศล�้าเรืองรอง รัศมีสีทอง ฉัพพรรณรังสี พระเจ้า โปรดสัตว์ทั่วโลกโลกีย์ ข้ามพ้นทุกขี พ้นด้วยบารมี อเนกอนันตัง พระเจ้า ได้ตรัส เหนือรัตนบัลลังก์ พระเจ้าข้ามฝัง ข้ามด้วยส�าเภาแก้ว ข้ามด้วย ส�าเภาทอง น�าสัตว์ลอยล่องข้ามพ้นถึงฝัง ข้ามด้วยพระอนิจจัง ข้ามด้วย พระทุกขัง ข้ามด้วยพระอนัตตา กุศลสัมปันโนฯ (กราบ) โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๕๓


ระลึกถึงคุณบิดา-มารดา

(หันทะ มะยัง ปตามาตาคุณัง กะโร มะเส) อิมินา สักกาเรนะ อันพระบิดร มารดา ได้ให้ ก�าเนิดลูกมา ถึงแม้ ล�าบากขื่นขม ท่านไม่ เคยหวั่นไหว พระคุณท่านล้นฟา ลูกขอ บูชาเป็นอาจินต์ ขอปวงเทพไท้จงรักษา

ข้าขอกราบ สักการบูชา ข้าขอน้อม ระลึกคุณ ทั้งการศึกษาและอบรม ทุกข์ระทม สักปานใด ต่อสิ่งใด ที่ได้เลี้ยงมา ยิ่งกว่า ธาราและแผ่นดิน ตราบจน สิ้นดวงชีวา พระบิดา มารดาของข้า เทอญฯ (กราบ)

ระลึกถึงคุณอุปชฌาย์อาจารย์

(หันทะ มะยัง อาจาริยคุณัง กะโร มะเส) อิมินา สักกาเรนะ ข้าขอน้อม คารวะบูชา คุณพระอุปัชฌาย์ และอาจารย์ ผู้ให้การศึกษาและอบรม เริ่มต้น จากวัยประถม ให้วิทยาคม เสมอมา เพิ่มพูน สติปัญญา อีกวิชา ศีลธรรมประจ�าใจ ท่านชี้ทาง สว่างสดใส ทั้งระเบียบ วินัยประจ�าตน ศิษย์ที่ดี ต้องหมั่นฝกฝน ประพฤติตน เป็นคนดี จงสังวร ส�ารวมเอาไว้ ทั้งกาย และใจให้มั่นคง ตั้งจิตไว้ ให้เที่ยงตรง เพื่อจรรโลง ในพระคุณ ขอผลบุญ โปรดจงเกื้อกูล อาจารย์ผมู้ พี ระคุณทุกท่านเทอญฯ (กราบ) ๕๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


หนังสือกัมมัฏฐานรวม รวบรวมโดย

พระศรีวิชัยยาชนะภิกขุ อยู่วัดพระสิงห์หลวงนพบุรีเชียงใหม่

ข้าพเจ้า พระศรีวิชัยยาชนะภิกขุ อยู่วัดพระสิงห์หลวงนพบุรี เชียงใหม่ ได้พิมพ์หนังสือกัมมัฏฐาน ถวายเป็นทานคฤหัสถ์ ชาย-หญิง และนักบวชเจ้าทั้งหลาย


การกล่าวภาวนา โยคาวจร คฤหัสถ์และนักบวชจักคิดน้อมจิตใจถือกัมมัฏฐานดั่งอั้น ให้ ตั้งจิตใจอ่อนน้อมละเอียดสุขุมดีนักแล้วแล ถ้าหากจักภาวนายังสมถะ กัมมัฏฐาน และวิปัสสนากัมมัฏฐานดั่งนี้ ให้ได้ขงขวายหาข้าวตอกดอกไม้ เทียนใส่ขันแต่งเป็น 5 โกฐาก (ส่วน) แล้วเอามาตั้งไว้ตรงหน้าพระพุทธรูป พระธาตุเจดียก์ ด็ ไี หว้นบครบย�าอันอ่อนน้อมด้วยศรัทธาเลือ่ มใสยินดีแล้วให้ นั่งคุกเข่าพนมมือขึ้นไหว้เป็นดั่งจุมดอกบัวให้นิ้วมืออยู่ตรงกันแล้วกราบลง เป็นเบญจางคประดิษฐ์ ด้วยอาการทั้ง 5 คือ ศอกทั้ง 2 เข่าทั้ง 2 หน้าผาก ให้ลงชิดพื้น เวลาไหว้อย่าให้นิ้วมือสานกัน แล้วให้ถือขันขึ้นเหนือคิ้วแล้ว กล่าวค�าขึ้นขัน 5 สูมาแก้ว 5 โกฐาก ว่าดั่งนี้

โยขันดอก (ถือขันขึ้นเหนือคิ้วแล้วว่า) โยสันนิสิโน วะระโพธิมุเลมารัง สะเลนัง มหัตติวิชัยโย สัมโพธิมาคัญจิ อะนันตัญญาโณ โลกุตตะโม ตัง ปันนะมามิ พุทธัง อัฏฐังคิโก อะริยะปะโถ ชะนานัง วิโมกขะ ปะเวสายะ อุชุกะมักโค อะยัง อะสันติ กะโรปะนิยานิโก ตังปันนะมามิ ธัมมัง สังโฆ วิสุตโธ วะระทักขิเณยโย สันติถะริโย สัปปะมะ ละปะหิโนคุเน หิเนเถหิสะมิ ตธิปัตโต อะนาสาโว ตังปันนะมามิ สังฆัง นะมามิ พุทธัง คุณะสาระรันตัง นะมามิ ธัมมัง มุนิราชะเทสิตตัง นะมามิ สังฆัง มุนิราชะ สาวะกัง นะมามิ กัมมัฏฐานัง นิพพานาชิคะมุปายัง นะมามิ กัมมัฏฐานะ ทายะกาจะริยัง นิพพานะ มะคุเทสะกัง อัจจะโยมะสันเต อุชฌะคัมมา ยะถาพะลัง ยะถามุลละหัง ยะถาอกุสลัง โยหังพุทธะ ธัมมะ สังฆะ กัมมัฏฐานะ กัมมัฏฐานะ ทานะกาจะริยะสังขาเต สุปัญจะ สุรัตะนะ ๕๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


สุอะติเตวา ปัจจุมันเนวา อะวิวา สุอะติเตวา ปัจจุมันเนวา อะวิวา ยะทิวา ยะโหวา กาเยนะ วาจา ยะวา มะนัสสาวา ปะมาทังวา อะคาระวังวา อะกาสิงโวหังทิสวา ยะถา ธัมมัง ปะฏิกะโลมิ ตัสสะเม สันเตพุทธะติรัตตะนา ปัญจะกัง อนุกัมปัง อุปาทายะ ปะฏิคันหะตุ ยะมัญตุ อายะติง สังวา รายะ อายะ ติงตะสัง วะริสามิ นะปุนเนวัง กะริฉามิ (ใหวา ๓ หนแลวใหวา) อิทังเม ปูชาคาระวะกัมมัง อะเภชชะ อะสามิธาณะโลกิยะ โลกุตตระ สัพพะสัมปัตตินัง มัคคะผะละ นิพพานาปัญจะ ปัจจะโย โหตุ เมนิจจัง (วาเสร็จกราบลง ๑ หน แลววา) อิติปโส... สวากขาโต... สุปฏิปนโน...

ค�าขอปติ

(ค�าอธิษฐานก่อนนั่งภาวนา) ถ้าหากว่าจักภาวนานั้นที่ใดสงัดแก่หูแก่ตาให้ไปอยู่ที่นั้นแล้วให้นั่งปัพ พะแนงเชิงคือเอาปลายเท้าขวาซุกเข้าเงื้อมน่องซ้าย เอาส้นเท้าซ้ายติด หน้าแข้งขวา ให้ขาทั้งสองลงติดอาสนะที่นั่ง ตั้งตัวให้ตรง แล้วประนมมือ ติดหน้าผาก แล้วกล่าวค�าขอเอาปีตินั้นว่า สาธุ สาธุ พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสังฆะเจ้า พระกัมมัฏฐานเจ้า ครูบาอาจารย์ผู้เป็นกัมมัฏฐานทายะกะทั้งมวล เป็นที่พึ่งที่ระลึกแห่งผู้ข้า ผูข้ า้ จักขอภาวนาพุทธานุสติกมั มัฏฐานเจ้า เอาปีตสิ มาธิธมั เจ้าดวงประเสริฐ เพื่อให้หมดทุกข์สิ้นทุกข์แก่ผู้ข้าทั้งหลาย ขอพระพุทธเจ้าโปรดเอ็นดูกรุณา ให้พทุ ธานุสติกมั มัฏฐานแก่ผขู้ า้ แด่เทอญ ผูข้ า้ ภาวนาพุทธานุสติกมั มัฏฐานเจ้า อันประเสริฐนี้แล้วขอจงเป็นปีติสมาธิธรรมเจ้าดวงประเสริฐ มาบังเกิด ในจิตตะสันดานแห่งผู้ข้า ในอิริยาบถอันผู้ข้านั่งภาวนานี้แด่เทอญ. โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๕๗


ค�าภาวนาพุทธคุณ บุคคลใดจักภาวนาพุทธคุณเจ้า ให้เปล่งวาจากล่าว อิติปโส ภะคะวา อะระหังสัมมา สัมพุทโธ วิชชา จะระนะสัมปนโน สุคคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะ สาระถิ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (ดังนี้ ๓ หนแลววา) โสภะคะวา อิติป อะระหัง (๓ หนแลววา) อะระหังสัมมา สัมพุทโธ (๓ หนแลววา) สัมมาสัมพุทโธ (๓ หนแลววา) พุทโธ พุทโธ นึกบริกรรมไปเรือ่ ยๆ ให้ได้รอ้ ยหนพันหน ตามแต่ความอุตสาหะ ของแต่ละคนเทอญ บุคคลผู้นั้นจะได้อานิสงส์ 56 กัปปแลฯ

ค�าภาวนาธรรมคุณ บุคคลผู้ใดจักภาวนา ธัมมะคุณเจ้า ให้เปล่งวาจาว่า สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปะสิโก โอปนนะ ยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ ติ (ดังนี้ 3 หน แล้วว่า) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม (3 หนแล้วว่า) ภะคะวะโต ธัมโม (3 หนแล้วว่า) ธัมโม ธัมโม นึกบริกรรมไปเรื่อยๆ ตามอุตสาหะของแต่ละคนเทอญ บุคคลผู้นั้นจักได้ผลานิสงส์ 38 กัปป ๕๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าภาวนาสังฆคุณ บุคคลผู้ใดจักภาวะนา สังฆะคุณเจ้า ให้เปล่งวาจาว่า สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญาญะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิ ปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริปุริสสะยุคคานิ อะถะปุ ริสสะ ปุคคะลานิ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนย โย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุณญักเขตตัง โลกัสสาติ (๓ หนแลววา) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (๓ หนแลววา) ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (๓ หนแลววา) สาวะกะสังโฆ สาวะกะสังโฆ นึกบริกรรมไปเรื่อยๆ ตามอุตสาหะ ของแต่ละคนเทอญ บุคคลผู้นั้นจักได้ผลานิสงส์ 14 กัปปแลฯ

ค�าภาวนาเมตตาตนเอง จักภาวนาเมตตาตนเองให้อยู่ดีกินดี ให้เปล่งวาจาว่า อะหังสุขิโตโหมิ อะเวโรโหมิ สุขีอัตตานัง ปะริหะรามิ อะนีโฆโหมิ สุขีอัตตานัง ปะริหะรามิ (3 หนแล้วว่า) อะหัง สุขิโตโหมิ นึกบริกรรมไปเรื่อยๆ ตามอุตสาหะของแต่ละคน เทอญ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๕๙


ค�าภาวนาพรหมวิหาร จักภาวนาพรหมวิหารทั้ง 4 ให้ภาวนาเมตตาสัตว์โลกทั้งหลายให้อยู่ดี มีสุข ให้เปล่งว่าดังนี้ ทัสสะสุนิสา สุฏฐิตา สัพเพ สัตตา สุขิตาโหนตุ อะเวราโหนตุ อะพะยาปชชา โหนตุ อะนีฆา โหนตุ สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุ (๓ หนแลววา) สัพเพ สัตตา สุขิตาโหนตุ (บริกรรมไปเรื่อยๆ ให้ได้ร้อยทีพันที ตาม อุตสาหะเทอญ แล้วว่า) สัพเพ สัตตา ทุกขะปะมุญชันตุ สัพเพ ปาณา ทุกขะมุญชันตุ สัพเพ ภูตา ทุกขามุญชันตุ (๓ หนแลววา) สัพเพ สัตตา ทุกขะมุญชันตุ (บริกรรมไปเรือ่ ยๆ ให้ได้รอ้ ยทีพนั ที ตาม อุตสาหะเทอญ แล้วว่า) สัพเพ สัตตา ลัทธะ สัมปตติโต ลัทโธ ยัสสะโต ลัทธะ สุขะโต มาวิคะโต โหตุ ภิญโญ สัมปตติ โหตุ ภิญโญ สัมปตติยา วุฒธิโหตุ (๓ หนแลววา) สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปตติโต มาวิคะโต โหนตุ (บริกรรมไปเรื่อยๆ ให้ได้ร้อยทีพันที ตามอุตสาหะเทอญ แล้วว่า) สัพเพ สัตตา ทุกขีวา สุขีวา ยะถารุจิยา สุกขะทุกขา บุญเจยยัง สัพเพ สัตตา กัมมะสะกา กัมมะทายาทา กัมมะยานี กัมมะพันธุ กัมมะปฏิสะระโณ (๓ หนแลววา) สัพเพ สัตตา กัมมะสะกา (บริกรรมไปเรื่อยๆ ให้ได้ร้อยทีพันที ตามอุตสาหะเทอญ) ๖๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าภาวนากายะคะตาแลฯ จักภาวนากายะคะตา ให้เปล่งวาจา อัฏฐิ อิมัสมิง กาเย เกศา โลมา นักขา ทันตา ตะโจ มังสัง นะหารู อัฏฐิ อัฏฐิ มิญชัง วักกัง หัตถะยัง กิโลมะกัง ปหากัง ปพพาสัง อันตัง อันตะคุณณัง อุตถะริ ยังกะริสัง ปตตัง เสมหัง ปุพโพโลหิตัง เสโท เมโท อะสุ วะสา เขโฬ สิงฆานิกา ละสิกา มุตตัง มัตถะเก มัตถะลุงคันติ ทวัตติงสา การัง (๓ หนแลววา) เกศา โลมา นักขา ทันตา ตะโจ ตะโจ ทันตา นักขา โลมา เกศา ปะฏิกูลา ทุคันธา อะสุภา เชกุจฉา อนิจจา ทุกขา อะนัตตา วิปะรินามะ ธัมมา (๓ หนแลววา) อนิจจา ทุกขา อนัตตา วิปะรินามะธัมมา (๓ หนแลววา) ธัมมา ธัมมา (บริกรรมไปเรือ่ ยๆ ให้ได้รอ้ ยทีพนั ที ตามอุตสาหะเทอญฯ)

ค�าภาวนาทิฏฐี จักภาวนาทิฏฐี วิสุทธิญาณ ให้เปล่งวาจาดังนี้ อิทังพะญา มะมัตตัง กะเฬวะรัง นามะรูปง มัตตะวิทัง พะญามะ มัตตัง กะเฬวะรัง รูปนนะรักขะณัง รูปน นามะนะขะ ลักขะณัง นามัง อิทังนามะรูปง อัณญะ มัญญัง นิสสิตัง ปงสะกู สันธะ สะทิสัง (3 หนแล้วว่า) รูปนนะรักขะณัง รูปงนามะ นะลักขะนังนามัง (บริกรรมไปเรื่อยๆ ให้ได้ร้อยทีพันที ตามอุตสาหะเทอญฯ) โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๖๑


ค�าภาวนากังขา จักภาวนา กังขาวิตะระณะ วิสุทธิ ให้เปล่งวาจาดังนี้ อะเหตุกัง อัปปะจะยัง นามะรูปง นุปชชะตินะปะวัตตะติ สะเหตุกัง ปนนะ สัปปจจะยัง นามะรูปง อุปชฌะติ ปะวัตตะติ (๓ หนแลววา) สาเหตุกัง สัปปจจะยัง นามะรูปง (บริกรรมไปเรื่อยๆ ใหไดรอยที พันที ตามอุตสาหะเทอญฯ)

ค�าภาวนาไตรลักษณ์ (๓ ไตร) จักภาวนาไตรลักขณวิปัสสนาเล่า ให้เปล่งวาจาดังนี้ นามารูปง อนิจจังภะ ยัตเถนะ นิจจังวัตตัง นิพพานัง นามะรูปง ทุกขัง ภะยัตเถนะสุขัง วัตตะนิพพานัง นามะรูปง ทุกขัง อะนัตตา อะสาระกัตเถนะสารัง วัตตะนิพพานัง (๓ หนแลววา) นามะรูปง อะนิจจังขะยัตเถนะ นามะรูปงทุกขัง ภะยัตเถนะ นามะรูปง อะนัตตา อาสารัตตะเถนะ (๓ หนแลววา) นามะรูปง อะนิจจัง นามะรูปงทุกขัง นามะรูปง อะนัตตา (บริกรรม ไปเรื่อยๆ ใหไดรอยทีพันที ตามอุตสาหะเทอญ แลววา) นิจจัง วัตตะนิพพานัง สุขัง วัตตะนิพพานัง สารัง วัตะนิพพานัง นิพพานังปะระมังสุขัง (ถึงอันนี้แลววา) อะอาทิติปะทัง ตานะดัง ผัสสะติตฐะติ ปญดะเร ทุกขะสันตะโรเอ โสนิพพานัง ปาปุณณิสสะติ (๓ หน บุคคลผูไดปฏิบัติตามก็เที่ยงวาจักได เขาสูนิพพานแนแทอยาสงสัยแล) ภาวนาพุทธานุสสะติ กัมมัฏฐานได้สัมมัตติ ได้นิพพาน ภาวนาสัมมานุสสติ ได้สวรรค์เทวโลกแล ๖๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ภาวนาสังฆานุสสติกมั มัฏฐาน เพือ่ ให้พน้ จากสรรพทุกข์ สรรพภัย สรรพ โรคา ทัง้ มวล ถ้าจุตติ ายไม่ได้เกิดในอบายคือนรกเป็นเปรต เป็นสัตว์เดรัจฉาน ในปาในบ้านจักได้ไปเกิดในสวรรค์เทวโลก เสวยสุขหาทุกข์ภัยโรคาไม่ได้ เหตุว่าคุณไตรรัตน์แก้วเจ้า 3 ประการรักษาแล เหตุดังนั้นผู้มีปัญญา ปรารถนาเพื่อให้เป็นสุขแก่ตนในชาตินี้และชาติ หน้าควรภาวนาพุทธคุณ ธัมมคุณ สังฆคุณ เพื่อรักษาตัวให้พ้นจากสรรพ ทุกข์ภัยทั้งมวลให้ได้เสวยสุขในชาติหน้า ตราบถึงนิพพานแท้จริงแล ภาวนากายะคะตา คือพิจารณาเกสา โลมา เป็นต้น ชื่อว่าตอบแทน คุณบิดามารดา คือว่าพ่อและแม่แห่งตนด้วยการกระท�าอันยิ่ง อนึ่งเล่าเป็น เหตุให้ตนเองได้ดดู กินน�า้ อมตะรส คือพลันได้ถงึ นิพพาน อันบ่รตู้ ายบ่รสู้ บิ หาย เฒ่าแก่ชราเป็นอันแน่ว่าจักร�างับเสียยังทุกข์ทั้งมวลอันมีในวัฏฏะสงสาร อาจารย์เจ้ากล่าวว่า ผู้ใดไม่ได้จ�าเริญภาวนา “เกสา” ผู้นั้นได้ชื่อว่าหัน หลังให้แก่นพิ พาน เหตุดงั นัน้ ผูม้ ปี ญ ั ญาปรารถนาให้ตนพ้นจากทุกข์ให้พลัน ได้ถึงนิพพานจงเจริญภาวนาวัตติงสา การัง คือเกสาเป็นต้นนี้เถิด ภาวนาเมตตามีอานิสงส์ 10 ประการ คือว่านอนหลับมีความสุขส�าราญ บานใจยิ่งนัก ไม่ละเมอหลงใหล เมื่อตื่นก็ตื่นด้วยดี ขณะนอนหลับก็ไม่ฝัน เห็นนิมิตอันควรสะดุ้งตกใจ 1 ย่อมเป็นที่รักเจริญใจแก่คนทั้งหลาย 1 เป็น ที่รักแก่ผีทั้งหลาย 1 เป็นที่รักแก่เทวดาทั้งหลาย เทวดาก็คุ้มครองรักษา ไม่ให้มีอุปัทวะกังวลอันตรายอันเป็นเหตุแห่งภัยยะทั้งปวง มีราชภัยเป็นต้น ให้อยู่ดีมีสุข 1 พิษง้วนตู้ลองหอกปนธนูก้องหน้าบอกนาคไม่เข้า 1 จักมีใจ ตั้งมั่นดีไม่หวั่นไหว 1 มีผิวพรรณวรรณะหน้าตาสว่างใสงามนัก เวลาใกล้ จะตายก็ไม่หลงอารมณ์มีสุขคติเป็นที่ไปเกิด 1 บุคคลผู้ภาวนาเมตตาจน สมภารแก่กล้า อินทรีย์ทั้ง 6 เต็มบริบูรณ์ก็ได้ถึงยังอุตริธรรม คือมัคคะผละ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๖๓


และถ้าไม่อาจถึงเหตุสมภารไม่แก่กล้า อินทรีย์ทั้ง 6 ไม่เต็มบริบูรณ์ก็จักได้ ไปเกิดในพรหมโลกตั้งแต่ชั้น ปาริสสัชชา เป็นต้น ตราบถึงอกัณณิฏฐานใน ชั้นใดชั้นหนึ่งแล ผู้ใดไม่ได้จ�าเริญภาวนาเมตตา ผู้นั้นเกิดมาชาติใดจะหาความสุขไม่ได้ จักหาผู้คนรักใคร่ไม่ได้ หาผู้เอ็นดูขุณณาไม่ได้ หาผู้อุปถัมภ์ค�้าชูไม่ได้ แม้นพ่อแม่ญาติพนี่ อ้ งลูกและเมียก็ไม่รกั เหตุวา่ ผูน้ นั้ ไม่ได้เจริญเมตตาภาวนา มาก่อน เหตุนั้นผู้มีปัญญาปรารถนาให้เป็นที่รักเจริญใจแก่โลกทั้งมวล ให้มีความสุขแก่ตัวแก่ใจ อันหาภัยยาข้าศึกศัตรูไม่ได้ ให้พลันได้ถึงมรรคผล และนิพพาน ควรเจริญเมตตาภาวนาอย่างจริงจังอย่าให้ขาดเถิด อานิสงส์ภาวนาเมตตา ฝูงพระพุทธเจ้าเทศนาในเมตตาสูตรกว้างขวาง นักแล ภาวนาทิฏฐิและกังขา ก็เป็นปัจจัยค�้าชูให้ปัญญากล้าคมเฉลียวฉลาด อาจตรัสรู้อรรถะอันลึกซึ้งสุขุมาลตัดความสงสัยแห่งท่านเพื่อให้พลัน ได้ใกล้ถึงนิพพานอันพ้นจากทุกข์ในวัฏฏะสงสารแท้จริงแล ภาวนาไตรลักษณ์วิปัสสนากัมมัฏฐาน ก็เป็นปัจจัยค�้าชูให้ปัญญา โลกุตรธรรมเก้าประการ มีสัมมาสะณาญาณเป็นต้น ตราบถึงอนุโลกญาณ เป็นปริโยสาน เพื่อให้พลันได้พ้นจากทุกข์ในสงสาร ให้พลันได้ถึงอมตสุข ในโลกทั้ง 3 อย่างแท้จริงแล เหตุดงั นัน้ บุคคลผูม้ ปี ญ ั ญา ปรารถนาใคร่พน้ จากทุกข์ ให้ถงึ ปรมัตถสุข คือนิพพาน ควรอบรมตนได้ภาวนายังทิฏฐิวิสุทธิ กังขาวิตตรณะวิสุทธิและ วิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อให้บรรทัดฐานแก่มรรคผละญาณเบื้องหน้าแท้จริง แด่เทอญ ๖๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


การภาวนาศีล ทีนี้จักกล่าวภาวนาศีล ให้ยกมือขึ้นระหว่างคิ้วตาให้บริกรรมในใจว่า “สีลานิเมปริสุทธา” ดังนี้ไปเรื่อยๆ ให้ได้ร้อยทีพันที ตามอุตสาหะเทอญ

แนะน�าการเดินจงกรม ทีนี้จักกล่าวลักษณะการเดินจงกรม ให้ก�าหนดพื้นที่ความยาว 5 วา ไป ทางตะวันออก-ตะวันตก ให้เอาทิศตะวันออกเป็นหัว ทิศตะวันตกเป็นหาง ให้ท�าแท่นบูชา 3 แห่ง คือที่หัวและท่ามกลาง ถ้าหากจะเดินจงกรมให้ขึ้น ขันธ์ 5 โกฐาก แล้วไหว้พระเจ้า อิตปิ โ ส.... สวากขาโต.... สุปฏิปน โน.... แล้ว ขึ้นขันธ์ 3 โกฐาก แล้วไปบูชาหัวจงกรม ท่ามกลางและท้ายจงกรม (แล้วว่า) นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ หนแลววา) ปญจมา เรชิโน นาโถปตโต สัมโพธิมุตตะมัง จะตุปจจา ปะกาเสติ ธัมมะจัก กังปวะตะยิ เอเตนะสัจจะวะเชนะโหนตุ เมจัยมังคะลัง (๓ หนแลววา) อัคคิพะหุปุปงชิเนตัตวา อะสิติกัปปะโกฏิโย อภิรูโปมหาปญโญ ชาเรนโต ปฏิฏิกะทานัง นิพพานัง ปรมังสุขัง (๓ หน แลววา ลุกยืน ๓ ที นั่ง ๓ ที แลวลุกยืนวา) วันทามิ ภันเต สัพพังอะปราทังขมะทะเม ภันเตมะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง ปุญญังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ (๓ หนแลววา) นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ หนแลว วา) พุทธังสระณัง คัจฉามิ... ถึง... ตะติยัมป สังฆัง สระณังคัจฉามิ พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมัง สุขัง ธัมมัง ชีวิตังยาวะ นิพพานังปรมังสุขัง โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๖๕


สังฆังชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมังสุขขัง ทุติยัมป พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมัง สุขัง ทุติยัมป ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมัง สุขัง ทุติยัมป สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมังสุขัง ตะติยัมป พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมังสุขัง ตะติยัมป ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมังสุขัง ตะติยัมป สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง ปรมังสุขขัง นะมามิพุทธัง คุณณะสาคะรันตัง นะมามิธัมมัง มุนิราชะเตสิตัง นะมามิสังฆัง มุนิราชะสาวะนัง นามะมิกัมมัฏฐานะทายะกา จะริยัง นิพพานะมะกุเทสะกัง อิติปโส..... สวากขาโต..... สุปฏิปนโน..... อเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสัง อะนิพพิสัง คะหะการังคะ เวสันโต ทุกขาชาติ ปุนับปุนัง คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะเคหัง นะกาหะสิ สัพพาเต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหา นัง ขะยะมัชฌะคาติ (แลวอธิษฐานเอาแผนดินวา) อิมังปฐวียัง อธิษฐามิ (วา ๓ หนแลวอธิษฐานเอาการเดินจงกรมวา) อิมังจังภาวนา กัมมัง อธิษฐามิ (วา ๓ หนแลวอธิษฐานเอาการบริกรรมภาวนาวา) อิมัง ภาวนา กัมมัง อธิษฐามิ (วา ๓ หนแลวอธิษฐานเอาลูกประคําวา) อิมังพุทธชีวัง อธิษฐามิ (วา ๓ หนแลวอธิษฐานเอาลูกประคําแลวนั่งภาวนาพุทธคุณ นับลูกประคํา ไปดวยใหได ๓๐๐ ลูกประคํา) เมื่อเดินจงกรมให้ยืนเท้าเสมอกันทั้งสองข้าง แล้วยกเท้าขวาเลี้ยวไป ทางขวาแล้วกล่าวค�าตกประค�าว่า “มะอะอุสิวิพรหม มังมะ มะทุกขัง อะนิจจัง อะอุนัตตา พุทโธจังกัมมัง เสฏฐังธัมโม ปานังวินาสตุ รูปขันโธ เวทนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณณักขันโธอนิจโจนิจจัง ทุกโข ทุกขัง สุขังสารัง จะตะนิพพานัง ปะระมังสุขัง อิติอะระหัง เตรัสสะ ๖๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


สังฆา ทิเสสาธัมมา เทววะอนิยัตตาธัมมา ติงสะนิสาคิยาปา จิตติยา ธัมมา ทวานะจุตติปาติยาธัมมา จัตตโรปฏัง เทสสะนิ ยาธัมมา ปัญจะสัตตะ ติเสกขิยาธัมมา สัตตะอธิกะระณะ สะมะทา ธัมมา สังขารูเปกขา นุปะโม ชีวิตตัง อธุวังมรณังธุวัง รูปะพุทโธธาตุพุทโธ นิมิตตะพุทโธ สูญญาพุทโธ นิพพานะปัจจะโยโหตุ นิพพานังปะระมังสุขงั ” (ให้ชสู ายประค�าขึน้ อยูร่ ะหว่าง หน้าอก มือซ้ายเหยียดลงแนบขา) เดินไปจนถึงเขตก�าหนดหัวจงกรม ให้นบั ลูกประค�าเม็ดหนึ่งถึงหางจงกรมนับเม็ดหนึ่ง ให้เดินไปช้าๆ อย่างส�ารวมให้ ได้ 8 ลูกประค�า (เสร็จใหภาวนาไตรลักษณสรุปแลววา) นามรูปัง อนิจจังขยัตเถนะนิจจัง วะตะนิพพานัง นามะรูปัง ทุกขัง ภะยัตเถนะ สุขังวะตะนิพพานัง นารูปังอนัตตา อะสาระกัตเถ นะสารัง วะตะนิพพานัง (วา ๓ หนแลววา) นามะรูปัง อะนิจจัง ขยัตเถนะ นามะรูปัง ทุกขังภะยัตเถนะ นามะ รูปัง อะนัตตา อะสาระกัตเถนะ (วา ๓ หนแลววา) นามะรู ป ั ง อะนิ จ จั ง นามะรู ป ั ง ทุ ก ขั ง นามะรู ป ั ง อะนั ต ตา (วา ๓ หนแลวชูลูกประคําขึ้นหนาอกนับบริกรรมลูกประคําวา) นามะรูปัง อะนิจจัง (๑ รอบ) นามะรูปัง ทุกขัง (1 รอบ) นามะรูปัง อะนัตตา (๑ รอบ) นอกนั้นจะบริกรรมลูกประค�าให้ได้ร้อยได้พันตามความ อุตสาหะแล (เสร็จแลวกราบลงปลงแผนดินวา) “อิมังปฐวียังปัจจุธะรามิ” ( ๓ หน แลวกลาวคําปลงจงกรมวา) จังกังกัมมังปัจจุธะรามิ (๓ หน แลวกลาว คําปลงภาวนาวา) อิมังภาวนากัมมังปัจจุธะรามิ (๓ หน แลวลุกมา กราบพระพุทธแลวใหกรวดนํ้าแผกุศลจึงจะสมควรแล)

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๖๗


การเข้านิโรธสมาบัติ โยควาจรเจ้าตนจักเข้านิโรธสมาบัติ เหมือนดัง่ พระพุทธเจ้าและพระปัจเจก พระโพธิสัตว์เจ้าและพระอรหันต์เจ้าทั้งหลายนั้น ให้กล่าวค�าสมาพระเจ้าทั้ง 5 จ�าพวกแล้ว ให้อาบน�้า สระผมเสียแล้วให้ศรัทธานายกผู้มีศีล 5 กับตัวเอง มาแต่งสร้างให้ยังตูบน้อยหลังหนึ่ง มีประตูอันหับไขไว้ให้ดีงามแล้วตักเอาน�้า มาใส่ไว้ในบาตรเหล็ก ให้กรองเสีย 7 ที ท�าที่ถ่ายหนักถ่ายเบาไว้ด้วย ให้ตั้ง จิตใจให้มนั่ คงดีแล้วอธิษฐานว่า “ภายใน 7 วันนี้ ข้าพพุทธเจ้า จักบ่ฉนั อาหาร สักวัน ข้าพพุทธเจ้าจักฉันแต่อุททะกัง (น�้า) สิ่งเดียว”แล้วโอกาสว่า สาธุโอกาสะ ภันเต ข้าแด่สัพพัญูพระโคตมะเจ้า ตนประเสริฐกว่า อินตาพรหมและเทวดาทัง้ หลาย บัดนีผ้ ขู้ า้ ก็มากระท�ายังครองธุดงควัตร 13 ก็หากบัวรมวลแล้วแล บัดนี้ขา้ จักปลงไว้เหนือหัวแห่งข้าก่อนแล้ว ข้าจักขอเข้า นิโรธสมาบัติธัมเจ้าดวงประเสริฐนี้ให้หายเสียยังอาหารประมาณ 7 วันนี้ และข้าขอเอาโลกุตตระธัมเจ้าดวงประเสริฐ คือ ปฐมฌาน ทุติยะฌาน ตะติยะฌาน จตุตถฌาน ปัญจะมะฌาน อันประเสริฐอันบังเกิดแก่พระพุทธเจ้า แลพระปัจเจกโพธิสตั ว์เจ้าและพระอรหันต์สาวกเข้า จงมาบังเกิดเป็นวิตาระ อันกว้างขวางอยู่ในขันธะทั้ง 5 บัดนี้แล้ว (ว่า 3 หน) กล่าวค�าอธิษฐานวัตร นิโรธเจ้าว่า “สันติปาทัฏโญ นิโรโธ นิโรธสัจจัง สัตตะเมอธิฐามิ” (ว่า 3 หน) แล้วให้บริกรรมภาวนาว่า “โลกกุตตรัง มัคคังจะยานัง โลกุตตะรังสะมุปา ทานัง จะยานัง โลกุตตะรัง ปทธะปานังจะยานัง โลกุตตะรัง ปนทริยังจะ ยานัง โลกุตตะรังพะลังจะยานัง โลกุตตะรัง โพชฌังคะกังจะยานัง โลกุตตะรัง สัจจังจะยานัง โลกุตตะรังสัสมมาถถังจะยานัง โลกุตตะรังธัมมผังจะยานัง โลกุตตะรังขันธังจะยานัง โลกุตตะรังอะยะตะนังจะยานัง โลกุตตะรังธาตุง จะยานัง โลกุตตะรัอาหารังจะยานัง โลกุตตะรังผัสสะจะยานัง โลกุตตะรัง ๖๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


เวทนังจะยานัง โลกุตตะรังจิตตังจะยานัง” จบภาวนาเข้านิโรธเท่านี้ ถ้าภาวนาเรื่อยๆ ได้ถึงนิพพานคือดับทุกข์ในวัฏฏะสังขารนี้แล.

ค�าไหว้คุณ สังวิธาปุกกะยับปะ นะโมพุทธายะ อะอิออุ งั นะมะอะอุ มะอะอุ อุมะอะ นะมะพะทะ กะจะภะสะ อะอาอิ อีอุอูเอโอ นะมะพะธะ กะจะภะสะ ปะกะวะระสะยะ คือว่าคุณพระสงฆ์ 14 นะปะนะปะฏะพะภะมะยะระละ วะสะหะละ คือว่าคุณพระพุทธเจ้า กะกุสันธะ 12 คุณแม่ 12 คุณน�้า 12 กะขะกะคะงะ จะสะจะชะยะระฏะ ระฐะ ระดะ ระถะ ระณะ ตะถะ ตะฬะอัง คุณพระพุทธเจ้าโกนาคะมะนะ 21 คุณพ่อ 21 คุณดิน 21 ปะกะวะรัชฉะยะ คุณพระพุทธเจ้ากัสสปะ 6 คุณไฟ 6 สังวิธา ปุกะยะปะ คุณพระพุทธเจ้า โคตมะ 7 คุณลม 7 กะงะตะนะ ปะมะยะวะหะอะ คุณพระพุทธเจ้า อริยะเมตตรัย คือว่าธะวานสิบสูบแล กะขะกะคะงะ จะสะจะชะญะ ระฏะระฐะระดะ ระถะระณะ ตะถะตะธะนะ ปะผะปะภะมะยะระละวะสะหะ อะอาอิอี อุอูเอโอ คุณพระธรรมมี 30 แล อะหังวันทามิ สัพพะทา

รูปพรหมมี ๔ แล ปะถะโมอากาโสอะนันโต ตุติยังวิญญาณังอะนันตัง ตะติยัง วิญญาณัง อะนันตัง ตะติยงั นัตถิกญ ั จิจะตุตถัง สันตะเมตัง ปะมีตะเมตตัง (ให้วา่ พร้อม กันทั้ง 5 วรรค 3 จบ แล้วให้ภาวนาเอาอากาศเป็นอารมณ์กัมมัฏฐานให้ บริกรรมว่า “อากาโสอะนันโต” ไปเรื่อยๆ เทอญ ถ้าหากว่าบุญสมภารมี แก่กล้า ปฐมฌานหากจักเกิดขึ้นได้ดั่งใจแท้แล) โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๖๙


ถ้าหากจะภาวนาทุตยิ ะรูปกัมมัฏฐานให้เอาปฐมรูปวิญญาณเป็นอารมณ์ ภาวนาว่า “วิญญาณังอะนันตัง” ไปเรื่อยๆ เทอญ ทุติอรูปฌานหากจักเกิด ได้ดั่งใจแล ถ้าจักภาวนาตะติยะอะรูปปกัมมัฏฐาน ให้เอานัตถิภาวนาแห่งปฐมะอะ รูปเป็นอารมณ์ให้ภาวนาว่า “นัตถิกิญจิ” ดังนี้ไปเรื่อยๆ เทอญ ตะติยะรูป ฌานหากจักเกิดได้ดั่งใจแท้แล ถ้าจักภาวนาจตุตถะอะรูปกัมมัฏฐาน ให้เอาตะติยะอรูปเป็นอารมณ์ แล้วภาวนาว่า “สันตเมตังปะณิตเมตัง” ดั่งนี้ไปเรื่อยๆ จะตุตถะอรูปฌาน หากจักเกิดได้ดั่งใจแท้แล อรูปกัมมัฏฐาน 4 แล้วแล

การภาวนาเพ่งดูบุญตัวเอง จักภาวนาเชื่อบุญให้รู้ว่ามีบุญ ควรทรงกัมมัฏฐานอันใดจะให้ภาวนา กัมมัฏฐานว่าดั่งนี้ “ภูอัคคะคุรังอังคุ ภูอัคคะปุรังอังคุ” บริกรรมดั่งนี้ไป เรื่อยๆ ให้นับลูกประค�าไปด้วยให้ได้ 100 ลูกประค�า การภาวนาให้มีจิตใจ เลื่อมใสแท้อย่าขุ่นมัว หากได้รู้แลตั้งใจสัจจะอธิษฐานเอานิมิตเถิด ถ้าเห็น ดอกหรือตึกกุฎี วิหารหอโรง เจดีย์ก็ดีเห็นรูปพระเจ้า พระธรรมก็ดีก็แม่น ของเราได้สร้างมาแท้แล ถ้าหากเห็นแสงพระอาทิตย์พระจันทร์อย่างนี้ก็ เพราะบุญสมภารเราแก่กล้าแท้แล

๗๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าขอสมาทานเอาครองวัตร 1. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า บังสุกุลนั้นว่า “คะหะปะติจีวรัง ปะฏิขะ ปามิ บังสุกลิกังคัง สมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่าวัตร บังสุกุลแล 2. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า เตจีวะระกังคังนั้นว่า “จะตุตถะจีวะระ ปะฏิกขิปามิ เตจีวะริกังคัง สมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ ชื่อว่า วัตรเตจิวะระ แล 3. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า บิณฑปาติกังคังนั้นว่า “อะติเรกะราภัง ปฏิกขิปามิ ปณฑิปาติกังคัง สมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ ชื่อว่า วัตรบิณฑบาตแล 4. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า สมาทานจาริกังคังนั้นว่า “โลรูปะจาละ ปฏิกขิปามิ สะยาทาจาริกังคัง สมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรบิณฑิบาตล�่าดับประตูบ้าน แล 5. สมาทานเอาวัตรชื่อ เอปะสันนิกังคังนั้นว่า “สันนินานาสันนะ โภชนังปฏิกขิปามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรเอกา แล 6. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า ปัตตบิณฑิปาตกังคังนั้นว่า “ทุติยัมป ภาชนัง ปฏิขขิปามิ ปัตตะบิณฑิปาติกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่า ทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรฉันข้าวในบาตร แล 7. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า กะขะลุปัจจาละภัตติกังคังนั้นว่า “อัตติริตตโภชนังบปฏิกขิปามิ ขะรุปัจจาภัตติกังสมาธิยามิ” สองบทนี้ ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรขรุปัจจาระ แล 8. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า อรัญญิกกังคังนั้นว่า “คามันตเสนาสะนัง ปฏิขิปามิ อรัญญิกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรอรัญญิ แล โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๗๑


9. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า “ธุตังควัตร” คือรุกขมูลิกังคังนั้นว่า “สันนังปฏิกขิปามิ รุกขมูลิกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรรุกขมูล แล 10. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า อโภคาสิกังคังนั้นว่า “สันนัญจะรนุกขมู ละลัญจะปฏิกขิปามิ อัพโภคาสิกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสอง เนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรอโสกาศกลางแจ้ง แล 11. สมาทานเอาวัตรชือ่ ว่า โสสานิกงั คังนัน้ ว่า “นุสสุ ามังปฏิกขิปามิโส สานกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรสุสาน ปาช้า แล 12. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า ธุตังควัตรนั้นว่าได้อีกชื่อคือ ยัฏฐาสัณฐา ติกังคัง นี้ว่า “เสนาสนังวะรูปังปฏิกขิปามิ ยัฏฐาสันฐิกัง คังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่า วัตรยัฏฐาสัณฐาติ แล 13. สมาทานเอาวัตรชื่อว่า เนสชิกังคังนั้นว่า “เสยยังปฏิกขิปามิ เนสชิกังคังสมาธิยามิ” สองบทนี้ให้ได้ว่าทั้งสองเนอ อันนี้ชื่อว่าวัตรนั่ง ไม่นอน แล ส่วนวัตรใน ๑๓ นี้ โยคาวจรเข้าตนใดจักถือเอาวัตรใดก็ดี ให้ไปดู รายละเอียดค�าอธิบายจากครูบาเจ้าศรีวิชัยยาจะนะอีกครั้งจักได้ ปฏิบัติถูกตามครองวัตรแล

๗๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ธรรมเทศนาอานิสงสการรักษาศีล รวบรวมโดย

พระศรีวิชัยยาชนะภิกขุ

(คราวจ�าพรรษาอยู่ที่วัดพระสิงห์วรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่)


ธรรมเทศนาอานิสงส์การรักษาศีล ของท่านพระครูบาเจ้าศรีวิชัย จารึกไว้เมื่อจ�าพรรษาวัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ นะโมตัสสัตถุฯ อะเสวนาจะปารานัง สภาวะอันบ่ไปสรงเสพคบกับ คนพาลทั้งหลายก็ดี ปัณฑิตานันจะเสวะนา สภาวะอันได้เสพคบหาบัณฑิต นักปราชญ์ทั้งหลายก็ดี ปูชานียานัง ขียาอันได้ไหว้ได้บูชาผู้ที่ควรบูชา มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นก็ดี เอตังวิทะกัมมัง อันว่ากรรม 3 ประการนี้ มังคละ ก็เป็นมังคละอุตตะมัง อันอุดมยิ่งนัก อันว่าพวกพาลทั้งหลาย คือว่าพาล ภายนอกย่อมผ่อหันด้วยตาอยูแ่ ล้ว จักบ่ไปสรงเสพคบกับมันก็ได้ แต่วา่ พาล ภายในผ่อด้วยตาบ่หัน ถ้าบ่ไปสรงเสพคบหากับบัณฑิตานักปราชญ์แล้ว ทีไ่ หนจักล่วงรูไ้ ด้ การคบหาบัณฑิตนักปราชญ์ คือหมัน่ ฟังธรรมค�าสอนของ พระพุทธเจ้า เพื่อหื้อรู้พาลภายใน ปุถุชนทั้งหลายบ่รู้ พากันเชื่อว่านามรูป คือธาตุทั้ง 4 ขันธ์ทั้ง 5 อาการ 32 นี้เป็นตัวตน แล้วย่อมอยู่ใต้อ�านาจของ มัน จึงบันดาลหื้อปุถุชนทั้งหลายเป็นพาล มีความโลภ โกรธ หลง ไปตาม อารมณ์ต่างๆ แล้วมีมานะกระด้างแข็ง ถือว่าตัวเป็นผู้มีปัญญา หาความสุข ใส่ตัว จึง่ มีสญ ั ญาวิปลาสไป หอบเอาแต่ความทุกข์มาใส่ตวั อยูท่ ุกวันคืนบ่ได้ ขาด พระพุทธเจ้าเทศนาไว้ว่า รบชนะศึกร้อยครั้งบ่เท่าชนะจิตอันเป็นบาป เสียได้ พระพุทธโฆษาจารย์ตั้งข้อปุจฉากรรมไว้ในวิสุทธิมรรคว่า สิ่งดังฤา เรียกว่าปัญญา วิสัชนาว่าปัญญามีมาก คือสภาวะอันฉลาดรู้ในศิลปะวิชชา ต่างๆ เป็นต้น ฉลาดในการไร่นาและในการค้าขาย หือ้ เกิดทรัพย์สมบัตติ า่ งๆ ล้วนแล้วไปด้วยปัญญาทั้งมวล แต่ก็เป็นปัญญาทางโลกีย์ อันประกอบด้วย ๗๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ความทุกข์ ส่วนปัญญาอันประเสริฐกว่าปัญญาทั้งหลายนั้น นักปราชญ์ควร สันนิษฐานว่า วิปสั สนาอันเป็นสัมประยุต ตัง้ ประกอบไปด้วยสุจริตพิจารณา หันแจ้ง ว่าสิง่ ทัง้ หลายในโลกนีค้ อื อุปปาตินะกะสังขาร สังขารทีม่ จี ติ วิญญาณ มีมนุษย์และสัตว์ทงั้ หลายก็ดี อะนุปาตินะกะสังขาร สังขารทีบ่ ม่ จี ติ วิญญาณ มีต้นไม้และภูเขาก็ดี เป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา บ่เที่ยงนับเสี้ยง ผ่อมนุษย์ ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว รูปเก่าที่เป็นเด็กน้อยนั้นหายไป รูปใหม่หนังใหม่คือ ความแก่เกิดขึ้น แล้วก็เปลี่ยนแปลงท�าหรือเจ็บตายในที่สุด หมายความว่า สิ่งทั้งหลายที่เกิดมาในโลกนี้ มีวิญญาระณะกะทรัพย์ อะวิญญาระณะกะ ทรัพย์ ตลอดถึงตัวมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายก็ดี เป็นของสมมติใช้กัน เมื่อมีชีวิตในโลกนี้เหมือนไปอาศัยศาลาแห่งหนึ่งแล้ว มีอ�านาจใช้สอยของ อันมีอยู่ในศาลาชั่วคราว ตามกุศลที่หาได้ตอนนั้น ยามเมื่อตายหรือหนี จากศาลาไปแล้ว ก็ต้องทิ้งสมบัติและคราบเน่าไว้ที่ศาลา คือโลกนี้ทั้งมวล บ่มีไผน�าเอาไปใช้ในโลกหน้าได้เลย ปัญญาที่รู้ถี่หันแจ้งดั่งนี้ เรียกว่าปัญญา ที่น�าตัวหื้อพ้นจากทุกข์ได้ พุทธเจ้าตรัสรู้เหตุที่เกิดทุกข์ ว่าความทุกข์ทั้ง หลายเกิดจากขันธะทั้ง 5 คือ อัตตา อัตตาเกิดขึ้นแล้วก็สมมติเรียกว่า ตัวตน แล้วก็มีตัณหาความอยากได้ดิ้นรนกระวนกระวาย กระท�าหื้อจิตใจ ฟุงซ่านไปตามความอยากต่างๆ ปุถุชนทั้งหลายขาดการอบรมทางธรรม บ่รู้เหตุที่ดับทุกข์ บ่รู้ที่บรรเทาทุกข์ บ่รู้ที่เกิดทุกข์ บ่รู้ทางปฏิบัติไปสู่ที่ ดับทุกข์ พากันคบแต่พาลภายใน จิ่งไปหาแต่ทางผิด ต้องได้รับความ เดือดร้อน แต่เครื่องปองกันความเดือดร้อนที่พระพุทธเจ้าบัญญัติไว้มีศีล 5 และ ศีล 8 คือ 1.อย่าฆ่าสัตว์ 2.อย่าลักทรัพย์ 3.อย่าเหล้นชู้สู้ผัวเมียท่าน 4.อย่ากล่าวค�าล่าย ยุโยงส่อเสียด หือ้ ท่านแตกร้าวบาดหมางกัน 5.อย่าเสพ ของมึนเมา มีสุราเป็นต้น ถ้าศีล 8 เปลี่ยนข้อที่ว่า อย่าเหล้นชู้ เป็นว่าห้ามเสพเมถุนกับชายหญิง โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๗๕


ในคืนหนึ่งวันหนึ่ง ห้ามต่อจากข้อ 5 ไปแถมข้อ 6 อย่ากินข้าวตะวันบ่าย เพราะท�าหื้อง่วงเหงาหาวนอน บ่มีปัญญาคึดหาอุบายหื้อพ้นจากทุกข์ได้ ข้อ 7 อย่าเหน็บดอก อย่าทาแปง อย่าทาน�้าหอม และดูการฟอนและฟัง เสียงจอยซอ และดีดสีตีเปาอันเป็นเครื่องล่อตัณหา ข้อ 8 อย่านั่งนอนเตียง ตั่งที่สูงและสะลีที่ยัดด้วยฝายและงิ้ว ที่จักท�าหื้อมีมานะกระด้างแข็ง ศีล 8 เป็นของส�าหรับประจ�าตัวมนุษย์ทวั่ ไป แม่นว่าไผบ่รแู้ ละบ่นบั ถือก็ดถี า้ ไปท�า ผิดพลาดจากศีล 5 แต่ข้อหนึ่งข้อใดแล้ว ต้องมีบาปได้รับโทษในปัจจุบันนี้ เป็นต้นไป คือต้องไปติดคอกเสียเงินและเสียชื่อเสียงเป็นต้น อย่างเช่นผู้ที่ เป็นนักโทษอยู่กองเรือนจ�านั้นแล กันตายไปก็จักตกนรก 500 ชาติ แล้ว ได้เกิดมาเป็นคนและเป็นสัตว์ชนิดนัน้ หือ้ ท่านได้กระท�าอย่างทีต่ วั ได้กระท�า กับเขาแถม 500 ชาติ คือไปตกนรกหนึ่งชาติแล้ว กันพ้นจากนรกก็ได้เกิด มาใช้หนีใ้ หม่กต็ อ้ งใช้เวลานาน คือต้องตกนรก 500 ชาติ เมือ่ เกิดมาตอบแทน เวรกรรมชาติหนึ่งแล้ว ก็ต้องกลับไปตกนรกอีกเป็นล�าดับไปกว่าจะครบ ก�าหนดอย่างละ 500 ชาติ รวมเป็นพันชาติด้วยกัน ดั่งผู้ที่เกิดมาเป็นพู้เมีย (กระเทย) และเป็นคนพิการ ปากแหว่ง หูหลึ่ง ตาบอด แข้งหักขาห้าน เป็น ขึน้ ทูด-ขีโ้ ม้ เป็นบ้าใบ้วกิ ลจริตผิดธรรมชาติ เป็นคนทุกข์ไร้เข็ญใจ ฆ่าตัวตาย หรือถูกเปนฆ่าตาย และโจรปล้นสะดมตีชิงวิ่งราวถูกเปนฉ้อโกงทรัพย์ และ ถูกผู้อื่นหาความใส่ และมีความเจ็บปวด มีอายุสั้นพลันตาย เหล่านี้เพราะ ได้ท�าผิดศีล 5 มาแต่ชาติปางก่อน แล้วจึงเกิดมาใช้หนี้ท่านจนกว่าจะหมด เวรกรรม ผู้ที่ท่านเกิดมามีลักษณะครบถ้วนบริบูรณ์ มีปัญญาเฉลียวฉลาด หาทรัพย์สมบัติได้ง่ายดาย มีความสุขและมีอายุยืน ก็เพราะว่าท่านเป็นคน มีเมตตาจิตเคยได้อบรม มีการบ�าเพ็ญทานและรักษาศีลมาแล้วแต่ชาติ ปางก่อน ทัง้ มวล ศีล 5 ส�าหรับผูน้ บั ถือได้รบั อานิสงส์ คือความสุขในปัจจุบนั ๗๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ชาตินี้ ดั่งที่ธรรมเทศนาว่าพระราชบุตรของพระเจ้าพรหมทัตเมืองพาราณสี เอาไก่ 2 ตัวมอบหื้อแก่ศีละรักขิตตะส่วน ศีละรักขิตตะนั้น เป็นผู้ที่ถือศีล 5 มาตั้งแต่อายุได้ 5 ปี มาถึงอายุได้ 16 ปี หื้อเอาไปฆ่าแล้วแกงมาหื้อกิน ศีละรักขิตตะ ก็รับเอาไก่ไปแล้วร�าเพิง (ร�าพึง) ว่าเราได้ถือศีลมาจนบัดนี้ ถ้าเราฆ่าไก่ศีลของเราก็จักเสียไป เราบ่ควรฆ่าไก่นี้หื้อเสียศีล เราควรปล่อย ไก่หื้อพ้นจากความตายไปเสีย ส่วนตัวเราจักตายด้วยเหตุนี้ก็ช่างมัน แล้วก็ ปล่อยไก่นั้นเสีย ถึงเวลาพระราชบุตรเรียกเอาแกงไก่จากศีละรักขิตตะ ศีละรักขิตตะบอกว่าได้ปล่อยไก่ไปเสียแล้ว พระราชบุตรมีความโกรธมาก นัก จึงได้สั่งหื้อจ่าฆ่าคน (เพชฌฆาต) น�าเอาศีละรักขิตตะไปขว้างตกวังน�้า ที่เคยฆ่าคนนั้นเสีย กันไปเถิงที่แล้วศีละรักขิตตะได้ท�าจิตสัจจะอธิษฐาน ตั้งค�าผาถนาว่า ข้าได้รักษาศีลมาเถิงบัดนี้ เปนจักฆ่าหื้อตายแล้ว ด้วยกุศล นี้ ขอได้นา� ตัวแห่งข้าหือ้ พ้นจากภาวะทัง้ 3 แด่เตอะแล้วจ่าฆ่าคน (เพชฌฆาต) ก็เอาศีละรักขิตตะไปขว้างกลางแม่น�้าวน ขณะนั้นมีนาค 4 ตัว น�าเอา ปราสาทค�าประดับด้วยแก้ว 7 ประการ มารับเอาศีละรักขิตตะได้แล้ว ต้าวทัง้ 4 เทวดาทัง้ หลายเอาปราสาทขึน้ ไปตัง้ ไว้ทกี่ ลางเวียง พระยาพรหมทัต และราชบุตรมีความกลัวเหลือประมาณ พากันลงไปไหว้ขอโทษและขอยก เอาบ้านเมืองหื้อเจ้าศีละรักขิตตะได้ครองเมืองพาราณสี นี้ก็ด้วยอานิสงส์ แห่งการรักษาศีลยังมีเรื่องผู้บ�าเพ็ญศีลแถมเล่าว่า ยังมีลูกแม่หม้ายอยู่เมือง ลังกา 2 คน ผู้พี่ชื่อว่ามหาจักระ ผู้น้องชื่อว่าจูระจักระ นางผู้แม่ปวยได้ไป หาหมอยาหมอบอกว่าหื้อหาเลือดกระต่ายมาผสมยาหื้อกินจึ่งจักหาย ชายผูพ้ หี่ อื้ น้องไปดักกระต่าย ได้กระต่ายมาก�าไว้แล้ว กระต่ายมันดิน้ และร้อง จูระจักระนึกว่า สัตว์ทั้งหลายเมื่อความตายมาถึงแล้ว ย่อมกลัวตายทุกตัว แม่เราและตัวเรานี้ก็กลัวตายด้วยกัน ส่วนสัตว์มันปากบ่ได้มันก็แสดงกิริยา โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๗๗


ดิ้นรนและร้องขอความกรุณาตามภาษาของมัน สัตว์และคนย่อมรักตัว กลัวตายด้วยกันนับเสี้ยง เราควรปล่อยกระต่ายตัวนี้หื้อพ้นจากความตาย ดีกว่า ส่วนแม่เราก็เอาบุญกรรมเป็นประมาณ แล้วก็ปล่อยกระต่ายตัวนัน้ เสีย กลับไปบ้านพี่ถามก็บอกไปตามความเป็นจริงแล้ว เมื่อพี่รู้ดั่งอั้นก็โกรธ ก�าไม้ค้อนไล่ตีน้องๆ ก็วิ่งไปหาแม่ๆ ก็ห้ามเสียแล้วถามว่าเรื่องอันใดกัน น้องก็ได้เล่าหื้อแม่ฟัง แล้วก็ได้ตั้งสัจจะอธิษฐานว่า ตั้งแต่ข้าเกิดมาจนบัดนี้ บ่ได้ทา� ผิดจากศีล 5 เลย ด้วยกุศลทีถ่ ือมั่นดั่งนี้ ขอหือ้ แม่ข้าหายจากโรคภัย ตามสัจจะนี้เตอะ แล้วก็เอามือลูบหลังแม่ แม่ก็หายจากโรคได้ทันที นี้ก็ด้วย อานิสงส์ของการรักษาศีล บ่ใช่เท่านัน้ ปางเมือ่ พระพุทธเจ้านิพพานไปได้ 210 พระวะสา พระยา ธรรมศรีโศกราช ได้ปาวประกาศหื้อประชาชนทั้งหลายในชุมภูทวีป หื้อพา กันรักษาศีล 5 มีความประสงค์เรียบร้อยจนได้สร้างพระเจดียแ์ ละพระวิหาร อย่างละ 84,000 องค์ไว้ทั่วทุกหัวเมือง บ่เท่าแต่นั้นพระองค์ยังได้ส�ารวจ ค้นคว้าหาหลักฐาน สถานที่ประสูติขององค์พระสัพพัญูเจ้า ที่เรียกว่า สวนลุมพินี และพุทธคยา อันเป็นสถานที่พระผู้เป็นครูแก่โลกได้ตรัสรู้และ อิสปิ ะตะนะมฤคทายวัน อันเป็นสถานทีพ่ ระผูโ้ ปรดโลกได้แสดงปฐมเทศนา แก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 พร้อมกับทั้งได้ค้นหากุสินาลาสาระวันอันพระผู้เป็นที่ พึ่งแก่โลก ได้ดับขันธ์ปรินิพพาน พระยาศรีธรรมโศกราช ได้สร้างมหาเจดีย์ และเสาอโศก เป็นหลักฐานไว้เป็นส�าคัญแล้ว ก็ท�าการฉลองท�าบุญได้ 7 ปี 7 เดือน 7 วัน ส�าเร็จบริบูรณ์แล้ว ซ�้าได้จารึกไว้ที่แผ่นศิลา ข้างปลายที่สุด พระราชด�ารัสแผ่นที่ 13 มีใจความว่า “บรรดาเจ้าพระวงศ์ทั้งหลาย อันมา ทีหลังหมายที่จักเอาไชยชนะต่อไป อย่าถือว่าการชนะด้วยคมอาวุธ เป็น นามอันสมควรของผู้ชนะ การเป็นผู้ท�าความวุ่นวายและย�่ายีร้ายแรงนั้น ๗๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


บ่ควรถือว่าเป็นการชนะ เพราะมีแต่กรรมอันเป็นบาป การชนะด้วยอาศัย ธรรมะในพระศาสนาอย่างเดียวเท่านั้น จึ่งถือว่าเป็นการชนะอย่างแท้จริง จึ่งมีพระราชด�ารัสเป็นหลักฐานแสดงหื้อหันความจริงได้ว่า การปราบด้วย อาวุธย่อมก่อเวรมีแต่ความเดือดร้อน ดั่งผู้มีครอบครัว มีบิดามารดา มีสามีภรรยา บุตรหลานญาติพนี่ อ้ งอยูพ่ ร้อมหน้ากัน เมือ่ หัวหน้าครอบครัวตายไป เสียแล้ว ความเดือดร้อนของครอบครัวนั้น จักมีเกิดขึ้นสักปูนใด แล้วไผจัก เป็นผู้ปกครองเลี้ยงดูต่อไปแถมมันก็เท่ากับตายไปทั้งครอบครัวเสียแล้ว บรรดาสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาในโลกนี้ย่อมมีความรักตัวกลัวตายด้วยกัน ทัง้ มวล การปราบด้วยอาวุธ ซึง่ เกณฑ์เอามนุษย์ไปรบราฆ่ากันเป็นหมืน่ เป็นแสน ท�าหือ้ มนุษย์ทงั้ หลายได้รบั ความเดือดร้อน เพือ่ หวังความสุขอันเล็กน้อยมา ใส่ตวั คนเดียวเท่านัน้ บ่ชอบด้วยทางยุตธิ รรม ด้วยเหตุวา่ พระองค์เคยปราบ ด้วยอาวุธและปราบด้วยพระศาสนามาแล้วทั้ง 2 อย่างดั่งนี้ ก็เล็งเห็นว่า เป็นความจริงอยู่แล้ว ในสมัยพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชบ่มผี รู้ า้ ยปล้นสดมภ์ ตีชิงวิ่งราวกันพ่องกา...? ควรสันนิษฐานได้ว่าปุถุชนสมัยนั้นมีศีล 5 บริบูรณ์ บ่มกี ารเบียดเบียนกันแม่นว่าเจ้าของบ้านบ่อยู่ หับประตูบา้ นไว้ ก็บม่ ไี ผบังอาจ เข้าไปในเคหสถานบ้านเรือนได้ การทีเ่ กิดมีโจรผูร้ า้ ยชุกชุมนี้ ก็เพราะปุถชุ น ทั้งหลายขาดการอบรมในทางธรรม บ่รู้เท่าทันความจริง พากันถือว่าอัตตา คือตัวสมมุติอันเป็นซากผีนั้น เป็นตัวตนแท้จริงพากันได้รับความเดือดร้อน มีแต่พระพุทธเจ้าซึง่ ตรัสรูใ้ ยยะธรรมลึกล�า้ ด้วยตนเองเท่านัน้ รูเ้ ท่าทันความ จริงได้ แม่นว่าท่านได้เถิงนิพพานไปแล้วก็ดี ท่านก็ได้ตงั้ พระศาสนาไว้ 5,000 พระวสา หื้อพระภิกขุสังฆะทั้งหลาย ปฏิบัติรักษาพระธรรมค�าสั่งสอนไว้ โปรดสัตว์ทั้งหลายหื้อพ้นทุกข์ท่านตรัสรู้แจ้งว่าพระศาสนาจักตั้งอยู่ได้ก็ เพราะพระมหากษัตริย์เป็นพุทธศาสนูปถัมภ์ ท่านจึ่งได้ฝากพระศาสนาไว้ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๗๙


กับพระมหากษัตริย์ ถ้าพระมหากษัตริยแ์ ละเจ้าเมืองพร้อมด้วยเสนาอ�ามาตย์ ราษฎรทั้งหลาย พากันรับศีล 5 และท�าบุญใส่บาตรฟังธรรม ณ ที่วัดทุกวัน ศีลเป็นล�าดับไปแล้วจักได้อานิสงส์ คือความสุขในปัจจุบนั ทันตา 25 ประการ ดั่งจักกล่าวเป็นล�าดับต่อไปนี้ คือ 1. เมื่อนอนหลับก็เป็นสุข 2.เมื่อตื่นก็ เป็นสุข 3.เมื่อฝันก็ฝันดีบ่อฝันร้าย 4. ชื่อเลื่องลือไปทั่วทิศว่าเป็นผู้มีเมตตา ใจศีลใจบุญ 5. เป็นที่รักแก่คนและเทวดาทั้งหลาย 6.แม่นจักอว่ายหน้าไป สู่ทิศะใดๆ เทวดาก็ตามไปรักษา บันดาลหื้อมีผู้อุปถัมภ์บ่ได้ล�าบาก 7. แม่น เข้าไปในที่ประชุมหมู่ใดย่อมเป็นผู้กล้าหาญฉลาดในการเจรจา 8.บ่มีศัตรู ท�าร้ายได้ 9. บ่มคี วามสะดุง้ ตกใจกลัวต่อภัยอันตรายสิง่ ใด 10. เป็นผูป้ ราศจาก ทุกข์ บ่มถี อ้ ยคดีความเกิดขึน้ เลย 11. เป็นผูม้ สี ติสมั ปชัญญะ ยิม้ แย้มแจ่มใส ทุกเมื่อ 12. บ่มีความเศร้าโศกเสียใจ แล้วมีอายุยืน 13. มีปีติอิ่มเอิบอยู่ใน ใจว่าได้ทา� ดีไว้เป็นทีเ่ พิง่ แก่ตวั แล้ว 14. เป็นผูท้ า� ใจหือ้ บริสทุ ธิค์ อื เทวดาห้าม ประตูอบายไว้แล้ว 15. ยามเมื่อจักตายก็มีสติดีบ่มีความสะดุ้งตกใจ อันนี้ เป็นอานิสงส์เฉพาะตัว อานิสงส์ส่วนประเทศชาติบ้านเมืองก็ได้รับได้แถม ต่อไปได้ดงั่ นี้ 16. ประชาชนพลเมืองทัง้ หลายจักมีความสามัคคีกลมเกลียว เป็นน�้าหนึ่งใจเดียวกัน 17. พวกอันธพาลสันดานหยาบหันหมู่ประชาชน ผู้มีน�้าใจศีลธรรมก็มีใจใคร่คบหาสมาคมด้วยกึดละอายเกิดขึ้นในใจ บ่อาจ จักเป็นพาลต่อไป ก็กลับใจเป็นพลเมืองดี มีศลี ธรรมต่อไป 18. ความก้าวร้าว เบียดเบียนกันก็บ่มี 19. โจรผู้ร้ายก็สงบ 20. ฝนก็ตกชอบตามฤดูกาล 21. พืชข้าวกล้าก็งอกงามบริบรู ณ์ 22. ปราศจากมหาภัยพิบตั ิ คือน�า้ ก็บท่ ว่ ม ลมร้ายก็บ่พัด แผ่นดินก็บ่ล่มจม ไฟก็บ่ไหม้ โรคห่าทั้งหลาย คือโรคติดต่อ ก็บม่ ี 23. พลเมืองทัง้ หลายมีความสุขสบาย 24. เมือ่ ประเทศชาติบา้ นเมือง อยู่เย็นเป็นสุขแล้ว นานาชาติก็บ่อาจมาราวีได้ 25. พระมหากษัตริย์ และเจ้านายผู้ปกครองประเทศก็มีความสุขสบาย ๘๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


การปฏิบตั ริ กั ษาศีล 5 อันเป็นบันไดชัน้ ต�า่ เบือ้ งต้นของพระพุทธศาสนา มีอานิสงส์หอื้ ได้รบั ความสุขในปัจจุบนั หันประจักษ์แจ้งแก่ตาดัง่ นี้ คันว่าตาย ไปแล้วก็ได้ขนึ้ ไปเกิดในสวรรค์ คันจุตจิ ากสวรรค์ ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์มรี ปู อันงาม มีปัญญาเฉลียวฉลาด มีทรัพย์สมบัติมาก มีอายุยืนยาว มีผัวเมีย มี ลูกมีหลานก็ว่านอนสอนง่าย บ่มีศัตรูเบียดเบียนได้ และเป็นปัจจัยท�าหื้อมี ความสุขไปถะหราบจนเถิงพระนิพพาน ผู้ที่รักษาศีล 8 ก็ได้รับความสุข ปัจจุบันมากกว่าศีล 5 ขึ้นไปแถม คือได้ไปอยู่ ณ ที่วัดเป็นกายะวิเวกสงบ อารมณ์ ปราศจากความทุกขเวทนา คือ กามะฉันทะ ปราศจากกามคุณ ปราศจากการพยาบาทจองเวร ถีนะมิตทะ ปราศจากความง่วงเหงาหาวนอน อุทัจจะ กุกุจจะ ปราศจากความฟุงซ่านร�าคาญใจ บ่มีสิ่งใดมารบกวน วิจกิ จิ ฉา ปราศจากความสลัง้ สงสัยในพระธรรมค�าสัง่ สอนแล้วไปอบรมท�าใจ หื้อบริสุทธิ์แยบคายเสมอดั่งพรหม คันว่าตายก็ได้ขึ้นไปเกิดในชั้นพรหม มีความสุขและมีอายุยนื ยิง่ กว่าชัน้ สวรรค์ คันจุตติ ายก็จกั ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ ในสกุลสูง เป็นมนุษย์มีรูปโฉมอันเลางาม มีปัญญาเฉลียวฉลาด มีอายุยืน มียศศักดิบ์ ริวาร มีอา� นาจมาก มนุษย์ผใู้ ดถือศีล 5 ได้มนั่ เทีย่ งแล้ว ผูน้ นั้ ก็ได้ เป็นอุบาสกอุบาสิกาในพระพุทธศาสนา เป็นผู้มีปัญญา เกิดมาบ่เสียชาติ เป็นผู้ฉลาดน�าความสุขมาใส่ตัว ประเสริฐกว่าทรัพย์สมบัติทั้งหลายที่มีอยู่ ในโลกทั้งมวล แก้วมณีโชติของพระจักรพรรดิผู้เป็นใหญ่กว่ามนุษย์ทั้งปวง และเครื่องประดับขัติยะนารีทั้งหลาย มีแก้วแหวนเงินทองเป็นเหตุของ ตัณหากามคุณเหมือนดั่งน�้าผึ้งแช่ยาพิษส�าหรับน�าความทุกข์มาใส่ตัว ด้วย บ่มีประโยชนะสิ่งใดเลย แม่น�้าคงคา ยมนา อะจีระวดี มหิ มหาสะระพู ซึ่ง เป็นแม่น�้าใหญ่ทั้ง 5 แม่นี้ แม่นจักเอามาอาบหื้อหมดเสี้ยงทั้ง 5 แม่นี้ก็ บ่อาจจักล้างบาป คือความเดือดร้อนภายในหื้อหายได้ ลมฝนลูกเห็บ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๘๑


แม่นจักตกลงมา 100 ห่า เย็นและหนาวสักปานใดก็ดี บ่อาจจักเย็นเข้าไป เถิงปายในหื้อหายจากความทุกขเวทนาได้ ศีล 5 เป็นอริยทรัพย์ เป็นต้น ของความบริสุทธิ์ เป็นน�้าทิพย์ส�าหรับล้างบาปคือความเดือดร้อนภายใน หื้อหายได้ เป็นบันไดแก้วส�าหรับก่ายขึ้นไปอยู่ชั้นสวรรค์ สมดั่งบาลีว่า สีเลนะสุขคติงยันติ ศีลเป็นทีห่ อื้ จ�าเริญไปด้วยความสุข สีเลนะโภคะสัมปะทา ศีลหือ้ จ�าเริญไปด้วยโภคทรัพย์ทงั้ มวล สีเลนะนิพพุติงยันติ ศีลท�าผะโยชนะ หือ้ มีความสุขไปถะหราบเถิงพระนิพพานอันเป็นความสุขอย่างยิง่ ได้แท้จริง ตัสสมา สีลัง วิโส ทะเย เหตุ นั้น ศีลจึงเป็นของวิเศษยิ่งนัก หาอันใดจัก เปรียบเทียมบ่ได้ ดั่งพุทธภาษิตตรัสไว้ว่า ความบ่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน เป็นความสุขในโลก พระธรรมค�าสั่งสอนหื้อถือศีล 5 ได้ทั่วโลกแล้ว มนุษย์ และสัตว์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกก็จักมีแต่ความสุขจักท�าสิ่งใดก็มีแต่ ความจ�าเริญ โลกกับธรรมต้องถ้อยทีถ้อยอาศัยกันดั่งนี้แล้วแผ่นดินนี้ ก็จักกลายเป็นแผ่นดินเมืองสวรรค์ น�้าตาของมนุษย์อันเป็นทะเลท่วมโลก มาแล้วแต่ก่อนก็จักเหือดแห้งหายไปสมดั่งภาษิตว่า หื้อรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ประเทศชาติบ้านเมืองจึ่งจักมีความสุขความจ�าเริญ อันความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ก็คือผู้ที่ตั้งอยู่ในศีล 5 นี้แล ถ้าผู้ใดบ่มีศีล 5 กับตัวแล้ว ก็แปลว่าเป็นผู้ขุดขุมฝังตัวไว้ในชาตินี้เสียแล้ว จักไปโทษไผได้ ปุถุชนทั้งหลายอย่าได้สงสัยว่าพระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว จักท�าอย่างใดก็บ่ได้ถึงมรรคะผลา และพระนิพพานนั้น ความจริงพระเจ้า เป็นผูต้ รัสรูธ้ รรม ซึง่ ธรรมนัน้ ก็เป็นสิง่ ทีม่ อี ยูก่ อ่ นแล้ว แล้วพระองค์จงิ่ ได้เป็น พระพุทธเจ้า เมื่อท่านได้ถึงนิพพานไปแล้ว ผู้ปฏิบัติถูกต้องตามธรรม ค�าสั่งสอนก็ได้เป็นอรหันตาเถิงนิพพานไปแล้วก็มีเหมือนกัน ถ้าผู้ใดเล็งหัน ว่าพระธรรมค�าสอนเป็นความจริงบริสทุ ธิแ์ ล้ว ผูน้ นั้ ย่อมเล็งหันพระพุทธเจ้า ๘๒

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ได้ทุกเมื่อ แม่นว่าพระองค์ท่านยังทรงทรมานอยู่ก็ดี ผู้ใดบ่ได้ปฏิบัติหื้อถูก ต้องตามธรรม ก็บอ่ าจพ้นจากความทุกข์ได้ขอ้ ปฏิบตั ทิ หี่ อื้ พ้นจากความทุกข์ ได้คอื หือ้ รักษาศีลหือ้ บริสทุ ธิเ์ สียก่อนแล้วสมาธิความตัง้ มัน่ จึง่ จักมี ถ้ารักษา ศีลบ่บริสทุ ธิแ์ ล้ว ความตัง้ มัน่ แห่งสมาธิกม็ บี ไ่ ด้ เพราะฉะนัน้ ปุถชุ นทัง้ หลาย ผู้แสวงหาความสุขใส่ตัว จุ่งพากันรักษาศีลหื้อบริสุทธิ์เตอะ เมื่อศีลบริสุทธิ์ แล้ว สมาธิความตั้งมั่นก็จักเกิดมีมา แล้วหื้อปลุกปัญญา ปัญญาก็หากจัก เกิดมีขึ้นได้ คือหื้อหมั่นระนึกถึงตัวอยู่เสมอๆ ว่าบ่ใช่ตัวบ่ใช่ตน เป็นธาตุ ทั้ง 4 ขันธ์ทั้ง 5 อาการ 32 ก็เป็นของโสโครก เป็นตัวทุกข์ ตัวแก่ ตัวเจ็บ ตัวตาย บ่ใช่ตัวตนที่จักติดตามไปในโลกหน้าได้ หื้อหันแจ้งด้วยปัญญาตัว เองแน่นอนลงไปแล้วจึ่งเป็นสมุทะประหารกิเลสหมดแล้ว จิตก็เป็นวิมุตติ หลุดพ้นจากความทุกข์ ก็จักได้เป็นอรหันตาสมจริงดั่งพระบาลีตรัสไว้ว่า อะเสวะนา จะปาราณัง สภาวะอันได้รจู้ กั พาลภายใน คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งความทุกข์ แล้วบ่ได้ส้องเสพคบหากับมันก็ดี ปัณฑิตานันจะเสวะนา สภาวะอันได้เสพไปคบกับบัณฑิตตะนักปราชญ์ได้ ฟังธรรมค�าสอนแห่งพระพุทธเจ้า จนได้รู้จักพาลภายในอันเป็นต้นเหตุแห่ง บาปก็ดี ปูชาจะนียานัง ขียาอันได้ไหว้ปูชายังพระพุทธเจ้าก็ดี เอตังติวิทะ กัมมัง อันว่ากัม 3 ประการนี้มังคะลัง ก็เป็นมังคะละ อุตตะมัง อันอุดมดี ตามดั่งกล่าวมานี้ พระพุทธเจ้าได้ปาเป็งสร้างปาระมีมาได้ 4 อะสงไขย ปลายแสนมหากัปป จึ่งได้ตรัสรู้ใยยะธรรมอันวิเศษ รู้ต้นเหตุที่เกิดทุกข์ รู้เหตุที่บรรเทาทุกข์ รู้เหตุที่ดับทุกข์ รู้ทางปฏิบัติไปสู่ที่ดับทุกข์แล้ว ได้น�ามา เทศนาหื้อมนุษย์ทั้งหลายได้รู้ถี่หันแจ้งดั่งนี้แล้ว บ่ใช่ของที่พบได้ง่ายผู้ที่บ่มี บุญบ่ได้ปา เป็งมาตัง้ แต่ชาติกอ่ นแล้ว ก็บห่ อ่ นจักพบได้เลย เมือ่ ได้เกิดมาพบ กับค�าสอนอันเป็นความจริงบริสทุ ธิ์ ทีจ่ กั น�าหือ้ พ้นทุกข์ได้ดงั่ นี้ เป็นมหาลาภ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๘๓


อันประเสริฐแล้ว เพราะว่าทรัพย์สมบัติทั้งหลายอันเป็นทรัพย์ภายนอก ที่เอาไปตวยบ่ได้นั้น ยังพากันเร่งขงขวายหาทั้งกลางวันกลางคืน นี้มาพบ พระธรรมก�าสอนที่แนะน�าหื้อผู้ปฏิบัติตามหื้อพ้นจากทุกข์ในบัดนี้ไป ถะหราบเถิงพระนิพพาน อันเป็นอริยทรัพย์สา� หรับติดตัวไปทุกชาติประเสริฐ กว่าทรัพย์สมบัตอิ นั มีในโลกนีห้ มืน่ เท่าแสนเท่าดัง่ นี้ นีเ้ ป็นโอกาสอันดีวเิ ศษ ส�าหรับหมู่เราในชั่วชีวิตนี้ ซึ่งจักหาโอกาสอันดีอย่างนี้บ่มีอีกซ�้าพอสองแล้ว เมื่อเวลายังอยู่สบายดี ก็บ่ควรถือว่าเป็นเด็กอ่อนหน้อยอยู่ ถ้าเฒ่าก่อน ค่อยท�าบุญ การคิดอย่างนั้นชื่อว่าเป็นผู้ประมาทคิดผิดเพราะว่าตามีหน้า ยังผ่อหน้าบ่หัน พญามัจจุราชนั้นบ่มีกรุณาไผ บ่ว่าหนุ่มแก่จักอยู่ในอ�านาจ ของมัน หนุม่ มันก็เอาแก่มนั ก็เอา บ่ควรประมาทลาสา เมือ่ รูส้ กึ ว่าจักต้องตาย และหนีความตายไปบ่พ้นแล้ว มีปัญหาว่าจักปองกันอย่างใดบ่หื้อมีความ โศกเศร้าเสียใจ เมือ่ ความตายมาเถิง ควรจักพากันรักษาศีล ฟังธรรม ท�าบุญ หื้อทานเป็นที่เพิ่งแก่ตัวไว้เสียก่อนเฒ่าเพื่อบ่หื้อเสียทีที่ได้เกิดมาพบ พระพุทธศาสนาที่ดีแล้ว บ่หื้อความคลาดแคล้วกินแหนงใจเมื่อภายลูน นั้นเตอะ นิฏฐิตัง ขียา สังวรรณาวิเศษ จา ห้องเหตุกล่าวด้วยอานิสงส์ แห่งการรักษาศีล ก็บังคมสมเร็จเสด็จ เสร็จแล้วเท่านี้ ก่อนแลฯ

๘๔

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


เสียงกระซิบสู่ดวงใจ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๒ ภิกษุอานันท์ พุทธธัมโม ณ โฮงหลวงวัดบ้านปาง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ล�าพูน

เจ้าจงมองดูโลกกว้างโดยไร้ขอบเขต เจ้าจะเห็นสรรพสิ่งในสากลจักรวาลอยู่ในตัวเจ้า และตัวเจ้าก็จะสถิตอยู่บนบัลลังก์การแห่งสากล แล้วเจ้าจะพบว่าคนที่รักเจ้าจริงๆ นั้นไม่มี คนที่เกลียดชังเจ้าจริงๆ ก็ไม่มีเช่นกัน ในที่สุดเจ้าก็จะประจักษ์ว่าตัวเจ้าเองก็ไม่ปรากฏในที่ไหนๆ เมื่อเจ้าถูกคนเหยียดหยาม เจ้าจงยิ้มรับด้วยไมตรีจิต เมื่อเจ้าถูกคนเขาด่าว่าให้ร้าย เจ้าจงแผ่เมตตาและสงสารคนผู้ด่า เมื่อถูกประทุษร้ายหรือถูกกลั่นแกล้งเจ้าจงท�าเหมือนคนที่ตายแล้ว นั่นเถิด เมื่อถูกท�าร้ายให้ได้รับบาดเจ็บปางตาย เจ้าก็อย่าได้คิดร้ายจองเวรใคร เจ้าอย่าได้ต�าหนิติเตียนเพ่งโทษคนอื่น เจ้าอย่าท�าการสิ่งใดให้ตนเองเดือดร้อนหรือเป็นที่ต�าหนิแก่ตนเองได้ ถ้าเจ้ายังบ่นวิจารณ์เพ่งโทษคนอื่นอยู่ เจ้าก็ยังเป็นคนไม่สมบูรณ์ ผู้ที่มีดวงจิตสมบูรณ์เขาจะไม่หลงรักหลงชัง แต่จะมีเมตตาโดยไม่มี ประมาณ โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๘๕


เมื่อถูกด่าหรือประทุษร้าย เจ้าอย่าคิดว่าเจ้าเป็นผู้ไม่เหมาะสม การถูกประทุษร้ายหรือค�าด่าว่า นั่นคือเครื่องพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจ ของเจ้า เมือ่ เจ้าไม่ผดิ จริง เจ้าถูกทอดทิง้ ถูกทุบตีทา� ร้าย จงรูไ้ ว้เถิดว่านัน่ คือทาง แห่งอิสรภาพ คนดีมิได้พิสูจน์กันด้วยการโต้เถียงหรือต่อสู้เพื่อเป็นผู้ชนะ คนดีเขาจะไม่ถือดี และจะไม่หมิ่นความชั่ว ความผิดคือดาบอันคมกล้า ความถูกก็คือดาบอันคมกล้า สุดแต่ใครจะ ใช้ให้เกิดประโยชน์ ตัวเจ้าคือกระจกเงาของเจ้า คนอื่นก็เป็นกระจกเงาของเจ้าด้วย คนดีจะไม่หลงยกยอตนเอง และจะไม่ตั้งตัวเป็นเอก คนชั่วเป็นอุทาหรณ์ที่มีคุณค่ายิ่ง คนดีก็เป็นเยี่ยงอย่างอันล�้าเลิศ วาจาที่ออกมาจากใจคนดี มิใช่ถ้อยค�าหว่านล้อมเพื่อประโยชน์ตน เมื่อใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว เจ้าจะเป็นผู้ขับขี่ไปบนสรรพชีวิต พุทโธ ธัมโม สังโฆ เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของเจ้า เห็นกายมิใช่กาย นั่นคือ พุทธมณฑล เห็นจิตมิใช่จิต นั่นคือองค์พระพุทธเจ้า เห็นสรรพชีวิตไร้ตัวตน นั่นคือเห็นเหล่าอริยะสาวก ขอให้ดวงใจของเจ้าจงเป็นน�้าอมตะรสหล่อเลี้ยงสัตว์โลก ขอให้ดวงตาของเจ้าจงเป็นแสงสว่างส่องทางให้ชีวิตทั้งมวล ขอให้หูของเจ้าจงสดับสรรพสิ่งเป็นธรรมสาร ๘๖

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ขอให้ปากของเจ้าจงเปล่งวาจาอันเป็นมิตรภาพและสันติภาพ ขอให้เท้าของเจ้าจงก้าวไปสู่ทางแห่งความสร้างสรรค์ ขอให้มือของเจ้าจงเชื่อมสัมพันธไมตรีผูกมิตรกับทุกผู้อย่ารู้คลาย ขอให้สายโลหิตของเจ้าเป็นทิพยโอสถรักษาโรคาพยาธิของทุกรูปนาม ขอให้ชีวิตร่างกายของเจ้าเป็นต้นโพธิ์แก้วที่อาศัยพักร้อนของสัตว์โลก ทั้งผอง เจ้าจงเปดประตูใจทุกด้านรับบทเรียนจากโลกกว้าง แล้วดวงใจของเจ้าจะบรรจุไตรโลกไว้ได้ทั้งหมด ดวงใจของเจ้าจะจรด ณ ใจกลางโลกธาตุทั้งมวล จักรวาลแห่งสรรพสิ่งจะหมุนรอบจนไร้ทิศ ไร้อดีต อนาคต และปัจจุบัน ความไวของจักรวาลที่หมุนรอบจัดโดยมีดวงใจเป็นแกนกลาง จะลุกแดงเป็นแสงสว่างอันโอฬาร และจะเป็นลมหายใจของสรรพชีวิตทั้งหลาย เจ้าจะเห็นทุกรูปนามคือบ่อเกิดบัวแดงแห่งพุทธชาติ บัวแดงแห่งพุทธชาติจะผลิดอกเบ่งบานอย่างเต็มที่ บัวยิ่งบาน ยิ่งมีมาก พระพุทธองค์ยิ่งทรงพอพระทัย สัจธรรมของพระองค์แผ่ไปยังโลกกว้าง ว่าใดๆ ในโลกไม่มีอะไรที่แน่นอน ใครจะขัดใครจะแย้งใครจะแข่งกันอย่างไร โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๘๗


แน่นอนต่างก็ได้เป็นเจ้าแห่งอนิจจัง เป็นสัจจะเที่ยงแท้ เจ้าจะยึดเอาอะไรเป็นหลักเหตุผลของสากล เหตุผลของหมู่คณะหรือของบุคคล เหตุผลมันก็เป็นปัจจัยการสืบเนื่องไม่มีสิ้นสุด ใครจะโต้เถียงด้วยหลักเหตุผลของอะไรก็ตาม เหตุผลของแต่ละสิ่งย่อมเหมาะแก่บุคคลและเป็นไปตามกาลเวลา จะให้อีกคนหนึ่งยอมรับเหตุผลของอีกคนหนึ่ง มันก็เป็นได้บางกรณี แต่มันเป็นการฝนธรรมชาติ โดยหลักธรรมชาติต้องอยู่เหนือเหตุผล เหนือสิ่งสมมติบัญญัติโดยประการทั้งปวง เจ้าจงรับและปฏิเสธสิ่งสมมติบัญญัติให้เหมาะสมแก่ปัจจัยการ และต้องไม่ยึดถือว่ามันเป็นสัตว์ บุคคล ตัวเรา ตัวเขา จงปล่อยวางจากโลกธรรมทั้งมวล และเป็นผู้นิ่งอย่างพระอริยเจ้า สงบอยู่ได้ท่ามกลางวัฏสงสารอันน่าเบื่อหน่าย ทะเลแห่งวัฏจักรจึงเต็มสะพรั่งด้วยบัวแดงแห่งพุทธะ รับแสงสว่างแห่งพระธรรมสงบใจไร้กังวล ขออมตะธรรมนี้เป็นธารธรรมสรงสนานทุกรูปนามไร้ราคี ขอให้ร่างเป็นกายธรรม ขอให้พุทธะอุบัติกลางดวงใจทุกท่านเทอญ.

๘๘

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าอาราธนาต่างๆ ค�าอาราธนาศีล ๕ สาธุ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิยาจามะ ทุติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ ตะติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะฯ

ค�าอาราธนาศีล ๘ สาธุ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ คะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ ทุติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ คะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ ตะติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ คะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ ฯ

ค�าอาราธนาพระปริตร วิปตติปฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธินา สัพพะทุกขะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะมังคะลัง วิปตติปฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธินา สัพพะภะยะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง วิปตติปฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธินา สัพพะโรคะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๘๙


ค�าอาราธนาธรรม พรัหมา จะโลกาธิปะติ สะหัมปะติ กัจอัญชลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ สันตีธะ สัตตาบปะระชักขะชาติกา เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปมัง ปะชัง อาราธะนัง กะโรมะฯ

ค�าถวายทานต่าง ๆ ค�าถวายสังฆทาน อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโน ชะยามะ สาธุโน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปฏิคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ ข้าแด่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งของอันเป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระสงฆ์ ข้าแด่พระสงฆ์ ผู้เจริญ ขอพระสงฆ์จงได้มีเมตตาโปรดรับ ซึ่งภัตตาหารกับทั้งของอันเป็น บริวารทั้งหลายเหล่านี้ เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ.

ค�าถวายข้าวพระพุทธ อุกาสะ สูปะพยัญชนะสัมปนนัง สีลานัง โอชะนัง อุทกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิ ฯ ข้าพเจ้าขอโอกาส บูชาโภชนะแห่งข้าวสาลี อันพร้อมด้วยแกงกับน�้า อันประเสริฐ แด่พระพุทธเจ้า พระสารีริกธาตุเจ้า แด่เทอญ ๙๐

บทสวดกัมมัฏฐาน และรวมคําไหว


ค�าลาข้าวพระ พุทธเสลัง มังคละ ยาจามิฯ ข้าพเจ้าขอของที่เหลืออันเป็นมงคลนี้เทอญ.

ค�าจบขันข้าวก่อนใส่บาตร สุทินนัง วะตะเม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง นิพพานะ ปจจะโยโหตุ โน นิจจัง ทานอันนี้ ข้าพเจ้าถวายดีแล้วหนอ ขอจงน�าข้าพเจ้าไปสู่พระนิพพาน ในปัจจุบันกาลนี้ เทอญ.

โดย : ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

๙๑


พุทธสถานวัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อ.ดอกค�าใต้ จ.พะเยา




บาทวิถีของมนุษย ความทุกขทําใหขาเกิดความคิด วิปสสนาญาณ ความผิดพลาด คือทางผานสูความสําเร็จ ตราบใดที่ยังมีชีวิตลมปราณ จงสูไปเถิดอยาสิ้นหวัง ความมุงมั่นดวยกุศลเจตนา คือนํ้าทิพยแหงสรวงสวรรค อยาคิดวาการทําความดีจะตองมีความสุขเสมอไป แตการฟนฝาความทุกขยากดวยดวงใจอันสุขุม นั่นคือ มงกุฎอันลํ้าคาและประเสริฐยิ่งของยอดมนุษย

หัวใจผูนํา ผูนําตองมีหัวใจดุจราชสีห มุงมั่นสิ่งใดจงกาวไปเถิด อุปสรรคสิ่งกีดขวาง คนจริงฝาไปไดไมยากเย็น เทพเจาแหงความสําเร็จ ชอบคนกลา กลาๆ กลัวๆ มิใชผูนํา

ภิกษุอานันท พุทธธัมโม

ณ โฮงหลวงวัดบานปาง ต.ศรีวิชัย อ.ลี้ จ.ลําพูน ๗ พ.ย. ๓๓


หลักหัวใจพรหมจรรย

หลักที่จะตองสังวรและปฏิบัติ ๒๓ ประการ ๑. จะตองอดทนขมอินทรียอยางยิ่ง ๒. จะตองไมตกเปนทาสของรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสใดๆ ทั้งสิ้น ๓. จะตองสํารวมกาย วาจา ใจ ไมใหฟุงซาน ๔. จะตองไมหลงใหลในวัตถุอันเปนเหตุตัณหากามคุณ ๕. จะตองถือสันโดษ ไมหลงอํานาจ ลาภ ยศ สิ่งสักการบูชา ๖. จะตองไมหลงระเริงยึดติดอยูกับการยกยองสรรเสริญ ๗. จะตองไมปลอยตนประพฤติใหเกิดความเสื่อมเสียเปนอันขาด ๘. จะตองพิจารณาโดยแยบคายกอนแลวบริโภคปจจัยสี่ ๙. จะตองพิจารณาใหเห็นความไมงาม และโทษภัยของรางกาย ๑๐. จะตองเห็นโทษภัยของตัณหากามคุณกิเลส เปนภัยอันใหญหลวง ๑๑. จะตองพิจารณาใหเห็นชีวิตนี้กําลังถูกไฟเผาไหมอยูตลอดเวลา ๑๒. จะตองพิจารณาใหเห็นความตายอยูแคปลายจมูก ๑๓. จะตองมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียงเหมือนเสี้ยนหนาม ๑๔. จะตองมองเห็นเกียรติยศชื่อเสียงคือภัยทําลายความสงบสุข ๑๕. จะตองมองเห็นลาภสักการะเหมือนกองอุจจาระ ๑๖. จะตองมองเห็นทรัพยสมบัติใดๆ ในโลกเปนเพียงภาพลวงตา ๑๗. จะตองมองเห็นสิ่งมหัศจรรยที่สุดของโลกคือความเปนอนิจจัง ๑๘. จะตองมองเห็นมรดกอันยิ่งใหญของโลกคือความวางเปลา ๑๙. จะตองสงบนิ่งและเรียบงายที่สุด ๒๐. จะตองทําจิตใจใหสะอาดบริสุทธิ์ผองใสอยูเสมอ ๒๑. จะตองพิจารณามรณานุสสติ (นึกถึงความตาย) เปนอารมณ ๒๒. จะตองมองชีวิตและโลกเปนของวาง ๒๓. จะตองมีเมตตาธรรม เสียสละเพื่อประโยชนสุขเกื้อกูลแกชนทั้งหลาย พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ นันทพันธ์พริ้นติ้ง เชียงใหม่ โทรศัพท์ ๐๕๓-๘๐๔๙๐๘-๙ โทรสาร ๐๕๓-๘๐๔๙๕๘ www.nuntapun.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.